04 การแปลงทางเรขาคณิต

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

การแปลงทางเรขาคณิต

Geometric Transformation
ทบทวน
พิกัด (x, y) → ตัวหน้าแทนค่า x
→ ตัวหลังแทนค่า y

_
แกน x (ขวา  , ซ้าย )
_
แกน y (บน  , ล่าง )
1. การเลื่อนขนาน
การแปลง (Transformation) เป็นการเคลื่อนไหวของรูปเรขาคณิตโดยการเลื่อนขนาน การสะท้อน
และการหมุน
1) การเลื่อนขนาน (Translation)
- จุดทุกจุดของรูปต้นแบบเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกันเป็นระยะเท่าๆ กัน
- สัญลักษณ์ทางพีชคณิต
Ex.1
ABC มีจุดยอด A, B และ C ซึ่งถูกเลื่อนขนานด้วย เวกเตอร์ (4, 3)

A(-3, 2) (4,3)
  A(-3 + 4, 2 + 3) = A(1, 5)
B(1, 4) (4,3)
  B (1 + 4, 4 + 3) = B(5, 7)

C(3, 1) (4,3)
  C (3 + 4, 1 + 3) = C(7, 4)
Ex.1
ABC (รูปต้นแบบ) ถูกเลื่อนขนานไปทางขวา 4 หน่วย และขึ้นบน 3 หน่วย เกิดเป็น ABC (ภาพ)
2. การสะท้อน
2) สะท้อน (Reflection)
- จุดทุกจุดของรูปต้นแบบเคลือ่ นที่ข้ามเส้นตรง เส้นหนึ่ง เปรียบเสมือนกระจกเงา
- รูปเรขาคณิตที่สามารถหารอยพับและพับรูป ทั้ง 2 ข้างของรอยพับให้ทับกันสนิทได้เรียกว่า
“รูปสมมาตรบนเส้น” และเรียกรอยพับว่า “แกนสมมาตร”
- รูปสมมาตรบนเส้นเป็นรูปที่เกิดจากการสะท้อน โดยมีแกนสมมาตรเป็นเส้นสะท้อน
การสะท้อนมี 2 แบบ
1. ข้ามแกน x (เปลี่ยนค่า y → -y)
จุด P(x, y) → P(x, -y)
2. ข้ามแกน y (เปลี่ยนค่า x → -x) Ex.2
สะท้อนข้ามแกน x
A(2, 3) A(2, -3)
จุด P(x, y) → P(-x, y)
Ex.3 สะท้อนข้ามแกน y
M(-1, -2) M(-(-1), -2)
M (1, -2)
Ex.4
PQR มีจุดยอด P(-7, 5), Q(-4, 8) และ R(-2, 3)
สะท้อนข้ามแกน x
P(-7, 5) P(-7, -5)
Q(-4, 8) Q(-4, -8)
R(-2, 3) R(-2, -3)

สะท้อนข้ามแกน y
P(-7, 5) P(7, 5)
Q(-4, 8) Q (4, 8)
R(-2, 3) R (2, 3)
3. การหมุน
2) การหมุน (Rotation)
- จุดทุกจุดของรูปต้นแบบเคลื่อนที่ไปเป็นมุมเดียวกันรอบจุดคงที่จุดหนึง่
ซึง่ เรียกว่า “จุดหมุน”
การหมุนมี 2 แบบ
- หมุนทวนเข็มนาฬิกา 90 (สลับที่ x กับ y แล้วใส่ (-) ที่ y)
ทวน 90
จุด P(x, y) P (-y, x)
- หมุน 180 (ไม่สลับที่ แต่ใส่ลบทั้ง x และ y)
หมุน 180
จุด P(x, y) P (-x, -y)
Ex.5
XYZ มีจุดยอด 3 จุด หมุนทวนเข็ม 90
ทวนเข็ม 90
X(2, 2) X(-2, 2)
Y(5, 7) Y(-7, 5)
Z(9, 4) Z(-4, 9)
Ex.6
XYZ หมุน 180
หมุน 180
X(2, 2) X (-2, -2)
Y(5, 7) Y (-5, -7)
Z(9, 4) Z (-9, -4)

หมุนตามเข็มนาฬิกา 90 (สลับที่ x กับ y แล้วใส่ (-) ที่ x)


จุด P(x, y) ตาม 90

P(y1 - x)
Ex.7
XYZ มีจุดยอด 3 จุด หมุนตามเข็ม 90
ทวนเข็ม 90
X(2, 2) X(2, -2)
Y(5, 7) Y(7, -5)
Z(9, 4) Z(4, -9)

You might also like