Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 56

จริยธรรมทางการแพทย์

(Medical Ethics)
กับธรรมาภิบาล

นาเสนอโดย
พลเอก เอกชัย ศรีวลิ าศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธี และธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
หัวข้อนาเสนอ
 จริยธรรมมีความสาคัญอย่างไร
 จรรยาบรรณ และจริยธรรม คืออะไร
 ความหมายของจริยธรรมทางการแพทย์
 จริยธรรมทางการแพทย์ในจีน
 จริยธรรมทางการแพทย์ในประเทศตะวันตก
 จริยธรรมทางการแพทย์ในไทย
 สรุปหลักสาคัญของจริยธรรมทางการแพทย์
หลักความ
รับผิดชอบ
หลักความ หลักความ
โปร่งใส คุ้มค่า

ธรรมาภิบาล

หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม

หลักการมี
ส่วนร่วม
เป้าหมาย
ความสมดุลและเป็นธรรม ความ
สุจริต ความมีประสิทธิภาพ/ผล

โครงสร้างและวิธีการ
ความรับผิดชอบ ตอบสนองต่อความต้องการ
มีความโปร่งใส สร้างการมีส่วนร่วม

สภาพแวดล้อม
กฎหมาย ระเบียบ ประมวลจริยธรรม
การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ วัฒนธรรม
จริยธรรมทางการแพทย์
 จริยธรรมตามข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่ง
วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2526
 จริยธรรมตามหลักสากล
 ประมวลจริยธรรม(ผู้ตรวจการแผ่นดิน)
 จรรยาข้าราชการ
 จริยธรรมสังคม( ศาสนา ประเพณี วิถีชุมชน )
 จริยธรรมแพทย์ในอาเซี่ยน
ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อการทางานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ
(สารวจโดย สานักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)

ระดับความเชื่อมั่น

คณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ รวม เชื่อมั่น ค่อนข้าง ไม่ค่อย ไม่เชื่อ ไม่มี ไม่รู้จัก


มาก เชื่อมั่น เชื่อมั่น มั่น ความ
เห็น
• แพทย์ในโรงพยาบาลของรัฐ 100.0 17.9 63.3 10.3 2.2 6.0 0.3

• แพทย์ในโรงพยาบาลของเอกชน 100.0 17.5 60.9 9.5 1.7 9.7 0.7

• ทหาร 100.0 13.3 59.7 13.7 3.3 9.6 0.4

• โทรทัศน์ 100.0 7.8 62.1 16.3 2.6 10.8 0.4

• ข้าราชการพลเรือน 100.0 5.9 61.1 14.9 2.6 13.2 2.3

• ผู้ว่าราชการจังหวัด 100.0 9.9 56.2 10.1 2.4 14.1 7.3

• ตารวจ 100.0 6.2 51.1 23.9 8.9 9.6 0.3

• สมาชิกสภาท้องถิ่น 100.0 4.1 51.7 21.8 6.0 14.9 1.5

• องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 100.0 4.2 51.5 21.2 6.3 15.5 1.3


ระดับความเชื่อมัน่

คณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ รวม เชื่อมั่น ค่อนข้าง ไม่ค่อย ไม่เชื่อ ไม่มี ไม่รู้จัก


มาก เชื่อมั่น เชื่อมั่น มั่น ความ
เห็น
• เจ้าหน้าที่ที่ดิน 100.0 4.2 50.5 18.8 5.1 19.5 1.9

• หนังสือพิมพ์ 100.0 3.7 49.5 22.3 4.1 19.6 0.8

• เจ้าหน้าที่ศุลกากร 100.0 4.3 43.5 14.5 3.3 25.2 9.2

• วิทยุกระจ่ายเสียงทั่วไป 100.0 2.9 42.5 18.3 3.9 30.2 2.2

• วิทยุชุมชน 100.0 2.6 36.9 20.2 5.3 32.1 2.9


จริยธรรมมีความสาคัญอย่างไร (1)
การเพิ่มขึ้นของความขัดแย้งของผลประโยชน์ระหว่างรัฐบาลและ
สถาบันทางการแพทย์ ระหว่างสถาบันทางการแพทย์และบุคลากร
ทางการแพทย์ ระหว่างแพทย์และผู้ป่วย ที่มีมากขึ้น รุนแรงมาก
ขึ้นและมีความซับซ้อน

การเพิ่มขึ้นของเทคโนโลยีสมัยใหม่ไม่เพียงแต่นามาซึ่งการพัฒนา
ในการรักษา แต่ยังได้สร้างภาระหนักทางเศรษฐกิจด้วย (ประเด็น
เรื่องการใช้งานที่เหมาะสม)
จริยธรรมมีความสาคัญอย่างไร (2)

หลักเกณฑ์ทางจริยธรรมใหม่ๆ และที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น จะต้อง


พัฒนาเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของการพัฒนาสังคมและ
บริการทางการแพทย์
หลักเกณฑ์ใหม่ๆ นี้ได้รวมจริยธรรมทางการแพทย์แบบดั้งเดิมกับ
หลักการสมัยใหม่และค่านิยมหรือความพอใจต่างๆ เข้าด้วยกัน
จรรยาบรรณ หรือ ศีลธรรม (Morality) คืออะไร
ศาสตร์หรือกฎ ของการปฏิบัติหน้าที่ของมนุษย์
 หน้าที่ของความมีหลักศีลธรรมคือ "เพื่อต่อสู้กับผลกระทบอันตรายจาก
ความเห็นอกเห็นใจมนุษย์" (Beauchamp)
 จุดมุ่งหมายของศีลธรรมคือ "การมีส่วนร่วมที่ดีขึ้น หรืออย่างน้อยไม่แย่
ลงของสถานการณ์ของมนุษย์" (Warnock)
 จริยธรรมมีจุดมุ่งหมายที่ "การค้นพบคุณสมบัติอื่น ๆ ที่เป็นของส่วนหนึ่ง
ของสิ่งที่ดี" (Moore)
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
 จริยธรรมเป็นมาตรฐานของการปฏิบัติ (หรือบรรทัดฐานของสังคม) ที่กาหนดพฤติกรรม

 พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมาย “จริยศาสตร์”ว่า


ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยความประพฤติ และการครองชีวิต ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก
อะไรผิด หรืออะไรควร อะไรไม่ควร

 คาว่า “จริยธรรม” อาจมีผู้รู้ให้คาอธิบายแตกต่างกันออกไปตามสาขาวิชา แต่โดยสรุป


แล้วจริยธรรมก็คือ กฎเกณฑ์ความประพฤติของมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นจากธรรมชาติของ
มนุษย์เอง ได้แก่ ความเป็นผู้มปี ัญญา และเหตุผลหรือปรีชาญาณทา ให้มนุษย์มมี โน
ธรรมและ รู้จักไตร่ตรองแยกแยะความดี - ความชัว่ , ถูก - ผิด, ควร - ไม่ควร เป็นการ
ควบคุมตัวเอง และเป็นการควบคุม กันเองในกลุม่ หรือเป็นศีลธรรมเฉพาะกลุม่
 แต่มาตรฐานของการปฏิบัติไม่ได้อธิบายพฤติกรรมจริงของเรา
เนื่องจากคนมักจะละเมิดมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับกันอย่าง
แพร่หลาย

 ตัวอย่างเช่น คนส่วนใหญ่ยอมรับความคิดที่ว่า คนหนึ่งควรจะบอกความจริง


แต่หลายคนยังคงโกหกอยู่ตลอดเวลา แม้คนโกหก หลอกลวงตลอดเวลา
เราควรมีความเห็นว่าความซื่อสัตย์สุจริตเป็นมาตรฐานของการปฏิบัติ โดย
ปกป้องความซื่อสัตย์สุจริตในที่สาธารณะ โดยการสอนเด็ก / นักเรียนของเรา
ให้ซื่อสัตย์และโดยการแสดงความไม่พอใจหรือความรังเกียจของการโกหก
หลอกลวง
ความหมายของ “จริยธรรมทางการแพทย์”
จริยธรรมทางการแพทย์ เป็นส่วนหนึ่งของจริยศาสตร์ประยุกต์ ซึ่ง
เป็นส่วนหนึ่งของวิชาจริยศาสตร์ในวิชาปรัชญา วิชานีน้ าเสนอวิธี
ปฏิบัติบนพื้นฐานหลักจริยธรรมว่าแพทย์และพยาบาลควรปฏิบัติต่อ
คนไข้อย่างไรจึงจะถูกต้องและเหมาะสม แต่ละประเทศก็จะมีองค์
ความรู้ในสาขานี้แตกต่างกันบ้าง เหมือนกันบ้าง
 จริยธรรมทางการแพทย์ คือ ระบบของคุณธรรมจริยธรรมทีใ่ ช้
ประเมินค่าและตัดสินการปฏิบัติของแพทย์
“วิทยาศาสตร์ไม่สามารถแก้ปัญหาความขัดแย้งทางศีลธรรม แต่
สามารถช่วยให้มีกรอบทีแ่ ม่นยามากขึ้นในการอภิรายเกี่ยวกับ
ความขัดแย้งนั้น”

Heinz Pagels
จริยธรรมทางการแพทย์ในจีน

 จริยธรรมทางการแพทย์แบบดั่งเดิมของจีนเน้นที่เรื่องคุณธรรม และ
จริยธรรมมากกว่าความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
 มองคนไข้เหมือนเด็ก โดยเชือ่ มโยงกับภาพของอุดมคติของผู้ปกครอง
ที่มีจิตใจดี มีเมตตา อาจจะคล้ายกับแนวความคิดของการปกครอง หรือ
การคุ้มครองในวัฒนธรรมของตะวันตก
การศึกษาทางด้านจริยธรรมทางการแพทย์ในต่างประเทศ

การพัฒนาของหลักเกณฑ์และแนวทางทางจริยธรรม
การส่งเสริมการปฏิบัติทางจริยธรรม
การป้องกันการละเมิดทางจริยธรรม
การรับรู้ของประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม
การแก้ปัญหาของความขัดแย้งทางจริยธรรม
องค์ประกอบของจริยธรรมทางการแพทย์
ความสัมพันธ์ของแพทย์กับคนไข้
ความสัมพันธ์ของแพทย์กับแพทย์ด้วยกันเอง
ความสัมพันธ์ของแพทย์กับระบบสุขภาพ
ความสัมพันธ์ของแพทย์กับสังคม
จริยธรรมทางการแพทย์ในจีนลัทธิขงจื๊อ
(Confucianism)

 เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน พัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ ก่อน ค.ศ. 551 ปี


