Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 156

ทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่
๑. คาอธิบายทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่
การพัฒนาศักยภาพทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ เป็ นการพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ในเรื่อง การเคลื่อนไหวในท่านอน การคืบ การคลาน การนั่ง การยืน
การเดิน การวิ่ง การกระโดด และการรับ-ส่งลูกบอล
โดยใช้การปฏิบัติจริง การสาธิต การวิเคราะห์งานเป็นลาดับขั้นตอน ฝึกทักษะแบบบูรณาการ ในการพัฒนาศักยภาพอย่างสมบูรณ์และสมดุลในด้าน
ต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีคณะสหวิชาชีพ ผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนมีกล้ามเนื้อมัดใหญ่ที่แข็งแรงทางานได้อย่างประสานสัมพันธ์กัน ร่างกายเจริญเติบโต มีสุขนิสัยที่ดี เล่นและทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือตนเองและดารงชีวิตประจาวันได้เต็มศักยภาพ

๒. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่
๑. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ในการทากิจกรรมได้ เต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล
๒. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ตามลาดับขั้นพัฒนาการ
๓. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ร่วมกับทักษะอื่น ๆ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันได้

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๑.การเคลื่อนไหวใน ๑.๑ การเคลื่อนไหว ๑. สามารถควบคุมศีรษะและลูกตา ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนในท่านอนหงายโดยผู้สอนนั่งอยู่ปลายเท้าของผู้เรียน
ท่านอน ในท่านอนหงาย ตามเป้าหมายได้ ๒. ผู้สอนนากระดิ่งหรือของเล่นมีเสียง สีสันสดใสกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจมอง
หรือหันศีรษะตามทิศทางของการกระตุ้น
๒. สามารถควบคุมศีรษะให้อยู่ในแนว ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนในท่านอนหงายโดยผู้สอนนั่งอยู่ปลายเท้าของผู้เรียน
กึ่งกลางได้ ๒. ผู้สอนนากระดิ่งหรือของเล่นมีเสียง สีสันสดใสกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจมอง
หรือหันศีรษะในแนวกึ่งกลางลาตัว
๓. สามารถควบคุมศีรษะเมื่อยกลาตัว ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนในท่านอนหงายโดยผู้สอนนั่งอยู่ปลายเท้าของผู้เรียน
ขึ้นจากท่านอนหงายได้ ๒. ผู้สอนจับข้อมือทั้งสองข้างดึงขึ้นมาช้าๆ อยู่ในท่านั่งในขณะที่จะเริ่มดึงตัว
ควรรอสักครู่ เพื่อให้ผู้เรียนเตรียมตัวและพร้อมที่จะเกร็งคอยกศีรษะขึ้นมา
๔. สามารถเคลื่อนไหวแขนได้ ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนในท่านอนหงายโดยผู้สอนนั่งอยู่ปลายเท้าของผู้เรียน
๒. ผู้สอนนากระดิ่งหรือของเล่นมีเสียง สีสันสดใสกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ
พยายามหลอกล่อให้ผู้เรียนมีการขยับแขน เพื่อสัมผัสของเล่นทีละข้าง
๓. ผู้สอนกระตุ้นด้วยของที่ผู้เรียนชอบเพื่อให้ผู้เรียนสนใจ พยายามหลอกล่อ
ในแนวกึ่งกลางลาตัว เพื่อให้ผู้เรียนมีการเคลื่อนไหวแขนสองข้าง เพื่อ
แตะสัมผัสของเล่น
๕. สามารถเคลื่อนไหวขาได้ ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนในท่านอนหงายโดยผู้สอนนั่งอยู่ปลายเท้าของผู้เรียน
๒. ผู้สอนนากระดิ่งหรือของเล่นมีเสียง สีสันสดใสกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ
พยายามหลอกล่อให้ผู้เรียนมีการขยับขา เพื่อสัมผัสของเล่นทีละข้าง
๓. ผู้สอนนาของเล่นที่มีเสียงสัมผัสหรือเคาะเบาๆที่ขาทั้งสองข้าง กระตุ้นให้
ผู้เรียน มีการเคลื่อนไหวขาสองข้าง เพื่อเตะของเล่น

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑.๒ การพลิกตะแคง ๑. สามารถพลิกตะแคงซ้าย-ขวาได้ ๑. การพลิกตะแคงตัวโดยมีผู้ช่วยเหลือ จัดผู้เรียนในท่านอนหงาย ผู้สอนใช้
ตัว ผ้าขนหนูม้วนหรือหมอนข้างขนาดที่เหมาะสม มาหนุนด้านหลังผู้เรียนด้าน
ใดด้านหนึ่ง ผู้สอนใช้กระดิ่งหรือของเล่นมีเสียงสีสันสดใสที่ผู้เรียนชอบหรือ
สนใจ กระตุ้นระดับต่ากว่าสายตาผู้เรียน พยายามดึงความสนใจมาด้านข้าง
ให้ผู้เรียนมีการพลิกตะแคงมาด้านข้าง เพื่อสัมผัสของเล่น
๒. ถ้าผู้เรียนไม่สามารถพลิกเองได้ให้ผู้สอน ช่วยจัดท่าผู้เรียนโดยจัดแขนด้าน
ที่ต้องการพลิกเหยียดเหนือศีรษะ เพื่อไม่ให้พลิกตะแคงทับแขนตนเอง
งอเข่าด้านตรงข้ามการพลิกตะแคง จับที่สะโพกเพื่อช่วยดันสะโพกให้พลิก
ไปด้านข้าง แล้วให้โยกช้าๆ เบาๆ ในท่าตะแคง เพื่อให้ผู้เรียนรับรู้การ
เคลื่อนไหวและการถ่ายเทน้าหนักร่างกาย
๓. การพลิกตะแคงด้วยตัวเอง ขณะผู้เรียนนอนหงาย เขย่าของเล่นที่มีเสียง
หรือสีสันสดใสที่ผู้เรียนสนใจ ด้านข้างระดับสายตา ด้านใดด้านหนึ่งกระตุ้น
ให้ผู้เรียนพลิกตะแคงตัว
๒. สามารถพลิกตะแคงตัวคว่าและ ๑. ผู้สอนฝึกการพลิกคว่า โดยเริ่มจากจัดท่าให้ผู้เรียนอยู่ในท่านอนหงาย
หงายได้ ผู้สอนใช้ของเล่นที่ผู้เรียนชอบและสนใจ กระตุ้นด้านข้างระดับสายตา
ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนหันศีรษะตาม แล้วพลิกตัวตะแคงจนสามารถพลิกตัว
คว่าได้
๒. ถ้าผู้เรียนไม่สามารถพลิกคว่าได้ผู้สอนอาจช่วย โดยออกแรงดันเบาๆ ให้
ผู้เรียนเกิดการพลิกตัวเพื่อชี้นาท่าทางการเคลื่อนไหว (ขึ้นอยู่กับความพร้อม
ของกล้ามเนื้อและระบบประสาทของผู้เรียน)
๓. ผู้สอนฝึกการพลิกหงาย โดยเริ่มจากจัดท่าให้ผู้เรียนนอนคว่า ผู้สอนใช้ของ

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


เล่นที่ผู้เรียนชอบและสนใจ โดยกระตุ้นด้านข้าง ระดับสายตาผู้เรียนเพื่อให้
ผู้เรียนหันศีรษะตาม แล้วพลิกตัวตะแคงจนสามารถพลิกตัวคว่าได้
๔. ถ้าผู้ เรียนไม่ ส ามารถพลิ กหงายได้ผู้ ส อนอาจช่ว ยโดย ออกแรงดันเบาๆ
ให้ผู้เรียนเกิดการพลิกตัวเพื่อชี้นาท่าทางการเคลื่อนไหว (ขึ้นอยู่กับความ
พร้อมของกล้ามเนื้อและระบบประสาทของผู้เรียน)
๑.๓ การเคลื่อนไหว ๑. สามารถยกศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่ง ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนอยู่ในท่านอนคว่า เขย่าของเล่นที่มีเสียงตรงหน้าผู้เรียน
ในท่านอนคว่า ขณะนอนคว่าได้ ระยะห่างประมาณ 30 เซนติเมตร
๒. เมื่อผู้เรียนมองที่ของเล่นแล้วค่อยๆ เคลื่อนของเล่ นมาทางด้านซ้าย เพื่อให้
ผู้เรียนหันศีรษะมองตาม ค่อยๆ เคลื่อนของเล่นกลับมาที่เดิม ทาซ้าอีกครั้ง
โดยเปลี่ยนให้เคลื่อนของเล่นมาทางด้านขวา
๒. สามารถชันคอได้ ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนในท่านอนคว่าใช้ผ้าขนหนูม้วนหรือหมอนข้างขนาดที่
เหมาะสมหนุนใต้อกข้อศอกงอ กระตุ้นผู้เรียนโดยการเรียกชื่อ หรือ เขย่า
ของเล่นด้านหน้า ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสนใจ มอง และพยายามยกศีรษะ
ประมาณ ๔๕ องศา เมื่อสามารถชันคอได้ดีแล้ว ให้กระตุ้นผู้เรียนโดยการ
เรียกชื่อ หรือเขย่าของเล่นด้านหน้าผู้เรียนโดยยกให้สูงระดับสายตา ค้างไว้
สักครู่เพื่อให้มองและพยายามยกศีรษะขึ้นประมาณ ๙๐ องศา
๒. กรณีผู้เรียนไม่สามารถอยู่ในท่างอข้อศอกได้ ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนพาดบน
หมอนข้างเล็กๆหรือผ้าขนหนูม้วน ลงน้าหนักบนท่อนแขนทั้งสองข้าง
(ท่างอศอก)ผู้สอนจัดผู้เรียน ในท่านอนคว่าแขนยันพื้นให้ข้อศอกอยู่ข้างหน้า
ไหล่ ค้างไว้ชั่วครู่ (ประมาณ ๕-๑๐ วินาที)

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓. เตรียมความพร้อมการคืบ โดยมีวิธีการกระตุ้นดังนี้
๓.๑ การลงน้าหนักบนแขนข้างเดียว (ท่างอศอก) ผู้สอนจัดผู้เรียนในท่า
นอนคว่ าเพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ยนสามารถใช้ เ พี ย งท่ อนแขนข้ า งเดี ย วยั น ตั ว
ผู้สอนควรกระตุ้นด้านหน้าเยื้องไปด้านข้างขณะกระตุ้นให้ยกแขน
แต่ล ะข้าง ด้วยของเล่ นที่มีเสี ยงสีสั นสดใสที่ผู้ เรียนชอบหรือสนใจ
พยายามกระตุ้นให้ผู้เรียนแตะสัมผัสของเล่น จนเหยียดแขนข้างใด
หนึ่งออกมา เพื่อให้มีการพยุงตัวด้วยแขนเพียงข้างเดียวค้างไว้ชั่วครู่
(ประมาณ ๕-๑๐ วินาที)
๓.๒ การลงน้าหนักโดยใช้มือสองข้าง (ท่าเหยียดศอก) จัดผู้เรียนในท่า
นอนคว่า ผู้สอนถือของเล่นไว้ด้านหน้าเหนือศีรษะผู้เรียน ผู้สอนใช้
ของเล่นที่ผู้เรียนชอบหรือสนใจ กระตุ้นผู้เรียน แล้วค่อยๆ เคลื่อน
ของเล่นขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนสนใจยกศีรษะและลาตัวตามจนพ้นพื้น
ในท่าแขนเหยียดตรงมือยันพื้น
๓.๓ การลงน้าหนักโดยใช้มือข้างใดข้างหนึ่ง (ท่าเหยียด) จัดผู้เรียนในท่า
ตั้งคลานผู้สอนถือของเล่นไว้ด้านหน้าเหนือศีรษะผู้เรียน ผู้สอนใช้
ของเล่นที่ผู้เรียนชอบกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ แล้วค่อย ๆ เคลื่อนของ
เล่นขึ้น เพื่อให้เด็กสนใจยกศีรษะและลาตัวตามจนพ้นพื้น ในท่า
แขนเหยียดตรงมือยันพื้น ค้างไว้ชั่วครู่ใช้ของเล่นกระตุ้นเพื่อให้
ผู้เรียนพยายามแตะสัมผัสของเล่น จนอยู่ในท่าศอกเหยียดข้างเดียว

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๒. การคืบและการ ๒.๑ การคืบ ๑. สามารถคืบได้ ๑. ผู้สอนจัดผู้เรียนนอนคว่าให้หน้าอกอยู่บนหมอนข้าง กระตุ้นลงน้าหนัก
คลาน ที่แขนทั้งสองข้าง ผู้สอนจับสะโพกดันไปข้างหน้า ข้างหลัง ให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ในการควบคุมการเคลื่อนไหวของข้อสะโพก
๒. เมื่อผู้เรียนทาได้ดี ให้ค่อยๆ หมุนหมอนข้างไปข้างหน้าทีละน้อยให้
ผู้เรียน มีการเคลื่อนที่ไปด้านหน้า เมื่อผู้เรียนสามารถทาได้ให้นาหมอนข้าง
ออกแล้วให้ผู้เรียนคืบไปด้านหน้าด้วยตนเอง อาจใช้ของเล่นกระตุ้นให้คืบ
ไปหาของเล่น ระยะแรกผู้สอนอาจจะช่วยโดยจับที่ไหล่และท่อนแขน
ด้านบนให้มีการเดินศอกไปด้านหน้า เมื่อผู้เรียนทาได้ดีให้ลดการช่วยเหลือ
ลง
๒.๒ การคลาน ๑. สามารถคลานได้ ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนให้อยู่ในท่าตั้งคลาน โดยมือทั้งสองยันพื้น (ข้อศอก
เหยียด) ยกลาตัวขึ้นอยู่ในท่าตั้งคลาน ถ้าผู้เรียนไม่สามารถใช้มือดันขึ้นเอง
ผู้สอนช่วยจัดท่าผู้เรียนตั้งขึ้น ฝึกโดยให้ผู้เรียนอยู่ในท่าตั้งคลานอยู่กับ
ที่ชั่วครู่เพื่อให้ผู้เรียนมีความพร้อมของกล้ามเนื้อในการทรงท่าทางและ
เตรียมเคลื่อนไหว
๒. ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนเอื้อมมือมาหยิบของเล่นในขณะตั้งคลาน เปลี่ยนมือ
ทั้งซ้ายและขวา
๓. ฝึกให้ผู้เรียนคลาน โดยผู้สอนใช้มือกระตุ้นให้เกิดการคลานมือจับที่ไหล่และ
ข้อสะโพกสลับกันคือ ไหล่ซ้ายสะโพกขวา ไหล่ขวาสะโพกซ้าย ดันให้มีการ
เคลื่อนที่ไปด้านหน้า เมื่อผู้เรียนทาได้ดีลดการช่วยเหลือลง
๔. ผู้สอนใช้ของเล่นที่ผู้เรียนชอบกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ เพื่อให้ผู้เรียนมีการ
เคลื่อนที่โดยการคลานตามสิ่งของนั่น ๆ

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓. การนั่ง ๓.๑ การเปลี่ยนท่า ๑. สามารถเปลี่ยนท่านอนตะแคงเป็น ๑. ผู้สอนจัดผู้เรียนท่านอนตะแคง ผู้สอนจับสะโพกและไหล่แล้วให้ผู้เรียน
นอนตะแคงเป็นนั่ง นั่งได้ ใช้ข้อศอกยันพันพื้น พร้อมยกตัวขึ้น เหยียดแขนลุกขึ้นนั่ง
๓.๒ การนั่งทรงตัว ๑. สามารถควบคุมศีรษะให้ตั้งตรง(ใน ๑. ผู้สอนพยุงผู้เรียนนั่งบนพื้นโดยช่วยจับบริเวณไหล่ให้มั่นคง
อยู่กับที่บนพื้น ท่านั่งโดยผู้อื่นช่วยเหลือ)ได้ ๒. ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนยกศีรษะตั้งขึ้นโดยผู้สอนใช้สิ่งของที่ผู้เรียนสนใจ
(Static balance) หรือพูดคุยกับผู้เรียนกระตุ้นให้มองและพยายามควบคุมศีรษะ
๒. สามารถนั่งโดยใช้มือทั้งสองข้าง ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนอยู่ในท่านั่งทรงตัวบนพื้น
ยันพื้นได้ ๒. ใช้มือทั้งสองข้างยันพื้นในลักษณะแบมือ
๓. สามารถนั่งโดยใช้มือ1ข้างยันพื้นได้ ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนอยู่ในท่านั่งทรงตัวบนพื้น
๒. ใช้มือข้างเดียวยันพื้นในลักษณะแบมือ มืออีกข้างเป็นอิสระหรือ
ทากิจกรรมอื่น
๔. สามารถนั่งได้อย่างอิสระ ๑. ผู้สอนจัดผู้เรียนนั่งบนพื้น ยื่นของเล่นให้ผู้เรียนเล่น ให้ผู้เรียนฝึกนั่งทรงตัว
โดยไม่ใช้มือยันพื้น
๒. ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนนั่งทรงตัวบนพื้น โดยมือเป็นอิสระสามารถเล่นหรือ
ทากิจกรรมอื่นได้
๓.๓ การนั่งทรงตัว ๑. สามารถเอื้อมมือหยิบวัตถุทางด้าน ๑. ผู้สอนจัดผู้เรียนอยู่ในท่านั่งผู้สอนยื่นของเล่นให้ผู้เรียนด้านหน้า ในระยะ
บนพื้นโดยมีการถ่าย หน้าได้ในท่านั่ง เอื้อมถึง กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจและเอื้อมมือมาหยิบของเล่น
น้าหนัก (Dynamic ๒. สามารถเอื้อมมือหยิบวัตถุทางด้าน ๑. ผู้สอนจัดผู้เรียนอยู่ในท่านั่งผู้สอนยื่นของเล่นให้ผู้เรียนด้านข้างทั้งซ้ายและ
balance) ข้างได้ในท่านั่ง ขวา(ทีละด้าน) ในระยะเอื้อมถึง
๒. กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจและเอื้อมมือมาหยิบของเล่น

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓. สามารถเอื้อมมือหยิบวัตถุจากที่สูง ๑. ผู้สอนจัดผู้เรียนอยู่ในท่านั่งผู้สอนยื่นของเล่นให้ผู้เรียนเหนือศีรษะ ในระยะ
ได้ในท่านั่ง เอื้อมถึง
๒. ผู้สอนกระตุ้นให้เด็กสนใจและเอื้อมมือมาหยิบของเล่น
๕. สามารถเอี้ยวตัวใช้มือเล่นอย่าง ๑. ผู้สอนจัดผู้เรียนอยู่ในท่านั่งวางของเล่นไว้ที่พื้นทางด้านข้าง เยื้องไป
อิสระในท่านั่งได้ ด้านหลังของผู้เรียนในระยะที่ผู้เรียนเอื้อมถึง
๒. ผู้สอนเรียกชื่อ หรือเขย่าของเล่นให้ผู้เรียนสนใจเพื่อจะได้เอี้ยวตัวไปหยิบ
ของเล่น แล้วทาอีกข้างสลับกันไป
๓.๔ การนั่งทรงตัว ๑. สามารถนั่งเก้าอี้โดยมีการช่วยเหลือ ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนในท่านอนหงายบนเตียง ผู้สอนให้ผู้เรียนตะแคงตัว
บนเก้าอี้(Static ได้ ห้อยขาลงข้างเตียง ผู้สอนประคองไหล่ กดสะโพกให้ผู้เรียนลุกนั่ง
balance) ถ้าผู้เรียนทาได้ดีให้ผู้สอนลดการช่วยเหลือลง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งห้อยขาลงข้างเตียง คอยประคองหลังพยายามกระตุ้นให้
ผู้เรียนยืดหลังและพยายามทรงตัว ลดการช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้ดีขึ้น
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งเก้าอี้แบบมีพนักพิงให้เท้าวางราบกับพื้น กรณีผู้เรียน
มีการทรงตัวในท่านั่งไม่ดี อาจเลือกใช้เก้าอี้ที่มีพนักพิงสูงๆ เพื่อให้ผู้เรียน
นั่งพิง หรือเพิ่มสายรัดช่วงหน้าอก เพื่อช่วยประคองการทรงตัวในท่านั่ง
ผู้สอนคอยสังเกตและระมัดระวังความปลอดภัยอย่างใกล้ชิด โดยให้
ความช่วยเหลือน้อยที่สุดตามความสามารถของผู้เรียน
๒. สามารถนั่งเก้าอี้ได้อย่างอิสระ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งเก้าอี้แบบมีพนักพิงให้เท้าวางราบกับพื้น พยายาม
กระตุ้นให้ผู้เรียนยืดตัวขึ้น หรือฝึกนั่งทากิจกรรมร่วมด้วย เช่น นั่งเก้าอี้
หยอดกระปุกออมสิน หรือนั่งหยิบบอลใส่ตะกร้า ฯลฯ ผู้สอนคอยดูแลความ
ปลอดภัยในการนั่ง

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งเก้าอี้แบบไม่มีพนักพิง เท้าวางราบกับพื้น ผู้เรียนนั่ง
ตัวตรง ผู้สอนออกแรงดันที่หัวไหล่เบาๆ ในทิศทางต่างๆ เช่น ด้านหน้า หลัง
ซ้าย ขวา พร้อมบอกผู้เรียนพยายามนั่งทรงตัวต้านแรงเพื่อไม่ให้ล้ม
๓.๕ การนั่งทรงตัว ๑. สามารถนั่งบนเก้าอี้แล้วเอื้อมมือ ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนให้นั่งบนเก้าอี้แบบมีพนักพิง เท้าวางราบกับพื้น
บนเก้าอี้โดยมีการ หยิบวัตถุทางด้านหน้าได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งทรงตัว แล้วเอื้อมมือหยิบของเล่นที่อยู่ด้านหน้า
ถ่ายน้าหนัก ๒. สามารถนั่งบนเก้าอี้แล้วเอื้อมมือ ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนให้นั่งบนเก้าอี้แบบมีพนักพิง เท้าวางราบกับพื้น
(Dynamic หยิบวัตถุทางด้านข้างได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งทรงตัวแล้วเอื้อมมือหยิบของเล่นที่อยู่ด้านข้าง
balance)
๓. สามารถนั่งบนเก้าอี้แล้วเอื้อมมือ ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนให้นั่งบนเก้าอี้แบบมีพนักพิง เท้าวางราบกับพื้น
หยิบวัตถุจากที่สูงได้ ๒. ผูส้ อนให้ผู้เรียนนั่งทรงตัวแล้วเอื้อมมือหยิบของเล่นที่อยู่ที่สูง
๔. สามารถนั่งบนเก้าอี้แล้วเอื้อมมือ ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนให้นั่งบนเก้าอี้แบบมีพนักพิง เท้าวางราบกับพื้น
หยิบวัตถุที่อยู่ระดับต่าได้ ๒. ผูส้ อนให้ผู้เรียนนั่งทรงตัวแล้วเอื้อมมือหยิบของเล่นที่อยู่ที่ต่า
๕. สามารถนั่งบนเก้าอี้แล้วเอื้อมมือ๑. ผู้ ส อนจั ด ท่ า ผู้ เ รี ย นให้ นั่ง บนเก้ า อี้ แ บบมี พ นั ก พิง ที่ มี ข นาดและความสู ง
หยิบวัตถุทางด้านหลังได้ เหมาะสม โดยเท้าของผู้เรียนวางราบกับพื้นพอดี
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งทรงตัวแล้วเอื้อมมือหยิบของเล่นทางด้านหลัง
๖. สามารถเอี้ยวตัวและใช้มือหยิบของ ๑. ผู้ ส อนจั ด ท่ า ผู้ เ รี ย นให้ นั่ ง บนเก้ า อี้ แ บบมี พ นั ก พิ ง ที่ มี ข นาดและความสู ง
เล่นอย่างอิสระในท่านั่งได้ เหมาะสม โดยเท้าของผู้เรียนวางราบกับพื้นพอดี
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งทรงตัวแล้วเอี้ยวตัวทากิจกรรมได้อย่างอิสระ เช่น หยิบ
ของเล่นด้านข้าง เป็นต้น
๑๐

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔.การยืน ๔.๑ การทรงตัวในท่า ๑. สามารถยืนโดยอิสระด้วยขาสอง ๑. ผู้สอนจัดท่าให้ผู้เรียนยืนกางขาห่างกันประมาณ ๑ ช่วงไหล่ของผู้เรียน
ยืน ๒ ขา ข้างได้ โดยผู้สอนจับเอวผู้เรียนเพื่อช่วยพยุง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนเหยียดขาลงน้าหนักขาทั้งสองข้าง ยืนทรงตัวด้วยตนเอง
๒. สามารถลุกขึ้นยืนจากเก้าอี้ได้ ๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนให้นั่งบนเก้าอี้ที่มีขนาดและความสูงเหมาะสม โดยเท้า
ของผู้เรียนวางราบกับพื้นพอดี
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนโน้มตัวไปข้างหน้า ลงน้าหนักที่ขา เหยียดเข่าเหยียดสะโพก
ดันตัวลุกขึ้นยืน
๓. สามารถลุกขึ้นยืนจากพื้นได้ ๑. ผู้สอนจัดท่าให้ผู้เรียนนั่งพับเพียบบนพื้น
๒. ผู้สอนจับตะโพกผู้เรียนให้อยู่ในท่าคุกเข่า
๓. ผู้สอนประคองลาตัวผู้เรียน กระตุ้นการถ่ายน้าหนักไปขาขวา ตามด้วยยก
ขาซ้ายตั้งขึ้น ถ่ายน้าหนักไปขาซ้าย แล้วโน้มตัวลุกขึ้นยืน เหยียดขาทั้งสอง
ข้างขึ้น กรณีผู้เรียนทาไม่ได้ให้ผู้สอนช่ วยพยุงลาตัว มือขวาดันสะโพกให้
ลุกขึ้น
๔.๒ การทรงตัวใน ๑. สามารถยืนทรงตัวขาเดียวตามเวลา ๑. ผู้สอนสาธิตการยืนขาเดียวให้ผู้เรียนดู ให้ผู้เรียนทาตาม
ท่ายืนขาเดียว ที่กาหนดได้ ๒. ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนยืนขาเดียวค้างไว้สักครู่ กรณีผู้เรียนยังทรงตัวในท่า
ยืนขาเดียวไม่ได้ ให้ฝึกยืนแล้วยกขาขึ้นหนึ่งข้าง โดยใช้ระยะเวลาสั้นๆก่อน
แล้วจึงเพิ่มเวลานานขึ้น และ/หรือ ฝึกการทรงตัวขณะยืนด้วยขาข้างเดียว
ผ่านการทากิจกรรมอื่นๆ เช่น เตะลูกบอล เดินข้ามสิ่งกีดขวาง เป็นต้น
๑๑

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๕.การเดิน ๕.๑ การเกาะเดิน ๑. สามารถเกาะเดินไปด้านข้างได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนจับราวฝึกเดิน โดยผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนก้าวไปด้านข้าง
กรณีผู้เรียนทาไม่ได้ ให้ผู้สอนช่วยจับขาก้าวไปด้านข้าง เมื่อผู้เรียนเริ่มทาได้
เองแล้วจึงลดการช่วยเหลือลง
๒. หากต้อ งการเพิ่ มความทนทานและความแข็ งแรงของกล้ า มเนื้อ ให้ เพิ่ ม
จานวนรอบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระดับความสามารถของผู้เรียน
๒. สามารถเกาะเดินไปด้านหน้าได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนจับราวคู่ขนานเดินก้าวขาไปด้านหน้า โดยช่วงแรกผู้สอน
อาจช่วยจับขาผู้เรียนให้ก้าวไปด้านหน้าทีละก้าว เมื่อผู้เรียนเริ่มทาได้เอง
แล้วจึงลดการช่วยเหลือลง
๒. หากต้อ งการเพิ่ มความทนทานและความแข็ งแรงของกล้ า มเนื้อ ให้ เพิ่ ม
จานวนรอบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระดับความสามารถของผู้เรียน
๕.๒ การเดินด้วย ๑. สามารถเดินได้ ๑. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นยื น ผู้ ส อนยื น อยู่ ด้ า นข้ า ง กระตุ้ น ให้ ผู้ เ รี ย นก้ า วขาไป
ตนเอง ข้างหน้า แล้วกลับที่เดิม ผู้สอนควรสังเกต การยกขา งอเข่า งอสะโพก แล้ว
ยกเท้ากลับมาที่เดิมของผู้เรียน ทาซ้าจนกว่าผู้เรียนจะทาได้คล่อง กรณี
ผู้ เ รี ย นท าไม่ ไ ด้ ใ ห้ ผู้ ส อนให้ ก ารช่ ว ยเหลื อ โดยจั บ ที่ เ ข่ า และเท้ า
ถ้าผู้เรียนทาได้ดีแล้วให้ลดการช่วยเหลือลง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกเดินผ่านการทากิจกรรม เช่น เดินไปกลับหยิบบอลใส่
ตะกร้า เดินบนทางลาดเอียง เป็นต้น เพื่อเพิ่มความแข็งแรงทนทานของ
กล้ามเนื้อ โดยผู้สอนคอยระมัดระวังความปลอดภัยระหว่างฝึกร่วมด้วย
๒. สามารถเดินข้ามสิ่งกีดขวางได้ ๑. ผู้สอนยืนอยู่ด้านข้างผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียนก้าวขาไปข้างหน้าข้ามสิ่งกีด
ขวาง ระยะก้าวเดิน สั้นๆ ทาซ้าจนกว่าผู้เรียนจะทาได้เอง กรณีผู้เรียนทา
ไม่ได้ ผู้สอนให้ความช่วยเหลือ หากผู้เรียนทาได้แล้วให้ลดการช่วยเหลือลง
๑๒

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกการเดินข้ามสิ่งกีดขวางผ่านการทากิจกรรม เช่น เดิน
ข้ามบล็อกโฟม แผ่นโฟม แผ่นกระดาษ หรือขอนไม้ โดย การปรับระดับ
จากกิ จ กรรมที่ ง่ า ยไปสู่ กิ จ กรรมที่ ย ากขึ้ น เพื่ อ เพิ่ ม ส่ ง เสริ ม ทั ก ษะและ
ความสามารถของผู้เรียน
๓. สามารถเดินต่อส้นเท้าตาม ๑. ผู้สอนสาธิตการเดินต่อส้นเท้าแล้วให้ผู้เรียนทาตาม
ระยะทางที่กาหนดได้ ๒. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นเดิ น ต่ อ ส้ น เท้ า ตามเส้ น ตรง กรณี ผู้ เ รี ย นท าไม่ ไ ด้
ผู้สอนให้ความช่วยเหลือ หากผู้เรียนทาได้แล้วให้ลดการช่วยเหลือลง
๔. สามารถเดินบนเส้นตรงได้ ๑. ผู้ ส อนสาธิ ต เดิ น บนเส้ น ตรง แล้ ว ให้ ผู้ เ รี ย นเดิ น ด้ ว ยตนเอง โดยผู้ ส อน
ช่วยเหลือเมื่อผู้เรียนสามารถทาได้ดีลดการช่วยเหลือ
๒. เล่ น เกม ให้ ผู้ เรีย นเดินแข่ง ขันการเก็บ ของเล่ น /ลู กบอล โดยให้ เดิ นบน
เส้นตรงที่กาหนด
๕. สามารถเดินบนคานทรงตัวได้ ๑. สอนสาธิตเดินบนคานทรงตัว แล้วให้ผู้เรียนเดินด้วยตนเอง โดยผู้สอนคอย
ให้การช่วยเหลือ เมื่อผู้เรียนสามารถทาได้แล้วให้ลดการช่วยเหลือลง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนเดินทรงตัวผ่านการทากิจกรรมหรือเกม เช่น เดินบนคาน ไป
กลั บหยิบของเล่นใส่ ตะกร้า เป็นต้น ฝึ กซ้าจนผู้ เรียนสามารถเดินได้ด้ว ย
ตนเอง
๕.๓ การเดินขึ้น-ลง ๑. สามารถเดินขึ้น-ลงบันไดโดยจับราว ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนจับราวบันได ผู้สอนยืนต่ากว่าผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เ รียน
บันได บันได แบบพักเท้าได้ ก้าวขาข้างหนึ่งขึ้นบันไดแล้วก้าวขาอีกข้างหนึ่งขึ้นมาอยู่ขั้นเดียวกัน ผู้สอน
จับบริเวณสายรัดเอวหรือขอบกางเกงคอยพยุงและช่วยเหลือให้ผู้เรียนมีทิศ
ทางการเคลื่อนไหวที่ถูกต้อง
๑๓

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนจับราวบันได ผู้สอนยืนต่ากว่าผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียน
ก้าวขาลงบันไดแล้วก้าวขาอีกข้าหนึ่งลงมาอยู่ขั้นเดียวกัน ผู้สอนจับบริเวณ
สายรัดเอวหรือขอบกางเกงคอยพยุงและช่วยเหลือให้ผู้เรียนมีทิศทางการ
เคลื่อนไหวที่ถูกต้อง ฝึกซ้าจนผู้เรียนมีการทรงตัวที่ดีและสามารถเดินขึ้น -
ลงบันไดโดยจับราวบันได แบบพักเท้าด้วยตนเอง
๒. สามารถเดินขึ้น-ลงบันไดโดยจับราว ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนบนบันได ผู้สอนยืนต่ากว่าผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียนก้าว
บันได แบบสลับเท้าได้ ขาขึ้ น บั น ไดสลั บ เท้ า ผู้ ส อนจั บ บริ เ วณสายรั ด เอวหรื อ เข็ ด ขั ด หรื อ ขอบ
กางเกงผู้เรียน คอยพยุงและช่วยเหลือให้ผู้เรียนมีทิศทางการเคลื่อนไหวที่
ถูกต้อง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนบนบันได ผู้สอนยืนต่ากว่าผู้เรียนกระตุ้นให้ผู้เรียนก้าวขา
ลงบันไดสลับเท้า ผู้สอนจับบริเวณสายรัดเอวหรือเข็มขัดหรือขอบกางเกง
ผู้เรียนคอยพยุงและช่วยเหลือให้ผู้เรียนมีทิศทางการเคลื่อนไหวที่ถูกต้อง
๓. ฝึกซ้าจนผู้เรียนมีการทรงตัวที่ดีและสามารถเดินขึ้ น-ลงบันไดโดยจับราว
บันได แบบสลับเท้าด้วยตนเอง
๓. สามารถเดินขึ้น-ลงบันไดโดยไม่จับ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนบนบันได ผู้สอนยืนต่ากว่าผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียนก้าว
ราวบันได แบบพักเท้าได้ ขาข้างหนึ่งขึ้นบันไดแล้วก้าวขาอีกข้างหนึ่งขึ้นมาอยู่ขั้นเดียวกัน ผู้สอนจับ
บริเวณสายรัดเอวหรือขอบกางเกงผู้เรียน คอยพยุงและช่วยเหลือให้ผู้เรียน
มีทิศทางการเคลื่อนไหวที่ถูกต้อง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนบนบันได ผู้สอนต่ากว่าผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียนก้าวขา
ลงบันไดแล้วก้าวขาอีกข้าหนึ่งลงมาอยู่ขั้นเดียวกัน ผู้สอนจับบริเวณสายรัด
เอวหรือขอบกางเกงผู้เรียน คอยพยุงและช่วยเหลือให้ผู้เรียนมีทิศทางการ
๑๔

