ตัวอย่าง การแจกแจงความถี่แบบไม่จัดกลุ่ม

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

การวิเคราะห์ข้อมูล

เบื้องต้น

1. การวิเคราะห์ข้อมูล
o
การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นขั้นตอนของกระบวนการทางสถิติ หลังจากเก็บรวบรวมข้อมูล และนำเสนอข้อมูล
_ _

แล้ว ต้องนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ซึ่งจะต้องเลือกใช้วิธีในการวิเคราะห์ที่ถูกต้องตามหลักสถิติด้วย


จุดมุ่งหมายที่สำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ต้องการที่จะทราบลักษณะโดยรวมของข้อมูลที่อยู่ในความ
สนใจ เช่น
1) การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของ
โรงเรียนแห่งหนึ่ง ลักษณะของข้อมูลโดยรวมที่ควรทราบ คือ
- จำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้งหมดที่สอบวิชาคณิตศาสตร์
- จำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เข้าสอบวิชาคณิตศาสตร์ โดยแยกตามห้อง
- คะแนนเฉลี่ยจากการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้งระดับชั้น
- คะแนนเฉลี่ยจากการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยแยกตามห้อง
- คะแนนสูงสุด และคะแนนต่ำสุดจากการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้ง
ระดับชั้น
- คะแนนสูงสุด และคะแนนต่ำสุดจากการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของ
แต่ละห้อง
- การกระจายคะแนนจากการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของแต่ละห้อง
2) การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับโรงเรียนใดโรงเรียนหนึ่ง ลักษณะของข้อมูลโดยรวมที่ควรทราบ คือ
- จำนวนนักเรียนจำแนกตามชั้นเรียนที่เปิดสอน ม 1- ม 6
N s
. .

- จำนวนนักเรียนโดยเฉลี่ยต่อห้อง
- จำนวนครูจำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยทั่วไป มักเกี่ยวข้องกับการแจกแจงความถี่ของข้อมูล การหาค่าเฉลี่ยของข้อมูล และ
-

การหาค่าการกระจายของข้อมูล
สามารถ
ตัวแปร (Variable) คือ ลักษณะของประชากรที่เราสนใจ โดยที่ลักษณะนั้นๆของประชากรสามมารถmn

เปลี่ยนค่าได้ ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เช่น


- จำนวนสมาชิกของครอบครัวเป็นตัวแปร
เป็นตัวแปรเชิงปริมาณ สามารถเปลี่ยนค่าได้ตั้งแต่ 1, 2, 3, …
- จำนวนคะแนนสอบเป็นตัวแปร
เป็นตัวแปรเชิงปริมาณ สามารถเปลี่ยนค่าได้ตั้งแต่ 0, 1, 2, 3, …
- เพศเป็นตัวแปร
เป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ สามารถเปลี่ยนค่าได้เป็นชายและหญิง สามารถ
หมายเหตุ ตัวแปรที่นำมาวิเคราะห์ส่วนใหญ่มักจะเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ ซึ่งm สามมารถวัดออกมาเป็น
จำนวนได้
ถ้าพิจารณา x เป็นตัวแปรที่ใช้แสดงผลการสอบซึ่งมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน โดยคะแนนที่นักเรียนแต่ละ
คนสอบได้นี้เรียกว่า “ า จากการ งเกต ” และเรีnnn ยกคะแนนที่อาจเป็นไปได้ว่า “ า น ไป ไ ”
าน

เช่น คะแนน 10 คะแนน = ง เ น1 ปน 11 11 แ 0,1 , 2,3 เอ


,
. .

,
.

ตัวอย่างของตัวแปรเชิงคุณภาพและค่าที่เป็นไปได้

ตัวแปร ค่าที่เป็นไปได้

ฤดูกาล อน ปอน ใบ 6 าง ,ใจ1 ผ


r ฤ , ,
หนาว
,

สถานภาพการสมรส / โสด ,
สมรส ,
ห า าง

วันในสัปดาห์ / นท เ
งคาร , ราบ ๆ
ห บ
, ก ,
เสา ,
อา ต

เดือนในหนึ่งปี / ม ค ก น
. .
. ค .

,
เม .
น . พ.ค. .
น .

,
ก ค
.

,
, ,
. .