 เกิดเป็นค่านิยมหลักของวัฒนธรรมจีน
 แพทย์ศาสตร์ เป็นศิลปะของการมีมนุษยธรรม ที่จะเน้นการดูแลเกี่ยวกับผู้ป่วยและการปลูก
คุณความดีด้วยตนเองของแพทย์
 ถือว่า ความเมตตาเป็นที่มาหรือเป็นพืน
้ ฐานของคุณธรรมทั้งปวง เน้นให้มนุษย์รู้จักสร้างชีวิต
ที่ดงี ามตัง้ แต่แรกเกิด ให้ชาวจีนยึดมัน่ ในหลักมนุษยธรรม มีความเมตตากรุณาต่อทุกชีวติ
และปลูกฝังให้เด็ก ๆ รักในความเป็นธรรม เห็นอกเห็นใจ พร้อมทัง้ เอื้อเฟื้อเผือ่ แผ่ต่อเพื่อ
มนุษย์ เมื่อเด็กฝังใจในคุณธรรมแล้ว เด็กผู้นั้นก็จะมีชวี ิตที่ดงี ามตลอดไป
หลักคาสอนของขงจื๊อข้อทีส่ าคัญ ๆ มีดังนี้
1. เมตตา (ยิ้ง)
2. ทาตัวให้เป็นตัวอย่าง (สิ่งที่ตนไม่ชอบ ก็อย่าหยิบให้ผู้อื่น)
3. กตัญํูกตเวที (เจ้ากับบ่าว พ่อกับลูก รู้ศักดิ์ศรี รู้หน้าที่)
4. ส่งเสริมการศึกษา (ไม่เกี่ยงคนรวยหรือคนจน)
5. เรียกร้องคุณธรรมในการปกครอง และอารยธรรมในวงสังคม
“แพทย์ที่ดีไม่ควรใส่ใจกับสถานะความมั่งคั่งหรืออายุ ไม่ควรคิดว่า
บุคคลนั้นเป็นที่น่าสนใจหรือไม่สวย ไม่ว่าเขาจะเป็นศัตรูหรือ
เพื่อน เป็นคนจีนหรือชาวต่างชาติ ไม่ว่าจะไม่มกี ารศึกษาหรือมี
การศึกษา ควรจะพบทุกๆ คนในพื้นที่เท่ากัน และควรปฏิบัติกับ
ทุกๆคนราวกับว่าเขาเป็นญาติที่ใกล้ชิดของเรา”

Sun Simiao นักคิดทางการแพทย์ นักปรัชญา แพทย์รักษาชีวิต


ทีม่ ีชื่อเสียงทางแพทย์แผนจีน และได้รับขนานนามว่า
“China's King of Medicine”
จริยธรรมทางการแพทย์ในประเทศตะวันตก
 ฮิปพอคราทีส (Hippocrates) ชาวกรีก เกิดก่อนคริสตกาล 460 ปีได้
ขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่งการแพทย์ตะวันตก”
 คาสัตย์สาบานฮิปพอคราทีส (Hippocratic Oath) - เป็นหลักเกณฑ์
ของจรรยาบรรณแพทย์ที่เก่าแก่ที่สุด 4th Century BC
แพทย์ ใ นสมั ยก่ อ นทางยุ โ รปต้อ งกล่ าวค าปฏิ ญ าณของฮิ ป โปเครติ ส
ก่อนที่จะมีการเริ่มประกอบวิชาชีพเสมอและในปัจจุบันก็ได้นาคาปฏิญาณนี้
เป็นแนวทางในการกาหนดข้อบังคับทางจรรยาบรรณในวิชาชีพแพทย์ทั่วโลก
“..ข้าสาบาทต่อทวยเทพว่า ข้าจะเคารพครูผู้ประสาทวิชาเยี่ยงพ่อแม่ มีอะไรก็จะแบ่งให้
ครูกินและใช้ จะใส่ใจสอนลูกหลานของครูเหมือนพี่น้องของข้าเอง จะทาการรักษาเพื่อ
ประโยชน์ต่อคนไข้ ให้ดีที่สุดเท่าที่ความสามารถและดุลพินิจของข้าจะทาได้ จะไม่ทา
อะไรให้เกิดผลร้ายแก่คนไข้ จะไม่ให้ยาเบื่อหรือทาให้ใครตายแม้ว่าเขาจะร้องขอ จะไม่
เอาอะไรสอดให้ผู้หญิงเพื่อทาแท้ง และไม่สอนให้ใครทาด้วย จะดารงชีพและประกอบ
วิชาชีพอย่างซื่อตรง อะไรที่ตัวเองทาไม่เป็นจะไม่ทา แต่จะละไว้ให้คนที่เขาเชี่ยวชาญ
กว่าทา จะเข้าบ้านคนไข้ก็เพื่อประโยชน์ของคนไข้เท่านั้น จะห้ามใจไม่ให้ไขว้เขวหรือ
ยอมตามสิ่งยั่วยวนและจะไม่หาความเพลิดเพลินทางกามากับคนไข้ ไม่ว่าหญิงหรือชาย
เสรีชนหรือทาส จะรักษาความลับของคนไข้ ถ้าข้าทาตามนี้ได้ก็ขอให้ข้าเจริญ
ถ้าข้าทาตรงกันข้ามก็ขอให้ข้าฉิบหาย... เพี้ยง”
สาระสาคัญของคาปฏิญาณของฮิปโปคราตีส
(The Hippocratic Oath)
1. การให้ความเคารพแก่ครูอาจารย์และแสดงออกถึงความกตัญญู โดยการดูแลทุกข์สุขของ
ตัวอาจารย์และครอบครัว
2. การดารงรักษาไว้ซึ่งความบริสุทธิ์ของวิชาชีพและแนวทางการดาเนินชีวิต
3. การไม่มีทิฐิในการรักษาผู้ป่วย กรณีใดที่ตนขาดความรู้ ความชานาญ ก็ไม่ลังเลที่จะเชิญผู้รู้
และชานาญกว่ามาดูแลรักษาแทน แพทย์ไม่พึงให้ร้ายและทะเลาะวิวาทกันเองอันเป็นการ
เสื่อมเสียเกียรติ
4. ไม่ทาแท้งให้แก่สตรีใดๆ
5. ไม่กระทาในสิ่งที่เป็นผลร้ายต่อผู้ป่วย แม้ว่าจะได้รับการขอร้อง รวมถึงไม่แนะนาในสิ่งที่ผิด
6. การรักษาความลับของผู้ป่วยไม่แพร่งพรายเรื่องราวของผู้ป่วยให้แก่ผู้อื่น
7. การสารวมระมัดระวังที่จะไม่ประพฤติผิดทางเพศ
 ฮิปโปคราตีสได้กล่าวถึงจิตสานึกของแพทย์และความรับผิดชอบต่อวิชาชีพไว้ ดังนี้