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


เคลื่อนไหวที่ถูกต้อง
๓. ฝึกซ้านผู้เรียนมีการทรงตัวที่ดีและสามารถเดินขึ้น -ลงบันไดโดยไม่จับราว
บันได แบบพักเท้าด้วยตนเอง
๔. สามารถเดินขึ้น-ลงบันไดโดยไม่จับ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนบนบันได ผู้สอนยืนต่ากว่าผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียนก้าว
ราวบันได แบบสลับเท้าได้ ขาลงบั น ได ผู้ ส อนจั บ บริ เ วณเข็ ม ขั ด หรื อ ขอบกางเกง คอยพยุ ง และ
ช่วยเหลือให้ผู้เรียนมีทิศทางการเคลื่อนไหวที่ถูกต้อง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนบนบันได ผู้สอนยืนอยู่ต่ากว่าผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียน
ก้าวขาลงบันไดสลับเท้า ผู้ สอนจับบริเวณสายรัดเอวหรือขอบกางเกงคอย
พยุงและช่วยเหลือให้ผู้เรียนมีทิศทางการเคลื่อนไหวที่ถูกต้อง
๓. ฝึกซ้าจนผู้เรียนมีการทรงตัวที่ดีและสามารถเดินขึ้น -ลงบันไดโดยไม่จับราว
บันได แบบสลับเท้าด้วยตนเอง
๖. การวิ่ง ๖.๑ การวิ่งอยู่กับที่ ๑. สามารถวิ่งอยู่กับที่ได้ ๑. ผู้สอนจับมือผู้เรียนย่าเท้าอยู่กับที่สลับซ้าย-ขวา
๒. ผู้สอนจับมือผู้เรียนวิ่งย่าเท้าอยู่กับที่ไปพร้อมๆ กัน
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนวิ่งย่าเท้าอยู่กับที่ด้วยตนเอง
๖.๒ การวิ่งไป ๑. สามารถวิ่งไปข้างหน้าได้ ๑. ผู้สอนจับแขนผู้เรียนพาวิ่งไปข้างหน้าพร้อมกัน
ข้างหน้า ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนวิ่งไปข้างหน้าด้วยตนเอง
๖.๓ วิ่งข้ามสิ่งกีด ๑. สามารถวิ่งข้ามสิ่งกีดขวางได้ ๑. ผู้สอนจัดกิจกรรมบนลานกว้างปลอดภัยโดยจัดสถานการณ์ให้มีการวิ่งข้าม
ขวาง สิ่งกีดขวางเช่น บล็อกโฟม แผ่นโฟม แผ่นกระดาษ (จากง่ายไปหายาก
และ ระดับความสูง ต่าไปหาสูง) ขึ้นอยู่กับระดับความสามารถของผู้เรียน
๒. ผู้สอนจับแขนผู้เรียนพาวิ่งข้ามสิ่งกีดขวางไปพร้อมกัน
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนวิ่งข้ามสิ่งกีดขวางด้วยตนเอง
๑๕

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๖.๔ วิ่งหลบหลีกสิ่ง ๑. สามารถวิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้ ๑. ผู้สนจัดกิจกรรมบนลานกว้างปลอดภัย โดยจัดสถานการณ์ให้มีการหลบ
กีดขวาง หลีกสิ่งกีดขวางเช่น กรวยจราจร กล่องกระดาษ บล็อกโฟม แผ่นโฟม
แผ่นกระดาษ (จากง่ายไปหายาก) ขึ้นอยู่กับระดับความสามารถของ
ผู้เรียน
๒. ผู้สอนจับแขนผู้เรียนพาวิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางไปพร้อมๆกัน
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนวิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางด้วยตนเอง
๖.๕ วิ่งอย่างมี ๑. สามารถวิ่งอย่างมีเป้าหมายได้ ๑. ผู้สอนจัดกิจกรรมบนลานกว้างปลอดภัยโดยจัดสถานการณ์ให้มีการวิ่งอย่าง
จุดหมาย มีจุดหมาย เช่น วิ่งไปหยิบบอลสีตามสั่ง วิ่งไป-กลับเก็บของเล่น เป็นต้น
ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับระดับความสามารถของผู้เรียน
๒. ผู้สอนจับแขนพาวิ่งไปพร้อมกัน
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนวิ่งอย่างมีเป้าหมายด้วยตนเอง
๗. การกระโดด ๗.๑ การกระโดด ๒ 1. สามารถกระโดดโดยช่วยพยุงได้ ๑. ผู้สอนจับมือผู้เรียนทั้งสองข้าง ให้จังหวะ ย่อ...กระโดดหรือ ๑ ๒…๓ และ
ขาอยู่กับที่ กระตุ้นการกระโดด
๒. ผู้สอนจัดกิจกรรมการกระโดดอยู่กับที่ เช่น กระโดดแตะบอลที่แขวนเหนือ
ศีรษะ กระโดดเเทมโพลีน เป็นต้น
๒. สามารถกระโดดเองโดยเท้าทั้งสอง ๑. ผู้สอนสาธิตการกระโดดอยู่กับที่โดยเท้าทั้งสองลอยจากพื้น แล้วให้ผู้เรียน
ลอยจากพื้นได้ ทาตาม กรณีผู้เรียนกระโดดไม่ได้ ผู้สอนจับมือผู้เรียน ให้จังหวะย่อ...
กระโดด หรือ ๑ ๒…๓
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนกระโดดอยู่กับที่โดยเท้าทั้งสองลอยจากพื้นด้วยตนเอง
๑๖

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๓. สามารถกระโดดสองขาอยู่กับที่ได้ ๑. ผู้สอนสาธิตการกระโดดอยู่กับที่ต่อเนื่อง ๓ ครั้งแล้วให้ผู้เรียนทาตาม
อย่างต่อเนื่อง ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนกระโดดอยู่กับที่ต่อเนื่องอย่างน้อย ๓ ครั้ง เช่น กระโดด
แทมโพลีน กระโดดแตะบอลที่ห้อยอยู่เหนือศีรษะ เป็นต้น
๗.๒ กระโดด ๒ ขา ๑. สามารถกระโดดไปด้านหน้าโดย ๑. ผู้สอนสาธิตการกระโดดไปด้านหน้า โดยผู้สอนจับมือผู้เรียนกระโดด
ไปในทิศทางต่าง ๆ ช่วยพยุงได้ ให้จังหวะ ย่อ...กระโดด หรือ ๑ ๒…๓
๒. สามารถกระโดดไปด้านหน้าได้ ๑. ผู้สอนสาธิตการกระโดดไปด้านหน้า ผู้เรียนทาตาม
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนกระโดดไปด้านหน้าด้วยตนเอง
๓. สามารถกระโดดไปด้านข้างได้ ๑. ผู้สอนสาธิตการกระโดดไปด้านข้าง ผู้เรียนทาตาม
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนกระโดดด้านข้างด้วยตนเอง
๔. สามารถกระโดดถอยหลังได้ ๑. ผู้สอนสาธิตการกระโดดถอยหลัง ผู้เรียนทาตาม กรณีผู้เรียนกระโดดไม่ได้
ผู้สอนควรกาหนดจุดชี้นาในการกระโดด เช่น กระโดดถอยหลังจากสีแดง
ไปสีเหลือง ฝึกซ้าๆ จนผู้เรียนสามารถกระโดดถอยหลังได้
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนกระโดถอยหลังผ่านกิจกรรม เช่น แข่งขันการกระโดดถอย
เก็บของ
๕. สามารถกระโดดจากที่สูงลงพื้นที่ต่า ๑. ผู้สอนสาธิตกระโดดจากที่สูงลงพื้นที่ต่ากว่า ผู้เรียนทาตาม
กว่าได้ ๒. กรณีผู้เรียนกระโดดไม่ได้ ผู้สอนควรกาหนดตาแหน่งในการกระโดด เช่น
ให้ผู้เรียนยืนบนพื้นที่สูงจากพื้นเล็กน้อยแล้วกระโดดลงมา
๓. ผู้สอนเพิ่มระดับความสูงเมื่อผู้เรียนสามารถกระโดดในระดับต่าๆได้แล้ว
๑๗

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๖. สามารถกระโดดจากที่ต่าขึ้นสู่ที่สูง ๑. ผู้สอนสาธิตการกระโดดจากที่ต่าสู่ที่สูง ผู้เรียนทาตาม
ได้ ๒. กรณีผู้เรียนกระโดดไม่ได้ ผู้สอนควรกาหนดตาแหน่งในการกระโดด
ให้ผู้เรียนยืนบนพื้นที่ต่ากว่าแล้วกระโดดขึ้น
๓. ผู้สอนเพิ่มระดับความสูงและระยะห่างที่ยากมากขึ้น เมื่อผู้เรียนสามารถ
กระโดดในระดับง่ายๆได้แล้ว
๗. สามารถกระโดดข้ามสิ่งกีดขวางได้ ๑. ผู้สอนสาธิตการกระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง ผู้เรียนทาตาม
๒. กรณีผู้เรียนกระโดดไม่ได้ผู้สอนอยู่ด้านหน้าผู้เรียนจับมือสองข้างให้จังหวะ
ย่อ...กระโดด หรือ ๑ ๒…๓ และช่วยจัดท่าทางในการนากระโดดข้าม
เป็นต้น
๗.๓ กระโดดขาเดียว ๑. สามารถกระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้ ๑. ผู้สอนสาธิตการกระโดดขาเดียวอยู่กับที ผู้เรียนทาตาม กรณีผู้เรียนกระโดด
ไม่ได้ ผู้สอนจับมือผู้เรียน ให้จังหวะ ย่อ...กระโดด หรือ ๑ ๒…๓
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนทากิจกรรมการกระโดดขาเดียวอยู่กับที่ เช่น กระโดดขา
เดียวแตะลูกบอลแขวนเหนือศีรษะ กระโดดขาเดียวบนแผ่นกันกระแทก
เป็นต้น
๒. สามารถกระโดดขาเดียวไปใน ๑. ผู้สอนสาธิตการกระโดดขาเดียวในทิศทางต่างๆ ติดต่อกัน
ทิศทางต่างๆ ได้ติดต่อกัน ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนทากิจกรรมกระโดดขาเดียวในทิศทางต่างๆ เช่น กระโดด
ติดต่อกันไปด้านหน้า ด้านข้าง ถอยหลัง
๘. การรับส่งลูกบอล ๘.๑ การส่งลูกบอล ๑. สามารถกลิ้งลูกบอลขณะอยู่ในท่า ๑. ผู้สอนสาธิตการกลิ้งลูกบอลขนาดใหญ่ไปข้างหน้า ผู้เรียนทาตาม
นั่งได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งกับพื้น ผู้สอนจับมือผู้เรียนกลิ้งลูกบอล
๓. ผู้สอนสามารถปรับระดับความยากง่ายของกิจกรรม เริ่มจากลูกบอลขนาด
ใหญ่ไปหาลูกบอลขนาดเล็ก ระยะทางและความเร็วที่แตกต่างกัน
๑๘

แนวการจัดกิจกรรมทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๒. สามารถโยนลูกบอลได้ ๑. ผู้สอนสาธิตการโยนลูกบอล ผูเ้ รียนทาตาม กรณีผู้เรียนทาไม่ได้ ผู้สอนจับ
มือผู้เรียนโยนลูกบอลไปด้านหน้า
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนทาซ้าจนผู้เรียนสามารถทาได้ด้วยตนเอง
๓. ผู้สอนสามารถปรับระดับความยากง่ายของกิจกรรม เริ่มจากลูกบอลขนาด
ใหญ่ไปหาลูกบอลขนาดเล็ก ระยะทางและความเร็วที่แตกต่างกัน
๘.๒ การรับลูกบอล ๑. สามารถรับลูกบอลได้ ๑. ผู้สอนสาธิตรับลูกบอลที่กลิ้งมาขณะนั่งอยู่กับพื้น ผู้เรียนทาตาม
๒. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รียนนั่ง กับพื้น ผู้ ส อนจับมื อผู้ เรีย นกางและหุ บแขน เพื่อรั บ
ลูกบอลที่กลิ้งมา
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนในท่าที่เหมาะสม ผู้สอนจับมือผู้เรียนกางและหุบแขน
เพื่อรับลูกบอลที่โยนมา
๔. ผู้สอนสามารถปรับระดับความยากง่ายของกิ จกรรม เริ่มจากลูกบอลขนาด
ใหญ่ไปหาลูกบอลขนาดเล็ก ระยะทางและความเร็วที่แตกต่างกัน
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนทาซ้าจนผู้เรียนสามารถทาได้ด้วยตนเอง
๑๙

ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก

๑. คาอธิบายทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก
การพัฒนาศักยภาพทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก เป็นการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กให้แข็งแรงและใช้ได้อย่างประสานสัมพันธ์กัน ในเรื่อง การมอง การใช้มือ
ในการทากิจกรรม การประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือ รวมไปถึงการเคลื่อนไหวอวัยวะที่ใช้ในการพูด
โดยใช้การปฏิบัติจริง การสาธิต การเลียนแบบ การวิเคราะห์งานเป็นลาดับขั้นตอน ผ่านกระบวนการคิด การตัดสินใจ และการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ในการพัฒนาศักยภาพอย่างสมบูรณ์และสมดุลในด้านต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีคณะสหวิชาชีพ ผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมใน
การพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนมีกล้ามเนื้อมัดเล็กที่ แข็งแรงทางานได้อย่างประสานสัมพันธ์กันร่างกายเจริญเติบโต มีสุขนิสัยที่ดี เล่นและทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือตนเองและดารงชีวิตประจาวันได้เต็มศักยภาพ

๒. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก
๑. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในการทากิจกรรมได้อย่างประสานสัมพันธ์กันเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล
๒. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในขั้นที่สูงขึ้นต่อไป
๓. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กร่วมกับทักษะอื่น ๆ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันได้
๒๐

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑.การมอง ๑.๑ การมองสบตา ๑. สามารถสบตากับผู้อื่นที่อยู่ตรงหน้า ๑. ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนมองสบตา โดยใช้ใบหน้าผู้สอนเป็นสื่อ
ได้ตามเวลาที่กาหนด ๒. ผู้สอนนาของเล่นที่มีสีสดใสหรือมีเสียงให้อยู่ในระดับสายตาของผู้เรียน และ
เลื่อนของเล่นให้อยู่ในระดับสายตาของผู้สอน เพื่อให้ผู้เรียนมองสบตาผู้สอน
๓. ผู้สอนเรียกชื่อผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมองสบตา
๔. ผู้สอนเล่นจ๊ะเอ๋กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมองสบตา
๑.๒ การจ้องมอง ๑. สามารถจ้องมองสิ่งของที่อยู่ ๑. ผู้สอนทักทายและพูดคุยกับผู้เรียน โดยพยายามให้ผู้เรียนจ้องมองหน้าและหัน
วัตถุ ตรงหน้าได้ตามเวลาที่กาหนด มองตามใบหน้าผู้สอน
๒. ผู้สอนใช้สิ่งของที่ผู้เรียนชอบ เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมองในระดับสายตาของ
ผู้เรียนแล้วให้ผู้เรียนจ้องมองสิ่งของนั้น โดยเริ่มจากแนวกลางลาตัวของผู้เรียน
๒. สามารถจ้องมองวัตถุที่อยู่ทางด้าน ๑. ผู้สอนทักทายและพูดคุย กับผู้เรียน โดยพยายามให้ผู้เรียนจ้องมองหน้าและ
ซ้ายและด้านขวาของผู้เรียนได้ ใบหน้าผู้สอน
๒. ผู้ส อนนาสิ่งของที่ผู้ เรียนชอบไว้ด้านซ้ายของผู้ เรี ยน พร้อมกระตุ้นเตือนให้
ผู้เรียนหันมาจ้องมองสิ่งของที่อยู่ทางด้านซ้าย (ทาซ้าในด้านขวาของผู้เรียน)
๓. สามารถจ้องมองวัตถุที่อยู่ด้านบน ๑. ผู้สอนทักทายและพูดคุย กับผู้เรียน โดยพยายามให้ผู้เรียนจ้องมองหน้าและ
และด้านล่างได้ ใบหน้าผู้สอน
๒. ผู้ ส อนน าสิ่ งของที่ ผู้ เรียนชอบไว้ด้านบนของผู้ เรีย น พร้ อมกระตุ้นเตือนให้
ผู้เรียนหันมาจ้องมองสิ่งของที่อยู่ทางด้านบน (ทาซ้าในด้านล่างของผู้เรียน)
๒๑

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๑.๓ การมองตาม ๑. สามารถมองตามวัตถุหรือสิ่งของ ๑. ผู้สอนถือวัตถุหรือสิ่งของด้านหน้าระดับสายตาผู้เรียน แล้วค่อย ๆ เคลื่อน
วัตถุหรือสิ่งของ ที่เคลื่อนที่ได้ วัตถุไปในทิศทางต่าง ๆ (บน-ล่าง ซ้าย-ขวา) อย่างช้า ๆ ให้ผู้เรียนมองตามวัตถุ
ที่เคลื่อนที่
๒. สามารถมองหาเมื่อสิ่งของหายไป ๑. ผู้สอนเคลื่อนของเล่นสีสดใส มีเสียงหรือไม่มีเสียงไปมาข้างหน้าผู้เรียน เมื่อ
จากสายตาได้ ผู้ เรียนจ้องมองค่อย ๆ เคลื่ อนของเล่ นไปแอบไว้ด้านหลั งผู้ ส อน สั งเกตว่า
ผู้เรียนมองจุดที่ของเล่นหายไปจากสายตาหรือไม่ ถ้าผู้เรียนไม่มองทาซ้าอีก
๒. ผู้สอนนาวัตถุสิ่งของมาให้ผู้เรียนดู จากนั้นซ่อนไว้ใต้โต๊ะ และให้ผู้เรียนกวาด
สายตามองหา
๒. การใช้มือ ๒.๑ การเอื้อมมือ ๑. สามารถเอื้อมมือออกไปใน ๑. ผู้สอนถือวัตถุด้านหน้าผู้เรียนในทิศทางบน-ล่าง ซ้าย-ขวา ให้ผู้เรียนเอื้อมมือ
ทิศทางต่าง ๆ ได้ ออกไปแตะหรือคว้าวัตถุนั้น
๒. สามารถเอื้อมมือออกไปจับวัตถุได้ ๑. ผู้สอนถือวัตถุด้านหน้าให้ผู้เรียนเอื้อมมือออกไปจับวัตถุในทิศทางต่าง ๆ
๒.๒ การใช้มือกา ๑. สามารถกาหรือจับวัตถุได้ ๑. ผู้ ส อนส่ ง ของเล่ น ที่ มี สี สั น สดใสหรื อ มี เ สี ย งให้ ผู้ เ รี ย น อาจใช้ ข องเล่ น แตะ
หรือจับวัตถุ เบา ๆ ที่ ห ลั ง นิ้ ว มื อ ของผู้ เ รี ย น เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นกางมื อ ออกและก าของเล่ น
ถ้าผู้เรียนไม่กางมือ ให้ลูบหลังมือพร้อมกดมือผู้เรียนลงเล็กน้อย
๒. ผู้สอนนาของเล่นที่มีสีสันสดใสหรือมีเสียง จานวน ๒ ชิ้น โดยส่งของเล่นชิ้น
ที่ ๑ ให้ผู้เรียนกาไว้ แล้วนาของเล่นชิ้นที่ ๒ ใส่มือผู้เรียนอีกข้างหนึ่ง ถ้า
ผู้เรียนไม่จับผู้สอนช่วยจับมือผู้เรียนให้กาของเล่นไว้
๒.สามารถกาและตอก หรือทุบวัตถุได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนกาวัตถุที่มีด้ามจับและตอก หรือทุบวัตถุเป้าหมาย เช่น ค้อน
ต๊อกแต๊ก เครื่องดนตรีประกอบจังหวะ ฯลฯ
๓. สามารถกาและบิดวัตถุได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนกาวัตถุและบิด เช่น ลูกบิดประตู, ผ้า ฯลฯ
๒๒

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๒. ผู้สอนนาผ้าขนหนู หรือผ้าเช็ดหน้าซับน้าให้เปียก จากนั้นให้ผู้เรียนบิด
ผ้าขนหนูหรือผ้าเช็ดหน้า หากผู้เรียนทาไม่ได้ผู้สอนสาธิตให้ผู้เรียนดูก่อนเป็น
ตัวอย่าง
๒. การใช้มือ(ต่อ) ๒.๓ การใช้นิ้วมือ ๑. สามารถหยิบวัตถุโดยใช้ ๑. ผู้สอนนาวัตถุที่มีสีสันสดใสหรือมีเสียง วางด้านหน้าผู้เรียน เพื่อกระตุ้นให้
นิ้วหัวแม่มือร่วมกับนิ้วอื่นๆ ได้ ผู้เรียนสนใจอยากได้ของเล่น โดยเคาะวัตถุกับพื้นให้เกิดเสียง ถ้าผู้เรียนไม่
หยิบ ผู้สอนจับมือผู้เรียนให้หยิบ
๒. ผู้สอนวางวัตถุด้านหน้าผู้เรียน ให้ผู้เรียนใช้นิ้วหัวแม่มือร่วมกับนิ้วอื่นๆ หยิบ
วัตถุให้เหมาะสมจากขนาดใหญ่ไปเล็ก เช่น ลูกปัดขนาด ๑ เซนติเมตร เม็ดถั่ว
แดง คลิปหนีบกระดาษ ลูกเกด เม็ดถั่วเขียว ไม่จิ้มฟัน เส้นด้าย ฯลฯ
๒. สามารถหมุนเปิด-ปิดวัตถุได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้มือหมุนเปิดและปิดวัตถุที่มีลักษณะเกลียวเช่น ฝาขวดน้า
ของเล่นชุดฝึกการไขน๊อต ลูกบิดเปิดและปิดประตู ฯลฯ
๓. สามารถจับและหมุนวัตถุที่มี ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนจับและหมุนวัตถุที่มีขนาดต่างๆ เช่น กุญแจ ฝาขวด ของ
ขนาดต่างๆ ได้ เล่นไขลาน
๔. สามารถแกะหรือฉีกวัตถุโดย ๑. ผู้เรียนแกะวัตถุ เช่น กล่องของขวัญ ห่อลูกอม เชือกที่ผูกไว้หลวมๆ
ใช้นิ้วมือได้ สติ๊กเกอร์ ฯลฯ
๒. ผู้เรียนฉีกวัตถุ เช่น กระดาษ ห่อขนมหรือห่อลูกอม ฯลฯ
๒.๔ การนา ๑. สามารถสลับวัตถุที่อยู่ในมือ ๑. ผู้สอนสาธิตการสลับวัตถุที่อยู่ในมือจากข้างหนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่งให้ผู้เรียนดู
และการปล่อยหรือ จากข้างหนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่งได้ ๒. ผู้สอนส่งวัตถุให้ผู้เรียนถือไว้ในมือข้างใดข้างหนึ่ง แล้วให้ผู้เรียนสลับวัตถุที่อยู่
วางวัตถุ ในมือไปยังอีกข้างหนึ่ง
๒. สามารถนาวัตถุไปปล่อยหรือวางใน ๑. ผู้เรียนนาวัตถุ เช่น ลูกปัด ลูกบอล ของเล่น ผลไม้จาลอง ไปปล่อยหรือวางลง
ภาชนะที่กาหนดได้ ในภาชนะ
๒๓

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๓. การประสาน ๓.๑ การใส่วัตถุ ๑. สามารถใส่วัตถุลงในภาชนะหรือ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใส่วัตถุลงในภาชนะหรืออุปกรณ์ต่างๆ เช่น ปักหมุดขนาดต่าง
สัมพันธ์ระหว่างตา อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ ๆ ลูกปัดสวมหลัก บล็อกรูปทรง ลูกบอล ลูกเทนนิส เจดีย์สลับสี ฯลฯ
กับมือ ๓.๒ การต่อวัตถุ ๑. สามารถต่อวัตถุในแนวนอนได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนต่อวัตถุในแนวนอน จานวนตั้งแต่ ๒ ชิ้นขึ้นไป เช่น
บล็อกไม้ กล่องลูกเต๋า
๒. สามารถต่อวัตถุในแนวตั้งได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนต่อวัตถุในแนวตั้งซ้อนกัน จานวนตั้งแต่ ๒ ชิ้นขึ้นไป เช่น
บล็อกไม้ กล่องลูกเต๋า
๓. สามารถจัดเรียงวัตถุตามแบบได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนจัดเรียงวัตถุตามแบบ เช่น รูปสะพาน รูปเรขาคณิต
๓.๓ การร้อยวัตถุ ๑. สามารถร้อยวัตถุที่มีขนาดหรือ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนร้อยวัตถุที่มีขนาดหรือรูปทรงต่าง ๆ เช่น หลอดด้าย ลูกปัด
รูปทรงต่าง ๆ ได้ หลอดดูด กระดาษแข็งที่เจาะรู ดอกไม้ ฯลฯ
๓.๔ การปั้น ๑. สามารถปั้นแล้วคลึงเป็นเส้นยาวได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนกา ทุบ ขยา ด้วยมือทั้งสองข้าง เช่น ดินน้ามัน แป้งโด
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนดึงดินน้ามัน หรือแป้งโด ออกจากกันเป็นก้อน ๆ โดยใช้นิ้วทุก
นิ้ว
๓. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นดึ ง ดิ น น้ ามั น หรื อ แป้ ง โดออกจากกั น เป็ น ก้ อ น ๆ โดยใช้
นิ้วหัวแม่มือ นิ้วกลางและนิ้วชี้
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนตัดดินน้ามันหรือแป้งโดด้วยมีดหรือไม้บรรทัด
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้มือทั้งสองข้างปั้นแล้วคลึงดินน้ามันหรือแป้งโด เป็นเส้นยาว
เช่น งู ไส้เดือน กิ้งกือ หนอน เชือก ฯลฯ
๒. สามารถปั้นแล้วคลึงเป็นก้อนกลม ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนปั้นดินน้ามันหรือแป้งโดแล้วคลึงเป็นก้อนกลมได้ เช่น
ได้ ลูกบอล ส้ม มังคุด ฯลฯ
๓. สามารถปั้นแล้วคลึงเป็นแผ่น ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนปั้นดินน้ามันหรือแป้งโดแล้วคลึงเป็นแผ่นแบนกลม
แบนกลมได้ เช่น จาน แผ่นโรตี พิซซ่าฯลฯ
๒๔

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๔. สามารถปั้นตามจินตนาการได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนปั้นดินน้ามันตามจินตนาการ เช่น คน รูปสัตว์ รูปผลไม้ ฯลฯ
๓.๕ การพับ ๑. สามารถพับกระดาษเป็น ๒ ส่วนได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนพับกระดาษเป็น ๒ ส่วน โดยใช้มือข้างที่ถนัดจับปลายด้านล่าง
ให้ทับด้านบนของกระดาษ
๒. สามารถพับกระดาษทีละครึ่งตาม ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนพับกระดาษทีละครึ่งตามแนวเส้นทแยงมุม โดยทาจุดสังเกต
แนวเส้นทแยงมุมได้ เป็นแนวให้ผู้เรียนได้พับตาม
๓. สามารถพับกระดาษเป็นรูปต่าง ๆ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนพับกระดาษเป็นรูปต่าง ๆ โดยมีพื้นฐานจากการพับวัตถุ
อย่างง่ายได้ ทีละครึ่งตามแนวเส้นทแยงมุม เช่น รูปจรวด รูปเรือ
๓.๖ การตัดด้วย ๑. สามารถตัดกระดาษให้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนจับกรรไกร ในท่าที่ถูกต้อง โดยสอดนิ้วหัวแม่มือเข้าไปในรู
กรรไกร ขาดออกจากกันได้ ข้ า งหนึ่ ง ของกรรไกร สอดนิ้ ว กลาง (ไมใช่ นิ้ ว ชี้ ) เข้ า ไปในรู ด้ า นล่ า งของ
กรรไกร วางนิ้ว ชี้ไว้ ใต้ด้ ามกรรไกร หั ด ง้าง เปิ ด -ปิ ด กรรไกร ด้ว ยการโยก
นิ้วหัวแม่มือขึ้นลง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้กรรไกรตัดขอบกระดาษให้ขาดออกจากกัน
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนตัดกระดาษออกเป็น ๒ ชิ้น
๒. สามารถตัดกระดาษตามรอยได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนตัดกระดาษตามรอยเส้นตรงตามความยาวที่กาหนด

๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนตัดกระดาษตามรอยเป็นแถบเส้นที่มีความกว้าง ๑ นิ้ว ตาม


ความยาวที่กาหนด
๓ ผู้สอนให้ผู้เรียนตัดกระดาษตามรอยรูปทรงที่กาหนด
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนตัดกระดาษตามรูปครึ่งวงกลมที่มีรัศมีขนาดต่าง ๆ
๓. สามารถตัดกระดาษตามรูป ๑. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นตั ด กระดาษตามรู ป เรขาคณิ ต ที่ ก าหนด เช่ น วงกลม
เรขาคณิตได้ สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม
๒๕

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๓.๗ การจัดภาพ ๑. สามารถปะติดรูปทรงเรขาคณิต ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนารูปเรขาคณิตแบบต่าง ๆ มาปะติดบนกระดาษที่มีโครงร่าง
ตัดต่อ ลงบนกระดาษได้ ของรูปเรขาคณิตให้ถูกต้องตามโครงร่างนั้น
๒. สามารถจัดภาพตัดต่อลงในกรอบได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใส่วัตถุรูปทรงต่าง ๆ ลงในกรอบ เช่น จับคู่รูปทรง บล็อกไม้
รูปทรงเรขาคณิต
๓. สามารถจัดรูปเรขาคณิตที่มีขนาด ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนจัดรูปเรขาคณิตที่มีขนาดต่างกัน ๓ ชิ้นลงในกรอบ
ต่างกัน ๓ ชิ้นลงในกรอบได้
๔. สามารถประกอบภาพตัดต่อเข้า ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนประกอบภาพตัดต่อ ๓ ชิ้นขึ้นไป
ด้วยกันในกรอบได้
๓.๘ การขีดเขียน ๑. สามารถจับดินสอ หรือสีเทียน ๑. ผู้สอนสาธิตการจับดินสอให้ผู้เรียนดู
วาดรูปภาพ เพื่อขีดเขียนได้ ๒. ผู้สอนจับมือผู้เรียนจับดินสอ หรือสีเทียน ในท่าที่ถูกต้องโดยผู้เรียนถือดินสอ
ด้วยสามนิ้ว คือ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วกลาง และนิ้วชี้ ดินสอจะอยู่บนข้อ นิ้วกลาง
ขณะที่จะถูกบีบอยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ นิ้วก้อยและ นิ้วนางจะวาง
พักอยู่บนโต๊ะ
๓. ผู้เรียนขีดเขียนเป็นเส้น ลงบนกระดาษ

๒. สามารถเลียนแบบการลากเส้นได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนลากเส้นตามรอยประในแนวดิ่ง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนลากเส้นตามรอยประในแนวนอน
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนลากเส้นวงกลมตามรอยประ
๔. ผู้สอนผู้เรียนลากตามจุดที่กาหนดเป็น รูปเครื่องหมายบวก ( + ) สามเหลี่ยม
สี่เหลี่ยม (ขนาด ๔-๖ ซม.)
๒๖

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๓. สามารถวาดรูปที่ประกอบด้วยเส้น ๑. ผู้ ส อนน ารู ปภาพตั ว อย่า งที่ ประกอบด้ ว ยเส้ นพื้น ฐาน เช่ น รู ปบ้ าน รู ปคน
พื้นฐานได้ แล้วให้ผู้เรียนวาดรูปตามแบบ
๔. สามารถเติมแขนหรือขารูปคน ๑. ผู้สอนนารูปคนที่มีส่วนประกอบของร่างกายที่สมบูรณ์ให้ผู้เรียนดู แล้วนารูป
ที่ยังไม่สมบูรณ์ได้ คนที่มีส่วนประกอบของร่างกายที่ขาดหายไป เช่น แขน ขา ฯลฯ
ให้ผู้เรียนเติมส่วนประกอบของภาพนั้นให้สมบูรณ์
๕. สามารถวาดรูปใบหน้าคนที่มี ๑. ผู้สอนนารูปใบหน้าคนที่สมบูรณ์ให้ผู้เรียนดู แล้วนารูปใบหน้าคนที่ไม่มี
ส่วนประกอบอย่างน้อย ๓ ส่วนได้ ส่วนประกอบของใบหน้าคน ให้ผู้เรียนวาดรูปส่วนประกอบของใบหน้าคน
อย่างน้อย ๓ ส่วน
๖. สามารถวาดรูปคนที่มีส่วนของ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนวาดรูปคนที่มีส่วนของร่างกาย ๔ ส่วนขึ้นไป โดยผู้สอนนารูป
ร่างกาย ๔ ส่วนขึ้นไปได้ คนที่สมบูรณ์ให้ผู้เรียนดู แล้วให้ผู้เรียนวาดรูปคนที่มีส่วนประกอบของร่างกาย
อย่างน้อย ๔ ส่วนขึ้นไป
๔. การเคลื่อนไหว ๔.๑ การควบคุม ๑. สามารถควบคุมกล้ามเนื้อริมฝีปาก ๑. ผู้สอนกระตุ้นกล้ามเนื้อรอบริมฝีปาก ให้ผู้เรียนสามารถแสดงอาการ
อวัยวะที่ใช้ในการพูด กล้ามเนื้อริมฝีปาก ได้ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ เช่น ผ้าชุบน้าอุ่น-น้าเย็น รสเปรี้ยว รสหวาน
รอบริมฝีปากได้
๒. ให้ผู้เรียนเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อที่ควบคุมริมฝีปาก (ออกกาลัง) ได้แก่
- การนวดริมฝีปาก
- การอ้าปากกว้าง ๆ หุบปาก สลับกัน
- การยิ้มกว้างการทาปากจู่
- การเปราะปาก
- การออกเสียง อา อู อี
- ปิดปาก เม้มริมฝีปาก
๒๗

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
4.2 การใช้ลิ้น ๑. สามารถควบคุมการใช้ลิ้นได้ ๑. ผู้สอนนั่งตรงข้ามผู้เรียนให้ปากผู้สอนอยู่ในระดับสายตาผู้เรียน
๒. ผู้ ส อนอ้ า ปากกว้ า ง เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นเห็ น การเคลื่ อ นไหวของปลายลิ้ น
โดยเคลื่อนปลายลิ้นไปแตะที่เพดานปาก แล้วเคลื่อนปลายลิ้นพร้อมกับการทา
ให้เกิดเสียงเดาะลิ้น
๓. จากนั้น ให้ ผู้ เรี ยนลองทาดู ถ้าทาไม่ได้ ห รือไม่ ยอมทา ผู้ ส อนควรพยายาม
กระตุ้นและทาตามแบบให้ดูซ้า ๆ
๔. สอนทาซ้า ๆ จนผู้เรียนเกิดการทาที่ถูกและมั่นใจในการทา
๕. เมื่ อ ผู้ เ รี ย นท าได้ แ ล้ ว ควรเปลี่ ย นเป็ น เสี ย งจุ๊ บ ปาก เพื่ อ ให้ เ กิ ด เสี ย งที่
หลากหลาย
4.3 การเป่าและ ๑. สามารถเป่าลมออกจากปากได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนทากิจกรรมเป่าลมออกจากปาก เช่น การเป่าสี เป่าหลอด เป่า
การดูด กระดาษ เป่านกหวีด เป่าเทียน เป่าลูกโป่ง เป่าฟองสบู่
๒. สามารถดูดของเหลวโดย ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนดูดของเหลวโดยเริ่มฝึกจากหลอดขนาดที่เหมาะสม
ใช้หลอดดูดได้
4.4 การเคี้ยวและ ๑. สามารถขยับขากรรไกรได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเลียนแบบการขยับขากรรไกรตามผู้สอนในท่าต่าง ๆ อาทิ
การกลืน - อ้าปากกว้าง ๆ- หุบปาก ๑๐ ครั้งติดต่อกัน
- ขยับขากรรไกรซ้าย-ขวา ๑๐ ครั้งติดต่อกัน
กรณีผู้เรียนไม่สามารถทาได้ผู้สอนช่วยขยับขากรรไกรผู้เรียนและเมื่อ
ผู้เรียนทาได้ดีให้ลดการช่วยเหลือลง
๒. สามารถเคี้ยวอาหารได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเคี้ยวอาหารโดยเริ่มจากอาหารประเภทอาหารอ่อนๆค่อยเพิ่ม
ลักษณะความแข็งของอาหารจนผู้เรียนสามารถเคี้ยวอาหารปกติ
๒๘