, ,

ส.ค ก ย ต ค พ.อ. ธ.ค .

, ,
. .

,
.

,
. .
ที่ฟั
ค่
สั
ค่
คำที่
ด้
ด็
ดิ
มี
มี
มีร่
ร้
จั
บุ
อั
ศุ
ดี
มิ
มิ
ป็
ด้
ก่
ลั
ลิ
ย่
ดู
ทิ
ร์
ร์
ร์
ร้
ย์
2. การแจกแจงความถี่ของข้อมูล
การแจกแจงความถี่ เป็นวิธีการทางสถิติอย่างหนึ่ง ที่ใช้การจัดข้อมูลทีมีอยู่หรือที่เก็บรวบรวมมาได้ ให้อยู่เป็น
พวกๆ ถ้าข้อมูลหรือค่าสังเกตมีจำนวนน้อย การทำการแจกแจงความถี่จะไม่เป็นประโยชน์กับการวิเคราะทางสถิติ
มากนัก นอกจากจะเสียเวลาแจกแจงความถี่แล้ว ยังอาจทำให้ผลการวิเคราะห์คลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริงด้วย
โดยการแจกแจงความถี่ของข้อมูล มี 3 ลักษณะ คือ การแจกแจงความถี่ของข้อมูลโดยใช้ตาราง การแจกแจงความถี่
ของข้อมูลโดยใช้กราฟ และการแจกแจงความถี่โดยใช้แผนภาพต้น - ใบ
2.1 การแจกแจงความถี่ของข้อมูลโดยใช้ตาราง
การแจกแจงความถี่ของข้อมูลให้อยู่ในรูปตาราง เป็นการนำข้อมูลที่มีอยู่ มาจัดเป็นพวกๆ เพื่อสะดวกใน
การวิเคราะห์ ซึ่งวิธีการแจกแจงความถี่ที่นิยมใช้ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ของข้อมูลแบบไม่จัดกลุ่ม หรือการแจกแจง
ความถี่ตามค่าของข้อมูล และการแจกแจงความถี่ของข้อมูลแบบจัดกลุ่ม หรือการแจกแจงความถี่โดยแบ่งเป็นช่วงหรือ
เป็นอันตรภาคชั้น
2.1.1 การแจงแจงความถี่ของข้อมูลแบบไม่จัดกลุ่ม หรือการแจกแจงความถี่ตามค่าของข้อมูล
เป็นการแจกแจงความถี่ของข้อมูลที่มีค่าของข้อมูลแต่ละค่าจำนวนไม่มาก และค่าสูงสุดต่างจากค่าต่ำสุดไม่
มาก

ตัวอย่างที่ 1 นักเรียนจำนวน 20 คน สอบวิชาคณิตศาสตร์คะแนนเต็ม 10 โดยคะแนนของแต่ละคน คือ


2 4 8 5 7 3 5 5 4 7
6 4 7 3 5 4 6 7 1 4
จงสร้างตารางแจกแจงความถี่แบบไม่จัดกลุ่มหรือตามค่าของข้อมูล
คะแนน 1 2 3 4 5 6 7 8
รอยขีด 1 1 11 # 1 111 11 1111 1
ความถี่ 1
_
1- 2 5 4 2 4 1

1 2 3 3 4 4 4 4 4

5 5 5 5 6 6 7 ๆ ๆ

7 8
ตัวอย่างที่ 2 จำนวนวันที่ขาดเรียนของนักเรียนห้องหนึ่ง ซึ่งมีจำนวน 45 คน ในรอบปี เป็นดังนี้
4
/ / 2 /0 /3 /2 3
/ /7 1
/ /2
/
0 /0 /6 /4 /5 1
/ /5 /
3 /0
2
/ /7 /2 /3 /2 2
/ /5 /
2 /0
/
1 /4 / 0 /0 /4 /5 /0 / 1 /1
/
4 /1 /6 /2 /6 / 2 /6 / 3 /
3
จงสร้างตารางแจกแจงความถี่แบบไม่จัดกลุ่มหรือตามค่าของข้อมูล

จำนวนวันที่ขาดเรียน รอยขีด ความถี่


0 า/
1 1 11 111 8
1 #1 1 6
2 1111.51 10
3 11 6
4 11 5
5 11 11 4

µ
4
2
ขุ
หื้

You might also like