“ ผู้ที่เป็นแพทย์ต้องประกอบด้วยคุณลักษณะของความไม่มีอคติแบ่งแยก
เป็นผู้มีศีลธรรม มีความสุภาพอ่อนโยน แต่งกายเหมาะสม มีวิธีการคิด
ด้วยเหตุด้วยผลอย่างเป็นระบบ มีการตัดสินใจที่ดี บุคลิกภาพสงบ
น่าเชื่อถือ มีความประพฤติที่ดีงาม มีสติปัญญาสามารถแยกแยะความดี
และความชั่วสิ่งที่จาเป็นสาหรับชีวิต เป็นผู้มีความดีโดยที่มนุษย์ทั่วไปพึงมี
คุณลักษณะดังกล่าว เป็นสิ่งที่ผู้เป็นแพทย์พึงตระหนัก
ในจิตสานึกและพัฒนาตนเอง
ส่วนคุณลักษณะที่แพทย์ไม่พึงมีพึงเป็น ได้แก่ ความเป็นผู้ขาดความอดทน
หยาบคาย ละโมบ มักมากในกาม ไม่ซื่อสัตย์ และขาดหิริโอตัปปะ คือความ
ละอายเกรงกลัวต่อสิ่งที่ผิด" ”
หลักสาคัญของจริยธรรมทางการแพทย์ของนานาประเทศ (1)
หลักสําคัญของจริยธรรม 7 ประการ มีดังนี้
1. หลักเอื้อประโยชน์ให้คนไข้ (Beneficence)
2. หลักไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย (Non-malfeasance)
3. หลักเคารพการตัดสินใจของผู้ป่วย (Autonomy)
4. หลักความเป็นธรรม/ยุติธรรมกับคนไข้ (Justice)
5. หลักการรักษาความลับของผู้ป่วย (Confidentiality)
6. หลักความซื่อสัตย์ (Fidelity) และ หลักซื่อตรงต่อคนไข้ (Truthfulness)
7. หลักรักษาศักดิ์ศรีคนไข้ (Dignity): จะทําอะไร ต้องไม่ให้คนไข้เสียศักดิ์ศรี
ของความเป็นคน
1) หลักเอื้อประโยชน์ให้คนไข้ (Beneficence) และ
2) หลักไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผูป
้ ่วย (Non-malfeasance) (1)

 แพทย์จะทาอะไรก็ต้องเพื่อประโยชน์ของคนไข้เท่านั้น ให้มีความเมตตาต่อทุกชีวิต เห็นอกเห็นใจ


พร้อมทัง้ เอื้อเฟื้อเผือ่ แผ่ต่อเพื่อมนุษย์
 สิ่งที่จะดาเนินการจะต้องไม่ก่อให้เกิดผลร้ายกับคนไข้ ทั้งทางกายหรือจิตใจ

 คิดในสิ่งที่ดี (Think good)


 คุณอาจจะไม่ได้พูดอะไรเลย แต่คนอื่นยังคงสามารถอ่านคุณจาก ใบหน้า, สาเนียง, ภาษา
กาย/ท่าทาง
 การแสดงออกของคุณเป็นการแสดงออกของความคิดของคุณด้วย
 เมื่อคุณเงียบ คุณอาจจะยังบอกอะไรบางอย่างอยู่
1) หลักเอื้อประโยชน์ให้คนไข้ (Beneficence) และ
2) หลักไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย (Non-malfeasance) (2)

 พูดในสิ่งที่ดี (Talk/Say good) - คาพูด


 ศิลปะของการสื่อสารเป็นพื้นฐานของความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และคนไข้
 ทาในสิ่งที่ดี (Do good) – การปฏิบัติ การแสดงออก
 การอุทิศตน ทุม ่ เท
 เขียนในสิ่งที่ดี (Write good)

คาถาม :
เรามักจะรู้เสมอว่าอะไรคือสิ่งที่ดีสาหรับผู้ป่วยหรือไม่ ?
(มุมมองของผู้ป่วยอาจจะแตกต่างจากเราก็ได้)
ข้อจากัดของการเอื้อประโยชน์ให้คนไข้ (Beneficence)
ต้องเคารพในการตัดสินใจของผู้ป่วย และการตัดสินใจของ
แพทย์อาจแตกต่างกัน
ต้องแน่ใจว่าสุขภาพไม่ได้ถูกซื้อในราคาที่สูงเกินไป
ต้องพิจารณาสิทธิของผู้อน
ื่ ด้วย
3) หลักเคารพการตัดสินใจของผู้ป่วย (Autonomy)
 ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะตัดสินใจเลือกวิธีการรักษาต่าง ๆ ด้วยตนเอง
 ความสามารถที่จะคิด ตัดสินใจ ปฏิบัติ

4) หลักความเป็นธรรม/ยุติธรรมกับคนไข้ (Justice)
 การจัดหาบริการสุขภาพอย่างเท่าเทียมกันตามความจําเป็นโดยไม่คํานึงถึง
ฐานะทาง เศรษฐกิจ ชนชั้นทางสังคม ความเชื่อทางศาสนา หรือสีผิว

5) หลักการรักษาความลับของผู้ป่วย (Confidentiality)