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๓. สามารถกลืนน้าลายได้ ๑. ผู้สอนใช้นิ้วชี้ข้างที่ถนัด นวดกระพุ้งแก้มผู้เรียน
๒. ผู้สอนใช้นิ้วชี้กดและนวดบริเวณกึ่งกลางของลิ้นผู้เรียน สังเกตว่าลิ้นของ
ผู้เรียนเริ่มห่อ ให้รีบดึงนิ้วชี้ออกทันที เพื่อให้ผู้เรียนได้กลืนน้าลายลงคอ
๓. ฝึกให้ผู้เรียนกลืนน้า น้าหวาน อาหารเหลวตามลาดับ
๔. ฝึ กให้ กลื น อาหารโดยเริ่มจาก อาหารนิ่ม เช่น ขนมถ้ว ย เจลลี่ และค่อยๆ
เพิ่มความแข็งของอาหาร
๒๙

ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน

๑. คาอธิบายทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน
ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน เป็นการพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจาวันพื้นฐาน ในเรื่องการรับประทานอาหาร
การแต่งกาย การขับถ่าย การทาความสะอาดร่างกาย และการรับผิดชอบงานบ้าน ให้สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล
โดยใช้การปฏิบัติจริง การสาธิต การวิเคราะห์งานเป็นลาดับขั้นตอน ฝึกทักษะแบบบูรณาการ ในการพัฒนาศักยภาพอย่างสมบูรณ์และสมดุลใน
ด้านต่างๆเพิ่มมากขึ้น มีคณะสหวิชาชีพ ผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียน มีร่างกายเจริญเติบโต มีสุขนิสัยที่ดี สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ประสานสัมพันธ์กันในการทากิจวัตรประจาวันเต็ม ศักยภาพ มีวินัย
มีความรับผิดชอบ สามารถคิดและแก้ปัญหา ใช้ภาษาสื่อสารในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข

๒. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน
๑. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจาวันได้เต็มศักยภาพ
๒. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานในความรับผิดชอบของตนเองได้อย่างเหมาะสม
๓. เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข
๓๐

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑. การ ๑.๑ การดูด ๑. สามารถดูดนมจากขวดนม ๑. ผู้สอนอุ้มผู้เรียนหรือจัดให้ผู้เรียนนั่งบนเก้าอี้เอียงประมาณ ๔๕ องศา
รับประทาน ได้ ๒. กระตุ้นให้ผู้เรียนอ้าปากโดยผู้สอนนาจุกนมเขี่ยริมฝีปาก จากนั้นให้ผู้เรียนเม้มปาก
อาหาร ๓. ให้ผู้เรียนจู๋ปาก กรณีผู้เรียนกลืนไม่ได้ให้ผู้สอนใช้มืออีกข้างช่วยลูบบริเวณหน้าลาคอ
ของผู้เรียน
๔. ผู้สอนฝึกจนผู้เรียนสามารถดูดนมจากขวดนมได้ด้วยตนเอง
๒. สามารถดูดของเหลว ๑. ผู้สอนเลือกขนาดของหลอดดูดให้เหมาะสมกับผู้เรียน
โดยใช้หลอดได้ ๒. ผู้สอนนานมหรือน้าหวานหรือน้าเปล่าใส่แก้วพร้อมหลอดดูด
๓. ผู้สอนสาธิตการดูดหลอดเป็นตัวอย่างให้ผู้เรียนทาตาม
๔. หากผู้เรียนทาไม่ได้ช่วยจับหลอดดูดเข้าใกล้ปากของผู้เรียนพร้อมกับบอกให้อ้าปาก
แล้วเม้มปากลงจู๋ปาก
๑.๒ การดื่ม ๑. สามารถดื่มน้าและนมจาก ๑. ผู้สอนเลือกแก้วพลาสติกที่มีหูจับสองข้าง
แก้วด้วยตนเองได้ ๒. ผู้สอนจับมือผู้เรียนให้จับที่หูของแก้วพลาสติกให้มั่นคงและถนัดมือ
๓. ผู้สอนจับมือผู้เรียนยกแก้วขึ้นมาจรดริมฝีปาก ยกแก้วขึ้น ดื่มน้า วางแก้วลง
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๑.๓ การกลืนและ ๑. สามารถกลืนอาหารได้ ๑. ผู้สอนฝึกการควบคุมริมฝีปากของผู้เรียนโดยการนวดรอบ ๆ ริมฝีปาก อ้าปากกว้าง
การเคี้ยว และหุบสลับกัน ทาท่ายิ้มและจู๋ปากสลับกัน
๒. ผู้สอนใช้ช้อนตักอาหารกึ่งเหลว เช่น โจ๊ก กล้วยบด กดที่ริมฝีปากล่างของผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนอ้าปากรับอาหาร จากนั้นบอกให้ผู้เรียนปิดปาก
๔. ผู้สอนใช้มืออีกข้างช่วยลูบบริเวณหน้าลาคอของผู้เรียน
๓๑

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. สามารถเคี้ยว อาหารได้ ๑. ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนขยับขากรรไกรทางซ้าย-ขวา และขบฟัน
๒. ผู้สอนฝึกใช้อาหารที่แข็งขึ้น เช่น ขนมปังชิ้นเล็กๆ ข้าวสวย
๓. ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนเคี้ยวอาหารให้ละเอียดแล้วกลืนอาหาร เช่น ข้าว กล้วย เป็นต้น
๑.๔ การหยิบอาหาร ๑. สามารถใช้มือหยิบอาหาร ๑. ผู้สอนเตรียมอาหารชิ้นเล็ก ๆ ที่ผู้เรียนชอบ เช่น ขนมปัง ข้าว คุกกี้
เข้าปาก เข้าปากได้ ๒. ผู้สอนสาธิตการใช้มือหยิบอาหารใส่ปากให้ผู้เรียนดูเป็นตัวอย่าง
๓. ผู้สอนหยิบขนมใส่มือผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียนนาเอาขนมเข้าปาก
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้มือหยิบอาหารเข้าปากเอง
๑.๕ การใช้ช้อนตัก ๑. สามารถใช้ช้อนตักอาหาร ๑. ผู้สอนแนะนาให้ผู้เรียนรู้จักช้อนและวิธีการจับช้อนที่ถูกต้อง
อาหาร เข้าปากได้ ๒. เมื่อผู้เรียนจับช้อนได้ ผู้สอนช่วยเหลือโดยการประคองหรือจับที่ข้อมือยื่นไปที่จาน
อาหาร พร้อมตักอาหารขึ้นมาเข้าปาก
๓. ผู้สอนลดความช่วยเหลือ ให้ผู้เรียนใช้ช้อนตักอาหารขึ้นมาด้วยตนเอง
๒. การแต่งกาย ๒.๑ การถอด - สวมถุง ๑. สามารถถอดถุงเท้าได้ 1. ผู้สอนแนะนาถุงเท้าข้างซ้าย-ขวา ด้านนอก-ใน และส่วนประกอบต่างๆ ของถุงเท้า
เท้า เช่น ขอบถุงเท้า ส้นถุงเท้าและปลายถุงเท้า เป็นต้น
2. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งเก้าอี้ที่มีความเหมาะสม โดยเท้าของผู้เรียนวางราบพอดีกับพื้น
จากนั้นสวมถุงเท้าให้ผู้เรียนทั้งสองข้าง
3. ผู้สอนจับมือของผู้เรียนทั้งสอง จับขอบถุงเท้าทั้งสองข้าง สอดนิ้วหัวแม่มือทั้งสอง
ข้างเข้าไปในขอบถุงเท้า จากนั้นดึงขอบถุงเท้าลงมาที่ส้นเท้า แล้วยกส้นเท้าขึ้นพร้อม
ดึงถุงเท้าออก
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๓๒

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. สามารถสวมถุงเท้าได้ ๑. ผู้สอนแนะนาถุงเท้าข้างซ้าย-ขวา ด้านนอก-ใน และส่วนประกอบต่างๆ ของถุงเท้า
เช่น ขอบถุงเท้า ส้นถุงเท้าและปลายถุงเท้า เป็นต้น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งเก้าอี้ที่มีความเหมาะสม โดยเท้าของผู้เรียนวางราบพอดีกับพื้น
๓. ผู้สอนจับมือของผู้เรียนทั้งสอง พับขอบถุงเท้าครึ่งหนึ่งแล้วจับดึงขอบถุงเท้าให้กว้าง
ออกแล้วสวมปลายเท้าดึงขึ้นมาจนผ่านส้นเท้าจนสุดความยาวของถุงเท้าแล้วจัดมุม
ของถุงเท้าให้ถูกต้อง
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๒.๒ การถอด – สวม ๑. สามารถถอดรองเท้าแบบ ๑. ผู้สอนแนะนารองเท้าข้างซ้าย-ขวา ด้านนอก-ใน และส่วนประกอบต่างๆ ของ
รองเท้า สอดได้ รองเท้า เช่น พื้นรองเท้า
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งเก้าอี้ที่มีความสูงพอเหมาะ โดยเท้าของผู้เรียนวางราบพอดีกับพื้น
จากนั้นสวมรองเท้าแบบสอดให้ผู้เรียนทั้งสองข้าง
๓. ผู้สอนจับที่เหนือข้อเท้าของผู้เรียนข้างหนึ่ง แล้วถอยเท้าของผู้เรียนมาด้านหลัง
จากนั้นให้ผู้เรียนปฏิบัติเช่นเดิมอีกข้างด้วยตนเอง
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๒. สามารถสวมรองเท้าแบบ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งเก้าอี้ที่มีความสูงพอเหมาะ โดยเท้าของผู้เรียนวางราบพอดีกับพื้น
สอดได้ ๒. ผู้สอนวางรองเท้าแบบสอดไว้หน้าเท้าของผู้เรียน
๓. ผู้สอนจับที่เหนือข้อเท้าของผู้เรียนข้างหนึ่ง แล้วดันส้นเท้าของผู้เรียนเข้าไปเพื่อให้
ปลายเท้าสอดเข้ าไปในรองเท้า จากนั้นให้ ผู้ เรี ยนปฏิ บัติเช่ นเดิม อีกข้า งด้ว ย
ตนเอง
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๓๓

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๓. สามารถถอดรองเท้าแตะ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งเก้าอี้ที่มีความสูงพอเหมาะ โดยเท้าของผู้เรียนวางราบพอดี กับพื้น
แบบคีบได้ ๒. ผู้สอนวางรองเท้าไว้หน้าเท้าของผู้เรียน
๓. ผู้สอนสวมรองเท้าแตะแบบคีบให้ผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียนดึงเท้าถอยออกจากหูรองเท้า
หากผู้เรียนกางนิ้วหัวแม่เท้าออกจากนิ้วชี้ลาบาก ให้ผู้สอนช่วยกางนิ้วหัวแม่เท้า
ผู้เรียนออกแล้วให้ผู้เรียนดึงเท้าถอยหลังออก จากนั้นให้ผู้เรียนปฏิบัติเช่นเดิมอีกข้าง
ด้วยตนเอง
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๔. สามารถสวมรองเท้าแตะ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งเก้าอี้ที่มีความสูงพอเหมาะ โดยเท้าของผู้เรียนวางราบพอดีกับพื้น
แบบคีบได้ ๒. ผู้สอนวางรองเท้าไว้หน้าเท้าของผู้เรียน
๓. ผู้สอนใช้มือข้างหนึ่งจับที่เหนือข้อเท้าของผู้เรียน แล้วดันส้นเท้าของผู้เรียนเข้าไปใน
หูของรองเท้า หากผู้เรียนกางนิ้วหัวแม่เท้าออกจากนิ้วชี้ลาบาก ให้ผู้สอนช่วยกางนิ้ว
หัวแม่เท้าผู้เรียนออก จากนั้นให้ผู้เรียนปฏิบัติเช่นเดิมอีกข้าง
ด้วยตนเอง
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๕. สามารถถอดรองเท้าแบบติด ๑. ผู้สอนแนะนารองเท้าแบบติดแถบข้างซ้าย-ขวา และส่วนประกอบต่างๆ ของรองเท้า
แถบได้ เช่น แถบติดรองเท้า ส้นรองเท้า เป็นต้น
๒. ผู้สอนและผู้เรียนนั่งในท่าที่ถนัด จากนั้ นผู้สอนสวมรองเท้าแบบติดแถบให้ผู้เรียนทั้ง
สองข้าง
๓. ผู้สอนจับมือผู้เรียนให้ดึงแถบที่ติดรองเท้าออก จากนั้นให้ผู้เรียนยกเท้าออกจาก
รองเท้า แล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติเช่นเดิมอีกข้างด้วยตนเอง
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๓๔

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๖. สามารถสวมรองเท้าแบบติด ๑. ผู้สอนและผู้เรียนนั่งในท่าที่ถนัด จากนั้นผู้สอนวางรองเท้าแบบติดแถบไว้หน้าเท้า
แถบได้ ของผู้เรียน
๒. ผู้ส อนจับที่เหนือข้อเท้าของผู้ เรียนข้างหนึ่ง ยกและดันส้ นเท้าของผู้ เรียนเข้าไป
ใ ห้ ป ล า ย เ ท้ า ส อ ด เ ข้ า ไ ป ใ น ร อ ง เ ท้ า แ ล้ ว ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ติ ด แ ถ บ ร อ ง เ ท้ า
จากนั้นให้ผู้เรียนปฏิบัติเช่นเดิมอีกข้างด้วยตนเอง
๓. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๒.๓ การถอด – สวม ๑. สามารถถอดกระโปรงเอวยืด ๑. ผู้ ส อนแนะน ากระโปรงเอวยืด และส่ ว นประกอบต่ า งๆ ของกระโปรง เช่ น เอว
กระโปรง ได้ กระโปรง ชายกระโปรง ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านใน ด้านนอก
๒. ผู้สอนสวมกระโปรงเอวยืดให้ผู้เรียน
๓. ผู้สอนจับมือผู้เรียนไปจับที่ขอบกระโปรงเอวยืด ให้ผู้เรียนดึงกระโปรงลงมาจนถึง
ข้อเท้า แล้วยกขาออกจากกระโปรง
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๒. สามารถสวมกระโปรงเอวยืด ๑. ผู้สอนแนะนากระโปรงเอวยืดและส่วนประกอบต่างๆ ของกระโปรง เช่น
ได้ เอวกระโปรง ชายกระโปรง ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านใน ด้านนอก
๒. ผู้สอนบอกให้ผู้เรียนยกขาทีละข้างสวมเข้าไปในกระโปรง จากนั้นให้ผู้เรียนใช้มือ
สองข้างดึงขอบกระโปรงขึ้นมาถึงเอว ผู้สอนจับมือผู้เรียนจัดขอบกระโปรงให้
เรียบร้อย
๓. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๓๕

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๓. สามารถถอดกระโปรงติด ๑. ผู้สอนแนะนากระโปรงและส่วนประกอบต่างๆ ของกระโปรง เช่น เอวกระโปรง
ตะขอได้ ตะขอชายกระโปรง ด้านหน้า ด้านหลัง และด้านใน ด้านนอก เป็นต้น
๒. ผู้สอนสวมกระโปรงติดตะขอให้ผู้เรียน
๓. ผู้สอนจับมือผู้เรียนแกะตะขอกระโปรง จากนั้นให้ผู้เรียนใช้มือทั้งสองข้างจับขอบ
กระโปรงแล้วดึงลงถึงข้อเท้า และยกเท้าทีละข้างออกจากกระโปรง
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๔. สามารถสวมกระโปรงติด ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้มือสองข้างจับขอบกระโปรง
ตะขอได้ ๒. ผู้สอนบอกให้ผู้เรียนยกขาทีละข้างสวมเข้าไปในกระโปรง จากนั้นให้ผู้เรียนใช้มือ
สองข้างดึงขอบกระโปรงขึ้นมาถึงเอว ผู้สอนจับมือผู้เรียนให้ติดตะขอและจัดขอบ
กระโปรงให้เรียบร้อย
๓. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๒.๔ การถอด – สวม ๑. สามารถถอดกางเกงเอวยืด ๑. ผู้สอนแนะนากางเกงเอวยืดและส่วนประกอบต่าง ๆ ของกางเกง เช่น ขากางเกง
กางเกง ได้ เอวกางเกง ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านใน ด้านนอก กระเป๋ากางเกง เป็นต้น
๒. ผู้สอนสวมกางเกงให้ผู้เรียน
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนอยู่ในท่าที่ถนัด จากนั้นให้ผู้เรียนใช้มือทั้งสองข้างจับขอบกางเกงแล้ว
ดึงกางเกงลงมาถึงข้อเท้า และยกเท้าทีละข้างออกจากขากางเกง
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๓๖

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๒. สามารถสวมกางเกงเอวยืด ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้มือสองข้างจับขอบกางเกงเอวยืด
ได้ ๒. ผู้ สอนบอกให้ ผู้เรียนยกขาสอดเข้าไปในขากางเกงทีละข้าง จากนั้นให้ ผู้เรียนใช้
มือดึงขอบกางเกงขึ้นมาถึงเอวและจัดขอบกางเกงให้เรียบร้อย
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนสวมกางเกงด้วยตนเอง
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๓. สามารถถอดกางเกงแบบ ๑. ผู้สอนแนะนากางเกงและส่วนประกอบต่าง ๆ ของกางเกง เช่น เอวกางเกง ตะขอ
มีตะขอและซิปได้ ซิป ด้านหน้า ด้านหลัง และด้านใน ด้านนอก เป็นต้น
๒. ผู้สอนสวมกางเกงให้ผู้เรียน
๓. ผู้สอนจับมือผู้เรียนแกะตะขอกางเกง รูดซิปลง จากนั้นให้ผู้เรียนใช้มือทั้งสองข้างจับ
เอวกางเกงแล้วดึงลงถึงข้อเท้าและยกเท้าทีละข้างออกจากขากางเกง
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๔. สามารถสวมกางเกงแบบ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้มือสองข้างจับขอบกางเกงแบบมีตะขอและซิป
มีตะขอและซิปได้ ๒. ผู้สอนบอกให้ผู้เรียนยกขาทีละข้างสอดเข้าไปในขากางเกง จากนั้นให้ผู้เรียนใช้มือ
สองข้างดึงขอบกางเกงขึ้นมาถึงเอว ผู้สอนจับมือผู้เรียนให้ติดตะขอ รูดซิปขึ้นและ
จัดขอบกางเกงให้เรียบร้อย
๓. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๒.๕ การถอด - สวม ๑. สามารถถอดเสื้อยืดคอกลม ๑. ผู้สอนแนะนาเสื้อยืดและส่ วนประกอบต่าง ๆ ของเสื้ อยืด เช่น คอเสื้ อ ชายเสื้ อ
เสื้อ ได้ แขนเสื้อ ด้านหน้าด้านหลัง ด้านในและนอก เป็นต้น
๒. ผู้สอนสวมเสื้อยืดคอกลมให้ผู้เรียน
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้มือสองข้างจับที่ชายเสื้อยืด จากนั้นดึงชายเสื้อขึ้นจนพ้นศีรษะ
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๓๗

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๒. สามารถสวมเสื้อยืดคอกลม ๑. ผู้สอนสวมเสื้อยืดคอกลมให้ผู้เรียนถึงระดับคอ
ได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนสอดแขนเข้าไปในเสื้อทีละข้าง แล้วให้ผู้เรียนดึงชายเสื้อลง จัดให้
เรียบร้อย
๓. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้

๓. สามารถถอดเสื้อคอปก ๑. ผู้สอนแนะนาและส่วนประกอบต่าง ๆ ของเสื้อ เช่น คอเสื้อ ชายเสื้อ แขนเสื้อ ปก


มีกระดุมได้ เสื้อ ด้านใน ด้านนอก ด้านหน้า ด้านหลัง และกระดุม เป็นต้น
๒. ผู้สอนสวมเสื้อคอปกพร้อมทั้งติดกระดุมให้ผู้เรียน
๓. ผู้สอนช่วยจับมือผู้เรียนให้แกะกระดุมเม็ดแรก จากนั้นให้ผู้เรียนแกะกระดุมออก
จนครบทุกเม็ด
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๔. สามารถสวมเสื้อคอปก ๑. ผู้สอนยืนอยู่ด้านข้างเยื้องมาทางด้านหลังของผู้เรียน
มีกระดุมได้ ๒. ผู้สอนจับคอเสื้อที่แกะกระดุมออกทุกเม็ดแล้ว
๓. ผู้สอนกางเสื้อออกแล้วให้ผู้เรียนสอดแขนเข้าไปในแขนเสื้อทีละข้า ง จากนั้นให้
ผู้เรียนดึงชายเสื้อลง แล้วติดกระดุมให้เรียบร้อย
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๖. สามารถถอดเสื้อผ่าหน้า ๑. ผู้สอนยืนอยู่ด้านข้างเยื้องมาทางด้านหลังของผู้เรียน
มีกระดุมได้ ๒. ผู้สอนจับบริเวณคอเสื้อผ่าหน้าที่แกะกระดุมออกทุกเม็ดแล้ว
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนสอดแขนเข้าไปในแขนเสื้อทีละข้าง แล้วให้ผู้เรียนดึงชายเสื้อลง
แล้วติดกระดุมให้เรียบร้อย
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผู้เรียนทาได้
๓๘

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๓. การขับถ่าย ๓.๑ การขับถ่าย ๑. สามารถแสดงท่าทางหรือ ๑. ผู้สอนแนะนาสัญลักษณ์ต่าง ๆ ของห้องน้า เช่น รูปผู้หญิง รูปผู้ชาย เป็นต้น
อุจจาระ -ปัสสาวะ พูดบอกความต้องการในการ ๒. ผู้สอนอธิบายวิธีการไปเข้าห้องน้าในที่ต่าง ๆ เช่น ที่บ้าน โรงเรียน เป็นต้น
ขับถ่ายได้ ๓. ผูส้ อนแนะนาอุปกรณ์ต่าง ๆ ในห้องน้า เช่น โถส้วม ขันน้า ก๊อกน้า สายฉีด อ่างน้า
๔. ผู้สอนสังเกตท่าทาง ขณะที่ผู้เรียนต้องการจะขับถ่าย
๕. ผู้ ส อนถามความต้ อ งการในการขั บ ถ่า ย ในขณะที่ผู้ เ รี ย นแสดงท่า ทางต้อ งการ
ขับถ่าย เช่น จับหน้าท้องชี้ไปที่ห้องน้า ชี้บอก จูงมือพาไปห้องน้า
๒. สามารถทาความสะอาดหลัง ๑. ผู้สอนฝึกผู้เรียนล้างก้น โดยจับมือข้าที่ถนัดของผู้เรียนถือสายชาระหรือขันน้า ฉีด
ขับถ่ายได้ น้าหรือราดน้าที่ก้นของตนเอง พร้อมจับมืออีกข้างของผู้เรียนให้ถูก้นจนสะอาด
๒. หลังจากผู้เรียนล้างก้นตนเองเรียบร้อยแล้ว ให้ตักน้าราดโถส้วม หรือชั กโครกทา
ความสะอาดส้วมด้วยตนเอง
๓. หลังจากนั้นให้ผู้สอนพาผู้เรียนไปเช็ดก้นให้แห้ง ล้างมือให้สะอาดโดยจับมือผู้เรียน
ทาทุกขั้นตอน
๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลง เมื่อผู้เรียนสามารถทาได้เอง
๔. การทาความ ๔.๑ การทาความ ๑. สามารถล้างมือและเช็ดมือ ๑. ผู้ ส อนแนะน าอุ ป กรณ์ ใ นการล้ า งมื อ และเช็ ด มื อ เช่ น ก๊ อ กน้ า สบู่ ผ้ า ขนหนู
สะอาดร่างกาย สะอาดมือ ด้วยตนเองได้ ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดมือ
๒. ผู้สอนแนะนาวิธีการใช้งานการเปิด-ปิดก๊อกน้า
๓. ผู้สอนสาธิตขั้นตอนการล้างมือด้วยสบู่ การฟอกให้เกิดฟอง การล้างน้าเปล่าและ
การเช็ดมือหลังจากเข้าห้องน้า
๔. ผู้ ส อนให้ ผู้ เรี ยนล้ างมือ ด้ว ยสบู่แล้ ว เช็ด มือ ด้ว ยตนเอง โดยมี ผู้ ส อนแนะนาและ
ช่วยเหลือ
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง
๓๙

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๔.๒ การทาความ ๑. สามารถล้างหน้าและ ๑. ผู้สอนแนะนาอุปกรณ์ในการล้างหน้าและเช็ดหน้า เช่น สบู่ ผ้าขนหนู ผ้าเช็ดหน้า
สะอาดหน้า เช็ดหน้าได้ การเปิด-ปิดก๊อกน้า เป็นต้น
๒. ผู้สอนแนะนาวิธีการฟอกสบู่ให้เกิดฟองแล้วนาไปถูให้ทั่วหน้าแล้วล้างน้าออกให้
สะอาด
๓. ผู้สอนสาธิตการล้างหน้าด้วยและเช็ดหน้า
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนล้างหน้าและเช็ดหน้าด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนคอยกระตุ้น
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนล้างหน้าและเช็ดหน้าด้วยตนเอง

๔.๓ การอาบน้า ๑. สามารถอาบน้าและเช็ดตัว ๑. ผู้ ส อนแนะนาอุปกรณ์ในการอาบน้าและเช็ดตัว เช่น สบู่ ฝั กบัว ขันน้า อ่างน้ า
ได้ ผ้าเช็ดตัว เป็นต้น
๒. ผู้สอนแนะนาวิธีการเปิด-ปิดฝักบัว และวิธีการใช้ขันน้าตักจากอ่างน้ามารดตัว
๓. ผู้สอนสาธิตการอาบน้าและเช็ดตัว
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนอาบน้าและเช็ดตัวด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนคอยกระตุ้น
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนล้างหน้าและเช็ดหน้าด้วยตนเอง
๔๐

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๔.๔. การแปรงฟัน ๑. สามารถแปรงฟันได้ ๑. ผู้สอนแนะนาอุปกรณ์ในการแปรงฟัน เช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟัน แก้วน้า เป็นต้น
๒. จัดเตรียมแปรงสีฟันให้ผู้เรียน โดยบีบยาสีฟันลงบนขนแปรงเล็กน้อย
๓. ผู้สอนสาธิตการแปรงฟันแล้วพูดว่า “แปรงฟัน”
๔. กรณีผู้เรียนเลียนแบบแปรงฟันไม่ได้ ผู้สอนจับมือผู้เรียนแปรงฟัน โดยหันหน้าเข้า
หากระจก เพื่อให้มองเห็นภาพของตนเองกาลังแปรงฟัน โดยผู้สอนจะยืนด้านหลัง
ผู้เรียนพร้อมกับพูด “(ชื่อผู้เรียน) แปรงฟัน”
๕. ทุกครั้งที่แปรงฟันกรณีผู้เรียนทาไม่ได้ ให้ผู้สอนจับมือผู้เรียนแปรงฟัน จนผู้เรียน
สามารถแปรงฟันได้ด้วยตนเอง
๖. ผู้สอนแนะนาวิธีการทาความสะอาดบริเวณปากและเก็บอุปกรณ์ให้เป็นระเบียบ

๔.๕ การหวีผม ๑. สามารถหวีผมได้ ๑. ผู้สอนแนะนาอุปกรณ์การหวีผม


๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนหน้ากระจก โดยผู้สอนอยู่ด้านข้าง
๓. ผู้สอนสาธิตการหวีผมให้ผู้เรียนดูแล้วพูดว่า “หวีผม”
๔. กรณีผู้เรียนเลียนแบบหวีผมไม่ได้ ผู้ สอนจับ มือผู้ เรียนหวีผม โดยหั นหน้าเข้าหา
กระจก เพื่อให้ผู้ เรียนมองเห็นภาพตนเองกาลังหวีผม โดยผู้ส อนจะยืนด้านหลั ง
ผู้เรียนพร้อมกับพูด “(ชื่อผู้เรียน) หวีผม”
๕. ทุกครั้งที่หวีผมกรณีผู้เรียนทาไม่ได้ ให้ผู้สอนจับมือผู้เรียนจนผู้เรียนหวีผมได้ด้วย
ตนเอง
๖. ผู้สอนให้ผู้เรียนหัดหวีผมด้วยตนเอง
๔๑

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๔.๖ การดูแลอนามัย ๑. สามารถล้างและเช็ดมือได้ ๑. ผู้สอนเปิดก๊อกน้าหรือตักน้าใส่ขัน หยิบสบู่ เอาน้าราดทั้งมือและสบู่ ฟอกสบู่จนทั่วมือ
ตนเอง แล้ววางสบู่ไว้ที่เดิม
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนถูมือที่ฟอกสบู่ให้ทั่ว
๓. ผู้สอนล้างมือให้ผู้เรียนด้วยน้าเปล่าจนสะอาด ปิดก๊อกน้าหรือวางขันไว้ที่เดิม
๔. ผู้เรียนนาผ้าเช็ดมือมาเช็ดมือให้แห้งด้วยตนเอง และวางผ้าเช็ดมือไว้ที่เดิม โดยมีผู้สอน
คอยกระตุ้น
๕. หากผู้เรียนทาไม่ได้ให้ผู้สอนจับมือทาทุกขั้นตอน
๒. สามารถสั่งและเช็ดน้ามูกได้ ๑. ผู้สอนอธิบายข้อดี ข้อเสียของการสั่งน้ามูก
๒. ผู้สอนสาธิตการสั่งและเช็ดน้ามูก
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนสั่งและเช็ดน้ามูกด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนคอยกระตุ้น
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนล้างมือและเช็ดมือด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนคอยกระตุ้น
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนสั่งและเช็ดน้ามูก ล้างมือและเช็ดมือด้วยตนเอง
๕. การ ๕.๑ การช่วยเหลือ ๑. สามารถเก็บสิ่งของเข้าที่ได้ ๑. ผู้สอนสาธิตการเก็บสิ่งของเข้าที่
รับผิดชอบงาน งานบ้าน ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนเก็บของเช้าที่ โดยมีผู้สอนคอยกระตุ้น
บ้าน ๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนเก็บของเข้าที่ด้วยตนเอง
๒. สามารถกวาดบ้านได้ ๑. ผู้สอนสาธิตการกวาดบ้าน
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนกวาดบ้านด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนคอยกระตุ้น
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนกวาดบ้านด้วยตนเอง
๓. สามารถถูบ้านโดยใช้ไม้ถู ๑. ผู้สอนสาธิตการถูบ้าน
พื้น ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนถูบ้านด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนคอยกระตุ้น
ได้ ๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนถูบ้านด้วยตนเอง
๔๒

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๔. สามารถพับผ้า – เก็บผ้าที่ ๑. ผู้สอนสาธิตการพับผ้า
พับเข้าตู้ได้ ๒. ผูส้ อนให้ผู้เรียนพับผ้าและนาผ้าที่พับเก็บเข้าตู้ โดยมีผู้สอนคอยแนะนา
๓. ผูส้ อนให้ผู้เรียนพับผ้าและเก็บผ้าเข้าตู้ด้วยตนเอง
๔๓

ทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา
๑. คาอธิบายทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา
ทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา เป็นการพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถรั บรู้และแสดงออกทางภาษาที่เหมาะสมในเรื่องการรับรู้เสียงและคา
การแสดงสีหน้าท่าทางและคาพูด การออกเสียงพยัญชนะและสระ การสร้างคาพูดและประโยค และการบอกข้อมูลส่วนตัว
โดยใช้การปฏิบัติจริง การสาธิต การเลียนแบบ การวิเคราะห์งานเป็นลาดับขั้นตอน ฝึกทักษะแบบบูรณาการ ในการพัฒนาศักยภาพอย่างสมบูรณ์
และสมดุลในด้านต่างๆเพิ่มมากขึ้น มีคณะสหวิชาชีพ ผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชน และผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถรับรู้และแสดงออกทางภาษา ถ่ายทอดความรู้สึก หรือแสดงออกถึงความเข้าใจในการรับรู้ภาษา ใช้ภาษาในการสื่อสารกั บ
บุคคลอืน่ ในชีวิตประจาวันได้ รวมถึงสนใจต่อการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว เล่นและทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

๒. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา
๑. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถรับรู้และแสดงออกทางภาษาที่เหมาะสม
๒. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารกับบุคคลอื่นในชีวิตประจาวันได้
๓. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาในการเรียนรู้ในขั้นที่สูงขึ้น
๔๔

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๑.การรับรู้เสียงและคา ๑. การรับรู้เสียง ๑. สามารถหันตามแหล่งที่มาของ ๑. ผู้สอนนาของเล่นที่มีเสียง เขย่าเบาๆ ข้างหูผู้เรียนเพื่อให้หันศีรษะตามเสียง
เสียงได้ ที่ได้ยิน
๒. ผู้ ส อนทาเสี ยงต่างๆ หลายๆ อย่าง เช่น เสี ยงกระดิ่ง ตบมือ เรียกชื่ อ
เพื่อให้หันตามเสียง กรณีผู้เรียนยังไม่หันตามเสียงไม่ได้ ผู้สอนจับศีรษะ
เบา ๆ แล้วหันตามเสียง ทาจนกระทั่งผู้เรียนสามารถหันตามเสียงได้ด้วย
ตนเอง จึงลดการจับศีรษะ
๓. ผู้สอนให้ผู้ เรียนฟังเสียงกลอง โดยผู้สอนตีกลองด้านซ้ายสลับกับด้านขวา
ด้านหน้าและด้านหลัง
๔. ผู้สอนตีกลองให้มีเสียงดังและเบาสลับกันและสังเกตอาการของผู้เรียน
๕. ให้บุคคลในครอบครัวเรียกชื่อของตนเอง เพื่อให้ ผู้เรียนมองตามเสี ยงของ
แต่ละคน
๒. การรับรู้คาพูด ๑. สามารถตอบสนองต่อคาพูดของ ๑. ผู้สอนเรียกชื่อผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนหันตามเสียงที่เรียก
ผู้อื่นได้ ๒. ผู้สอนพูดพร้อมแสดงท่าทางประกอบ แล้ว ให้ ผู้ เรียนทาตาม เช่น ยกมือ
โบกมือ ตบมือ บ๊ายบาย ฯลฯ
๓. ผู้สอนเอ่ยชื่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายพร้อมทั้งชี้ที่ส่วนต่างๆ ของร่างกายของ
ผู้ เรี ยนแล้ ว ให้ ผู้ เ รียนชี้ต าม และให้ ผู้ เรีย นชี้ส่ ว นต่าง ๆ ของร่างกายของ
ผู้เรียนเอง
๔๕