 ระมัดระวังในการนําข้อมูลต่างๆ ของผู้ป่วยไปบอกเล่าให้ผู้อื่น
6) หลักความซื่อสัตย์ (Fidelity) และ หลักซื่อตรงต่อคนไข้ (Truthfulness)
 จะทาอะไรต้องเปิดเผยตรงไปตรงมา ไม่โกหกผู้ป่วย
 ต้องบอกคนไข้ก่อนว่าสิ่งที่จะทามีข้อดีข้อเสียอะไร
 การบอกความจริงกับคนไข้
 การจัดหาบริการสุขภาพอย่างเท่าเทียมกันตามความจาเป็นโดยไม่คานึงถึง
ฐานะทาง เศรษฐกิจ ชนชั้นทางสังคม ความเชื่อทางศาสนา หรือสีผิว
7. หลักรักษาศักดิ์ศรีคนไข้ (Dignity):
 จะทาอะไร ต้องไม่ให้คนไข้เสียศักดิ์ศรีของความเป็นคน
 ทั้งผู้ป่วยและแพทย์มีสิทธิที่จะมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
จริยธรรมสาหรับแพทย์มสุ ลิม(Islamic Code of Medical Ethics) (1)
จากพระมหาคัมภีร์อัลกุรอ่าน
1. ต้องมีความเชื่อในพระผู้เป็นเจ้าและคาสอนของศาสนาอิสลาม
2. ต้องปฏิบัติตัวตามแนวทางดังกล่าวในทุกๆด้านของการดาเนินชีวิต
3. มีความกตัญํูรู้คุณ บิดามารดา ครูบาอาจารย์ ผู้อาวุโส
4. ถ่อมตน สงบเสงี่ยมเจียมตน มีความเมตตา กรุณา อดทน มีใจกว้าง
5. ปฏิบัติตนให้อยู่ในแนวทางที่ถูกต้อง และขอความช่วยเหลือจากพระผู้เป็น
เจ้าอยู่เสมอ
6. หาความรู้ ความชานาญทางวิชาชีพให้ทันต่อเหตุการณ์พร้อมรับคาแนะนา
และช่วยเหลือจากผู้มีประสบการณ์มากกว่าอยู่ตลอดเวลา
จริยธรรมสาหรับแพทย์มุสลิม(Islamic Code of Medical Ethics) (2)
จากพระมหาคัมภีร์อัลกุรอ่าน
7. ปฏิบัติตามกฎข้อบังคับแห่งวิชาชีพอย่างครัดเคร่ง
8. พึงระลึกอยู่เสมอว่าทัง้ ร่างกายและจิตใจผู้ป่วยนั้นเป็นสิ่งที่พระเจ้าประทานมาการ
เยียวยาผู้ป่วยจึงต้องอยู่ในแนวทางคาสอนของศาสนา
9. พึงระลึกว่า พระเจ้าเป็นผู้ประทานชีวิต และผู้ที่จะถอดชีวิตได้คือพระองค์ หรือโดย
อนุมัติจากพระองค์
10. พึงสังวรว่า ทุกย่างก้าวและทุกอริยาบทของเรานั้นพระผู้เป็นเจ้าเห็นและเฝ้าดูอยู่
11. ไม่กระทาการอันใดถึงแม้จะเป็นเสียงส่วนใหญ่หรือเป็นการขอร้องจากผู้ป่วย ถ้าสิ่งนั้น
ขัดต่อหลักทางนาของพระผู้เป็นเจ้า
12. ไม่แนะนาหรือนาสิ่งที่เป็นอันตรายมาใช้
จริยธรรมสาหรับแพทย์มุสลิม(Islamic Code of Medical Ethics) (3)
จากพระมหาคัมภีร์อัลกุรอ่าน
13. ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ทุกหมู่เหล่าโดยไม่เลือกชั้นวรรณะ ฐานะ เชื้อชาติ ศาสนา ผิวสี
14. ให้คาแนะนาที่จาเป็นโดยพิจารณาจากสภาพรวมคือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
15. พึงรักษาความลับของผู้ป่วย
16. พึงใช้กริยามารยาทที่เหมาะสมในการติดต่อสนทนา ตลอดจนในการให้บริการต่างๆ
ให้มีบุคคลที่สามอยู่ด้วยในการตรวจผู้ป่วยต่างเพศ
17. ไม่วิจารณ์เพื่อนแพทย์ด้วยกันต่อหน้าผู้ป่วยหรือบุคลากรทางการแพทย์อื่นๆ
18. ไม่คิดค่าตอบแทนต่างๆในการตรวจรักษาเพื่อนแพทย์หรือญาติใกล้ชิดของแพทย์
ด้วยกัน
19. พึงใช้สติปัญญาอันรอบคอบ(จากที่พระผู้เป็นเจ้าให้มา)ในการตัดสินใจในการงานต่างๆ
จริยธรรมทางการแพทย์ในไทย
 สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบิดา
แห่งการแพทย์ไทย และพระบิดาแห่งการสังคมสงเคราะห์ ได้สั่งสอน
นักเรียนแพทย์ให้ยึดมั่นในอุดมคติ ดังนี้
กรณีของบทบาทพยาบาลในฐานะผู้ช่วยเหลือแพทย์
 แพทย์บางคนละเลยการปฏิบัติหน้าที่ที่แพทย์จะต้องทาเอง และมอบหมายให้พยาบาลทา
เช่น เมื่อผ่าตัดเสร็จ สั่งให้พยาบาลเย็บแผลต่อเพราะตนจะรีบไปทาธุระอื่น บอกให้
พยาบาลจ่ายยาไปตามที่เห็นสมควร ทั้งๆที่เป็นผู้ป่วยหนัก เหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่
ถูกต้อง พยาบาลเองก็อึดอัดที่จะปฏิบัติตามคาสั่งแพทย์ในกรณีดังกล่าว เพราะหากเกิด
ความเสียหายขึ้นพยาบาลต้องร่วมรับผิดด้วย ปัญหานี้จะแก้ไขอย่างไร ?

 พยาบาลติดต่อเพื่อให้แพทย์มาดูผู้ป่วย แต่แพทย์ไม่มา
จะด้วยเหตุผลใดก็ตาม พยาบาลจะทาอย่างไร ?
(ปัญหานี้เป็นเรื่องที่อาจเกิดจากสาเหตุต่างๆกัน ส่วนหนึ่งเป็นเรื่อง
ของระบบบริหาร ส่วนหนึ่งเกิดจากความบกพร่องของแพทย์เอง
ซึ่งจะต้องแยกเป็นส่วนๆ ไป)
สหรัฐฯสอบสวนโครงการทดลองทางการแพทย์ ในคดีละเมิด
จริยธรรมแพทย์
 มีการสอบสวนแพทย์ของสหรัฐฯ ที่มีการใช้มนุษย์ลองยาเข้าข่ายละเมิด
จริยธรรมและมนุษยธรรม ส่งผลให้ผู้บริสุทธิ์ได้รับผลกระทบด้านสุขภาพ
และชีวิต
 มีการฉีดเซลล์มะเร็งเข้าสู่ร่างกายวัยรุ่นชายอายุ 19 ปี ซึ่งป่วยเรื้อรัง
เพื่อสังเกตอาการทางร่างกาย แต่เจ้าหน้าที่กลับบอกอาสาสมัครว่าเป็นการ
ทดลองตัวยารวมถึงการพ่นเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์เอเชียเข้าจมูก
นักโทษ การฉีดเชื้อไวรัสซิฟิลิส และโกโนเรียแก่ผู้ป่วยโรคประสาท

http://www.thairath.co.th/content/oversea/152503
แพทย์สภายัน ตัดไข่เด็ก ผิด (1)
 บรรดาตุ๊ด แต๋ว กะเทย ที่อยากจะเปลี่ยนเพศจากชายเป็นหญิง พากันหันไปใช้
วิธีการตัดลูกอัณฑะหรือ “ตัดไข่” ทิ้ง จนกลายเป็นแฟชั่นฮิต โดยเสียค่าใช้จ่าย
เพียง 4,000-5,000 บาท ถูกกว่าการผ่าตัดแปลงเพศ “เฉาะจิ๋ม” ที่ต้องเสีย
ค่ า ใช้ จ่ า ยเป็ น เงิ น หลายแสนบาท โดยเชื่ อ ว่ า การตั ด ไข่ ทิ้ ง จะท าให้ รู ป ร่ า ง
ผิวพรรณดี มีความ เป็นหญิงมากขึ้น กอปรกับมีกระแสข่าวว่า จะมีกฎหมาย
ให้บรรดาบุคคลประเภทสอง สามารถใช้คานาหน้าว่า “น.ส.” ได้ ทาให้บรรดา
ผู้ปกครองของบรรดาตุ๊ด แต๋วและกะเทยวัยกระเตาะเหล่านี้ เกิดความวิตก
กังวลและเป็นห่วงลูกหลาน ว่าอาจมีอันตรายต่อชีวิตในอนาคต

http://tnews.teenee.com/crime/21912.html
แพทย์สภายัน ตัดไข่เด็ก ผิด (2)
ต้องกาชับผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ให้เข้มงวดใน
เรื่องดังกล่าวเพราะการผ่าตัดอัณฑะในเด็ก ที่ยังไม่ บรรลุนิติ
ภาวะน่าเป็นห่วง นอกจากนี้ จะต้องตรวจดูกฎหมายให้เข้มงวด
ไม่ใช่นึกจะทําก็ทํา ยืนยันว่าโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวง
สาธารณสุข ไม่มีการให้บริการลักษณะนี้ การกระทําของแพทย์
ลักษณะนี้น่าถูกตําหนิ ต่างกับกรณีที่แพทย์ถูกฟ้องร้อง เพื่อ
ปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือ ชีวิตคน ที่ควรให้การช่วยเหลือ
http://tnews.teenee.com/crime/21912.html
แพทย์สภาระบุหมอที่เลือกรักษาคนไข้ไร้จรรยาบรรณ เพราะ
ผิดทางอาญา ในการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์
 กรณีที่โรงพยาบาล........งดตรวจและรักษาเจ้าหน้าที่บางอาชีพว่า
“หลักการทั่วไปในเรื่องของจริยธรรมและเสรีภาพการประกอบวิชาชีพ
แพทย์ตามรัฐ ธรรมนูญที่กาหนดไว้หากมีผู้บาทเจ็บในภาวะฉุกเฉินซึ่ง
อาจเป็นอันตรายต่อชีวิต แพทย์จะปฎิเสธการรักษาไม่ได้ถึงแม้ผู้บาดเจ็บ
จะเป็นศัตรูเป็นผู้ร้ายก็ต้อง ทาการรักษาตามหลักจริยธรรม แต่หากได้รับ
บาดเจ็บที่ไม่ใช่ภาวะฉุกเฉินไม่ถึงขั้นเป็นอันตรายต่อชีวิต แพทย์สามารถ
ปฎิเสธการรักษาได้โดยการให้ไปรักษาที่โรงพยาบาลอื่นแทน
รวมทั้งหากเป็นการรักษาที่เกินความสามารถของแพทย์ แพทย์ก็สามารถ
http://www.thaibizcenter.com/hotnewsdetail.asp?newsid=688
ที่จะปฏิเสธการรักษาได้
เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์
 ความผิ ด พลาดเป็ น ของคู่ กั น ของมนุ ษ ย์ แ ม้ ร ะมั ด ระวั ง แล้ ว ก็ เ กิ ด ขึ้ น ได้
แต่ ความ
ผิดพลาดทางการแพทย์หมายถึงชีวิตและอวัยวะของมนุษย์ หนึ่งชีวิตกระทบต่ออีก
หลายชีวิต หลายชีวิตต้องสิ้นเนื้อประดาตัว +บ้านแตกสาแหรกขาด ไม่มีคนไข้คนใด
อยากฟ้องหมอ พวกเราไม่เคยเห็นหมอเป็นศัตรู แต่เราไม่มีทางเลือกให้เดิน วอน
รัฐบาลเร่งผลักดันร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ..
เพื่อปลดปล่อยความทุกข์ให้กับคนไข้ไทยทั้งประเทศ วอนหมอไม่ต่อต้านพรบ.แห่ง
เมตตาธรรมและมนุษยธรรมนี้