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔. ผู้สอนนาภาพอวัยวะของร่างกายมาให้ผู้เรียนดูและบอกชื่ออวัยวะของ
ร่างกายทีละอย่าง แล้วให้ผู้เรียนเลือกภาพอวัยวะของร่างกายตามที่ผู้สอน
บอก
๕. ผู้สอนนาของใช้ส่วนตัวของผู้เรียน ผลไม้จริง แนะนาให้ผู้เรียนรู้จักทีละอย่าง
จากนั้นผู้สอนบอกผู้เรียนว่า กระเป๋า ดินสอ ยางลบ ส้ม กล้วย จากนั้นให้
ผู้เรียนชี้สิ่งของต่างๆ ตามที่ผู้สอนกาหนด
๖. ผู้สอนให้ผู้เรียนเลือกสิ่งของตามคุณลักษณะที่บอกจากสิ่งของจานวน
๒ -๔ ชิ้น เช่น แก้วน้าสีแดง แตงโมผลใหญ่ เป็นต้น
๗. ผู้สอนให้ผู้เรียนเลือกสิ่งของที่ไม่ใช่สิ่งของตามที่บอกจากสิ่งของ ๒-๔ ชิ้น
๘. ผู้สอนให้ผู้เรียนเลือกภาพที่มีคุณลักษณะสองอย่างจากตัวเลือก ๒-๔ ภาพ
เช่น ภาพผู้หญิงผมสั้น ภาพสุนัขตัวใหญ่สีดา เป็นต้น
๙. ผู้สอนให้ผู้เรียนเลือกภาพที่ไม่ใช่สิ่งของตามลักษณะที่บอกจากตัวเลือก
๒-๔ ภาพ เช่น ภาพสัตว์ ภาพผลไม้ เป็นต้น
๑๐. ผู้สอนให้ผู้เรียนเลือกภาพที่แสดงกิริยาตามที่บอกจากตัวเลือก ๒-๔ ภาพ
เช่น ภาพร้องไห้ ภาพร้องเพลง เป็นต้น
๑๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเลือกภาพที่ไม่ได้แสดงกิริยาตามที่บอกจากตัวเลือก
๒-๔ ภาพ เช่น เด็กที่ไม่ได้นั่ง หมาที่ไม่ได้เห่า เป็นต้น
๑๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนเลือกภาพที่ไม่ได้แสดงกิริยาตามที่บอกจากตัวเลือก
๒ -๔ ภาพ เช่น ภาพผลไม้ ภาพผัก
๔๖

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. การแสดงสีหน้า ๒.๑ การแสดงสีหน้า ๑. สามารถแสดงสีหน้า ท่าทาง ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเลียนแบบ การแสดงสีหน้า ท่าทาง ดีใจ เสียใจ เช่น
ท่าทางและคาพูด ท่าทาง ต่อคาพูดหรือ คาพูด หรืออารมณ์ต่อสิ่งเร้าภายนอก ก้มหน้าเมื่อถูกดุ ยิ้มเมื่อได้รับคาชม
อารมณ์ต่อสิ่งเร้า และภายในได้เหมาะสม ๒. ให้ผู้เรียนแสดงสีหน้าท่าทางจากสถานการณ์ที่กาหนด
๓. ผู้สอนเล่านิทานและแสดงสีหน้า ท่าทางประกอบ เพื่อให้ผู้เรียนแสดงสีหน้า
ท่าทาง ตามสถานการณ์ที่กาหนด
๒.๓ การออกเสียงคา ๑. สามารถออกเสียงคาได้ถูกต้อง ๑. ผู้สอนเมื่อกระตุ้นให้ออกเสียงโดยใช้เครื่องช่วยฝึกพูด ผู้เรียนออกเสียงอ้อแอ้
และการใช้คาพูด ตาม
๒. ผู้สอนเล่าเรื่องประกอบภาพและให้มีโทนเสียงสูง ต่า ค่อย ดัง เสียงสัตว์
ประกอบ ให้ผู้เรียนฝึกเลียนเสียง
๓. ผู้สอนออกเสียงคาที่คุ้นเคย แล้วให้ผู้เรียนออกเสียงตาม ในหมวดต่างๆ
ดังต่อไปนี้
๓.๑ บุคคล
๓.๒ สัตว์
๓.๓ ของใช้ส่วนตัว
๔. ให้ผู้เรียนออกเสียงตามบัตรภาพ ในหมวดต่างๆ ดังต่อไปนี้
๔.๑ บุคคล
๔.๒ สัตว์
๔.๓ ของใช้ส่วนตัว
๕. ผู้สอนออกเสียงจานวนและตัวเลข แล้วให้ผู้เรียนออกเสียงตามครั้งละ
๑ จานวน ๒ จานวนและ ๓ จานวน ตามลาดับ
๔๗

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. สามารถใช้คาสรรพนาม แทน ๑. ให้ผู้เรียนฝึกใช้คาสรรพนามแทนชื่อตนเอง ในสถานการณ์ต่างๆ เช่น
ตนเองและผู้อื่นได้ เล่นเกมทายภาพ โดยผู้สอนยกภาพผู้เรียนทีละคน แล้วถามว่านี่คือภาพใคร
และให้เจ้าของภาพเป็นผู้ตอบ โดยใช้คาสรรพนามแทนตนเองว่า หนู ผม ฉัน
๒. ผู้สอนนาภาพถ่าย พ่อ แม่ หรือผู้ปกครองวางตรงหน้าผู้เรียน แล้วยกภาพให้
ผู้เรียนดูทีละภาพ แล้วถามว่านี่คือภาพพ่อของใคร นี่คือภาพแม่ของใคร แล้ว
ให้ผู้เรียนตอบโดยใช้คาสรรพนามแทนตนเองว่า หนู ผม ฉัน
๓. ผู้สอนแสดงบทบาทสมมุติ โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และใช้คาสรรพนามแทน
ตัวเองด้วยคาว่า ฉัน ผม หนู เมื่อกล่าวถึงผู้เรียน
๔. ผู้สอนสร้างสถานการณ์ โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และใช้คาสรรพนามแทน
ตัว เองและผู้ อื่นด้ ว ยคาว่ า ฉัน ผม หนู เธอ เช่ น ผู้ ส อนหยิบกระเป๋าของ
ตนเองชูขึ้นแล้วพูดว่า กระเป๋าใบนี้เป็นของฉัน แล้วหยิบกระเป๋าของผู้เรียน
ยกขึ้นแล้วพูดว่าใบนี้เป็นของเธอ เป็นต้น
๕. ผู้สอนสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนใช้คาสรรพนามแทนตนเองและผู้อื่น โดย
การจับคู่ แล้วให้ผู้เรียนใช้คาสรรพนามแทนตนเองและผู้อื่น โดยมีผู้สอนคอย
ชี้แนะหากนักเรียนยังไม่สามารถทาได้ด้วยตนเอง
๓.การออกเสียง ๓.๑ สระ อา อี อู ออ ๑. สามารถออกเสียงคาที่ ๑. ผู้สอนเล่านิทานง่าย ๆ ที่ประกอบด้วยคาที่มีสระ อา อี อู ออ ไอ โอ เช่น ตา
พยัญชนะ และสระ ไอ โอ ประกอบด้วยสระ อา อี อู ออ ไอ โอ ขา ทีวี ปู งู พ่อ ไก่ ใบ โต โบ เป็นต้น
ได้ ๒. ผู้เรียนออกเสียงคาที่มีสระ อา อี อู ออ ไอ โอ ตามครู เช่น ปา สี รู รอ ไวไว
โมโห เป็นต้น
๓. ผู้เรียนออกเสียงคาที่มีสระ อา อี อู ออ ไอ โอ ด้วยตนเอง เช่น ตา ขา ทีวี ปู
๔. พ่อ ไก่ ใบ โต โบ ปา สี รู รอ ไวไว โมโห เป็นต้น
๔๘

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓.๒ พยัญชนะต้น ๑. สามารถออกเสียงคาที่ประกอบ ๑. ผู้เรียนออกเสียงคาที่ประกอบด้วยพยัญชนะต้น (เสียงนา) ม น ห ย ค อ ว บ
(เสียงนา) ม น ห ย ค ด้วยพยัญชนะต้นที่กาหนดให้ได้ ก ป ตามครู เช่น ม้า นา ยาย คุย วิ่ง บ้าน กบ ปาก เป็นต้น
อวบกป ๒. ผู้เรียนออกเสียงคาจากบัตรภาพ บัตรคาที่มีพยัญชนะต้น (เสียงนา) ม น ห ย
ค อ ว บ ก ป เช่น หมา นิ้ว หาง หู ยุง คิ้ว ปาก ว่าว โอ่ง บ้าน เป็นต้น
๓. ผู้เรียนออกเสียงคาที่ประกอบด้วยพยัญชนะต้น (เสียงนา) ม น ห ย ค อ ว บ
ก ป ด้วยตนเอง เช่น ม้า นา ยาย คุย วิ่ง บ้าน กบ ปาก ปู กิน เป็นต้น
๓.๓ คาที่มีตัวสะกด ๑. สามารถออกเสียงคาที่มีตัวสะกด ๑. ผู้เรียนออกเสียงคาที่มีตัวสะกด แม่กก แม่กง ตามผู้สอน เช่น บก นก รก ชก
แม่กก แม่กง แม่กก แม่กง ได้ อก ลุง ยุง ลงเป็นต้น
๒. ผู้เรียนออกเสียงคาจากบัตรภาพ บัตรคาที่มีตัวสะกด แม่กก แม่กง เช่น ปาก
ผัก เชือก ช้าง ถุง ถัง เป็นต้น
๓. ผู้เรียนออกเสียงคาที่มีตัวสะกด แม่กก แม่กง ด้วยตนเอง เช่น นก ชก อก
ปาก ผัก เชือก ลุง ยุง ลง ช้าง ถุง เป็นต้น
๓.๔ สระ อะอิ อุ เอ ๑. สามารถออกเสียงคาที่ประกอบ ๑. ผู้เรียนออกเสียงคาที่ประกอบด้ว ยสระ อะอิ อุ เอ เอา ตามผู้ ส อน เช่น
เอา ด้วยสระ อะอิ อุ เอ เอา ได้ ระวัง มะยม สะพาน กิน บิน ชุด สุนัข เก้าอี้ เป่า เบา เรา เล่น เป็นต้น
๒. ผู้เรียนออกเสียงคาจากบัตรภาพ บัตรคาที่ประกอบด้วยสระ อะอิ อุ เอ เอา
เช่น กะทะ ระฆัง มะลิ น้าพุ เวลา ทะเล ลิเก เปล เต่า เท้า เป็นต้น
๓. ผู้เรียนออกเสี ยงคาที่ประกอบด้วยสระ อะอิ อุ เอ เอา ด้ว ยตนเอง เช่น
ระวัง สะพาน กิน บิน เบา เต่า เป็นต้น
๔๙

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓.๕ คาที่มีพยัญชนะ ๑. สามารถออกเสียงคาที่มีพยัญชนะ ๑. ผู้เรียนออกเสียงคาที่มีพยัญชนะต้น (เสียงนา) ท ต ล จ พ ง ด ตามผู้สอน
ต้น (เสียงนา) ท ต ล จ ต้น (เสียงนา) ท ต ล จ พ ง ด ได้ เช่น ทหาร ทา ตาย ลิง จาน พูด เงิน ดื่ม เป็นต้น
พงด ๒. ผู้เรียนออกเสียงคาจากบัตรภาพ บัตรคาที่มีพยัญชนะต้น (เสียงนา) ท ต ล จ
พ ง ด เช่น ทหาร ตู้ ลิง จาน พัด ผีเสื้อ งู ดาว เป็นต้น
๓. ผู้เรียนออกเสียงคาที่มีพยัญชนะต้น (เสียงนา) ท ต ล จ พ ง ด ด้วยตนเอง
เช่น ทา ตา ลิง ดิน งดงาม เป็นต้น
๓.๖ คาที่มีตัวสะกด ๑. สามารถออกเสียงคาที่มีตัวสะกด ๑. ผู้เรียนออกเสียงคาที่มีตัวสะกดแม่กบ แม่กด ตามผู้สอน เช่น จบ กบ รบ มด
แม่กบ แม่กด แม่กบ แม่กด ได้ สด เป็นต้น
๒. ผู้เรียนออกเสียงคาจากบัตรภาพ บัตรคาที่มีตัว สะกด แม่กบ แม่กด เช่น
สิบ ยีราฟ มด เป็ด พัด เป็นต้น
๓. ผู้เรียนออกเสียงคาที่มีตัวสะกด แม่กบ แม่กด ด้วยตนเอง เช่น หยิบ สิบ มด
สด เป็นต้น
๔. การสร้างคาพูดและ ๔.๑ คาและประโยค ๑.สามารถพูดเลียนแบบเสียงคาและ ๑. ให้ผู้เรียนพูดเลียนแบบเสียงคาและประโยคที่มี ๒-๓ พยางค์ตามผู้สอน เช่น
ประโยค ประโยคได้ หนูง่วง หิวข้าว หมาเห่า เป็นต้น
๒. ให้ผู้เรียนพูดเลียนแบบเสียงคาและประโยคที่มี ๓-๔ พยางค์ตามผู้สอน เช่น
หนูร้องเพลง แม่อ่านนิทาน เป็นต้น
๓. ให้ผู้เรียนพูดเลียนแบบเสียงคาและประโยคที่มี ๕-๖ พยางค์ตามผู้สอน เช่น
หนูจะกินข้าวผัด กบกระโดดลงสระน้า เป็นต้น
๔. ให้ผู้เรียนพูดเลียนแบบเสียงคาและประโยคจากนิทาน เพลง หรือสิ่งที่ผู้เรียน
สนใจ
๕๐

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔.๒ คาพูดและ ๑. สามารถเลือกใช้คาในประโยค ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนตอบคาถามง่าย ๆ เพื่อให้นักเรียนพูดแสดงความเป็นเจ้าของ
ประโยคอย่างง่าย ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม เช่น ปากกาของใคร สมุดของหนูหรือเปล่า เป็นต้น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนตอบคาถามง่าย ๆ เพื่อให้ผู้เรียนพูดปฏิเสธ เช่น แดงกินข้าว
อีกไหม หนูจะนอนอีกไหม เป็นต้น
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนตอบคาถามง่าย ๆ เพื่อให้ผู้เรียนบอกความต้องการของตนเอง
เช่น ถ้าหนูหิวหนูจะต้องพูดว่าอะไร เป็นต้น
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนตอบคาถามง่าย ๆ เพื่อให้ผู้เรียนใช้คาว่า เป็น มี ในประโยค
ที่พูด เช่น ฉันมีน้อง หนูมีพี่ น้องเป็นผู้ชาย เป็นต้น
๕. ผู้สอนสนทนาซักถามผู้เรียนเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใน
ชีวิตประจาวัน
๒. สามารถใช้คาบอกลักษณะ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนดูตัวอย่างสื่อของจริงแล้วใช้คาบอกลักษณะของสิ่งนั้น เช่น
สิ่งต่าง ๆ ในประโยคที่พูดได้ เสื้อสีแดง กางเกงสีดา ตุ๊กตาตัวใหญ่ ฯลฯ เป็นตัวอย่าง จากนั้นให้ผู้เรียนบอก
ลักษะของสิ่งนั้นเอง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกลักษณะของสิ่งของจากบัตรภาพ
๓. สามารถพูดเป็นประโยคอย่างง่าย ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกชื่อสิ่งของต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว
ได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนพูดประโยคง่าย ๆ จากภาพกิจกรรมในชีวิตประจาวัน
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่าเรื่องราวง่าย ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน
๕. การบอกข้อมูล ๕.๑ ชื่อ สกุลของ ๑.สามารถบอกชื่อเล่น ของตนเอง ๑. ผู้สอนจัดกิจกรรมวงกลม โดยเริ่มจากให้ผู้เรียนนั่งล้อมวง แล้วผู้สอนร้องเพลง
ส่วนตัว ตนเอง และผู้อื่นได้ เรียกชื่อ “ชื่อของเธอฉันไม่รู้จัก คุณครูถามทักผู้ที่มาใหม่
ชื่อของเธอฉันจาไม่ได้ ชื่ออะไรขอให้บอกมา”
๕๑

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


จากนั้นผู้ ส อนเรียกชื่อเล่ นผู้ เรียนทีล ะคน โดยใช้คาถามว่า น้องเออยู่ไหน
ใครชื่อน้องเอยกมือขึ้น
๒. ผู้สอนร้องเพลงเรียกชื่อ
“ชื่อของเธอฉันไม่รู้จัก คุณครูถามทักผู้ที่มาใหม่
ชื่อของเธอฉันจาไม่ได้ ชื่ออะไรขอให้บอกมา”
จากนั้น ถามนักเรียนเป็นรายบุคคลว่า หนูชื่ออะไรแล้วให้นักเรียนบอกชื่อ
เล่นของตนเอง
๓. ผู้สอนร้องเพลงสวัสดีคุณครู
“สวัสดีคุณครูที่รัก หนูจะตั้งใจอ่านเขียน
ยามเช้าเรามาโรงเรียน หนูจะพากเพียร
ขยันเรียนเอย”
จากนั้นผู้สอนถามผู้เรียนว่า วันนี้มีใครมาเรียนบ้าง แล้วให้ผู้เรียนบอก
ชื่อเล่นของเพื่อนที่มาเรียน
๔. ผู้สอนเล่นเกมทายสิ่งของ โดยนาของใช้ส่วนตัวของผู้เรียนแต่ละคนมาถาม
เช่น นี่คือ กระเป๋าของใคร แล้วให้ผู้เรียนคนที่ไม่ใช่เจ้าของกระเป๋าตอบ
๒. สามารถบอกชื่อและนามสกุลจริง ๑. ผู้สอนจัดกิจกรรมวงกลม โดยเริ่มจากให้ผู้เรียนนั่งล้อมวง แล้วผู้สอนร้องเพลง
ของตนเองได้ เรียกชื่อ “ชื่อของเธอฉันไม่รู้จัก คุณครูถามทักนักเรียนเข้าใหม่
ชื่อของเธอฉันจาไม่ได้ ชื่ออะไรขอให้บอกมา”
จากนั้นผู้สอนเรียกชื่อและนามสกุลจริงของผู้เรียนทีละคน โดยใช้คาถามว่า
เด็กหญิง เด็กชาย.............อยู่ไหนเอ่ย หรือ ใครชื่อเด็กหญิง
เด็กชาย.......... ยกมือขึ้น เป็นต้น
๕๒

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. ผู้สอนร้องเพลงเรียกชื่อ
“ชื่อของเธอฉันไม่รู้จัก คุณครูถามทักผู้ที่มาใหม่
ชื่อของเธอฉันจาไม่ได้ ชื่ออะไรขอให้บอกมา”
จากนั้น ถามผู้เรียนเป็นรายบุคคลว่า หนูชื่ออะไรแล้วให้ผู้เรียนบอกชื่อและ
นามสกุลจริงของตนเอง โดยมีครูคอยแนะนาและกระตุ้น
๓. ผู้ ส อนถามชื่ อ และนามสกุ ล จริ ง ของผู้ เ รี ย น แล้ ว ให้ ผู้ เ รี ย นบอกชื่ อ และ
นามสกุลจริงของตนเอง
๕.๒ อายุและเพศของ ๑. สามารถบอกอายุและเพศของ ๑. ผู้สอน ให้ผู้เรียนเล่นเกม “บอกอายุ” โดยให้ผู้เรียนนั่งล้อมวง ผู้สอนร้อง
ตนเอง ตนเองได้ เพลง “มอญซ่อนผ้า” จากนั้นนาตุ๊กตาวางไว้ข้างหลังผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียนคน
ที่ถูกตุ๊กตาวางไว้ข้างหลัง ลุกขึ้นยืนแล้วบอกอายุของตนเอง ถ้าผู้เรียนยังไม่
สามารถบอกอายุของตนเองได้ ให้ผู้สอนเป็นผู้บอก แล้วให้นักเรียนพูดตาม
จากนั้น ผู้สอนถามอายุผู้เรียนแล้วให้ผู้เรียนตอบ
๒. ผู้สอน ให้ผู้เรียนนั่งล้อมวง แล้วให้ผู้เรียนออกมายืนข้างหน้า ๒ คน จากนั้น
สอนแนะนาว่า เด็กผู้หญิง เด็กผู้ชาย ต่างกันอย่างไร แล้วให้ผู้เรียนที่ยืนอยู่
ข้างหน้าพูดตามผู้สอนว่า ผมเป็นผู้ชาย หนูเป็นผู้หญิง
๓. ผู้สอนถามผู้เรียนว่า ใครเป็นเด็กผู้ชาย ใครเป็นเด็กผู้หญิง แล้วให้ผู้เรียน
ยกมือขึ้น และบอกว่าหนูเป็นผู้หญิง ผมเป็นผู้ชาย
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่นเกมส่งบอล พร้อมเปิดเพลงประกอบ โดยให้ผู้เรียน
ส่งลูกบอลต่อกันไปเรื่อยๆ เมื่อเพลงหยุดแล้วลูกบอลอยู่ที่ใคร
ให้ผู้เรียนคนนั้นบอกเพศของตนเอง
๕๓

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการรับรู้และแสดงออกทางภาษา (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๕.๓ ชื่อสมาชิกใน ๑. สามารถบอกชื่อพ่อ แม่หรือ ๑. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกัน ร้องเพลง “บ้านของฉัน”
ครอบครัว ผู้ปกครอง ของตนเองได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนดูแผนภาพสมาชิกในครอบครัวของตนเองแล้วบอกว่าบุคคลใน
ภาพคือใคร (พ่อ...แม่)
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกชื่อพ่อ แม่จากแผนภาพสมาชิกในครอบครัวของตนเอง
๔. ผู้สอนถามผู้เรียนว่า “พ่อของ.....ชื่ออะไร แม่ของ......ชื่ออะไร
๕. ถ้าผู้เรียนไม่สามารถบอกชื่อพ่อแม่ของตนเอง ให้ผู้เรียนพูดชื่อพ่อแม่ของ
ตนเองตามครู
๒. สามารถบอกชื่อพี่น้องหรือบุคคล ๑. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันร้องเพลง “บ้านของฉัน”
ที่ใกล้ชิด ของตนเองได้ ๒. ผู้สอนพูดคุยกับเด็กเกี่ยวกับสามชิกในครอบครัวจานวนสมาชิกในบ้านบุคคลที่
ผู้เรียนรัก ชอบ
๓. ผู้เรียนดูแผนภาพสมาชิกในครอบครัวของตนเองแล้วบอกว่าบุคคลในภาพคือ
ใคร (พ่อ...แม่...พี.่ ..น้อง บุคคลที่ใกล้ชิด.........)
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกชื่อพ่อ แม่จากแผนภาพสมาชิกในครอบครัวของผู้เรียน
๕. ผู้สอนถามเด็กว่า “พี่ของ.....ชื่ออะไร น้องของ...ชื่ออะไร........
๖. กรณีผู้เรียนไม่สามารถบอกชื่อพี่ น้อง หรือบุคคลที่ใกล้ชิดได้ ให้ผู้เรียนพูดชื่อ
พี่ น้อง หรือบุคคลที่ใกล้ชิดของตนเองตามผู้สอน
๕.๔ ที่อยู่ของตนเอง ๑. สามารถบอกที่อยู่ของตนเองได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกที่อยู่ของตนเอง
๒. กรณีผู้เรียนไม่สามารถบอกได้ ให้ผู้สอนบอกที่อยู่ของผู้เรียนแล้ว
ให้ผู้เรียนพูดตาม
๓. ถามให้ผู้เรียนบอกบางส่วนของที่อยู่ และผู้สอนเพิ่มเติมส่วนอื่นให้ เช่น
ผู้เรียนบอกอาเภอ ผู้สอนบอกจังหวัด
๕๔

ทักษะทางสังคม
๑. คาอธิบายทักษะทางสังคม
ทักษะทางสังคม เป็นการส่งเสริมการปฏิบัติตนในสังคม การเล่น และเสริมสร้างการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมเต็มศักยภาพสอ ดคล้อง
กับความต้องการจาเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล
โดยการปฏิบัติในสถานการณ์จริง สถานการณ์จาลอง การแสดงบทบาทสมมติ การสาธิต การเลียนแบบ การวิเคราะห์งานเป็นลาดับขั้นตอน
ผ่านกระบวนการคิด การตัดสินใจ และการเรียนรู้แบบบูรณาการ ในการพัฒนาศักยภาพอย่างสมบูรณ์ และสมดุลในด้านต่างๆ เพิ่มมากขึ้น มีคณะสหวิชาชีพ
ผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนมีอารมณ์ ร่าเริง แจ่มใส สามารถเล่น ทากิจกรรมและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบ
ปฏิบัติตามกติกาและมารยาททางสังคมกล้าแสดงออก อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม และมีความสุข

๒. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะทางสังคม
๑. เพื่อให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม
๒. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเล่น และทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม
๓. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติตนในสังคมได้อย่างเหมาะสม
๔. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
๕๕

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสังคม

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑. การมีปฏิสัมพันธ์ ๑.๑ การมีปฏิสัมพันธ์ ๑. สามารถตอบสนองต่อท่าทาง ๑. ผู้สอนแสดงสีหน้า ท่าทาง แล้วให้ผู้เรียนทาตาม เช่น จ๊ะเอ๋ ยิ้มตอบ
และการสัมผัสได้ ยิ้มทัก และโบกมือ
๒. ผู้สอนสัมผัสผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนมีการตอบสนอง เช่น เมื่อกอด ผู้เรียน
กอดตอบ เมื่อถูกจับตัวผู้เรียนหันมองผู้จับ หรือมองทิศทางที่ถูกจับ
๒. สามารถตอบสนองต่อเสียงได้ ๑. นาของเล่นที่มีเสียงมาเขย่าในทิศทางต่างๆ โดยให้ผู้เรียนหันตามทิศทาง
เสียงนั้นๆ เช่น เขย่าทางด้านหลังของผู้เรียน ผู้เรียนก็หันไปด้านหลัง
๒. นาเสียงดนตรีมาเป็นส่วนประกอบในการสอนโดยให้ผู้เรียนตอบสนองต่อ
เสียง เช่น การเต้นประกอบเพลง
๓. สามารถสบตากับผู้อื่นได้ ๑. ผู้สอนเรียกชื่อผู้เรียน ให้ผู้เรียนหันตามเสียง โดยมีการสบตาชั่วขณะ
๒. ผู้ ส อนเรี ย กชื่ อ ผู้ เ รี ย น ให้ ผู้ เ รี ย นหั น ตามเสี ย ง โดยมี ก ารสบตานาน
๒-๓ วินาที
๔. สามารถรับรู้ และแสดงออกทาง ๑. ผู้สอนนาภาพที่แสดงออกทางอารมณ์ และอธิบายถึงใบหน้าอารมณ์ต่างๆ
อารมณ์ได้อย่างเหมาะสม พร้อ มบอกให้ ผู้ เ รียนแสดงสี ห น้า ตามอารมณ์ที่ กาหนดหรื อการใช้ กระจก
มองเห็นภาพสะท้อนทางอารมณ์
๒. ผู้ส อนให้ผู้ เรียนแสดงออกทางอารมณ์ โดยผู้ สอนสาธิตอารมณ์ นั้นๆใน
สถานการณ์จริง
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนมีความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ขณะผู้สอนสอนเพื่อน
ผู้เรียนมีความสนใจ โดยการหันมามองและฟัง
๕๖

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสังคม (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. การเล่น ๒.๑ การเล่นคนเดียว ๑. สามารถเล่นแบบสารวจได้อย่าง ๑. ผู้สอนนาของเล่นที่มีพื้นผิว ลักษณะ ขนาด เสียงที่แตกต่างกัน ให้ผู้เรียน
เหมาะสม สัมผัส เช่น บีบ จับ เขย่า เป็นต้น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่นในสภาพแวดล้อมรอบตัว เช่น การเล่นเอามือตีน้า การ
ก่อทราย การปั้นดิน
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่นสิ่งของตามประโยชน์ของสิ่งของ เช่น หวี ช้อน
๒. สามารถใช้จินตนาการในการเล่น ๑. ให้ ผู้ เ รี ย นเล่ น ตามจิ น ตนาการ เช่ น การต่ อ บล็ อ กไม้ ใ นทรงสู ง
ได้ การต่อจิ๊กซอว์ เป็นต้น
๒. ให้ผู้เรียนเล่นสมมติ โดยนาเอาสิ่งหนึ่งสมมติเป็นอีกสิ่งหนึ่ง เช่น การใช้
ก้านกล้วยมาแทนม้า การใช้ท่อนไม้แทนปืน เป็นต้น
๒.๒ การเล่นเป็นกลุ่ม ๑. การเล่นอิสระอยู่ในกลุ่มได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่น โดยนาผู้เรียนไปรวมกับเพื่อนแล้วให้เล่นอย่างอิสระ
โดยต่างคนต่างเล่น
๒. สามารถเล่นกับเพื่อนหนึ่งต่อหนึ่ง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่น โดยนาผู้เรียนไปรวมกับเพื่อนแล้วให้เล่นอย่างอิสระ
ได้ โดยมีการพูดคุย แตะต้องตัว เป็นต้น
๓. สามารถเล่นกับเพื่อนเป็นกลุ่ม ๒-
๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่นเป็นกลุ่ม ๒-๓ คน โดยผลัดกันเล่นภายในกลุ่มที่มี
๓ คน โดยมีกฎกติกาได้ ผู้ใหญ่นาการเล่นตามกฎกติกา
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่นเป็นกลุ่ม ๒-๓ คน โดยเลียนแบบเด็กอื่นในการเล่น
๓. การปฏิบัติตนใน ๓.๑ การปฏิบัติตนใน ๑. สามารถแสดงการทักทายกับผู้อื่น ๑. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นแสดงพฤติ ก รรมที่ แ สดงออกถึ ง การทั ก ทาย เช่ น
สังคม สังคม ได้อย่างเหมาะสม ฝึกการพูด “สวัสดี” หรือทักทายด้วยการไหว้ตามผู้ใหญ่บอก เป็นต้น
๕๗

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสังคม (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกความต้องการของตนเอง เช่น การขอนม โดยให้ทาท่า
เหมาะสม แบมือ และพูดว่า “ขอ” การปฏิเสธสิ่งของที่ไม่ต้องการ โดยให้แสดงท่าทาง
ส่ายมือไปมา หรือ พูดว่า “ไม่” เป็นต้น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนแบ่งปันสิ่งของต่างๆ โดยผู้สอนเป็นผู้สาธิต ในสถานการณ์
จาลองและนาไปสู่สถานการณ์จริง
๓. สามารถปฏิบัติตามกติกาหรือ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนรู้จักการรอคอย โดยเพิ่มระยะเวลาในการรอคอยมากขึ้น
มารยาททางสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยสร้างกฎกติกาในการอยู่ร่วมกันให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ เช่น ไม่ส่งเสียงดัง
ไม่ลุกจากที่นั่งขณะฝึก ไม่รบกวนเพื่อน เป็นต้น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนรู้จักการทักทาย เช่น ผู้สอนจาลองสถานการณ์ โดยให้
ผู้เรียนทักทาย โดยการสวัสดี เมื่อพบ- ลาผู้ใหญ่
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนรู้จักการขอโทษ เมื่อผู้เรียนทาผิดและขอบคุณ เมื่อมีผู้ให้
สิ่งของ โดยการสร้างบทบาทสมมติ หรือในสถานการณ์จริง
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนรู้จักการขออนุญาต เช่น การลุกขึ้นออกจากที่ การออก
ห้อง การเข้าห้องน้า เป็นต้น
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ โดยไม่แย่งสิ่งของ ที่นั่งหรือ
แซงคิวผู้อื่น เป็นต้น
๖. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เหมาะสมหรือไม่
เหมาะสม เช่น สอนด้วยบทบาทสมมติ ว่าการแกล้งเพื่อน เป็นสิ่งที่
ไม่เหมาะสม เป็นต้น
๗. ผู้สอนให้ผู้เรียนรู้จักการซื้อของ เช่น ผู้สอนนานักเรียนไปร้านค้า แล้วฝึก
การซื้อสินค้าโดยใช้เงิน เป็นต้น
๕๘

ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ
๑. คาอธิบายทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ
การพัฒนาศักยภาพทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ เป็นการพัฒนาด้านการรับรู้ ความคิดรวบยอดด้านต่าง ๆ และการ
แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน การเตรียมความพร้อมทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ ได้แก่ การนับ การรู้ค่าของตัวเลข การอ่านและการเขียนตัวเลข การจับคู่ การ
เปรียบเทียบ การจาแนก การจัดหมวดหมู่ การเตรียมความพร้อมทักษะพื้นฐานภาษาไทย ได้แก่ การอ่านและการเขียนภาษาไทย
โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง การสาธิต การเลียนแบบ การวิเคราะห์งานเป็นลาดับขั้นตอน ผ่านกระบวนการคิด การตัดสินใจ
และการเรียนรู้แบบบูรณาการ มีคณะสหวิชาชีพ ผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนสนใจต่อการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว มีพื้นฐานในการเรียนรู้ระดับที่สูงขึ้น สามารถคิดและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม

๒. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ
๑. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและความคิดรวบยอดในทักษะพื้นฐานทางวิชาการ
๒. เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดและการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
๓. เพื่อให้ผู้เรียนมีพื้นฐานในการเรียนรู้ระดับที่สูงขึ้น
๕๙