 http://thai-medical-
error.blogspot.com/2011_02_01_archive.html
41

จริยธรรม ทางศาสนาพุทธ
เบญจศีล เบญจธรรม
- เว้นจากการฆ่า - เมตตากรุณา
- เว้นการลักทรัพย์ - สัมมาอาชีวะ / ทาน
- เว้นการประพฤติผิดในกาม - กามสังกร
- เว้นการพูดเท็จ - สัจจะ
- เว้นการเสพเครื่องมึนเมา - สติสมั ปชัญญะ

(ศ.ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ)
42

จริยธรรมอันเกิดจากประเพณี : ผู้ใหญ่ ผู้น้อย


ศีลธรรม
- ผู้ใหญ่ไม่รังแกผู้น้อย
- ผู้น้อยไม่ล่วงละเมิดผู้ใหญ่

คุณธรรม
- ผู้ใหญ่เมตตา
- ผู้น้อยคอยก้มประนมกร ฯลฯ

(ศ.ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ)
43

สภาพบังคับ (Sanction) ของจริยธรรมแต่ละประเภท

ลักษณะร่วม : ดี/เลว ถูก/ผิด


ลักษณะต่าง :
จริยธรรมศาสนา กรรม, สวรรค์ / นรก
จริยธรรมตามประเพณี การที่สังคมยอมรับ / ไม่ยอมรับ
จริยธรรมวิชาชีพ การให้ / ไม่ให้ประกอบอาชีพ
จริยธรรมข้าราชการ วินัย

(ศ.ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ)
อาชีพที่สามารถเคลื่อนย้ายไปทางานได้อย่างเสรี ในสายการแพทย์
 อาชีพพยาบาล (Nursing Services) อาชีพทันตแพทย์ (Dental Practitioners)อาชีพ
แพทย์ (Medical Practitioners)
 จากตลาดการให้บริการประชาชน 63 ล้านคน เป็น 600 ล้านคน
 คุณภาพผู้ทางานสายแพทย์จะเป็นอย่างไร
 จะรักษามาตรฐานของผู้จบวิชาชีพแพทย์ได้อย่างไร ที่มิให้เกิดการอ่อนด้อยในเรื่องมาตรฐาน
ขององค์กรในการผลิตคน และการบริการ
 บางวิชาชีพของไทยเริ่มจะเข้าสู่วิกฤตการขาดแคลนอาจารย์ เช่น ทันตแพทย์
 จะระวังดูแลในเรื่องมาตรฐานของคนจากประเทศต่างๆ ในอาเซียนที่เข้ามาประกอบอาชีพใน
ไทยได้อย่างไร

http://www.thai-aec.com/ หรือ http://www.facebook.com/thailandaec


เราจะเตรียมการรับมืออย่างไรดี
เมื่อประชาคมอาเซียนมาถึง
จับตาฟิลิปปินส์และเวียดนาม จากข้อมูล
 สภาวการณ์ขาดแคลนนักรังสีเทคนิคไทย
จํานวนมาก
 ไทยมีอัตราค่าตอบแทนที่สูงกว่าอย่างมีนัยสําคัญ
 การเปิดให้มีการเคลื่อนย้ายเสรีของแรงงานมีฝีมือ
 ระบบการศึกษาที่ใกล้เคียงกัน
 มีใบประกอบโรคศิลปะ
 ประเทศไทยน่าอยู่ คนไทยมีน้ําใจ อัธยาศัยดี
เราจะเตรียมการรับมืออย่างไรดี
เมื่อประชาคมอาเซียนมาถึง
 เมื่อประชาคมอาเซียนมาถึง จึงน่าเป็นไปได้ว่า นักรังสีเทคนิคจากฟิลิปปินส์มี
โอกาสสูงที่สุดที่จะเข้ามาทางานในไทย โอกาสรองลงไปคือเวียดนาม

 จะกีดกันหรือจะสนับสนุนหรืออย่างไรก็ได้ เมื่อคิดว่าเราจะเสียเปรียบ แสดงว่า


ต้องเอาเปรียบใช่ไหม นั่นไม่ใช่วัตถุประสงค์ของประชาคมอาเซียน มิตรประเทศ
ของเราทั้งนั้น เพื่อน win เรา win น่าจะเป็นแนวทางที่ดี แต่ win ด้วยกัน
มีอะไรบ้างต้องช่วยกันคิด
ความเป็นมา