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑. การรับรู้ ๑.๑ ส่วนต่าง ๆ ของ ๑. สามารถบอกส่วนต่าง ๆ ๑. ผู้ ส อนอธิ บ ายหรื อ บอกเกี่ ย วกั บ อวั ย วะภายนอกของร่ า งกาย เช่ น ปาก ตา
ร่างกาย ของร่างกายและหน้าที่ของ จมูก คิ้ว ศีรษะ ผม พร้อมกับให้ผู้เรียนชี้อวัยวะนั้นตามผู้สอน
ส่วนต่าง ๆได้ ๒. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นชี้ อ วั ย วะโดยการใช้ เ พลงประกอบท่ า ทาง เช่ น “จั บ หั ว คาง
หู หัวไหล่ จับไว ๆ จับจมูก ปาก ตา จับแขน จับขา....”
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่นเกมเกี่ยวกับอวัยวะ เช่น ประกอบอวัยวะให้ตุ๊กตา
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนดูภาพอวัยวะ จากนั้นให้ผู้เรียนชี้บอกอวัยวะให้ตรงกับภาพ
๕. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นบอกชื่ อ อวั ย วะต่ า ง ๆ ของตนเอง โดยที่ ผู้ ส อนบอกหน้ า ที่ ข อง
อวัยวะนั้น เช่น ตามีไว้เพื่อดู จมูกมีไว้เพื่อดมกลิ่นและหายใจ
๖. ผู้สอนกาหนดหน้าที่ของอวัยวะจากนั้นให้ผู้เรียนบอกหรือหยิบภาพตามหน้าที่
ที่ผู้สอนกาหนด เช่น อวัยวะใดมีหน้าที่มองดูสิ่งของ
๗. ผู้สอนกาหนดชื่ออวัยวะ จากนั้นให้ผู้เรียน บอกหน้าที่ของอวัยวะนั้น
๘. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้เกี่ยวเพศชาย-หญิง โดยการบอกถึงลักษณะของ
เพศชาย เช่น ผู้ชายมีผมสั้นใส่กางเกง ลักษณะของเพศหญิง มีผมยาว
ใส่กระโปรง เป็นต้น
๒. สามารถดูแลส่วนต่าง ๆ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการการดูแลส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย จากการ
ของร่างกายได้ สาธิ ต ภาพ วิ ดี ทั ศ น์ และการปฏิ บั ติ จ ริ ง เช่ น การสระผม การฟอกสบู่
เป็นต้น
๖๐
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑.๒ การรู้จักตนเอง ๑. สามารถบอกชื่อ และเพศ ๑. ผู้สอนบอกชื่อของผู้สอน แล้วชี้ผู้เรียนพร้อมบอกชื่อของผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียน
ตนเองได้ บอกชื่อตนเองตามผู้สอน
๒. ให้ผู้เรียนบอกชื่อของตนเอง
๓. ให้ผู้เรียนบอกเพศของตนเอง
๑.๓ อาหารประเภท ๑. สามารถบอกชื่อผัก และ ๑. ผู้สอนบอกชื่อผัก ผลไม้ แต่ละชนิด แล้วให้ผู้เรียนบอกชื่อผัก และผลไม้
ต่าง ๆ ผลไม้ได้ ของจริง หรือจาลอง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนหยิบผัก ผลไม้ บัตรภาพตามคาที่ผู้สอนกาหนด
๑.๔ รสชาติอาหาร ๑. สามารถบอกรสชาติต่าง ๆ แนวการจัดกิจกรรมการบอกรสเปรี้ยว
ของอาหารได้ ๑. ผู้ ส อนสาธิ ต การชิ ม ผั ก ผลไม้ ที่ มี ร สเปรี้ ย วเช่ น มะยม มะม่ ว ง พร้ อ มบอกถึ ง
รสชาติ
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนชิมผัก ผลไม้ ที่มีรสเปรี้ยว แล้วบอกรสชาติ
๓. ผู้สอนเปลี่ยนเป็นอาหารอื่นที่มีรสเปรี้ยวจากนั้นให้ผู้เรียนลองได้ชิมรสชาติ
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกอาหารที่มีรสชาติเปรี้ยว
แนวการจัดกิจกรรมการบอกรสหวาน
๑. ผู้สอนสาธิตการชิมน้าตาลให้ผู้เรียนดูเป็นตัวอย่าง พร้อมบอกถึงรสชาติ
ของน้าตาล
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนชิมรสชาติน้าตาล แล้วบอกรสชาติ
๓. ผู้สอนเปลี่ยนน้าตาล เป็นอาหารอื่นที่มีรสหวาน เช่น มะม่วงสุก อ้อย
น้าหวาน จากนั้นให้ผู้เรียนลองได้ชิมรสชาติ
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกอาหารที่มีรสชาติหวาน เช่น ขนมหวาน ผลไม้สุก เป็นต้น
๖๑
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


แนวการจัดกิจกรรมการบอกรสขม
๑. ผู้สอนสาธิตการชิมบอระเพ็ดให้ผู้เรียนดูเป็นตัวอย่าง พร้อมบอกถึงรสชาติของ
บอระเพ็ด
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนชิมรสชาติบอระเพ็ด แล้วบอกรสชาติ
๓. ผู้สอนเปลี่ยนบอระเพ็ด เป็นอาหารอื่นที่มีรสขม เช่น สะเดา จากนั้นให้
ผู้เรียนลองได้ชิมรสชาติ
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกอาหารที่มีรสชาติขม เช่น สะเดา บอระเพ็ด มะระ
แนวการจัดกิจกรรมการบอกรสเค็ม
๑. ผู้สอนสาธิตการชิมเกลือให้ผู้เรียนดูเป็นตัวอย่าง พร้อมบอกถึงรสชาติของ
เกลือ
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนชิมรสชาติเกลือ แล้วบอกรสชาติ
๓. ผู้สอนเปลี่ยนเกลือ เป็นอาหารอื่นที่มีรสเค็ม เช่น น้าปลา จากนั้นให้ผู้เรียน
ลองได้ชิมรสชาติ
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกอาหารที่มีรสชาติเค็ม เช่น เกลือ น้าปลา ฯลฯ
แนวการจัดกิจกรรมการบอกรสเผ็ด
๑. ผู้สอนสาธิตการชิมพริกหรืออาหารที่มีรสชาติเผ็ดให้ผู้เรียนดูเป็นตัวอย่าง
พร้อมบอกถึงรสชาติของพริก
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนชิมรสชาติเพริกหรืออาหารที่มีรสชาติเผ็ด แล้วบอกรสชาติ
๓. ผู้สอนเปลี่ยนเกลือ เป็นอาหารอื่นที่มีรสเผ็ด เช่น พริกไทย จากนั้นให้ผู้เรียน
ลองได้ชิมรสชาติ
๖๒
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกอาหารที่มีรสชาติเผ็ด เช่น พริกไทย เป็นต้น
๑.๕ การรับรู้กลิ่น ๑. สามารถบอกกลิ่นต่าง ๆ ๑ . ผู้ ส อ น น า วั ต ถุ ห รื อ สิ่ ง ข อ ง ที่ มี ก ลิ่ น ต่ า ง ๆ เ ช่ น ด อ ก ไ ม้ ส้ ม ห อ ม แ ด ง
ได้ มาให้ผู้เรียนดม
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกกลิ่นต่าง ๆ ที่ผู้เรียนได้ดม เช่น กลิ่นดอกไม้ กลิ่นผลไม้
๑.๖ การรับรู้เรื่องเสียง ๑. สามารถบอกเสียงที่คุ้นเคย ๑. ผู้สอนจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเรียนรู้เกี่ยวกับเสียงที่คุ้นเคยในชีวิตประจาวัน เช่น
ได้ เสียงบุคคล เสียงสัตว์ เสียงสิ่งของ เสียงยานพาหนะ ที่คุ้นเคย
๒. ให้ผู้เรียนได้ฟังเสียงจากสถานการณ์จริงจาก หรือเทปบันทึกเสียง จากนั้นให้
ผู้เรียนบอกว่าเสียงนั้นคือเสียงอะไร หรือเสียงใคร หรือให้ผู้เรียนหยิบภาพให้
ตรงกับเสียงนั้น เป็นต้น
๑.๗ ที่ตั้งของสิ่งต่าง ๆ ๑. สามารถชี้หรือบอกที่ตั้ง ๑. ผู้สอนนาวัตถุที่มีสีสันและเป็นสิ่งที่ผู้เรียนคุ้นเคยไปวางไว้ในตาแหน่งที่ผู้เรียน
รอบตัว ของ สิ่งของได้ มองเห็ น เช่ น ข้ า งบน-ข้ า งล่ า ง ข้ า งนอก-ข้ า งใน และผู้ เ รี ย นสามารถชี้ ห รื อ บอก
ได้โดยมีระยะห่างใกล้หรือไกลตามสถานการณ์
๒. สามารถชี้หรือบอกชื่อ ๑. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นเรี ย นรู้ ส ถานที่ ใกล้ ตั ว เช่ น บ้ า น โรงเรี ย น วั ด ห้ อ งน้ า
สถานที่ต่าง ๆ ที่คุ้นเคยได้ โรงอาหาร เป็นต้น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนชี้หรือบอกชื่อสถานที่ที่ผู้สอนกาหนด
๑.๘ การรับรู้เรื่องสี ๑. สามารถชี้หรือบอกชื่อ ๑. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นรู้ จั ก สี ที่ อ ยู่ ใ กล้ ตั ว เช่ น ผั ก ผลไม้ เสื้ อ ผ้ า ของใช้ โดยผู้ ส อน
สีต่างๆ ได้ บอกผู้เรียนในแต่ละสี แล้วให้ผู้เรียนพูดตาม
๒. ผู้สอนนาของที่มีอยู่ใกล้ตัวสีละหนึ่งชิ้น โดยเริ่มต้นจาก ๔ สี ได้แก่ สีแดง
สีฟ้า สีเขียว สีเหลือง มาคละรวมกัน แล้วถามผู้เรียนว่า “อันไหนสี....”
๖๓
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓. หากผู้ เ รี ย นรู้ จั ก สี ทั้ ง ๔ แล้ ว ให้ เ พิ่ ม จ านวนสี ขึ้ น เรื่ อ ยๆ จนครบทั้ ง ๘ สี (สี ฟ้ า
สีเขียว สีชมพู สีดา สีขาว สีแดง สีเหลือง สีส้ม)
๑.๙ การรับรู้พื้นผิว ๑. สามารถชี้หรือบอก ๑. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นรู้ จั ก สิ่ ง ของที่ อ ยู่ ใ กล้ ตั ว ที่ มี พื้ น ผิ ว ต่ า งกั น ได้ แ ก่ ผั ก ผลไม้
ลักษณะของพื้นผิวได้ สิ่ ง ของ เครื่ อ งใช้ เช่ น พื้ น ผิ ว ขรุ ข ระจากมะระ น้ อ ยหน่ า พื้ น ผิ ว เรี ย บจาก ส้ ม
แตงโม มะม่วง
๒. ผู้สอนนาของที่มีพื้นผิวต่างกันมาคละกัน ให้ผู้เรียนดูและสัมผัสแล้วถามผู้เรียนว่า
“อันไหนผิว....” จากนั้นให้ผู้เรียนชี้หรือบอก
๓. ผู้สอนพาผู้เรียนออกไปนอกห้องและให้ผู้เรียนชี้หรือลักษณะพื้นผิวต่าง ๆ
รอบบริเวณ
๑.๑๐ การรับรู้ ๑. สามารถชี้หรือบอก ๑. ผู้ ส อนน ากล่ อ งเปล่ า หรื อ อุ ป กรณ์ อื่ น ๆ มาวางบนโต๊ ะ แล้ ว น าของเล่ น วางใน
ตาแหน่งและทิศทาง ตาแหน่งและทิศทางบน-ล่าง ตาแหน่งต่างกัน เช่น บน-ล่าง ข้างซ้าย-ข้างขวา
ซ้าย-ขวา ข้างหน้า-ข้างหลัง ๒. ผู้ ส อนหยิ บ ของเล่ น ขึ้ น มาแล้ ว บอกผู้ เ รี ย นว่ า “นี่ อ ยู่ ข้ า งบน นี่ อ ยู่ ข้ า งล่ า ง...”
จากนั้นผู้สอนบอกให้หยิบของเล่นในตาแหน่งที่ผู้สอนกาหนด
ได้
๓. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นอยู่ ใ นต าแหน่ ง ที่ เ หมาะสม จากนั้ น น าของเล่ น วางด้ า นหน้ า
ของผู้ เ รี ย นแล้ ว บอกว่ า “...ข้ า งหน้ า ” น าของเล่ น มาวางไว้ ข้ า งหลั ง ของ
ผู้เรียน ผู้สอนบอกผู้เรียนว่า “....ข้างหลัง”
๔. ผู้สอนสร้างสถานการณ์ขึ้นและถามผู้เรียนถึงตาแหน่งของสิ่งต่าง ๆ
๑.๑๑ การรับรู้รูป ๑. สามารถชี้หรือบอกรูป ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนรู้จักรูปเรขาคณิต ได้แก่ วงกลม สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม
เรขาคณิต เรขาคณิตได้ จากกระดานรูปเรขาคณิต
๖๔
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. ผู้ ส อนหยิ บ วงกลม สี่ เ หลี่ ย ม สามเหลี่ ย ม ออกจากกระดานรู ป เรขาคณิ ต
พร้ อ มบอกชื่ อ ที ล ะชิ้ น จากนั้ น ให้ ผู้ เ รี ย นหยิ บ วงกลม สี่ เ หลี่ ย ม สามเหลี่ ย ม
ตามที่ครูบอก
๓. ผู้สอนบอกชื่อรูปเรขาคณิตที่ละชื่อ แล้วให้ผู้เรียนชี้หรือบอก
๑.๑๒ การรับรู้เวลา ๑. สามารถบอกเวลา เช้า ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องเวลา โดยใช้สถานการณ์จริง เช่นกลางวันสว่าง
กลางวันเย็น และกลางคืนได้ กลางคืนมืด และอธิบายเวลาเพิ่มว่า ตอนเช้าพระอาทิตย์ขึ้น ตอนกลางวันพระ
อาทิตย์ตรงศีรษะ ตอนเย็นพระอาทิตย์ตก เป็นต้น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับเวลา เช้า กลางวัน เย็น และกลางคืน โดย
การเรียนรู้จากเหตุการณ์ในเทปบันทึกภาพ หรือรูปภาพที่บอกชื่อเวลาอย่าง
ชัดเจน จากนั้นผู้สอนให้ผู้เรียนบอกช่วงเวลาจาก ภาพหรือเหตุการณ์ในเทป
บันทึกภาพ
๓. ผู้สอนเตรียมภาพเหตุการณ์ที่บอกเวลากลางวันและกลางคืนมาให้ผู้เรียน
เลือกว่าภาพใดเป็นกลางวันและกลางคืน
๑.๑๓ การรับรู้อุณหภูมิ ๑. สามารถบอกอุณหภูมิร้อน ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องอุณหภูมิร้อนเช่น โดยจับแก้วน้าที่ใส่น้าร้อน บอก
หรือเย็นได้ ว่าร้อน เป็นต้น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องอุณหภูมิเย็น เช่น โดยจับแก้วน้าที่ใส่น้าแข็งบอก
ผู้เรียนว่าเย็นเป็นต้น
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกอุณหภูมิร้อน หรือเย็น ตามสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
๒. การจาแนก ๒.๑ การจาแนกบุคคล ๑. สามารถจาแนกบุคคลที่ ๑. ผู้สอนนารูปภาพของเด็กและเพื่อนมารวมกัน แล้วให้ผู้เรียนหยิบรูปภาพ
คุ้นเคยได้ ตนเองออกมา พร้อมบอกชื่อของตนเอง
๖๕
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. ผู้สอนนาภาพครอบครัวของผู้เรียนแต่ละคนมานาเสนอและให้เจ้าของภาพ
แต่ละครอบครัวแนะนาว่าในภาพมีใครบ้าง
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนเลือกหยิบภาพครอบครัวของตนจากภาพที่ผู้สอนคละกัน
๔. ผู้สอนนารูปบุคคลอื่นมาวางคู่กับรูปบุคคลในครอบครัวที่กาหนดให้ แล้วให้
เด็กบอก/หยิบรูปบุคคลที่คุ้นเคยออกมา เช่น ครู เพื่อน
๒. สามารถแยกเพศของ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้เกี่ยวการแยกเพศของบุคคล (ชาย-หญิง) พร้อมบอกถึง
บุคคลได้ ลักษณะของเพศชาย เช่น ผู้ชายมีผมสั้น ลักษณะของเพศหญิง มีผมยาว ชอบ
แต่งหน้า โดยการสอนให้จากการรู้จักเพศของตนเองก่อน จากนั้น เป็นบุคคล
รอบข้างในครอบครัว
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนแยกภาพบุคคลหญิง-ชาย เช่น พ่อเป็นผู้ชาย แม่เป็นผู้หญิง
ตามลาดับ
๒.๒ การจาแนกเสียง ๑. สามารถบอกหรือแยกแยะ ๑. ผู้สอนนาเทปบันทึกเสียงพ่อ แม่ พี่ น้อง ครู มาเปิดให้ผู้เรียนฟัง
เสียงบุคคลที่คุ้นเคยได้ ๒. ผู้สอนกาหนดสถานการณ์ให้บุคคลที่คุ้นเคย เช่น ครู พ่อ แม่ เพื่อน เล่น
เกมทายเสียง
๒. สามารถบอกหรือแยกแยะ ๑. ผู้สอนนาวัตถุที่มีเสียงเช่น เครื่องดนตรี (กลอง ฉิ่ง )จากนั้นมาทาให้เกิดเสียง
เสียงต่างๆ ได้ ผู้สอนบอกให้ผู้เรียนทราบด้วย ว่า ตุ้ม ตุ้ม คือเสียงกลอง
๒. ผู้สอนนาภาพสัตว์ชนิดต่างๆ ให้ผู้เรียนดูแล้วให้ฟังเสียงร้องของชนิดต่างๆ
เช่น เป็ด ร้อง ก้าบๆ ผู้สอนให้ผู้เรียนออกเสียงตามเสียงร้องของสัตว์
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนแยกแยะระหว่างเสียงสัตว์ที่ได้ยิน โดยการจับคู่ระหว่างภาพ
สัตว์และเสียงร้องของสัตว์
๖๖
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒.๓ การจาแนกสิ่งของ ๑. สามารถจาแนกสิ่งของได้ 1. ผู้สอนนาวัตถุสิ่งของที่เป็นของประเภทเดียวกัน เช่น อุปกรณ์การเรียน
(ดินสอ ยางลบ) มาวางรวมกันกับสิ่งของอื่นที่ไม่ใช่อุปกรณ์การเรียนจากนั้น
ผู้สอนสาธิตการแยกอุปกรณ์การเรียน (ดินสอ ยางลบ) ที่เป็นของประเภท
เดียวกันไว้ด้วยกันแล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติเอง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนแยกสิ่งของ รูปภาพที่เป็นประเภทเดียวกัน เช่น ประเภทสิ่งของ
เครื่องใช้ไฟฟ้า (เตารีด พัดลม ตู้เย็น) สิ่งของเครื่องใช้ในครัว (กระทะ จาน เขียง)
๒.๔ การจาแนกสัตว์ ๑. สามารถจาแนกสัตว์ได้ ๑. ผู้สอนนาสัตว์จาลอง ๒ ชนิดมาวางรวมกัน แล้วให้ผู้เรียนจาแนกสัตว์ที่
แตกต่างออกมา เช่น นาสุนัขมา ๕ ตัว แล้วแมว ๑ ตัว มาวางรวมกัน แล้วให้
นาแมวออกมาจากกอง เป็นต้น
๒.๕ การจาแนกผัก ๑. สามารถจาแนกผัก ผลไม้ ๑. ผู้สอนนาผัก หรือผลไม้ ๒ ชนิดมาวางรวมกัน แล้วให้ผู้เรียนจาแนกผัก หรือ
ผลไม้ ได้ ผลไม้ ที่แตกต่างออกมา เช่น นาส้ม ๕ ผล แล้วมะม่วง ๑ ผล มาวางรวมกัน
แล้วให้นามะม่วงออกมาจากกอง
๒.๖ การจาแนกสี ๑. สามารถจาแนกสีต่างๆ ได้ ๑. ผู้สอนหยิบบล็อกไม้สีแดงพร้อมบอกชื่อสีและวางเรียงไว้ต่อไปหยิบบล็อกไม้สี
เหลืองพร้อมชื้อหรือบอกชื่อสีวางเรียงไว้ ต่อไป หยิบสีน้าเงินพร้อมบอกชื่อสี
น้าเงิน วางเรียงไว้
๒. ผู้สอนปิดกระดาษสี่เหลี่ยมต่าง ๆ ไว้ในห้อง ให้ผู้เรียนชี้หรือบอกสีที่พบ เริ่ม
ด้วยสีที่ผู้เรียนรู้จักและเพิ่มสีอื่น ๆ ภายหลัง ใช้คาถามที่ช่วยให้ผู้เรียนหา
คาตอบได้ เช่น “นี่สีแดง หรือสีน้าเงิน”
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนหยิบสิ่งของตามคาสั่งที่มีสีกากับด้วยเช่น “หยิบดินสอสีแดงให้
ครู” “ขอแก้วน้าสีเขียว” เป็นต้น
๖๗
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒.๗ การจาแนกรูป ๑. สามารถจาแนกรูป ๑. ผู้สอนเตรียมรูปเรขาคณิต สามเหลี่ยม วงกลมและสี่เหลี่ยมอย่างละ ๓ ชิ้น
เรขาคณิต เรขาคณิต วงกลม แต่ละรูปมีสีแตกต่างกันเช่นวงกลมสีแดง วงกลมสีน้าเงิน วงกลมสีเหลือง ให้
สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมได้ผู้เรียนรู้จักรูป
๒. เมื่อผู้เรียนทาได้ใช้สีต่างกันคละกันไปในแต่ละรูป เช่น รูปวงกลมสีเหลือง
สีเหลือง สีน้าเงิน ให้ผู้เรียนแยกรูป
๒.๘ การจาแนกขนาด ๑. สามารถจาแนกขนาดของ ๑. ผู้สอนนาวัตถุที่มีขนาดเล็ก-ใหญ่ เช่น ลูกบอลขนาดใหญ่-เล็ก ลูกเต๋าขนาด
วัตถุต่าง ๆ ได้ ใหญ่-เล็ก บล็อกไม้ใหญ่-เล็ก มาวางรวมกัน จากนั้นให้ผู้เรียนแยกวัตถุที่มี
ขนาดใหญ่ไว้ ๑ กลุ่ม และแยกวัตถุที่มีขนาดเล็กไว้ ๑ กลุ่มเป็นต้น
๒. ผู้สอนนาวัตถุที่มีขนาด สั้น –ยาว เช่น ดินสอขนาดสั้น-ยาว ไม้บรรทัดขนาด
สั้น-ยาว มาวางรวมกัน จากนั้นให้ผู้เรียนแยกวัตถุที่มีขนาดสั้นไว้ ๑ กลุ่ม และ
แยกวัตถุที่มีขนาดยาวไว้ ๑ กลุ่มเป็นต้น
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องขนาดใหญ่และเล็ก โดยการนาสิ่งของ หรือ
รูปภาพสิ่งเดียวกันแต่มีขนาดต่างกัน เช่น ลูกเต๋าที่มีขนาดใหญ่- เล็ก มาวาง
หน้าผู้เรียนจากนั้นผู้สอนอธิบายถึงขนาดใหญ่และเล็กทีละอย่างพร้อมจับมือ
ผู้เรียนสัมผัสเป็นต้น
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้ถึงขนาดใหญ่-เล็ก จากสิ่งของหรือรูปภาพ ต่างประเภท
กันโดยสิ่งของนั้นต้องมีขนาดใหญ่-เล็กที่ต่างกันอย่างชัดเจน เช่น ลูกปัดมี
ขนาดเล็ก ลูกบอลมีขนาดใหญ่
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม บอกขนาดใหญ่-เล็ก ของสิ่งของ เช่น การบอก
ขนาดใหญ่-เล็ก ของวัตถุที่ผู้สอนกาหนดให้ หรือให้ผู้เรียนระบายสีภาพวัตถุที่
๖๘
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