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ ให้ผู้ตรวจการแผ่นดิน มี


อานาจหน้าที่ดาเนินการเกี่ยวกับจริยธรรมของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
และเจ้าหน้าที่ ของรัฐ ตามมาตรา ๒๗๙ วรรค ๓ และมาตรา ๒๘๐
ผู้ตรวจการแผ่นดินมีคาสั่งจัดตั้งสานักส่งเสริมมาตรฐานจริยธรรมขึ้นตาม
มติของคณะกรรมการศึกษา เพื่อจัดวางระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการ
ดาเนินการเกี่ยวกับจริยธรรมของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่
ของรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๒
หมวด ๔ จริยธรรมของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
มาตรา ๓๖ การดาเนินการเกี่ยวกับจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐแต่ละประเภท
(๑) เสนอแนะหรือให้คาแนะนาในการจัดทามาตรฐานทางจริยธรรมหรือปรับปรุง
ประมวลจริยธรรมของเจ้าหน้าที่
(๒) ส่งเสริมให้ผู้ดารงตาแหน่งของรัฐมีจิตสานึกในด้านจริยธรรม
(๓) รายงานการกระทาที่มีการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรมเพื่อให้ผู้ที่รับผิดชอบในการ
บังคับการให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรม ดาเนินการบังคับให้เป็นไปตามประมวล
จริยธรรมเพื่อประโยชน์แห่งการดาเนินการตามหมวดนี้ ให้หน่วยราชการ หน่วยงาน
ของรัฐรัฐวิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่นส่งประมวลจริยธรรมที่ได้จัดทาขึ้นไปยัง
สานักงานผู้ตรวจการแผ่นดินภายในหกสิบวันนับแต่วันที่จัดทาประมวลจริยธรรม
ดังกล่าวแล้วเสร็จ
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๒
มาตรา ๓๘
 ในกรณีที่มีการร้องเรียนว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
มาตรฐานทางจริยธรรมตามประมวลจริยธรรม
 ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินส่งเรื่องให้ผู้ที่รับผิดชอบในการบังคับให้เป็นไปตาม
ประมวลจริยธรรม เพื่อดาเนินการบังคับให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรม
ที่มาของประมวลจริยธรรมขององค์กรของผู้ปฏิบัติงาน
 โดยทีม
่ าตรา ๒๗๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
บัญญัติให้มีประมวลจริยธรรมเพื่อกาหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของรัฐวิสาหกิจ
โดยมีกลไกและระบบในการบังคับใช้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกาหนดขั้นตอน
การลงโทษตามความร้ายแรงแห่งการกระทา และการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
มาตรฐานทางจริยธรรมถือเป็นการกระทาผิดทางวินัย
 เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญดังกล่าว อาศัย
อานาจตามมาตรา ๗๘ และ ๗๙ แห่ง พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน ๒๕๕๑
กระทรวงสาธารณสุขจึงได้กาหนดข้อบังคับว่าด้วย จรรยาข้าราชการ ?
ประมวลจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญที่ผู้ดารงตาแหน่งฯต้องประพฤติ
ปฎิบัติ ตามค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรม
๑. การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม
๒. การมีจิตสานึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบ
๓. การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน และไม่มีผลประโยชน์ทบั ซ้อน
๔. การยืนหยัดทาในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมาย
๕. การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไม่เลือกปฏิบัติ
๖. การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง
๗. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้
๘. การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๙. การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
ผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ มาตรา ๓๘
ในกรณีที่มีการร้องเรียนว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐฝ่าฝืน
หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมตามประมวล
จริยธรรม
ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินส่งเรื่องให้ผู้ที่รับผิดชอบในการ
บังคับให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรม เพื่อดาเนินการ
บังคับให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรม
( กรณีร้องเรียนที่หน่วยงาน )

1.1 รายงานเพื่อ
มีการร้องเรียน
การฝ่าฝืน 1 4
หรือไม่ปฏิบัติ หน่วยงาน ผู้ตรวจการ ดาเนินการ
ตามมาตรฐาน รายงานการดาเนินการราย ๔ เดือน แผ่นดิน ตามขั้นตอน
ทางจริยธรรม
3
2 ส่งเรื่อง รายงานผลการ
สอบสวน
ฐานข้อมูล
ให้กลไกผู้รับผิดชอบในการบังคับการให้ จริยธรรม
เป็นไปตามประมวลจริยธรรม ของ
ของประเทศ
หน่วยงานดาเนินการสอบสวน
( กรณีร้องเรียนที่ผู้ตรวจการแผ่นดิน )

6 ยุติ
5 เห็นว่าไม่ฝา่ ฝืน
มีการร้องเรียนการฝ่า ส่งผู้รับผิดชอบในการบังคับการเพื่อ
ฝืนหรือไม่ปฏิบตั ิตาม 4 ดาเนินการบังคับให้เป็นไปตาม
1 ตรวจสอบรายงาน ประมวลจริยธรรม
มาตรฐานทางจริยธรรม ผู้ตรวจการ
เห็นว่าฝ่าฝืน
แผ่นดิน
กรณีผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองฝ่า
3 -การฝ่าฝืนหรือไม่ ฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม และหากเป็นการ
2 ส่งเรื่อง ปฏิบัติตามมาตรฐาน กระทาผิดร้ายแรง ให้ส่งเรื่องให้
รายงานผลการ
สอบสวน ทางจริยธรรมมี คณะกรรมการ ป.ช.ช. พิจารณา
ลักษณะร้ายแรง ดาเนินการโดนให้ถือเป็นเหตุที่จะถูก
ถอดถอน
ให้กลไกผู้รับผิดชอบในการบังคับการให้ -มีเหตุอันควรเชื่อว่า
เป็นไปตามประมวลจริยธรรม ของหน่วยงาน การดาเนินการจะไม่ อาจไต่สวนและ
ดาเนินการสอบสวน เป็นธรรม เปิดเผยผลการไต่
สวนต่อสาธารณะ
แหล่งอ้างอิง
 http://en.wikipedia.org/wiki/Medical_ethics
 State Institute of Health & Family Welfare, Jaipur, India
(http://www.sihfwrajasthan.com/presentation.html)

You might also like