ขนาดใหญ่-เล็ก ต่างกันตามผู้สอนกาหนดให้
๒.๙ การจาแนกกิจวัตร ๑. สามารถบอกกิจวัตร ๑. ผู้สอนสนทนากับผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมทั่วไปในชีวิตประจาวันเวลาเช้า แล้ว
ประจาวันได้ ประจาวัน ได้ ให้ผู้เรียนบอกกิจวัตรประจาวันเวลาเช้า เช่น ตอนเช้า ต้องแปรงฟัน ล้าง หน้า
อาบน้า เป็นต้น
๒. ผู้สอนสนทนากับผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมทั่วไปในชีวิตประจาวันเวลากลางวัน
แล้วให้ผู้เรียนบอกกิจวัตรประจาวันเวลากลางวัน เช่น ตอนกลางวัน
รับประทานอาหารกลางวัน เรียนหนังสือ เป็นต้น
๓. ผู้สอนสนทนากับผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมทั่วไปในชีวิตประจาวันเวลาเย็น แล้ว
ให้ผู้เรียนบอกกิจวัตรประจาวันเวลาเย็น เช่น ตอนเย็น กลับบ้าน รับประทาน
อาหารเย็น อาบน้า ดู ทีวี เป็นต้น
๔. ผู้สอนสนทนากับผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมทั่วไปในชีวิตประจาวันเวลากลางคืน
แล้วให้ผู้เรียนบอกกิจวัตรประจาวันเวลากลางคืน เช่น ตอนกลางคืน เช่น นอน
หลับพักผ่อน เป็นต้น
๒.๑๐ การจาแนก ๑. สามารถบอกความ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนจับแก้วน้าที่ใส่น้าแข็งบอกผู้เรียนว่า “เย็น” สลับให้ผู้เรียนจับ
ความแตกต่างของ แตกต่างของอุณหภูมิ ร้อน แก้วน้าที่ใส่น้าอุ่นบอกว่า “อุ่น” สลับให้ผู้เรียนจับแก้วน้าที่ใส่น้าร้อน บอกว่า
อุณหภูมิ หรือเย็น ได้ “ร้อน”
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกได้ว่า “แก้วไหนร้อน กว่ากัน” “แก้วไหนเย็นกว่ากัน”
๓. ผู้สอนสนทนากับผู้เรียนเรื่องดิน ฟ้า อากาศ แสงแดด อธิบายเรื่องอุณหภูมิ
สภาพแวดล้อมในชีวิตประจาวัน
๖๙
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓. จัดหมวดหมู่ ๓.๑ การจัดหมวดหมู่ ๑. สามารถจัดหมวดหมู่ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมการจัดหมวดหมู่บุคคล เช่น เพศ(หญิง-ชาย)
บุคคล บุคคล ได้ เด็ก-ผู้ใหญ่ ครู-นักเรียน บุคคลในครอบครัว(พ่อ แม่ พี่ น้องปู่ ย่า) ฯลฯ จาก
รูปภาพ หรือบุคคลในสถานการณ์จริง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกและแยกบุคคลที่คุ้นเคยได้
๓.๒ การจัดหมวดหมู่ ๑. สามารถจัดหมวดหมู่สัตว์ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้การจัดหมวดหมู่ สัตว์ โดยแบ่งเป็น สัตว์ บก สัตว์น้า
สัตว์ ได้ สัตว์ปีก จากรูปภาพสัตว์จาลอง และสัตว์จริงจากเทปบันทึกภาพ สถานการณ์
จริง
๒. ผู้สอนนาภาพหรือสัตว์จาลองมารวมกันให้ผู้เรียนจัดหมวดหมู่ เป็นสัตว์บกเช่น
หมู สุนัข เป็นต้น สัตว์น้า เช่น ปลา หอย ปู
๓.๓ การจัดหมวดหมู่ ๑. สามารถจัดหมวดหมู่ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้การจัดหมวดหมู่ สิ่งของ โดยแบ่งเป็น เครื่องใช้ในครัว
สิ่งของ สิ่งของ ได้ อุปกรณ์การเรียน เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องแต่งกาย โดยผู้สอนอธิบายและสาธิต
การจัดหมวดหมู่ให้ผู้เรียนดู
๒. ผู้สอนนาสิ่งของต่างหมวดหมู่วางรวมกันจากนั้นให้ผู้เรียนแยกสิ่งของให้เป็น
หมวดหมู่เดียวกัน เช่น ผู้สอนนาดินสอ ยางลบ ไม้บรรทัด เสื้อ กระโปรง
กางเกงวางรวมกันจากนั้นให้ผู้เรียนแยกสิ่งของเป็นหมวดหมู่ (ดินสอ ยางลบ
ไม้บรรทัดเป็นอุปกรณ์การเรียน) (เสื้อ กระโปรง กางเกง เป็นเครื่องแต่งกาย)
๓.๔ การจัดหมวดหมู่ ๑. สามารถจัดหมวดหมู่พืชได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้การจัดหมวดหมู่ ผลไม้ กับผัก โดยแบ่งแยกระหว่าง
ผัก ผลไม้ ผลไม้กับผัก เช่น กล้วย แตงโม เป็นผลไม้ แตงกวา แครอท เป็นผักจาก
รูปภาพ และผลไม้ผักของจริง
๗๐
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔. การจับคู่ ๔.๑ การจับคู่สิ่งของ ๑. สามารถจับคูส่ ิ่งของ หรือ ๑. ผู้สอนนาวัตถุเป็นสิ่งของและรูปภาพชนิดเดียวกัน ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น
หรือรูปภาพ รูปภาพ ที่เหมือนกันได้ หวี แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ช้อน ส้อม จาน แก้วน้า จากนั้นสาธิตจับคู่วัตถุกับ
รูปภาพ ๑ ชนิด โดยนารูปภาพวัตถุ ๑ ชิ้นวางไว้เป็นรูปภาพต้นแบบมาให้
ผู้เรียนดู เช่น หวี และรูปภาพหวี ผู้สอนบอกชื่ออธิบายลักษณะของวัตถุ
“หวี” และ”รูปภาพหวี” ให้ผู้เรียนเข้าใจ
๒. สามารถจับคู่ สิ่งของ ๑. ผู้สอนเตรียมสิ่งของที่ใช้คู่กัน เช่น ลูกกุญแจกับแม่กุญแจ ถุงเท้ากับรองเท้า
รูปภาพ ที่สัมพันธ์กันได้ ดินสอกับกระดาษ ยาสีฟันกับแปรงสีฟัน จานกับช้อนเป็นต้น
๒. ผู้สอนเริ่มสาธิตโดยใช้ของที่ใช้คู่กัน ๑ ชนิด ผู้สอนช่วยให้ผู้เรียนจับคู่โดยบอก
หน้าที่ของวัตถุนั้น ต่อเพิ่มเป็น ๒ ชนิด ๓ ชนิด ๔ และ ๕ ชนิดตามลาดับ
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกทักษะนี้ได้ในทุกสถานการณ์ของชีวิตประจาวันโดยใช้
คาถาม เช่นยาสีฟันใช้คู่กับอะไร ถ้าผู้เรียนบอกไม่ได้ หรือหยิบส่งให้ ผู้สอน
บอกชื่อและจับคู่ให้ดู
๔. ให้ผู้เรียนจับคู่รูปภาพสิ่งของที่ใช้คู่กัน
๕. การเปรียบเทียบ ๕.๑ การเปรียบเทียบ ๑. สามารถเปรียบเทียบ ๑. ผู้สอนหยิบลูกปัดสีแดงมาจานวน หนึ่ง และสีเขียวมาจานวนมาจานวนหนึ่ง
จานวน จานวนได้ จากนั้นให้ผู้เรียนจับคู่ลูกปัดสีแดง ๑ เม็ดและสีเขียว ๑ เม็ด จนลูกปัดหมด ถ้า
จับคู่ได้หมดพอดีเรียกว่าเท่ากัน ถ้าลูกปัดสีใดสีหนึ่งเหลือเรียกว่าไม่เท่ากัน
๒. ผู้สอนให้จับคู่ลูกปัด ๒ สี ถ้าสีใดเหลือแสดงว่าสีนั้นมีมากกว่าอีกสีหนึ่งหรือสี
หนึ่งมีน้อยกว่าอีกสีหนึ่ง
๓. ผู้สอนจัดวัตถุออกเป็น ๒ กลุ่ม จานวนมาก – น้อย ไม่เท่ากัน ให้ผู้เรียน
เลือกแล้วบอกว่าจานวนไหนมากกว่าหรือน้อยกว่า
๗๑
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔. ผู้สอนสอนจากเหตุการณ์จริงโดยการเปรียบเทียบสิ่งที่เกิดขึ้นใน
ชีวิตประจาวัน เช่นในขณะเวลาทานข้าว ผู้สอนถามผู้เรียนว่าข้าวจานนี้
มากกว่าข้าวจานนั้นหนูจะเลือกจานไหน
๕.๒ การเปรียบเทียบ ๑. สามารถเปรียบเทียบ ๑. ผู้สอนนาส้ม ๒ ลูก ขนาดเท่ากันให้ผู้เรียนดู พร้อมอธิบายขนาดของส้มว่ามี
น้าหนัก น้าหนักของสิ่งของได้ ขนาดเท่ากัน น้าหนักเท่ากันจากนั้นให้ผู้เรียนจับส้มทั้ง ๒ ลูก ยกขึ้นพร้อมกัน
และบอกกับผู้เรียนว่าส้ม ๒ ลูกมีน้าหนักเท่ากัน
๒. ผู้สอนนาแตงโม ๑ ลูก และส้ม ๑ ลูกให้ผู้เรียนดู พร้อมอธิบายขนาดของส้ม
กับแตงโมมีขนาดไม่เท่ากัน และมีน้าหนักไม่เท่ากัน
๓. ผู้สอนใช้ถุงกระดาษขนาดเท่ากันแต่บรรจุของที่มีน้าหนักต่างกัน เช่น ก้อน
หินกับสาลี ให้ผู้เรียนยกถุงก้อนหินและบอกว่า “หนัก” หลังจากนั้นให้
ผู้เรียนยกถุงสาลีแล้วบอกว่า “เบา”
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนชี้ว่า ถุงไหนหนัก ถุงไหนเบา ถ้าชี้ไม่ถูกให้ผู้เรียนลองยกดูใหม่
แล้วบอกซ้า
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกน้าหนักหรือเบาและให้ผู้เรียนลองยกเปรียบเทียบ เช่น
หนังสือนิตยสารกับหนังสือพิมพ์ กระป๋องน้ากับผ้าถูบ้าน เป็นต้น
๕.๔ การเปรียบเทียบ ๑. สามารถเปรียบเทียบ ๑. ผู้สอนเตรียมวัตถุที่มีความยาวไม่เท่ากัน ๒ ชิ้น ผู้สอนชี้วัตถุที่มีความยาว
ขนาด ขนาดของวัตถุที่มีความสั้น “อันไหนยาวกว่า” “อันไหนสั้นกว่า” ให้ผู้เรียนเลือกขนาดของวัตถุตาม
ยาว ที่ผู้สอนกาหนดหากผู้เรียนไม่สามารถเลือกได้ให้ผู้สอนช่วยจนกว่า
เล็ก- ใหญ่ กว้าง-แคบ ได้ ผู้เรียนจะสามารถเลือกขนาดได้ถูกต้อง
๗๒
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. ผู้สอนเตรียมวัตถุที่มีขนาดใหญ่ไม่เท่ากัน ๒ ชิ้น ผู้สอนชี้วัตถุที่มีความยาว
“อันไหนใหญ่กว่า” “อันไหนเล็กกว่า” ให้ผู้เรียนเลือกขนาดของวัตถุตาม
ที่ผู้สอนกาหนดหากผู้เรียนไม่สามารถเลือกได้ให้ผู้สอนช่วยจนกว่า
ผู้เรียนจะสามารถเลือกขนาดได้ถูก
๓. ผู้สอนเตรียมวัตถุที่มีขนาดใหญ่ไม่เท่ากัน ๒ ชิ้น ผู้สอนชี้วัตถุที่มีความยาว
“อันไหนใหญ่กว่า” “อันไหนเล็กกว่า” ให้ผู้เรียนเลือกขนาดของวัตถุตาม
ที่ผู้สอนกาหนดหากผู้เรียนไม่สามารถเลือกได้ให้ผู้สอนช่วยจนกว่า
ผู้เรียนจะสามารถเลือกขนาดได้ถูกต้อง
๕.๔ การเปรียบเทียบ ๑. สามารถบอกและ ๑. ผู้สอนนาวัตถุ ๒ ชิ้นวางไว้ ณ ตาแหน่งที่มีระยะทางเท่ากัน พร้อมกับอธิบาย
ระยะทาง เปรียบเทียบระยะทางใกล้- ให้ผู้เรียนทราบว่า วัตถุทั้ง ๒ ชิ้นอยู่ในระยะที่เท่ากัน
ไกล ได้ ๑. ผู้สอนนาวัตถุ ๒ ชิ้นวางไว้ ณ ตาแหน่งที่ มีระยะทางไม่เท่ากัน พร้อมกับอธิบายให้
ผู้เรียนทราบว่า วัตถุทั้ง ๒ ชิ้นอยู่ในระยะที่ไม่เท่ากัน
๒. ผู้สอนนาวัตถุ2ชิ้น มาวางในระยะไกลตัวและใกล้ตัวผู้เรียนแล้วอธิบายถึงระยะความ
ใกล้-ไกลระหว่างวัตถุ ๒ ชิ้น จากนั้นกาหนดให้ผู้เรียนไปหยิบวัตถุที่วางไว้ในระยะใกล้
หรือไกลตามสถานการณ์ของผู้สอน
๓. ผู้เรียนบอกและชี้ถึงวัตถุที่สามารถมองเห็นในระยะสายตาตามผู้สอนกาหนดว่าวัตถุ
นั้นอยู่ไกลกว่าหรือใกล้กว่ากัน
๕.๕ การเปรียบเทียบ ๑. สามารถบอกและ ๑. ผู้สอนนาขวดน้า ๒ ขวด ที่มีความสูงเท่ากันพร้อมอธิบายให้ผู้เรียนฟังว่า ขวดน้า ๒
ความสูง เปรียบเทียบความสูงได้ ขวดนี้มีความสูง-ต่าเท่ากัน
๗๓
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. ผู้สอนนากล่อง ๒ ใบที่มีความสูงต่างกัน มาอธิบายให้ผู้เรียนฟังว่ากล่องทั้งสองใบมี
ความสูง-ต่าไม่เท่ากัน
๓. ผู้สอนนาวัตถุ ๒ ชิ้น ที่มีความสูงที่แตกต่างกัน มาเปรียบเทียบความสูงให้นักเรียนดู
เช่น ขวดน้า สูงกว่า แก้วน้า
๔. ให้ผู้เรียนเปรียบเทียบความสูง-ต่าของวัตถุด้วยตัวเอง เช่น เสาไฟฟ้า สูงกว่าหลักกิโล
๕.๖ การเปรียบเทียบ ๑. สามารถเปรียบเทียบ ๑. ผู้ส อนนาวัตถุที่มีพื้นผิ วสั มผั สแตกต่างกัน เช่น ผิว ขรุขระ ผิ ว เรียบ ผิ ว นุ่ม ผิ ว แข็ง
พื้นผิว พื้นผิวได้ มาให้ผู้เรียนสัมผัส และอธิบาย ถึงผิวที่ผู้เรียนสัมผัส
๒. ผู้สอนเปรียบเทียบความแตกต่างพื้นผิวให้ผู้เรียนเข้าใจจากนั้นผู้เรียนเลือกวัตถุที่มี
พื้นผิวตามที่ผู้สอนกาหนด
๓. ผู้ ส อนนาวัตถุห ลายชนิด เนื่องจากวัตถุแต่ล ะชนิดมีความแข็ง นิ่ม ไม่เหมือนกั น
ขณะสอนควรรอให้ผู้เรียนได้สัมผัสลูบคลาวัตถุจนพอใจ แล้วจึงออกคาสั่งให้หยิบ
ของแข็ง หรือนิ่มใส่กล่อง
๖. การเตรียมความ ๖.๑ การรู้จักพยัญชนะ ๑. สามารถบอกพยัญชนะได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนชี้บอกรูปภาพและพยัญชนะไทยจากภาพ ครั้งละ ๕ ตัว
พร้อมพื้นฐาน สระและวรรณยุกต์ โดยจัดกลุ่มตามลักษณะความยากง่าย จนผู้เรียนจาได้ เป็นต้น
ภาษาไทย ๑. เมื่อผู้เรียนจาได้แล้ว ให้ผู้เรียนเรียงลาดับพยัญชนะตามลาดับพยัญชนะไทย ครั้งละ
๕ ตัว เช่น ก ข ค ฆ ง เป็นต้น
๒. ให้ผู้เรียนจาแนกพยัญชนะที่มีลักษณะคล้ายกัน เช่น ก ถ ภ พ ผ เป็นต้น
๒. สามารถบอกสระได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้และชี้บอกสระไทย ครั้งละ ๒ ตัว เช่น อะ-อา อิ-อี
๒. ให้ผู้เรียนจาแนกเสียงสั้น เสียงยาว(เสียงสั้นเช่น อะ อุ อิ ) (เสียงยาว เช่น อา อู อี
๗๔
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓. สามารถบอกวรรณยุกต์ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้และชี้บอกวรรณยุกต์ไทย เอก โท ตรี จัตวา
ไทยได้
๗. การเตรียมความ ๗.๑ การเตรียมความ ๑. สามารถกวาดสายตาจาก ๑. ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนกวาดสายตาจากซ้ายไปขวา โดยนาของเล่นมาวางจากซ้ายไปขวา
พร้อมด้านการอ่าน พร้อมด้านการอ่าน ซ้ายไปขวา และบนลงล่างได้ เช่น ลากรถไขลานจากซ้ายไปขวา แล้วให้ผู้เรียนมองตาม
๒. ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนกวาดสายตาจากซ้ายไปขวา โดยฝึก จากแบบฝึกหัด เช่น ให้เด็กหา
รูปภาพที่ผู้สอนกาหนด โดยเริ่มจากการมองรูปภาพทางด้านซ้ายมือ แล้วค่อยเปิด
รูปภาพด้านขวามือทีละรูปภาพ
๓. ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนกวาดสายตาจากบนลงล่าง โดยนาของเล่นมาวางข้างบนลงล่าง
เช่น ลากรถไขลานจากบนลงล่าง แล้วให้ผู้เรียนมองตาม
๔. ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนกวาดสายตาจากบนลงล่าง โดยฝึกจากแบบฝึกหัด เช่น ให้ ผู้เรียน
หารูปภาพที่ผู้ส อนกาหนด โดยเริ่มจากการมองรูปภาพทางด้านบน แล้ วค่อยเปิด
รูปภาพด้านล่างทีละรูปภาพ
๘ การอ่าน ๘.๑ การอ่านออกเสียง ๑. สามารถอ่านออกเสียง ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนอ่านออกเสียงพยัญชนะไทย ครั้งละ ๕ ตัว เช่น ครั้งที่ ๑ ก.ไก่ ข.ไข่
พยัญชนะ สระและ พยัญชนะได้ ตามผู้สอน หรือเทปบันทึกภาพหรือเสียงตามสถานการณ์ที่จัด
วรรณยุกต์ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกอ่านออกเสียงพยัญชนะด้วยตัวเองจากภาพหรือพยัญชนะที่กาหนด
๒. สามารถอ่านออกเสียงสระ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนอ่านออกเสียงสระไทยตามผู้สอน หรือเทปบันทึกภาพหรือเสียงตาม
ได้ สถานการณ์ที่จัด
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกอ่านออกเสียงสระ ด้วยตัวเองจากภาพสระที่กาหนด
๓. สามารถอ่านออกเสียง ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนอ่านออกเสียงวรรณยุกต์ไทย เอก โท ตรี จัตวา ตามผู้สอน หรือเทป
วรรณยุกต์ได้ บันทึกภาพหรือเสียงตามสถานการณ์ที่จัด
๗๕
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รียนฝึ กอ่านออกเสี ยงวรรณยุกต์ด้ ว ยตัว เองจากภาพหรือ วรรณยุกต์ ที่
กาหนด
๙. การเตรียมความ ๙.๑ การเตรียมความ ๑. สามารถจับดินสอได้ ๑. ผู้สอนสาธิตการจับดินสอ ให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม
พร้อมด้านการเขียน พร้อมการเขียน ถูกต้อง ๒. ผู้สอนจับมือผู้เรียนจับดินสอ หรือสีเทียน ในท่าที่ถูกต้องโดยผู้เรียนถือดินสอด้วยสาม
นิ้ว คือ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วกลาง และนิ้วชี้ ดินสอจะอยู่บนข้อนิ้วกลางขณะที่จะถูกบีบ
อยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ นิ้วก้อยและ นิ้วนางจะวางพักอยู่บนโต๊ะ
๓. ผู้สอนจับมือผู้เรียนให้จับดินสอให้ถูกต้อง
๒. สามารถลากเส้นอิสระได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือลากเส้นอิสระ เช่น การลากเส้นอิสระในกระบะทราย การใช้
นิ้วมือจุ่มสีแล้วลากลงในกระดาษ
๓. สามารถลากเส้นพื้นฐาน ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือลากเส้นพื้นฐาน ๑๓ เส้น ตามร่อง เช่ น ร่องทราย ร่อง
๑๓ เส้น ได้ กระดาษ
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือเขียนบนเส้นพื้นฐาน ๑๓ เส้น
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกการเขียนเส้นพื้นฐาน ๑๓ เส้นตามรอย ประ
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนทับบนเส้นพื้นฐาน ๑๓ เส้น
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนเส้นพื้นฐาน ๑๓ เส้น ตามแบบ
๔. สามารถลากเส้นรูป ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือลากเส้นรูปเรขาคณิต ตามร่อง เช่น ร่องทราย ร่องกระดาษ
เรขาคณิตได้ เป็นต้น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือเขียนบนเส้นรูปเรขาคณิต
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกการเขียนเส้นรูปเรขาคณิต ตามรอย ประ
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนทับบนเส้นรูปเรขาคณิต
๗๖
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนเส้นรูปเรขาคณิต ตามแบบ
๑๐. การเขียน ๑๐.๑ การเขียน ๑. สามารถเขียนพยัญชนะ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือเขียน พยัญชนะไทย ตามร่อง เช่น ร่องทราย ร่องกระดาษ
พยัญชนะ สระและ ไทยได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือเขียนบน พยัญชนะไทย
วรรณยุกต์ ๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกการเขียนพยัญชนะไทยตามรอย ประ
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนทับบนพยัญชนะไทย
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนพยัญชนะไทยตามแบบ
๒. สามารถเขียนสระ ได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือเขียน สระตามร่อง เช่น ร่องทราย ร่องกระดาษ
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือเขียนบน สระ
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกการเขียนสระตามรอย ประ
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนทับบนสระ
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนสระตามแบบ
๓. สามารถเขียนวรรณยุกต์ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือเขียน วรรณยุกต์ ตามร่อง เช่น ร่องทราย
ได้ ร่องกระดาษ เป็นต้น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือเขียนบนวรรณยุกต์
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกการเขียนวรรณยุกต์ ตามรอย ประ
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนทับบนวรรณยุกต์
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนวรรณยุกต์ ตามแบบ
๑๑. การนับ ๑๑.๑ การนับ ๑. สามารถนับจานวน ๑-๓ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับเลขโดยใช้นิ้วมือจานวน ๑-๓
ได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับเลขโดยใช้วัตถุ สิ่งของจานวน ๑-๓ เช่น ผู้สอน นาลูกบอลจานวน
๗๗
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓ ลูกแล้วนาให้ผู้เรียนดูทีละ ๑ ลูก พร้อมนับ ๑ ไปด้วย จนครบ ๓ ลูก จากนั้น
ทดลองให้นักเรียนนับเอง เป็นต้น
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับเลขตามจานวนนับจานวน ๑-๓
๒. สามารถนับจานวน ๑-๕ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับเลขโดยใช้นิ้วมือจานวน ๑-๕
ได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับเลขโดยใช้วัตถุสิ่งของจานวน ๑-๕ เช่น ผู้สอน นาลูกเต๋าจานวน ๕
ลูกแล้วนาให้ผู้เรียนดูทีละ ๑ ลูก พร้อมนับ ๑ ไปด้วย จนครบ ๕ ลูก จากนั้นทดลอง
ให้นักเรียนนับเอง
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับเลขตามจานวนนับจานวน ๑-๕
๓. สามารถนับจานวน ๑-๑๐ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับเลขโดยใช้นิ้วมือจานวน ๑-๑๐
ได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับเลขโดยใช้วัตถุสิ่งของจานวน ๑-๑๐ เช่น ผู้สอน นาลูกปัดจานวน
๑๐ ลูกแล้วนาให้ผู้เรียนดูทีละ ๑ ลูก พร้อมนับ ๑ ไปด้วย จนครบ ๑๐ ลูก จากนั้น
ทดลองให้นักเรียนนับเอง
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับเลขตามจานวนนับจานวน ๑-๑๐
๗๘
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑๑.๒ ค่าของจานวน ๑. สามารถบอกค่าของ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับสิ่งของที่ผู้สอนเตรียมไว้ จากนั้นให้นักเรียนบอกค่าของ
นับ จานวนนับ ๑-๑๐ ได้ สิ่งของนั้น เช่น ผู้เรียนนับดินสอ จานวน ๕ แท่ง ผู้เรียนหยิบตัวเลข ๕ ได้
ตรงกับจานวนนั้น
๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับสิ่งของ รูปภาพ จานวน ๑-๓ จากนั้นให้ผู้เรียนหยิบตัวเลขให้ตรง
กับจานวนนั้น เช่น นับลูกบอล ๓ ลูก ให้ผู้เรียนหยิบ เลข ๓
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับสิ่งของ รูปภาพ จานวน ๑-๕ จากนั้นให้ผู้เรียนหยิบตัวเลขให้ตรง
กับจานวนนั้น เช่น นับลูกเต๋า ๕ ลูก ให้ผู้เรียนหยิบ เลข ๕
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับสิ่งของ รูปภาพ จานวน ๑-๑๐ จากนั้นให้ผู้เรียนหยิบตัวเลขให้ตรง
กับจานวนนั้น เช่น นับลูกบอล ๗ ลูก ให้ผู้เรียนหยิบ เลข ๗

๑๑.๓ การนับเพิ่มและ ๑. สามารถนับเพิ่มทีละ 1 ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับลูกปัด จานวน ๕ ลูก ที่ละ ๑ ลูกใส่กล่อง โดยครูกาหนดให้ผู้เรียน


การนับลด ไม่เกิน ๑๐ ได้ นับเพิ่มที่ละ ๑ เช่น เมื่อผู้เรียนนับลูกที่ ๑ แล้วให้ผู้เรียนหยุด จากนั้นผู้สอนให้ผู้เรียน
นับเพิ่มอีก ๑ ลูก ผู้เรียนจะนับต่อจากลูกที่ ๑ เป็น ๒ ทาเช่นนี้จนครบ ๕ ลูก
๒. ผู้สอนเปลี่ยนสิ่งของ และจานวนเพิ่มขึ้น แต่ไม่เกิน ๑๐ ให้ผู้เรียนนับเพิ่ม
ที่ละ ๑
๒. สามารถนับลดทีละ ๑ ๑. ผู้สอนนาลูกปัด ๑๐ เม็ดใส่ภาชนะแล้วสาธิตหยิบลูกปัดออกจากภาชนะครั้งละ ๑
ตั้งแต่ ๑๐ ลงมาได้ เม็ดจนกระทั่งครบ ๑๐ เม็ด ให้ผู้ เรียนดูพร้อมบอกให้ผู้ เรียนดูว่าลูกปัดที่เหลื อใน
ภาชนะ มี ๙ เม็ด จากนั้นให้ผู้เรียนหยิบลูกปัดออกจากภาชนะ๑ เม็ด และให้ผู้เรียน
นับลูกปัดที่เหลือ
๗๙
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. ผู้เรียนหยิบลูกปัดออกจากภาชนะครั้งละ ๑ เม็ด จนครบ ๑๐ เม็ด ตามแบบผู้สอน
๓. ผู้เรียนหยิบลูกปัดออกจากภาชนะครั้งละ ๑ เม็ดจนครบ ๑๐ เม็ดด้วยตนเอง
๑๒. การอ่าน ๑๒.๑ อ่านสัญลักษณ์ ๑. สามารถอ่านสัญลักษณ์ ๑ ผู้สอนให้ผู้เรียนดูรูปภาพสัญลักษณ์ พร้อมกับให้นับและบอกสัญลักษณ์ตัวเลข
สัญลักษณ์ตัวเลข ตัวเลข ตัวเลข ๑-๑๐ ได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยกนิ้วมือตามจานวนที่บอก ๑-๓ , ๑-๕ , ๑-๑๐
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนอ่านตัวเลข ๑-๓ , ๑-๕ , ๑-๑๐ ตามลาดับ
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับจานวน ๑-๑๐ แบบท่องจาตามผู้สอนโดยแบ่ง ๑-๓ , ๑-๕ , ๑-๑๐
ตามลาดับ
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนนับภาพหรือสิ่งของเรียงเป็นแถวตามลาดับ ๑-๓ , ๑-๕ , ๑-๑๐
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนเลือกบัตรตัวเลขระหว่าง ๑-๓ , ๑-๕ , ๑-๑๐
๖. ผู้สอนให้ผู้เรียนจับคู่ภาพหรือสิ่งของที่มีจานวนตรงกับตัวเลข ๑-๓ ,๑-๕ ,๑-๑๐
๗. ผู้สอนให้ผู้เรียนบอกจานวนวัตถุแต่ละกลุ่มที่มีจานวนระหว่าง ๑-๓ ,๑-๕ , ๑-๑๐

๑๓. การเขียน ๑๓.๑ การเขียนตัวเลข ๑. สามารถเขียนตัวเลข ๑- ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือลากตัวเลข ๑-๑๐ ตามร่อง เช่น ร่องทราย ร่องกระดาษ
ตัวเลข ๑๐ ได้ เป็นต้น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้นิ้วมือเขียนบนตัวเลข ๑-๑๐
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนทับบนตัวเลข ๑-๑๐
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนตัวเลข ๑-๑๐ ในอากาศ
๕. ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนตัวเลข ๑-๑๐ ในอากาศ
๘๐
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะทางสติปัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๑๔. ความเข้าใจ ๑๔.๑ การเข้าใจ และ ๑. สามารถแก้ไขปัญหาใน ๑. ผู้สอนแสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับชีวิตประจาวันและแก้ไขปัญหาต่างๆอย่างง่ายได้
และการแก้ปัญหา แก้ไขปัญหา ชีวิตประจาวันอย่างง่ายๆได้ เช่น ถ้าผู้เรียนปวดปัสสาวะจะต้องไปเข้าห้องน้าเป็นต้น
๒. ถ้าเห็นก๊อกน้าเปิดน้าทิ้งไว้ให้ผู้เรียนหมุนปิดก๊อกน้า
๓. ถ้าเห็นน้าหกบนโต๊ะให้หาผ้ามาเช็ดโต๊ะ

๒. สามารถใช้เงินในการซื้อ ๑. ผู้สอนนาเหรียญ ๑ บาท เหรียญ ๕ บาท เหรียญ ๑๐ บาท ให้ผู้เรียนดู พร้อมบอก


ขายได้ ค่าของเงิน เช่น นี่คือ เหรียญ ๑ บาท เหรียญ ๕ บาท เหรียญ ๑๐ บาทจากนั้น
เปรียบเทียบค่าเงินให้นักเรียนดู เช่น เหรียญ ๕ บาท มีเหรียญ ๑ บาท ๕ เหรียญ
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนหยิบจานวนเงินตามค่าที่ผู้สอนบอก เช่น หยิบเหรียญ ๑ บาท
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนหยิบจานวนเงินตามค่าที่ผู้สอนบอก เช่น หยิบเหรียญ ๑ บาท เป็นต้น
จากนั้นให้หยิบ ๒ เหรียญเปรียบเทียบค่าเท่ากัน มากกว่า-น้อยกว่า
๔. ผู้สอนจัดสถานการณ์การซื้อ ขายของในห้องเรียนด้วยราคาของไม่เกิน ๑๐0 บาท
จากนั้นให้ผู้เรียนซื้อของที่ผู้สอนเตรียมไว้ในราคาชิ้นละ ๑ บาท โดยให้
ผู้เรียนหยิบเหรียญ ๑ บาทมาจ่าย จากนั้นผู้สอนเปลี่ยนสถานการณ์ราคาของเป็น ๒
บาท ไปจนถึงราคา ๑๐ บาท
๘๑

ทักษะจำเป็นเฉพำะควำมพิกำรหรือทักษะจำเป็นอื่นๆ
ทักษะจาเป็นเฉพาะความพิการหรือทักษะจาเป็นอื่นๆ หมายถึง การพัฒนาศักยภาพของเด็กพิการที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษเฉพาะหรือทักษะ
จาเป็นอื่นๆ แต่ละประเภทความพิการ ครอบคลุม ๔ ประเภท ได้แก่ ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับ
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ทักษะจาเป็นสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ และทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับ
เด็กออทิสติก มีรายละเอียดดังนี้

ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น

๑. คาอธิบายรายทักษะ
ทักษะจาเป็นเฉพาะเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น เป็นการพัฒนาเกี่ยวกับ การใช้ประสาทสัมผัสทางการเห็นที่เหลืออยู่ การสร้างความคุ้ นเคยกับ
สภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว การเดินทางของคนตาบอด การฝึกประสาทสัมผัส การเคลื่อนที่ของมือ การเตรียมความพร้อมการเขียนอักษรเบรลล์ การอ่าน
อักษรเบรลล์ไทย การเขียนอักษรเบรลล์ไทย และการใช้ลูกคิด
โดยใช้กระบวนการ การปฏิบัติจริง การสาธิต การวิเคราะห์งาน และการบูรณาการ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จากผู้มีความชานาญเฉพ าะด้าน มีทีมสห
วิทยาการ ผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ใช้ภาษาในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม สนใจต่อการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว เล่นและทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบ การคิดแก้ปัญหา ดารงชีวิตประจาวันได้อย่างอิสระและมีความสุข

๒. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะเฉพาะด้าน
๑. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ประสาทสัมผัสที่เหลืออยู่ได้อย่างเต็มศักยภาพ
๒. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือตนเอง และดารงชีวิตประจาวันได้อย่างอิสระ
๓. เพื่อให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการศึกษาระดับสูงขึ้น
๘๒

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น
ทักษะการใช้สายตาสาหรับบุคคลสายตาเลือนราง
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๑. การใช้ประสาท ๑.๑ การรับรู้สิ่งที่เห็น ๑. สามารถมองหาวัตถุที่อยู่ข้างหน้า ๑. ผู้สอนฉายไฟฉายชี้ไปที่ตาของผู้เรียนในทิศทางต่างๆ แล้วให้ผู้เรียนชี้ว่า
สัมผัสทางการเห็นที่ เมื่อมีการเคลื่อนไหวหรือมีเสียงได้ แสงมาจากทิศทางใด
เหลืออยู่ ๒. ผู้สอนเขย่ากระดิ่งหรือวัตถุที่มีเสียงแล้วให้ผู้เรียนหันหน้าไปตามทิศทาง
ของเสียง และให้ผู้เรียนเอื้อมมือออกไปคว้า
๓. ผู้สอนใช้สิ่งของที่มีขนาดและสีที่แตกต่าง หลากหลาย มีความตัดกัน
ของสี กั บ พื้ น โต๊ ะ ที่ ว างแล้ ว ให้ ผู้ เ รี ย นเลื อ กหยิ บ สิ่ ง ของตามที่ ผู้ ส อน
กาหนด โดยไม่ใช้มือควานหา
๑.๒ การควบคุมการ ๑. สามารถมองตามวัตถุที่เคลื่อนที่ ๑. ผู้สอนกลิ้งลูกบอลไปตามพื้น และให้ผู้เรียนมองตามลูกบอลที่มีสีสัน
เคลื่อนไหวของตาโดยการ ในทิศทางต่างๆ ได้ สดใสตัดกันกับพื้นที่ กลิ้งไปตามพื้นแล้วให้ไปหยิบมาให้ผู้สอน
มองตามวัตถุที่เคลื่อนที่ ๒. ผู้สอนใช้กระดาษทาเป็นราง ที่มี ความเอียงหลายระดับ เป็นรางแบบ
(Tracking) เปิด ให้ผู้เรียนวางลูกปิงปอง หรือลูกบอล แล้วปล่อยให้กลิ้งลงมาตาม
ราง และให้ผู้เรียนมองตามวัตถุหรือชี้ตามวัตถุที่กลิ้งในราง
๓. การควบคุมการ ๑. สามารถบอกหรือชี้ตาแหน่งของ ๑. ผู้สอนใช้สิ่งของที่มีขนาดและสีที่แตกต่าง หลากหลาย มีความตัดกันกับ
เคลื่อนไหวของตาโดยการ วัตถุหรือภาพในตาแหน่งต่างๆ ได้ ของสี กับพื้ นโต๊ ะ วางบนตาแหน่ง ต่างๆของโต๊ะ และให้ ผู้ เ รียนกวาด
กวาดสายตา (Scanning) สายตาสารวจสิ่งของบนโต๊ะว่ามีอะไรบ้างและอยู่ที่ส่วนไหนของโต๊ะ
๒. ผู้สอนวางหมุดสีต่างๆ บนกระดานแม่เหล็กสีขาว ให้ผู้เรีย นใช้สีเมจิก
โยงเส้นไปตามตาแหน่งของหมุดที่กาหนดให้
๘๓
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓. ผู้ ส อนวางสิ่ ง ของต่างๆในห้ องที่ต าแหน่งต่ างๆ ที่ชั ดเจน จากนั้ นให้
ผู้เรียนเข้ามาในห้องและกวาดสายตามองหาสิ่งที่ผู้สอนกาหนด
๔. ผู้สอนนาแผ่นภาพที่มีภาพวัตถุหรือสิ่งของต่าง ๆ มาให้ผู้เรียนดู และ
ให้ผู้เรียนมองภาพและบอกหรือชี้ตาแหน่งวัตถุหรือภาพที่ผู้สอนถาม

๔. การจาแนกวัตถุสิ่งของ ๑. สามารถจาแนกวัตถุสิ่งของหรือ ๑. ผู้สอนวางวัตถุบนโต๊ะ ชนิดเดียวกันประมาณ ๓-๕ ชิ้นโดยให้วัตถุ ๑ ชิ้น


หรือภาพ ภาพจากการมองได้ มีความแตกต่างไปจากที่มีอยู่ แล้วให้ผู้เรียนบอกว่า วัตถุชิ้นใดมีความ
แตกต่างจากพวกโดยไม่ใช้มือสัมผัส
๒. ฝึกผู้เรียนจับคู่ภาพเหมือนหรือภาพที่แตกต่างกันโดยการมองอย่างเดียว
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนมองของจริงแล้วให้เลือกภาพที่ตรงกับสิ่งที่มองเห็น
๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนบรรยายภาพอย่างหยาบๆ จากสิ่งที่เห็น

๕. การจาแนกสีหน้าท่าทาง ๑. สามารถบอกกิริยาท่าทางจากสิ่งที่ ๑. ผู้สอนทาสีหน้า ท่าทางแบบต่างๆ แล้วให้ผู้เรียนทาตามแบบ


เห็นได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนดูภาพแล้วบรรยายท่าทางจากภาพที่เห็น

๖. การรับรู้ และบอก ๑. สามารถบอกรายละเอียดจากสิ่งที่ ๑. ผู้สอนกาหนดวัตถุของจริงหลายๆอย่างให้ผู้เรียนมองวัตถุของจริงแต่ละ


รายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งที่ เห็นได้ อย่างแล้วบอกรายละเอียดของสิ่งที่เห็น
เห็น ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนมองดูภาพและให้บอกรายละเอียดเท่าที่มองเห็น
๘๔

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)
ทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว(O& M)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๑. การสร้าง ๑.๑ การใช้ประสทสัมผัส ๑. สามารถใช้ประสาทสัมผัสทาง ๑. ฝึกการแยกความแตกต่างของเสียงชนิดต่างๆ โดยใช้ของที่มีเสียงเขย่า
ความคุ้นเคยกับ ทางการได้ยิน การได้ยินในสภาพแวดล้อมได้ ให้ผู้เรียนฟังแล้วให้ผู้เรียนบอกว่าเป็นเสียงของอะไร เช่น กระดิ่ง วิทยุ
สภาพแวดล้อม และ กลอง กรับ ปรบมือ
การเคลื่อนไหว ๒. ฝึ ก การแยกความแตกต่ า งของเสี ย งชนิ ด ต่ า งๆ โดยใช้ วิ ท ยุ เทป
หนังสือเสี ยง เปิดให้ผู้ เรียนฟังแล้ วให้ แยกแยะเสี ยง สังเกต จาเสี ยง
เช่น เสียงน้าตก (เสียงธรรมชาติต่างๆ) เช่น เสียงร้องของสัตว์ เช่น
เป็ด เป็นต้น
๓. ผู้สอนเคาะไม้ หรือท่อนเหล็กตามตาแหน่งต่างๆแล้วให้ผู้เรียนชี้ไปยัง
ตาแหน่งนั้น
๔. ผู้เรียนบอกจังหวะ ช้า - เร็ว , ดัง -เบา เสียงสู ง -ต่า โดยการเคาะวัตถุ
อุป กรณ์ เช่ น กลอง การเปิ ด เพลงให้ มี จั ง หวะช้ า เร็ ว และให้ ผู้ เ รี ย น
ปรบมือหรือเคาะตามเสียงที่ได้ยิน
๕. ฝึกผู้เรียนนอนบนพื้นวัตถุต่างกันแล้วเคลื่อนไหว ให้ผู้เรียนฟังเสียง เช่น
หนังสือพิมพ์ ถุงพลาสติก ผ้า กระสอบ กระดาษทราย พรม เป็นต้น

๑.๒ การใช้ประสาทสัมผัส ๑. สามารถใช้ประสาทสัมผัสทาง ๑. ฝึกผู้เรียนใช้แป้งทาตัว ผู้สอนบอกผู้เรียนว่า กลิ่นนั้นคือกลิ่ นอะไร และ


ทางการดมกลิ่น การดมกลิ่นในสภาพแวดล้อมได้ ให้ผู้เรียนได้สัมผัสและดมแป้งทาตัวที่แขนหรือมือตนเอง
๘๕
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. ฝึ ก ให้ ผู้ เ รี ย นรู้ จั ก น้ านม โดยผู้ ส อนหยดน้ านมลงบนฝ่ า มื อ ผู้ เ รี ย น
เล็กน้อยในระยะการดื่มนมครั้งแรก แล้วให้ผู้เรียนดมกลิ่น แล้วบอก
ผู้เรียนว่าสิ่งนี้คือกลิ่นน้านม
๓. ฝึกผู้เรียนให้รับรู้กลิ่นของพ่อและแม่ เช่น ในขณะที่แม่อุ้มลูกเพื่อให้นม
ให้ แ ม่ พู ด กั บ ลู ก อยู่ เ สมอแสดงตนว่ า ตนเป็ น ใคร เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นรั บ รู้
ความรู้สึก ความอบอุ่น และจดจากลิ่ นของแม่ ในกรณีของพ่อให้อุ้ม
กอดแล้วพูดคุยแสดงตนกับลูกเพื่อให้เกิดการรับรู้กลิ่นของพ่อ
๔. ฝึ กผู้ เรียนดมกลิ่ นสิ่ งของ เครื่องใช้ เครื่องนุ่ งห่ ม อาหารผลไม้ และ
ดอกไม้ชนิดต่างๆ ที่พบในชีวิตประจาวันโดยผู้ฝึกอธิบายถึงลักษณะของ
กลิ่นนั้นๆ
๑.๓ การใช้ประสาทสัมผัส ๑. สามารถใช้ประสาทสัมผัสทาง ๑. ผู้สอนนาอาหารแต่ละชนิด เช่น เกลือ น้าตาล มะนาว ขนมที่มีรสเผ็ด
ทางการชิมรส การชิมรสอาหารได้ เล็กน้อย มาให้ผู้เรียนลองชิมและบอกรสชาติของอาหารแต่ละชนิด
๒. ผู้สอนบอกรสชาติของอาหารให้ผู้เรียนพูดตามทีละอย่าง
๓. ผู้สอนนาอาหารที่มีรสต่างกันมาให้ผู้เรียนชิม เช่น เค็ม เปรี้ยว หวาน
จืด เป็นต้น
๔. ผู้เรียนชิมอาหารที่ทามาจากเนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ และบอกว่าอาหารแต่
ละอย่างมีรสชาติอย่างไร
๘๖
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑.๔ การใช้ประสาทสัมผัส ๑. สามารถใช้ประสาทสัมผัสทางผิว ๑. ให้ผู้เรียนฝึกนวดกระตุ้นสัมผัสด้วย แป้งฝุ่น โลชั่น น้ามันพืช ๑๐๐%
ทางผิวกาย กายในสภาพแวดล้อมได้ อุปกรณ์นวดระบบสั่น ฯลฯ
๒. ผู้เรียนฝึกใช้มือสารวจสิ่งของต่างๆที่มีพื้นผิวที่แตกต่างกัน
๓. ผู้เรียนฝึกสารวจสิ่งของต่างๆที่มีหลายๆขนาดด้วยการสัมผัส
๔. ผู้ ส อนน าผู้ เ รี ย นไปส ารวจสถานที่ ต่ า งๆโดยการสั ม ผั ส และรั บ รู้ ถึ ง
สภาพแวดล้อมโดยการรับรู้จากผิวกาย
๑.๕ การรับรู้ความสัมพันธ์ ๑. สามารถบอกพื้นที่ สูง ต่า ได้ ๑. ผู้สอนนาผู้เรียนไปยืนที่สถานที่ที่มีพื้นที่ต่างระดับกัน เช่น ขั้นบันได ให้
ระหว่างตนเองกับ นักเรียนก้าวขึ้นไปบนขั้นบันไดที่สูงกว่า พร้อมทั้งบอกผู้เรียนว่านี่คือ สูง
สภาพแวดล้อม และ หลังจากนั้นให้ผู้เรียนก้าวลงจากขั้นบันได พร้อมทั้งบอกผู้เรียนว่านี่คือ
สภาพแวดล้อมกับ ต่า เป็นต้น
สภาพแวดล้อม ๒. สามารถบอกพื้นผิวที่แตกต่างกัน ๑. ผู้ ส อนน าวั ต ถุ สิ่ ง ของ หรื อ กระดานกระตุ้ น ประสาทสั ม ผั ส ที่
ได้ ประกอบด้วยพื้นผิวที่แตกต่างกันให้ผู้เรียนสัมผัส โดยครูจับมือผู้เรียน
ไปสัมผัสแต่ละพื้นผิว พร้อมทั้งบอกว่านี่คือพื้นผิวอะไร อย่างไร
๓. สามารถบอกความรู้สึกเกี่ยวกับ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนสัมผัสความรู้สึกต่างๆ เช่น ร้อน เย็น โดยผู้สอนเตรียม
อุณหภูมิของสิ่งต่างๆ ได้ น้าร้อน ๑ แก้ว กับน้าเย็น ๑ แก้ว และให้ผู้เรียนยื่นมือสัมผัสแก้วน้า
แต่ละแก้ว โดยเมื่อผู้เรียนแตะแก้วน้าร้อน ผู้สอนก็บอกว่านี่คือ ร้อน
และเมื่อผู้เรียนแตะแก้วน้าเย็น ผู้สอนก็บอกผู้เรียนว่า นี่คือ เย็น
๔. สามารถเรียงลาดับของ ๑. ผู้สอนอธิบายสภาพแวดล้อมในการจะเดินจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งให้
สภาพแวดล้อมในชุมชนได้ ผู้เรียนฟัง เช่น การเดินจากห้องเรียนไปยังห้องน้า จะต้องเดินผ่าน
อะไรบ้าง มีอะไรวางหรือตั้งอยู่ตรงจุดไหน เป็นต้น จากนั้นให้ผู้เรียน
๘๗
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


ทบทวนสภาพแวดล้อมในการเดินทางจากห้องเรียนไปห้องน้าตามที่
ผู้สอนอธิบาย ให้ผู้สอนฟังอีกครั้ง
๕. สามารถบอกเกี่ยวกับกลิ่นของ ๑. ผู้สอนนาสิ่งของต่าง ๆ ที่มีกลิ่น ที่ผู้ สอนต้องการให้ ผู้เรียนรู้จักมาให้
ต่างๆ ได้ นักเรียนได้สัมผัส และดมกลิ่น เช่น ดอกมะลิ ดอกกุหลาบ โดยให้
ผู้เรียนดมกลิ่นทีละกลิ่น และผู้สอนบอกผู้เรียนว่ากลิ่นนั้นคือกลิ่นอะไร
แล้วผู้สอนค่อย ๆ ให้ผู้เรียนฝึกดมกลิ่นและบอกว่ากลิ่นนั้นคือกลิ่นของ
อะไรด้วยตนเอง
๖. สามารถบอกเกี่ยวกับเวลาได้ ๑. ผู้สอนอธิบายให้ผู้เรียนรู้เกี่ยวกับเวลาต่างๆ โดยการเชื่อมโยงกับการทา
กิจวัตรประจาวัน เช่น
๐๖.๐๐ น. ตื่นนอน อาบน้า แต่งตัว
๐๗.๐๐ น. กินข้าว
๐๗.๓๐ น. ไปโรงเรียน
๐๘.๐๐ น. เข้าแถวเคารพธงชาติ
ฯลฯ
ผู้ส อนถามผู้ เรียน และให้ ผู้เรียนตอบว่ากิจกรรมที่ผู้ สอนถามกระทา
เวลาใด เป็นต้น
๗. สามารถบอกทิศทางต่างๆ ได้ ๑. ผู้สอนอธิบายให้ผู้เรียนรู้ว่า แสงแดดที่มากระทบใบหน้าในช่วงเช้า ให้
ผู้เรียนรู้ว่า ด้านหน้าของผู้เรียน คือทิศตะวันออก ด้านหลังของผู้เรียน
คือทิศตะวันตก ด้านซ้ายของผู้ เรียน คือทิศเหนือ และด้านขวาของ
ผู้เรียน คือทิศใต้
๘๘
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๘. สามารถบอกเครื่องหมายตา ๑. ผู้ ส อนอธิ บ ายให้ ผู้ เ รี ย นรู้ จั ก ความหมายของค าว่ า เครื่ อ งหมายตา
(Landmark) และร่องรอย (Clues) (Landmark) และร่องรอย (Clues) โดยเครื่องหมายตา (Landmark)
ต่างๆ ได้ หมายถึ ง วั ต ถุ สิ่ ง ของที่ มั ก จะอยู่ กั บ ที่ ไม่ เ คลื่ อ นย้ า ย เช่ น ต้ น ไม้
กาแพง ส่วน ร่องรอย (Clues) หมายถึง วัตถุสิ่งของที่มีการเคลื่อนย้าย
ไปที่ต่างๆ ได้ เช่น เก้าอี้ กระถางต้นไม้ จากนั้นผู้สอนนาทางผู้เรียนไป
สถานที่แห่งหนึ่ง เช่น จากห้องเรียนไปยังโรงอาหาร ในระหว่างการ
เดิ น ทางผู้ ส อนอธิ บายสภาพแวดล้ อ มตามเส้ น ทาง เมื่อ ถึ ง จุด หมาย
ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นบอกถึ ง เครื่ อ งหมายตา (Landmark) และร่ อ งรอย
(Clues) ในเส้นทางที่เดินมาให้ผู้สอนฟัง

๒. การเดินทางของ ๒.๑ การเดินกับผู้นาทาง ๑. สามารถรับรู้การแตะนา และ ๑. ผู้สอนยืนด้านข้างของผู้เรียนจากนั้นใช้ หลังมือแตะมื อของผู้เรียนเป็น


คนตาบอด การจับแขนผู้นาทางได้ถูกต้อง สัญญากว่าจะเดินไปด้วยกัน
๒. ผู้เรียนเลื่อนมือขึ้นจับแขนของผู้สอนเหนือข้อศอกเล็กน้อย
๓. ผู้สอนอาจจับมือผู้เรียนมาจับที่แขน โดยให้ผู้เรียนใช้มือขวา จับแขน
ซ้ า ย หรื อ ใช้ มื อ ซ้ า ยจั บ แขนขวาของผู้ ส อนบริ เ วณเหนื อ ข้ อ ศอก
เล็กน้อย ให้หัวแม่มืออยู่ด้านนอก ส่วนอีก ๔ นิ้วที่เหลืออยู่ด้านใน การ
จับต้องไม่ให้แน่นหรือหลวมจนเกินไปขณะที่จับแขน แขนช่วงบนของ
ผู้เรียนอยู่แนบลาตัวตามปกติ (ไม่หนีบไม่กางออก ไม่โย้หน้าและโย้หลัง
ไปจากลาตัว) ส่วนแขนช่วงล่างยกตั้งฉากกับแขนช่วงบน แต่ถ้าเมื่อจับ
เหนือข้อศอกของผู้สอนแล้วปรากฏว่า แขนช่ว งบนและช่วงล่างไม่ตั้ง
๘๙
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


ฉากกัน ผู้ เรียนควรจะเลื่ อนมือขึ้นหรือลง เพื่อให้ แขนอยู่ในลั กษณะ
ตั้งฉาก
๔. เมื่อจับเหนือข้อศอกผู้ ส อนแล้ ว ผู้ เรียนจะยืนเยื้องไปข้างหลั งผู้ ส อน
ประมาณครึ่งก้าวและต้องหั นหน้าไปในทิศทางเดียวกัน ถ้าไม่แน่ใจ
ผู้เรียนอาจตรวจสอบได้โดยใช้มื อข้างที่จับข้อศอก จับดูว่าไหล่ข้างที่ใช้
มือจับของตนเองอยู่ตรงกับไหล่ของผู้สอน (ผู้นาทาง) ข้างที่จับข้อศอก
หรือไม่ ถ้าไม่ตรงควรขยับให้ตรงเสียก่อน เพื่อเตรียมพร้อมที่จะเดิน
ต่อไป
๒. สามารถรับรู้การก้าวเดินโดย ๑. ผู้เรียนจับแขนผู้ สอนและอยู่ในท่าที่พร้อมที่จะเดินผู้ส อน (ผู้นาทาง)
มีผู้นาทางได้ถูกต้อง บอกผู้เรียนว่า “เราจะเดินแล้วนะ” แล้วผู้สอน (ผู้นาทาง) ก็ก้าวเดินโดย
มีผู้เรียนก้าวเดินตาม
๒. ในขณะที่เดินไปกับผู้สอน ทั้งผู้สอนและผู้เรียนควรจะเดินไปตามสบาย
อย่ า งปกติ คื อ ตั ว ผู้ เ รี ย นเองจะต้ อ งไม่ เ กร็ ง ไม่ เ ดิ น ช้ า หรื อ เร็ ว
จนเกินไป โดยสังเกตจากผู้สอน และพยายามรักษาตาแหน่งของมือที่
จับข้อศอกให้อยู่ในตาแหน่งเดิมตลอดเวลาส่วนผู้สอนเองก็ไม่ต้องห่วง
หรือเป็นกังวลมากจนตนเองไม่มีความสุข
๓. ควรเดินนาผู้เรียนไปเรื่อยๆ ทั้งนี้เพราะความเคลื่อนไหวของผู้สอนจะ
ส่ ง ไปยั ง มื อ ของผู้ เ รี ย นที่ จั บ อยู่ แต่ เ พื่ อ ความสะดวกยิ่ ง ขึ้ น เมื่ อ ถึ ง ที่
ลง เช่ น ฟุ ต บาท ผู้ ส อนควรบอกว่ า “ลง” พร้ อ มกั บ ก้ า วลงไปก่ อ น
ผู้เรียนจะรู้ช่วงลึกของฟุตบาทจากข้อศอกที่กาลังจับอยู่ และจะก้าวตาม
๙๐
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


ลงได้จังหวะพอดี ในทานองเดียวกันเมื่อจะก้าวขึ้นฟุตบาท ผู้นาทางจะ
บอกว่า “ขึ้น” และก้าวไปก่อนผู้เรียนจะรู้ความสูงของฟุตบาท และก้าว
ขึ้นตามได้อย่างถูกจังหวะ
๓. สามารถรับรู้การเปลี่ยนข้างได้ ๑. ผู้เรียนใช้มืออีกข้างจับเหนือมือข้างที่จับอยู่เลื่อนมือข้างที่จับอยู่ผ่านหลัง
ถูกต้อง ของผู้สอนไปจับแขนอีกข้างหนึ่งของผู้สอน
๒. เพื่อให้ทราบตาแหน่งใหม่ที่จะจับ เบี่ยงตัวเดินพร้อมเลื่อนมือข้างใหม่ไป
จับเหนือข้อศอกหรือบริเวณที่เหมาะสม แล้วปล่อยมือข้างเดิม
๔. สามารถรับรู้การหมุนกลับตัวได้ ๑. เมื่อผู้สอนเดินนาทางผู้เรียนมาถึงจุดใดจุดหนึ่ง หากต้องการหมุนกลับ
ถูกต้อง ตัว ให้ผู้เรียนใช้มืออีกข้างยื่นไปจับแขนอีกข้างของผู้ สอน และจะอยู่ใน
ลักษณะยืนหันหน้าเข้าหากัน แล้วผู้เรียนก็ปล่อยมือข้างที่จับแขนผู้สอน
ในการเดินตามผู้สอนครั้งที่ผ่านมา
๕. สามารถรับรู้การตอบรับหรือ การตอบรับการนาทาง
ปฏิเสธการนาทางได้ถูกต้อง ๑. ผู้สอนเดินเข้าไปทักทายผู้เรียน ถามผู้เรียนว่าต้องการจะไปที่ไหนหรือไม่
หากผู้เรียนตอบว่าต้องการไปนั่งที่เก้าอี้และต้องการผู้นาทาง ผู้สอนก็
อาสาเป็นผู้นาทาง การให้สัญญาณในการนาทาง ผู้สอนยื่นหลังมือข้างที่
ต้องการให้ผู้เรียนจับไปแตะที่หลังมือของผู้เรียน ๑-๒ ครั้ง ผู้เรียนค่อยๆ
เลื่อนมือที่โดนแตะขึ้นมาจับเหนือข้อศอกของผู้นาทาง แล้วผู้สอนก็เดิน
นาทาง
การปฏิเสธการนาทาง
๑. กรณีที่ต้องการปฏิเสธการนาทาง สถานการณ์ในขณะนั้นอาจจะเป็นใน
๙๑
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


ลักษณะที่ว่า ผู้สอนเข้าไปจับมือหรือแขนผู้เรียนเพื่อพาไปยังที่ใดที่หนึ่ง
หากผู้เรียนต้องการปฏิเสธการนาทาง ให้ผู้เรียนใช้มือข้างที่ไม่โดนจับ
จับมือของผู้นาทางออก
๒. แต่หากผู้เรียนต้องการไปในที่ที่ผู้สอนจะพาไป โดยผู้เรียนต้องการจับ
แขนของผู้สอน ให้ผู้เรียนค่อยๆ เลื่อนมือขึ้นไปจับเหนือข้อศอกของผู้นา
ทาง (ตามหลักการเดินโดยมีผู้นาทาง)
๖. สามารถรับรู้การเดินทางแคบโดย ๑. ผู้สอนควรบอกผู้เรียนก่อนว่ า “เรากาลังจะเดินในทางแคบ” พร้อมกับ
มีคนนาทางได้ถูกต้อง เอามือข้างที่ผู้เรียนจับไพล่ไปข้างหนึ่ง พยายามให้มืออยู่กลางหลังมาก
ที่สุ ด ผู้ เ รียนจะยึดแขนที่จับ ข้อศอกอยู่พร้ อมกับ หลบ เข้า ไปเดิ น
ตามหลังผู้สอนในลักษณะเดินเรียงหนึ่ง โดยผู้เรียนเหยียดแขนให้ตรง
ผู้เรียนควรก้าวเท้าให้สั้นลงกว่ าปกติเล็กน้อย เพื่อกันไม่ให้เหยียบเท้า
ผู้สอน
๒. เมื่อเดินพ้นที่แคบแล้ว ผู้สอนนาแขนกลับมาไว้ตาแหน่งเดิม ผู้เรียนจะ
รู้ได้ว่านั่นเป็นสัญญาณบอกให้ทราบว่าเดินพ้นทางแคบแล้วจึงกลับมา
เดินในตาแหน่งเดิมตามปกติ
ในกรณีที่ผู้สอนถือของอยู่ไม่เป็นการสะดวกที่จะเอามือไพล่หลัง
ผู้ น าทางจะให้ สั ญ ญาณ โดยการขยั บ ข้ อ ศอกข้ า งที่ ผู้ เ รี ย นจั บ อยู่ ไ ป
ทางด้านหลังให้ทราบ
๙๒
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๗. สามารถเดินกับผู้นาทางขึ้นลง การขึ้นบันได
บันไดได้ ๑. เมื่อผู้สอนเดินนามาถึงบันได ต้องบอกว่า “จะขึ้นบันไดที่ไม่มีราวจับ ”
แล้วผู้สอนก็ก้าวขึ้นผู้เรียนจะก้าวตามโดยอยู่ต่ากว่าผู้สอน ๑ ขั้น เมื่อ
ผู้สอนก้าวขึ้นขั้นสุดท้ายไปแล้ว ต้องบอกว่า “หมดแล้ว” แล้วก้าวเดิน
ต่อไป ทั้งนี้เพื่อกันไม่ให้ผู้เรียนคิดว่าขั้นบันไดยังมีอยู่และหลงยกเท้า
ก้าวขึ้นอีก
การลงบันได
๑. เมื่อผู้สอนเดินนามาถึงบันได ควรหยุดและบอกว่า “จะลงบันได” แล้ว
จึงก้าวลงผู้เรียนจะก้าวตามลงไป โดยอยู่เหนือผู้สอน ๑ ขั้น และเมื่อ
ผู้ ส อนก้ า วลงถึ ง พื้ น แล้ ว ต้ อ งบอก ว่ า “หมดแล้ ว ” พร้ อ มกั บ เดิ น
ต่อไป ผู้เรียนก็จะเดินได้อย่างปกติ
๒. เวลาจับราวบันได ผู้เรียนจะเหยียดแขนไปข้างหน้าเล็กน้อย จึงสามารถ
ทราบและกะระยะได้
๓. บันไดที่มีราวบันได การขึ้น – ลง บันไดชนิดที่มีราวบันได เมื่อผู้สอน
น าไปถึ ง บั น ไดควรบอกให้ ท ราบแล้ ว จั บ มื อ ผู้ เ รี ย นไปจั บ ที่ ร าว
บันได พร้อมกับเดินขึ้นหรือเดินลงคู่กันไปกับผู้เรียน เพราะผู้เรียนจะรู้
ได้ว่าลงหมดแล้ วหรือขึ้นหมดแล้ วจากราวบันได เนื่องจากปลายราว
บันไดทั้ง ๒ ข้าง จะมีลักษณะงอขึ้นหรืองุ้มลง ก่อนที่จะก้าวเท้า
ไป ถ้าต้องการจะเดินขึ้นหรือลงขั้นหนึ่ง ผู้นาทางจะต้องบอกให้คน
พิการทางการเห็นทราบ เพื่อให้เขาจับเลาะราวบันไดต่อไป
๙๓
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔. ส่ ว นบัน ไดชนิด อื่นๆ เช่น บัน ไดเวีย น หรือ บันไดพาดที่มี ๒ ขา ถ้า มี
โอกาสควรสอนด้วยหรืออย่างน้อยควรอธิบายถึ งลักษณะทั่วๆ ไปให้
ผู้เรียนรับทราบให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาวิธีไป
ปรับใช้ได้ด้วยตนเองต่อไป
๘. สามารถเดินกับผู้นาทางในการ ๑. ผู้เรียนต้องยืนอยู่ด้านเดียวกับบานพับประตูเสมอ ถ้าเป็นประตูชนิด
เปิดปิดประตูได้ ผลักออกจากตัว ผู้สอนจะต้องใช้มือข้างที่ผู้เรียนจับอยู่ จับลูกบิดแล้ว
เปิดประตูนาหน้าเข้าไป ผู้เรียนจะเดินตามโดยใช้มือที่วางอยู่เลาะขอบ
ประตู หรือจับลูกบิดเพื่อปิดประตูไว้ตามเดิม
๒. ถ้าเป็นประตูช นิดดึง เข้าหาตั ว ผู้ ส อนจะใช้มือข้ างที่ผู้ เรีย นจับอยู่จั บ
ลูกบิด ผู้เรียนจะใช้มืออีกข้างหนึ่งเลาะไปตามแขนของผู้นาทางเดินหน้า
ไปก่อน ผู้เรียนเดินตามและปิดประตู
๙. สามารถสารวจเก้าอี้ก่อนการนั่ง การนั่งเก้าอี้ที่ไม่มีโต๊ะ
ได้ ๑. ผู้สอนพาผู้เรียนไปยืนหลังพนักเก้าอี้ พร้อมยื่นมือข้างที่ผู้เรียนจับอยู่ไป
จับพนักเก้าอี้ แล้วบอกให้เขานั่งผู้เรียนจะค่อยๆ เลื่ อนมือจากข้อศอก
ของผู้สอนไปตามแขนเพื่อจับเก้าอี้
๒. หลั ง จากนั้ น ผู้ ส อนจะยื น ห่ า งออก ผู้ เ รี ย นจะใช้ ข าเลาะเก้ า อี้ ไ ปทาง
ด้านข้าง ก้มลงเล็กน้อยแล้วใช้มืออีกข้างหนึ่งสารวจบนเก้าอี้ว่าสะอาด
หรือไม่
๓. ต่อจากนั้นจึงเดินเลาะไปด้านหน้าของเก้าอี้ ให้ขาด้านหน้าทั้ง ๒ ข้าง
และขอบเก้าอี้เท่ากัน แล้วจึงนั่งพร้อมปล่อยมือที่จับพนักเก้าอี้
๙๔
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม

การนั่งเก้าอี้ที่มีโต๊ะ
๑. ผู้เ รียนใช้มือข้างหนึ่งจับพนักเก้าอี้อยู่ แล้วใช้มืออีกข้างหนึ่งแตะขอบ
โต๊ะไว้พร้อมดึงเก้าอี้ออกให้ห่างจากโต๊ะ พอที่จะแทรกตัวเข้านั่งได้
๒. เมื่อนั่งแล้วให้ผู้เรียนใช้หลั งมือทั้ง ๒ ข้างสัมผัสขอบโต๊ะ เพื่อดูว่านั่งได้
ตรงตามปกติหรือไม่ ถ้านั่งเฉให้ใช้มือทั้ง ๒ ข้าง จับขอบเก้าอี้ทั้ง ๒ ข้าง
แล้วยกตัวขึ้นพร้อมเก้าอี้เพื่อปรับให้พอดี
๒.๒ การเดินโดยอิสระใน ๑. สามารถเดินในสถานที่ที่คุ้นเคย ๑. ผู้เรียนยกแขนข้างใดข้างหนึ่งขึ้นและเหยียดตรงไปข้างหน้า แล้วงอศอก
สถานที่ที่คุ้นเคย โดยการป้องกันตนเองส่วนบนได้ เข้ามาขนานกับล าตัว (แขนตั้ง ฉาก) โดยยกแขนอยู่ในระดับ ใบหน้ า
แล้วหันฝ่ามือออกด้านนอก
๒. สามารถเดินในสถานที่ที่คุ้นเคย ๑. ผู้เรียนยื่นแขนข้างใดข้างหนึ่งไปทางด้านหน้าลาตัว ในลักษณะปลาย
โดยการป้องกันตนเองส่วนล่างได้ นิ้วชี้ลงพื้น แล้วหันหลังมือออกด้านนอก
๓. สามารถเดินในสถานที่ที่คุ้นเคย ๑. ผู้เรียนยื่นมือไปจับที่ราว โดยใช้มือข้างที่อยู่ด้านเดียวกับราว และเดินไป
โดยการเกาะราวได้ ตามปกติ
๔. สามารถเดินในสถานที่ที่คุ้นเคย ๑. ผู้เรียนยื่นแขนข้างใดข้างหนึ่ง (ข้างที่อยู่ด้านเดียวกับผนังหรือกาแพง
โดยการเดินละเลาะได้ ของสถานที่ที่จะเดินละเลาะ) ไปด้านหน้าและกางแขนออกไปด้านข้าง
ลาตัวเล็ กน้อย ให้ อยู่ในระดับเอว หั นหลังมือออก เพื่อใช้ในการแตะ
สัมผัส
๙๕

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะการเตรียมความพร้อมการอ่านอักษรเบรลล์
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๑. การฝึกประสาท ๑.๑ การฝึกประสาทสัมผัส ๑. สามารถบอกตาแหน่งต่างๆ ของ ๑. ผู้เรียนใส่หมุดขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ลงในกระดานหมุด
สัมผัส มือและนิ้วมือ จุดอักษรเบรลล์ได้ ๒. ผู้ เ รี ย นใส่ ห มุ ด ลงในกระดานหมุ ด ที่ มี ๓ แถวๆละ ๒ รู โ ดยใส่ ต าม
ตาแหน่งจุดที่ ๑-๒-๓-๔-๕-๖
๓. ผู้สอนอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจสัญลักษณ์อักษรเบรลล์ว่ามีลักษณะเป็นจุด
นูนเล็ก ๆ ใน ๑ ช่องประกอบด้วยจุด ๖ ตาแหน่ง ดังภาพ

๔. ผู้เรียนใส่หมุดตามตาแหน่งที่ผู้สอนบอก
๕. ผู้เรียนบอกตาแหน่งจุดที่ ๑ โดยใช้ ๖ จุดเปรียบเทียบ
๖. ผู้เรียนบอกตาแหน่งจุดที่ ๑, ๓ โดยใช้ ๖ จุดเปรียบเทียบ
๗. ผู้เรียนบอกตาแหน่งจุดที่ ๑, ๔ โดยใช้ ๖ จุดเปรียบเทียบ
๘. ผู้เรียนบอกตาแหน่งจุดที่ ๔, ๖ โดยใช้ ๖ จุดเปรียบเทียบ
๙. ผู้เรียนบอกตาแหน่งจุดที่ ๑, ๓ และ ๔, ๖ โดยใช้ ๖ จุดเปรียบเทียบ
๑๐. ผู้เรียนบอกตาแหน่งจุดที่ ๑, ๒, ๓ โดยใช้ ๖ จุดเปรียบเทียบ
๙๖
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑๑. ผู้เรียนบอกตาแหน่งจุดที่ ๑, ๒, ๓ โดยใช้ ๖ จุดเปรียบเทียบ
๑๒. ผู้เรียนบอกตาแหน่งจุดที่ ๔, ๕, ๖ โดยใช้ ๖ จุดเปรียบเทียบ
๑๓. ผู้เรียนบอกตาแหน่งจุดที่ ๑, ๒, ๓ และ ๔, ๕, ๖ โดยใช้ ๖ จุด
เปรียบเทียบ

๒. การเคลื่อนที่ของ ๒.๑ การฝึกการเคลื่อนที่ ๑. สามารถเคลื่อนที่มือและนิ้วมือใน ๑. ผู้ เรี ยนเคลื่ อ นมื อจากซ้า ยไปขวาบนภาพนูน รูป เรขาคณิ ตที่ มีพื้ นผิ ว
มือ ของมือและนิ้วมือ การอ่านอักษรเบรลล์ได้อย่าง แตกต่างกัน
เหมาะสม ๒. ผู้เรียนเคลื่อนมือจากซ้ายไปขวาบนเส้นขอบรูปเรขาคณิตเป็นเส้ นที่
แตกต่าง
๓. ผู้เรียนเคลื่อนมือจากซ้ายไปขวาบนเส้นเชือกหรือเส้นนูนที่มีรูปหลาย
ลักษณะ
๔. ผู้เรียนเคลื่อนมือจากซ้ายไปขวาบนกระดานหมุดขนาดใหญ่-เล็ก
๕. ผู้เรียนเคลื่อนมือทั้งสองจากซ้ายไปขวาโดยปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง
นิ้วก้อย อยู่บนเส้นที่เป็นจุดนูนอักษรเบรลล์ ผู้เรียนเคลื่อนมือข้างขวา
นาแล้ ว ตามด้ว ยมือข้างซ้าย จากซ้า ยไปขวาโดยปลายนิ้ว ชี้ นิ้ว กลาง
นิ้วนาง นิ้วก้อย อยู่บนเส้นที่เป็นจุดนูนอักษรเบรลล์
๖. ผู้เรียนเคลื่อนมือบนเส้นจุดนูนอักษรเบรลล์ที่มีจุดหายไป จุด ๑๓๔๖
๗. ผู้เรียนเคลื่อนมือบนเส้นจุดนูนอักษรเบรลล์ที่มีจุดหายไป จุด ๑๒๔๕
๘. ผู้เรียนเคลื่อนมือบนเส้นจุดนูนอักษรเบรลล์ที่มีจุดหายไป จุด ๑๔
๙๗
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๙. ผู้เรียนเคลื่อนมือบนเส้นจุดนูนอักษรเบรลล์ที่ยาว-สั้นผู้เรียนเคลื่อนมือ
บนเส้นจุดนูนอักษรเบรลล์ที่ยาวที่สุด และสั้นที่สุด
๑๐. ผู้เรียนเคลื่อนมือบนเส้นจากซ้ายไปขวาอักษรเบรลล์ที่เว้นวรรคแนว
เดียวกัน
๑๑. ผู้เรียนเคลื่อนมือบนเส้นจากซ้ายไปขวาอักษรเบรลล์ที่เว้นวรรคต่างแนว
กัน
๑๒. ผู้เรียนเคลื่อนมือบนเส้นจากบนลงล่างโดยอักษรเบรลล์ตัวที่มีลักษณะ
เหมือนกัน
๑๓. ผู้เรียนเคลื่อนมือบนเส้นจากบนลงล่างโดยอักษรเบรลล์ตัวที่มีลักษณะ
ต่างกัน
๙๘

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)
ทักษะการอ่านอักษรเบรลล์
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม
๑. การอ่านอักษร ๑.๑ พยัญชนะอักษรเบรลล์ ๑. สามารถอ่านอักษรเบรลล์ ๑. ผู้เรียนอ่าน จุด ๖ จุด เรียกพยัญชนะตัวนี้ว่า ฮ
เบรลล์ไทย ภาษาไทย พยัญชนะภาษาไทย กลุ่มจุด ๑, ๒, การสอนกลุ่มจุด ๑, ๒, ๔, ๕ (มี ก จ ด ห)
๔, ๕ (มี ก จ ด ห) ได้ ๒. ผู้เรียนอ่าน ก เปรียบเทียบ ฮ เปรียบเทียบจากกระดานหมุด หรือลูกบิด
ใช้จุด ๑, ๒, ๔, ๕
๓. ผู้เรียนอ่าน ก เปรียบเทีย บ ฮ จากแบบฝึก ๑ ที่มี ฮก (ที่ผู้สอนจัดทา
ขึ้น)
๔. แบบฝึกที่ ๒ มี ฮกฮจ (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) ให้ผู้เรียนบอกตาแหน่งจุดที่
ไม่ใช่ ก และบอกตาแหน่งจุดที่เป็นอักษรใหม่ เปรียบเทียบ ฮ เรียก
พยัญชนะนี้ว่า จ มี จุด ๒, ๔, ๕
๕. แบบฝึกที่ ๓ มี ฮกฮจ ฮด (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) ให้ผู้เรียนบอกตาแหน่ง
จุดที่ไม่ใช่ ก จ และบอกตาแหน่งจุดที่เป็นอักษรใหม่ เปรียบเทียบ ฮ
เรียกพยัญชนะนี้ว่า ด มี จุด ๑, ๔, ๕
๖. แบบฝึกที่ ๔ มี ฮกฮจ ฮด ฮห (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น ) ให้ผู้เรียนบอก
ต าแหน่ ง จุ ด ที่ ไ ม่ ใ ช่ ก จ ด และบอกต าแหน่ ง จุ ด ที่ เ ป็ น อั ก ษรใหม่
เปรียบเทียบ ฮ เรียกพยัญชนะนี้ว่า ห มี จุด ๑, ๒, ๕
๗. แบบฝึกหัดที่ ๕ มี ฮ ล ค ก ม ป (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) ให้ผู้เรียนหา ก
จากรูปตัวอักษรที่กาหนด
๙๙
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


๘. แบบฝึกหัดที่ ๖ มีพยัญชนะ ก และ ฮ (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) โดยสลับ
ตัวอักษรไปมาโดยมีการเว้นวรรคให้ผู้เรียนอ่านพยัญชนะเหล่านี้
๙. แบบฝึกหัดที่ ๗ มีพยัญชนะ ฮ และ ก จ ด ห (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนหาอักษรที่ไม่ใช่ ก
๑๐.แบบฝึกหัดที่ ๘ มีพยัญชนะ ฮ ก ฮจ ฮด ฮห (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
แต่ละบรรทัดและ ให้ผู้เรียนหาอักษรที่ต่างจากพวก
๑๑. แบบฝึกหัดที่ ๙ มีพยัญชนะ ก โดยเว้นวรรค (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๑๒. แบบฝึกหัดที่ ๑๐ มีพยัญชนะ จ โดยเว้นวรรค (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๑๓. แบบฝึกหัดที่ ๑๑ มีพยัญชนะ ด โดยเว้นวรรค (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๑๔. แบบฝึกหัดที่ ๑๒ มีพยัญชนะ จ โดยเว้นวรรค (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) ให้
ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๑๕. แบบฝึ ก หั ด ที่ ๑๓ มี พ ยั ญ ชนะ ก และ สระอา (ที่ผู้ ส อนจัด ท าขึ้ น )
ให้ผู้เรียนอ่านคา
๑๖. แบบฝึกหัดที่ ๑๔ มีพยัญชนะ จ และ สระอา (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น )
ให้ผู้เรียนอ่านคา
๑๗. แบบฝึ กหั ด ที่ ๑๕ มี พยั ญ ชนะ ด และ สระอา (ที่ ผู้ สอนจั ดท าขึ้ น )
ให้ผู้เรียนอ่านคา
๑๐๐
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


๑๘. แบบฝึ ก หั ด ที่ ๑๖ มี พ ยัญ ชนะ ห และ สระอา (ที่ ผู้ สอนจัด ท าขึ้ น )
ให้ผู้เรียนอ่านคา

๒. สามารถอ่านอักษรเบรลล์พยัญ ๑. ผู้ เรีย นอ่า น ข เปรี ยบเทียบ ฮ เปรีย บเทีย บจากกระดานหมุด หรื อ
ชนะภาษาไทย กลุ่มจุด ๑๒๓๔๕ ลูกบิด ใช้จุด ๑, ๓
(ข ฉ ถ น ม ร ล ส อ)ได้ ๒. ให้ผู้เรียนอ่าน ข เปรียบเทียบ ฮ จากแบบฝึก ๑ ที่มี ฮข (ที่ผู้สอนจัดทา
ขึ้น)
๓. แบบฝึกที่ ๒ มี ฮขฮฉ (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น ) ให้ผู้เรียนบอกตาแหน่ง
จุดที่ไม่ใช่ ข และบอกตาแหน่งจุดที่เป็นอักษรใหม่ เปรียบเทียบ ฮ เรียก
พยัญชนะนี้ว่า ฉ มี จุด ๓, ๔
๔. แบบฝึกที่ ๓ มี ฮขฮฉ ฮด (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) ให้ผู้เรียนบอกตาแหน่ง
จุดที่ไม่ใช่ ข ฉ และบอกตาแหน่งจุดที่เป็นอักษรใหม่ เปรียบเทียบ ฮ
เรียกพยัญชนะนี้ว่า ถ มี จุด ๒, ๓, ๔, ๕
๕. ใช้แนวการสอน น ม ร ล ส อ เช่นเดียวกับ ข ฉ หรือ ถ
๖. แบบฝึกที่ ๔ น (จุด ๑, ๓, ๔, ๕) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๗. แบบฝึกที่ ๕ ม (จุด ๑, ๓, ๔) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๘. แบบฝึกที่ ๖ ร (จุด ๑, ๒, ๓, ๕) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๙. แบบฝึกที่ ๗ ล (จุด ๑, ๒, ๓) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๑๐. แบบฝึกที่ ๘ ส (จุด ๒, ๓, ๔) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๑๑. แบบฝึกที่ ๙ อ (จุด ๑, ๓, ๕) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๑๐๑
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


๑๒. แบบฝึกหัดที่ ๑๐ มีอักษร ข ฉ ถ น ม ร ล ส อ (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนหาอักษรผู้สอนกาหนด
๑๓. แบบฝึกหัดที่ ๑๑ มีพยัญชนะ ฮ และ ข ฉ ถ น ม ร ล ส อ
(ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) โดยสลับตัวอักษรไปมาโดยมีการเว้นวรรคให้
ผู้เรียนอ่านพยัญชนะเหล่านี้
๑๔. แบบฝึกหัดที่ ๑๒ มีพยัญชนะ ฮ และ ข ฉ ถ น ม ร ล ส อ (ที่ผู้สอน
จัดทาขึ้น) ผู้เรียนหาอักษรที่ไม่ใช่อักษรที่ผู้สอนกาหนด
๑๕. แบบฝึกหัดที่ ๑๓ มีพยัญชนะ ฮขฮฉฮถฮนฮมฮรฮลฮสฮอ (ที่ผู้สอน
จัดทาขึ้น) แต่ละบรรทัดและให้ผู้เรียนหาอักษรที่ต่างจากพวก
๑๖. แบบฝึกหัดที่ ๑๔ มีพยัญชนะ ข (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) โดยเว้นวรรค
ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๑๗. แบบฝึกหัดที่ ๑๕ มีพยัญชนะ ฉ (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) โดยเว้นวรรค
ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๑๘. แบบฝึกหัดที่ ๑๖ มีพยัญชนะ ถ (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) โดยเว้นวรรค
ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๑๙. แบบฝึกหัดที่ ๑๗ มีพยัญชนะ น (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) โดยเว้นวรรค
ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๒๐. แบบฝึกหัดที่ ๑๘ มีพยัญชนะ ม (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) โดยเว้นวรรค
ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๒๑. แบบฝึกหัดที่ ๑๙ มีพยัญชนะ ร (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) โดยเว้นวรรค
๑๐๒
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๒๒. แบบฝึกหัดที่ ๒๐ มีพยัญชนะ ล (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) โดยเว้นวรรค
ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๒๓. แบบฝึกหัดที่ ๒๑ มีพยัญชนะ ส (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) โดยเว้นวรรค
ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๒๔. แบบฝึกหัดที่ ๒๒ มีพยัญชนะ อ (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) โดยเว้นวรรค
ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๒๕. แบบฝึกหัดที่ ๒๓ มีพยัญชนะ ข และ สระอา (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านคา
๒๖. แบบฝึกหัดที่ ๒๔ มีพยัญชนะ ฉ และ สระอา (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านคา
๒๗. แบบฝึกหัดที่ ๒๕ มีพยัญชนะ ถ และ สระอา (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านคา
๒๘. แบบฝึกหัดที่ ๒๖ มีพยัญชนะ น และ สระอา (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านคา
๒๙. แบบฝึกหัดที่ ๒๗ มีพยัญชนะ ม และ สระอา (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านคา
๓๐. แบบฝึกหัดที่ ๒๘ มีพยัญชนะ ร และ สระอา (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านคา
๓๑. แบบฝึกหัดที่ ๒๙ มีพยัญชนะ ล และ สระอา *(ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๑๐๓
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


ให้ผู้เรียนอ่านคา
๓๒. แบบฝึกหัดที่ ๓๐ มีพยัญชนะ ส และ สระอา *(ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านคา
๓๓. แบบฝึกหัดที่ ๓๑ มีพยัญชนะ อ และ สระอา *(ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านคา

๓. สามารถอ่านอักษรเบรลล์พยัญ การสอนกลุ่มจุด ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖ (มี ค ง ช ซ ต ท บ ป ผ ฝ พ ฟ ว ฮ)


ชนะภาษาไทย กลุ่มจุด ๑๒๓๔๕๖ ๑. ผู้เรียนอ่าน ค เปรียบเทียบ ฮ เปรียบเทียบจากกระดานหมุด หรือลูกบิด
(มี ค ง ช ซ ต ท บ ป ผ ฝ พ ฟ ว ฮ) ใช้จุด ๑๓๖
ได้ ๒. ให้ผู้เรียนอ่าน ค เปรียบเทียบ ฮ จากแบบฝึก ๑ ที่มี ฮค
๓. แบบฝึกที่ ๒ มี ฮคฮง (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) ให้ผู้เรียนบอกตาแหน่งจุดที่
ไม่ใช่ ค และบอกตาแหน่งจุดที่เป็นอักษรใหม่ เปรียบเทียบ ฮ เรียก
พยัญชนะนี้ว่า ง มี จุด ๑, ๒, ๔, ๕, ๖
๔. ใช้แนวการสอน ช ซ ต ท บ ป ผ ฝ พ ฟ ว ฮ เช่นเดียวกับ ค ง
๕. แบบฝึกที่ ๓ ช (จุด ๓๔๖ ) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๖. แบบฝึกที่ ๔ ซ (จุด ๒๓๔๖) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๗. แบบฝึกที่ ๕ ต (จุด ๑๒๔๕) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๘. แบบฝึกที่ ๖ ท (จุด ๒๓๔๕๖) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๙. แบบฝึกที่ ๗ บ (จุด ๑๒๓๖) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๑๐. แบบฝึกที่ ๘ ป (จุด ๑๒๓๔๖) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๑๐๔
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


๑๑. แบบฝึกที่ ๙ ผ (จุด ๑๒๓๔) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๑๒. แบบฝึกที่ ๑๐ ฝ (จุด ๑๓๔๖) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๑๓. แบบฝึกที่ ๑๑ พ (จุด ๑๔๕๖) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๑๔. แบบฝึกที่ ๑๒ ฟ (จุด ๑๒๔๖) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๑๕. แบบฝึกที่ ๑๓ ว (จุด ๒๔๕๖) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๑๖. แบบฝึกที่ ๑๔ ฮ (จุด ๑๒๓๔๕๖) (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๑๗. แบบฝึกหัดที่ ๑๕ มีอักษร ค ง ช ซ ต ท บ ป ผ ฝ พ ฟ ว ฮ (ที่ผู้สอน
จัดทาขึ้น) ให้ผู้เรียนหาอักษรผู้สอนกาหนด
๑๘. แบบฝึกหัดที่ ๑๖ มีพยัญชนะ ฮ และ ค ง ช ซ ต ท บ ป ผ ฝ พ ฟ ว ฮ
(ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) โดยสลับตัวอักษรไปมาโดยมีการเว้นวรรคให้ผู้เรียน
อ่านพยัญชนะเหล่านี้
๑๙. แบบฝึกหัดที่ ๑๗ มีพยัญชนะ ฮ กับ ค ง ช ซ ต ท บ ป ผ ฝ พ ฟ ว ฮ
(ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น) แต่ละบรรทัดและให้ผู้เรียนหาอักษรที่ต่างจากพวก
๒๐. แบบฝึกหัดที่ ๑๘ มีพยัญชนะ ค โดยเว้นวรรค (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านตัวอักษรนี้
๒๑. ใช้แนวการสอน ง ช ซ ต ท บ ป ผ ฝ พ ฟ ว ฮ เช่นเดียวกับ ค
๒๒. ใช้แบบฝึกหัดตั้งแต่ ๑๙-๓๑ (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
๒๓. แบบฝึกหัดที่ ๓๒ มีพยัญชนะ ค และ สระอา (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)
ให้ผู้เรียนอ่านคา
๒๔. ใช้แนวการสอน ง ช ซ ต ท บ ป ผ ฝ พ ฟ ว ฮ เช่นเดียวกับ ค
๑๐๕
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


๒๕. ใช้แบบฝึกหัดตั้งแต่ ๓๓-๔๕ (ที่ผู้สอนจัดทาขึ้น)

๒. อักษรเบรลล์คณิตศาสตร์ ๑. สามารถอ่านอักษรเบรลล์ ๑. ผู้สอนอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจสัญลักษณ์อักษรเบรลล์ว่ามีลักษณะเป็นจุด


คณิตศาสตร์ที่เป็นเลขสูง จานวน นูนเล็กๆ ใน ๑ ช่องประกอบด้วยจุด ๖ ตาแหน่ง ดังภาพ
๑-๑๐ ได้

๒. ผู้สอนอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจสัญลักษณ์อักษรเบรลล์คณิตศาสตร์ที่เป็น
เลขสูง (เลขสูง จะอยู่ ๒ แถวบนคือ จุดในชุด ๑,๒,๔,๕)โดยผู้สอนปัก
หมุดบนกระดานให้หมุดเรียงกันตามสัญลักษณ์อักษรเบรลล์ จานวน
๑-๑๐ ทีละจานวน และผู้ สอนให้ผู้เรียนสัมผัสพร้อมทั้งบอกว่าเป็น
จานวนตัว เลขใด ทั้งนี้ การอ่านอักษรเบรลล์ คณิตศาสตร์นั้น จะมี
เครื่องหมายนาเลขอยู่ด้านหน้าสั ญลักษณ์จานวนตัว เลขเป็นตัว บอก
(เครื่องหมายนาเลข คือ จุด ๓๔๕๖) ผู้เรียนฝึกอ่านจานวน ๑-๑๐
๑ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๑)
๑๐๖
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


๒ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๑๒)

๓ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๑๔)

๔ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๑๔๕ )

๕ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๑๕ )

๖ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๑๒๔)


๑๐๗
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


๗ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๑๒๔๕)

๘ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๑๒๕)

๙ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๒๔ )

๑๐ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๑, จุด ๒๔๕

๒. สามารถอ่านอักษรเบรลล์ ๑. ผู้สอนอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจสัญลักษณ์อักษรเบรลล์คณิตศาสตร์ที่เ ป็น


คณิตศาสตร์ที่เป็นเลขต่า จานวน เลขต่า (เลขต่า จะอยู่ ๒ แถวล่างคือ จุดในชุด ๒,๓,๕,๖) โดยผู้สอนปัก
๑-๑๐ ได้ หมุดบนกระดานให้ห มุดเรียงกันตามสัญลักษณ์อักษรเบรลล์ จานวน
๑-๑๐ ที่เป็นเลขต่า ทีละจานวน
๑๐๘
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนสัมผัสพร้อมทั้งบอกว่าเป็นจานวนตัวเลขใด ทั้งนี้การ
อ่านอักษรเบรลล์คณิตศาสตร์นั้น จะมีเครื่องหมายนาเลขอยู่ด้านหน้า
สัญลักษณ์จานวนตัวเลขเป็นตัวบอก (เครื่องหมายนาเลข คือ จุด ๓, ๔,
๕, ๖)ผู้เรียนฝึกอ่านจานวน ๑-๑๐
๑ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๒)

๒ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๒๓)

๓ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๒๕)

๔ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๒๕๖)


๑๐๙
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


๕ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๒๖)

๖ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๒๓๕)

๗ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๒๓๕๖)

๘ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๒๓๖)

๙ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๓๕ )

๑๐ (เครื่องหมายนาเลข, จุด ๒, จุด ๓๕๖)


๑๑๐

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)
ทักษะการเตรียมความพร้อมการเขียนอักษรเบรลล์
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม
๑. การเตรียม ๑. การใส่และเลื่อน ๑. สามารถใส่และเลื่อน ๑. ให้ผู้เรียนสัมผัสลักษณะของสเลท (slate) แถวและเซล
ความพร้อมการ กระดาษ กระดาษใน สเลท (slate) ได้ ๒. ให้ผู้เรียนวางสเลทในลักษณะพร้อมที่จะเขียน ด้วยการวางโดยบานพับไว้ทางขวา และ
เขียนอักษร อย่างถูกต้อง เปิดสเลท (Slate) ทางซ้าย ร่องหยักอยู่บน ด้านจุดนูนที่เป็นเบ้าอยู่ด้านล่าง
เบรลล์ ๓. ให้ผู้เรียนหัดเปิดและปิดสเลท (Slate) โดยการเปิดกระดาน สเลทให้วางในแนวพื้นราบ
๔. ให้ผู้เรียนหัดใส่กระดาษโดยการเปิดสเลท (Slate) ในแนวพื้นราบ มือซ้ายและขวาหาปุ่ม
ด้านบนซ้าย และขวาของสเลท (Slate) เลื่อนกระดาษขอบบนมาวางที่ปุ่มทั้งสอง กด
กระดาษลงบนปุ่ม จากนั้นใช้มือข้างซ้ายจับแผ่นบนของสเลท (Slate) ลงมาทับ กดสเลท
(Slate) จะได้ยินเสียง ของกระดาษกับปุ่มทั้งสี่ของสเลท (Slate)
๕. ให้ผู้เรียนหัดเปิดเอากระดาษออก โดยการเปิดสเลท (Slate) ด้านบนออกวางในแนวพื้น
ราบ โดยมือซ้ายส่วนมือขวาจับแผ่นล่างของสเลท (Slate) จากนั้นเอามือทั้งสองมาที่
ขอบบนของกระดาษแล้ว ยกกระดาษขึ้นออกจากสเลท (Slate)
๖. ให้ ผู้ เรียนเปิ ดสเลท ใส่ กระดาษ ปิด สเลท (Slate) ซ้าหลายครั้งจนผู้ เรียนเกิดความ
ชานาญ
๗. ให้ผู้เรียนเปิดสเลท ถอดกระดาษ ปิดสเลท ซ้าหลายครั้งจนผู้เรียนเกิดความชานาญ
๘. ให้ผู้เรียนหัดเลื่อนกระดาษจากสเลทที่หนึ่งไปยังสเลทช่ว งที่สองโดยการเปิดสเลท
(Slate) ด้านบนออกวางในแนวพื้นราบ โดยมือซ้าย ส่วนมือขวาจั บแผ่นล่างของสเลท
(Slate) จากนั้นเอามือทั้งสองมาที่ขอบล่างของกระดาษที่มีรอยปุ่มแล้ว ยกกระดาษขึ้น
ออกจากสเลทอย่างช้าๆ เลื่อนกระดาษขึ้นโดยให้ปุ่มที่จับอยู่ทั้งสองมือไปอยู่ปุ่มขอบบน
๑๑๑
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


ของกระดาษสเลทแทน จากนั้นเอมือซ้ายจับด้านบนของสเลท(Slate)ลงมาทับ กดสเลท
(Slate) จะได้ยินเสียง ของกระดาษกับปุ่มทั้งสี่ของสเลท(Slate)
๙. ให้ผู้เรียนทาเช่นนี้ ซ้าหลายครั้งจนผู้เรียนเกิดความชานาญ
๒. การจับสไตลัส ๑. สามารถจับสไตลัส ๑. ให้ผู้เรียนสัมผัสลักษณะดินสอสไตลัส (stylus) ว่าส่วนที่จับและส่วนที่เป็ นเหล็กแหลม
(stylus) ในการเขียนได้อย่าง สาหรับไว้กดลงในกระดาษ
ถูกวิธี ๒. ให้ผู้เรียนจับสไตลัส (stylus) โดยการวางนิ้วชี้ของมือขวาพาดไปบนหัวสไตลัส (stylus)
นิ้วหัวแม่มือวางแนบด้านข้าง ส่วนนิ้วที่เหลืองอเข้าหาสไตลัส
๓. ให้ผู้เรียนนั่งตัวตรง วางแขนช่วงล่างราบไปกับพื้น แขนส่วนบนและส่วนล่างงอทามุม
เล็กน้อย
๔. ให้ผู้เรียนจับสไตลัส (stylus) ด้วยมือซ้าย มือขวาจับช่องแรกของแถว บนสเลท (Slate)
ที่ใส่กระดาษแล้วมากดลงโดยให้น้าหนักการกดอยู่ที่นิ้วชี้ ใช้ข้อมือขยับขึ้นลง
๑๑๒

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)
ทักษะการเขียนอักษรเบรลล์
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม
๑. การเขียนอักษร ๑.๑ การเขียนพยัญชนะ ๑. สามารถเขียนพยัญชนะ ก จ ด ท ๑. ทบทวนการใส่กระดาษในสเลทและการจับดินสอให้ผู้เรียนใช้นิ้วชี้มือ
เบรลล์ไทย อักษรเบรลล์ภาษาไทย ได้ ขวาและมือซ้ายวางที่ช่องแรกบรรทัดแรกทางขวามือแล้วใช้นิ้วชี้ทั้งสอง
มือเลื่อนกันตามเซลจากขวามาซ้ายจนจบบรรทัดและถอยกลับมาที่ต้น
บรรทัดแล้วเลื่อนลงมาในบรรทัดต่อมาทาเช่นนี้จนเกิดความชานาญ
๒. ให้ผู้เรียนใช้นิ้วชี้มือซ้ายวางที่ช่องแรกบรรทัดแรกและมือขวาจับสไตรัส
วางที่ช่องแรกของบรรทัดทางขวามือแล้วให้ผู้เรียนกดลงในช่องเซล นิ้วชี้
ซ้ายเลื่อนไปทางขวาในเซลต่อมาแล้วให้สไตลัสกดลงในช่อง เขียนจาก
ขวามาซ้ายจนจบบรรทัดและถอยกลับมาที่ต้นบรรทัดแล้วเลื่อนลงมาใน
บรรทัดต่อมาทาเช่นนี้จนเกิดความชานาญ
๓. ให้ผู้เรียนเขียนจุดเบรลล์ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖ ในช่องเซลโดยตามตาแหน่ง
นับจาก ขวามือบนลงล่างคือจุด ๑, ๒, ๓ ทางซ้ายมือจากบนลงล่าง ๔,
๕, ๖ ทาเช่นนี้จนเกิดความชานาญ
๔. ให้ผู้เรียนเขียนอักษรเบรลล์ในกลุ่ม ๑, ๒, ๔, ๕ ได้แก่ ก (จุด ๑, ๒, ๔,
๕) จ (จุด ๒, ๔, ๕) ด (จุด ๑, ๔, ๕) ห (จุด ๑, ๒, ๕)
๒. สามารถเขียนพยัญชนะ ข ฉ ถ ทบทวนการใส่กระดาษในสเลทและการจับดินสอให้ผู้เรียนใช้นิ้วชี้มือขวา
น ม ร ล ส อ ได้ และมือซ้ายวางที่ช่องแรกบรรทัดแรกทางขวามือแล้วใช้นิ้วชี้ทั้งสองมือเลื่อน
๑๑๓
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนืแนวการจั
้อหา ดกิจกรรมการเรียพันรู ้ทักษะจาเป็
ฒนาการที นเฉพาะส
่คาดหวั ง าหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็ น (ต่อด)กิจกรรม
แนวทางการจั
กันตามเซลจากขวามาซ้ายจนจบบรรทัดและถอยกลับมาที่ต้นแนวการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่อง
ทางการเห็น (ต่อ)
๑. บรรทัดแล้วเลื่อนลงมาในบรรทัดต่อมาทาเช่นนี้จนเกิดความชานาญ
ให้ผู้เรียนใช้นิ้วชี้มือซ้ายวางที่ช่องแรกบรรทัดแรกและมือขวาจับสไตรัสแนว
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความ
บกพร่องทางการเห็น (ต่อ)
๒. วางที่ช่องแรกของบรรทัดทางขวามือแล้วให้ผู้เรียนกดลงในช่องเซล นิ้วชี้
ซ้ายเลื่อนไปทางขวาในเซลต่อมาแล้วให้สไตลัสกดลงในช่อง เขียนจาก
ขวามาซ้ายจนจบบรรทัดและถอยกลับมาที่ต้นบรรทัดแล้วเลื่อนลงมาใน
บรรทัดต่อมาทาเช่นนี้จนเกิดความชานาญ
๓. ให้ผู้เรียนเขียนจุดเบรลล์ ๑๒๓๔๕๖ ในช่องเซลโดยตามตาแหน่งนับจาก
ขวามือบนลงล่างคือจุด ๑๒๓ ทางซ้ายมือจากบนลงล่าง ๔๕๖ ทาเช่นนี้
จนเกิดความชานาญ
๔. ให้ผู้เรียนเขียนอักษรเบรลล์ในกลุ่ม ๑๒๓๔๕ ได้แก่ ข (จุด ๑} ๓) ฉ (จุด
๓} ๔) ถ (จุด ๒, ๓, ๔, ๕) น (จุด ๑, ๓, ๔, ๕) ม (จุด ๑, ๓, ๔) ร (จุด
๑, ๒, ๓, ๕) ล (จุด ๑, ๒, ๓) ส (จุด ๒, ๓, ๔) อ (จุด ๑, ๒, ๓, ๕)
๑๑๔
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


๓. สามารถเขียนพยัญชนะ ค ง ช ซ ๑. ทบทวนการใส่กระดาษในสเลทและการจับดินสอให้ผู้เรียนใช้นิ้วชี้มือ
ต ท บ ป ผ ฝ พ ฟ ว ฮ ได้ ขวาและมือซ้ายวางที่ช่องแรกบรรทัดแรกทางขวามือแล้วใช้นิ้วชี้ทั้งสอง
มือเลื่อนกันตามเซลจากขวามาซ้ายจนจบบรรทัดและถอยกลับมาที่ต้น
บรรทัดแล้วเลื่อนลงมาในบรรทัดต่อมาทาเช่นนี้จนเกิดความชานาญ
๒. ให้ผู้เรียนใช้นิ้วชี้มือซ้ายวางที่ช่องแรกบรรทัดแรกและมือขวาจับสไตรัส
วางที่ช่องแรกของบรรทัดทางขวามือแล้วให้ผู้เรียนกดลงในช่องเซล นิ้วชี้
ซ้ายเลื่อนไปทางขวาในเซลต่อมาแล้วให้สไตลัสกดลงในช่อง เขียนจาก
ขวามาซ้ายจนจบบรรทัดและถอยกลับมาที่ต้นบรรทัดแล้วเลื่อนลงมาใน
บรรทัดต่อมาทาเช่นนี้จนเกิดความชานาญ
๓. ให้ผู้เรียนเขียนจุดเบรลล์ ๑๒๓๔๕๖ ในช่องเซลโดยตามตาแหน่งนับจาก
ขวามือบนลงล่างคือจุด ๑๒๓ ทางซ้ายมือจากบนลงล่าง ๔๕๖ ทาเช่นนี้
จนเกิดความชานาญ
๔. ให้ผู้เรียนเขียนอักษรเบรลล์ในกลุ่ม ๑๒๓๔๕๖ ได้แก่ ค (จุด ๑๓๖) ง
(จุด ๑๒๔๕๖) ช (จุด ๓๔๖) ซ (จุด ๒๓๔๖) ต (จุด ๑๒๕๖) ท (จุด
๒๓๔๕๖) บ (จุด ๑๒๓๖ ) ป (จุด ๑๒๓๔๖) ผ (จุด ๑๒๓๔ ) ฝ (จุด
๑๓๔๖) พ (จุด ๑๔๕๖) ฟ (จุด ๑๒๔๖) ว (จุด ๒๔๕๖) ฮ (จุด
๑๒๓๔๕๖)
๑๑๕

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)
ทักษะการใช้ลูกคิด
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม
๑. การใช้ลูกคิด ๑.๑ ส่วนประกอบและ ๑. สามารถบอกส่วนประกอบของ ผู้สอนธิบายให้ผู้เรียนรู้จักประเภทของลูกคิดจีนและลูกคิดญี่ปุ่น
ประเภทของลูกคิด ลูกคิดได้ ผู้สอนอธิบายส่วนประกอบของลูกคิดให้ผู้เรียนรู้จัก พร้อมทั้งจับมือผู้เรียน
ให้สัมผัสลูกคิดในแต่ละส่วน โดยส่วนประกอบของลูกคิดประกอบด้วย
ส่วนต่าง ๆ ตามรายละเอียดในภาพ

Frameคือ ขอบ (กรอบ) ราง


Upper Deck คือ กรอบรางตอนบน
Lower Deck คือ กรอบรางตอนล่าง
Beam คือ แนวกั้น
Rods คือ หลัก(แกนราง)
Beads คือ เม็ดลูกคิด
๑๑๖
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


๒. สามารถบอกประเภทของลูกคิด ผู้สอนนาลูกคิดประเภทต่าง ๆ มาให้ผู้เรียนรู้จัก พร้อมทั้งให้ผู้เรียนได้
ได้ สัมผัสลูกคิดประเภทต่าง ๆ โดยลูกคิดมี ๒ ประเภท คือ
๑. ลูกคิดญี่ปุ่น มีลักษณะแบ่งเป็น ๒ ส่วนคือ ส่วนบนประกอบด้วยเม็ด
ลูกคิด 1 เม็ดในแต่ละหลัก ส่วนล่างประกอบเม็ดลูกคิด 4 เม็ดในแต่ละ
หลัก
๒. ลูกคิดจีน มีลักษณะแบ่งเป็น ๒ ส่วนคือ ส่วนบนประกอบด้วยเม็ด
ลูกคิด ๒ เม็ดในแต่ละหลัก ส่วนล่างประกอบเม็ดลูกคิด ๕ เม็ดในแต่ละ
หลัก
๓. ผู้เรียนสามารถบอกหลักของ ๑. ผู้สอนจับมือผู้เรียนสัมผัสหลักของลูกคิดแต่ละหลัก เช่น หลักหน่วย
ลูกคิด หลักสิบ หลักร้อย
๒. ให้นักเรียนสัมผัสจากขวามาซ้าย เช่น แถวลูกคิดที่อยู่ด้านขวาสุด
เรียกว่า หลักหน่วย แถวที่ ๒ ถัดมาทางซ้าย เรียกว่า หลักสิบแถวที่
๓ ถัดมาทางซ้าย เรียกว่า หลักร้อย
๑.๒ การอ่านค่าของลูกคิด ๑. สามารถตั้งลูกคิดได้ ๑. ผู้สอนอธิบายและสาธิตวิธีการใช้นิ้วเพื่อตั้งลูกคิดให้ผู้เรียนเข้าใจ โดย
วิธีการตั้งลูกคิดต้องใช้นิ้วในการดีดลูกคิด ซึ่งใช้นิ้ว ๓ นิ้วช่วยกัน คือ
นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ และนิ้วกลาง การใช้นิ้วทั้ง ๓ ในการดีดลูกคิดจะแบ่ง
หน้าที่กัน ดังนี้
- นิ้วหัวแม่มือ ใช้สาหรับดีดลูกคิดตอนล่างขึ้น
- นิ้วชีใ้ ช้สาหรับดีดลูกคิดตอนบนและตอนล่างลง และช่วย
นิ้วหัวแม่มือจับลูกคิดตอนล่างขึ้น
๑๑๗
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวทางการจัดกิจกรรม


- นิ้วกลาง ใช้สาหรับดีดลูกคิดตอนบนขึ้น

- การดีดลูกคิด ต้องจัดลูกคิดตอนบนเลื่อนขึ้นไปติดขอบบน และ


ลูกคิดตอนล่างเลื่อนไปติดขอบล่าง โดยปล่อยตรงกลางระหว่าง
แนวกั้นว่างไว้ เวลาตั้งลูกคิดคิดจะเลื่อนลูกคิดไปติดแนวกั้น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกตั้งลูกคิดจานวนง่าย ๆ จนผู้เรียนชานาญ

๒. สามารถอ่านค่าของลูกคิดที่ไม่ ๑. ผู้สอนอธิบายหลักการอ่านค่าลูกคิดให้ผู้เรียนฟัง โดยการอ่านค่าลูกคิด


เกินหลักสิบได้ นั้น มักกาหนดให้หลักหน่วยอยู่ชิดขอบขวามือ แล้วนับหลักถัดไปทาง
ซ้ายมือเป็นหลักสิบ ตามลาดับ ซึง่ ค่าของลูกคิด กาหนดดังนี้
- แถวบนมี ๑ เม็ด ในแต่ละหลัก มีค่าเท่ากับ ๕ เช่น หลักหน่วย
เท่ากับ ๕ หลักสิบเท่ากับ ๕๐
- แถวล่างมี ๔ เม็ด ในแต่ละหลัก มีค่าเท่ากับ ๑ เช่น หลักหน่วย
เท่ากับ ๑ หลักสิบ เท่ากับ ๑๐
๒. ผู้สอนตั้งลูกคิดจานวนที่ไม่เกินหลักสิบทีละจานวน แล้วให้ผู้เรียนอ่าน
ตาม
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนตั้งลูกคิดที่ไม่เกินหลักสิบทีละจานวน แล้วให้ผู้เรียน
อ่านเอง โดยมีผู้สอนคอยช่วยเหลือ
๑๑๘

ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน

๑. คาอธิบายรายทักษะ
ทักษะจาเป็นเฉพาะเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน เป็นการพัฒนาทักษะการฟัง การพูด การใช้เครื่องช่วยฟัง การใช้ประสาทหูเทียม และการ
ใช้ภาษามือ
โดยใช้กระบวนการ การปฏิบัติจริง การสาธิต การวิเคราะห์งาน และการบูรณาการเน้นผู้เ รียนเป็นสาคัญ จากผู้มีความชานาญเฉพาะด้าน มีทีมสห
วิทยาการ ผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ใช้ภาษาในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม สนใจต่อการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว เล่นและทากิจกรรมร่วมกับ
ผู้อื่นได้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบ การคิดแก้ปัญหา และดารงชีวิตประจาวันได้อย่างอิสระและมีความสุข

๒.วัตถุประสงค์รายทักษะ
๑. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษามือเบื้องต้นในการสื่อสาร บอกความต้องการ ความรู้สึกแก่บุคคลอื่น และมีทักษะภาษามือพื้นฐานในการเรียนรู้ภาษามือ
ระดับอื่นๆ ต่อไป
๒. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้การได้ยินส่วนที่เหลืออยู่ได้เต็มศักยภาพ กระตุ้นพัฒนาการการฟัง การพูด เพื่อใช้ในการสื่อสารและการเรีย นรู้ในชีวิตประจาวัน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้และดูแลเครื่องช่วยฟังหรือประสาทหูเทียมได้ด้วยตนเอง
๔. เพื่อให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการศึกษาระดับสูงขึ้น
๑๑๙

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑. การฟัง ๑.๑.ตระหนักรู้ว่ามีเสียง ๑. สามารถแสดงออกได้ว่า มีเสียง ๑. ผู้สอนสร้างความตระหนักรู้ให้ผู้เรียนรู้ว่ามีเสียงโดยให้ผู้เรียนฟังเสียง
หรือ ไม่มีเสียง หรือ ไม่มีเสียง ต่างๆ ที่เกิดขึ้นรอบๆตัว แล้วผู้เรียนจะตอบสนองต่อเสียงนั้น ผู้สอน
สังเกตปฏิกิริยาของผู้เรียน เช่น การยิ้ม การเคลื่อนไหวของตา
- เสียงต่าที่ดังมากเช่น เสียงกลอง ระฆัง กรับ ระยะยะห่างต่างๆกัน
ระดับเดียวกับหู
- เสียงที่ดังและมีจังหวะที่ชัดเจน เช่นเสียงเพลงปลุกใจ เพลงมาร์ช
- เสียงดังภายในบ้าน เช่น เสียงเครื่องปั่นน้าผลไม้ เสียงตาในครก
เครื่องดูดฝุ่น โทรทัศน์ วิทยุ
- เสียงภายนอกบ้าน เช่นเสียงรถยนต์ เครื่องบิน รถตารวจ
รถพยาบาล เสียงนกร้อง
- เสียงพูด
๑.๒ เชื่อมโยงความหมาย ๑. สามารถแสดงออก เมื่อได้ยิน ๑. ผู้สอนใช้เสียงที่สื่อความหมายเช่น เสียงดนตรี เสียงเพลง เสียงปรบมือ
ของเสียง เสียงที่มีความหมาย ผู้เรียนแสดงออก โดยการโยกตัว เต้น ขยับตามจังหวะ
๒. ผู้สอนทาเสียงง่ายๆที่มีความหมาย เช่น จุ๊ ๆ บ๊าย-บาย ยิ้มหน่อย
ผู้เรียนแสดงออกตามเสียง
๓. ผู้สอนเรียกชื่อผู้เรียน ผู้เรียนยิ้ม มองตาม หรือแสดงท่าทางว่าเป็นชื่อ
ตัวเอง
๑๒๐
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑.๓ การจาแนกเสียง ๑. สามารถแสดงออกได้ว่าเสียงที่ได้ ๑. ผู้สอนสาธิตพร้อมกับแนะนาอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจที่มาของเสียงว่ามา
ยินมาจากทิศทางใด จากทิศทางไหน โดยครูผู้สอนใช้อุปกรณ์ที่ทาให้เกิดเสียงในทิศทาง
ต่างๆ ให้ผู้เรียนเรียนรู้ว่ามีเสียงเกิดขึ้น
ผู้สอน สังเกตปฏิกิริยาของผู้เรียน เช่น การหันตามเสียง
๒. สามารถจาแนกเสียงดังและเสียง ๑. ผู้สอนสาธิตพร้อมกับอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจระดับความดัง - ค่อย ของ
ค่อย เสียง ที่แตกต่างกัน โดยผู้สอนสาธิตพร้อมกับการสร้างสถานการณ์
เสียงชนิดต่างๆ เช่น เสียงที่มีความหมาย และเสียงที่ไม่มีความหมาย
๓. สามารถจาแนกเสียงพูดบุคคลที่ ๑. ผู้สอนให้ฟังเสียงบุคคลที่คุ้นเคย ผู้เรียนบอกเสียงบุคคลนั้นได้ด้วย
คุ้นเคยได้ ตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๒. ผู้สอนให้ฟังเสียง และให้ดูรูปภาพบุคคล แล้วให้ผู้เรียน เลือกรูปภาพ
บุคคลให้ตรงกับเสียงที่ได้ยิน ได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๔. สามารถจาแนกเสียงดนตรีได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนได้ดูและสัมผัสเครื่องดนตรี พร้อมกับฟังเสียงของเครื่อง
ดนตรี
๒. ผู้สอนให้ฟังเสียงดนตรีจากวิดีทัศน์ ผู้เรียนบอกความแตกต่างของเสียง
สองเสียงได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๓. ผู้สอนให้ฟังเสียงดนตรีและให้ดูรูปภาพเครื่องดนตรี แล้วให้ผู้เรียน
เลือกรูปภาพให้ตรงกับเสียงที่ได้ยิน ได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๕. สามารถจาแนกความแตกต่างของ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนดู /ฟังเสียงสัตว์ /ผู้เรียนบอกชื่อและเสียงของสัตว์นั้น
เสียงสัตว์ชนิดต่างๆที่กาหนดให้ได้
๑๒๑
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๒. ผู้สอนกาหนดเหตุการณ์สมมติ หรือพาไปทัศนศึกษาตามแหล่งเรียนรู้
เช่น อุทยานแห่งชาติ สวนสัตว์ เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นและฟังเสียงสัตว์
จากประสบการณ์จริง
๓. ผู้สอนให้ฟังเสียงสัตว์ และให้ดูรูปภาพสัตว์ แล้วให้ผู้เรียนเลือกรูปภาพ
ให้ตรงกับเสียงที่ได้ยิน
๖. สามารถจาแนกความแตกต่างของ ๑. ผู้สอนให้ฟังเสียงยานพาหนะผู้สอนแนะนาชื่อชนิดของเครื่องยนต์นั้น
เสียงยานพาหนะประเภทต่างๆ ที่ โดยใช้รูปภาพประกอบ ผู้เรียนบอกประเภทของยานพาหนะ
กาหนดให้ได้ ๒. ผู้สอนให้ฟังเสียงยานพาหนะ และให้ดูรูปภาพยานพาหนะ แล้วให้
ผู้เรียน เลือกรูปภาพให้ตรงกับเสียงที่ได้ยิน
๗. สามารถจาแนกเสียงที่เกิดจาก ๑. ผู้สอนให้ฟงั เสียงที่เกิดจากธรรมชาติ จากแถบบันทึกเสียง ประกอบ
ธรรมชาติได้ รูปภาพ ผู้เรียนบอกเสียงธรรมชาติที่ได้ยินนั้น
๒. ผู้สอนกาหนดเหตุการณ์สมมติ หรือพาไปทัศนศึกษาตามแหล่งเรียน
เช่นอุทยานแห่งชาติ สวนสัตว์ สวนป่ารุกชาติ ให้ผู้เรียนได้สัมผัสเสียง
ตามธรรมชาติ
๘. สามารถจาแนกระดับของเสียง ๑. ผู้สอนให้ฟังเสียงที่เปิดจากเครื่องกาเนิดเสียง แล้วผู้เรียนบอกระดับ
เบา-ดังได้ เสียงที่ได้ยิน
๒. เมื่อเปิดวิทยุ /เครื่องเสียง แล้วให้ผ็เรียนปรับตามระดับของเสียงเบา /
ดัง ตามที่ตนเองได้ยิน ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
๑๒๒
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. การพูด ๒.๑ การออกเสียง ๑. สามารถเปล่งเสียงดัง /เปล่งเสียง ๑. ผู้สอนเมื่อกระตุ้นให้ออกเสียงโดยใช้เครื่องช่วยฝึกพูด ผู้เรียนออกเสียง
เบา/ เปล่งเสียงสูง/เปล่งเสียงต่า ได้ อ้อแอ้ตาม
๒. ผู้สอนให้เลียนแบบการออกเสียงตามรูปปากหรือเล่นคา เล่นเสียง
ผู้เรียน เลียนแบบการออกเสียงตามรูปปากหรือเล่นคา เล่นเสียง เช่น
อา อู อี ไอ เอา เป็นต้น ได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ / ใช้
เครื่องช่วยฝึกพูด
๓. ผู้สอนให้เลียนแบบการเปล่งเสียงดัง เบา สูง ต่า ผู้เรียน เลียนแบบการ
เปล่งเสียงตาม
๒.๒ การฝึกลมหายใจ ๑. สามารถควบคุมการหายใจเข้า ๑. ผู้สอนจัดกิจกรรมที่มีการสูดลมหายใจเข้า – ออก เป็นจังหวะ ผู้เรียน
– ออก ได้ถูกวิธี ทากิจกรรมที่มีสูดลมหายใจเข้า – ออกได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
เช่น การเป่าลูกโป่ง การเป่าขนนก การเป่ากบ การเป่าฟองสบู่
เป้นต้น
๒.๓ การฝึกกลั้นหรือกักลม ๑. สามารถกลัน้ หรือกักลมหายใจที่ ๑. ผู้สอนให้ทากิจกรรมที่ต้องมีการกลั้นลมหายใจ ผู้เรียน ทากิจกรรมที่มี
หายใจ ถูกต้องได้ การกลั้นหรือกักลมหายใจได้ด้วยตนเอง/ มีผู้ช่วยเหลือ เช่น การเล่นตี
จับ การนั่งสมาธิเข้าออก การออกเสียงโน๊ตดนตรี เสียงสระต่างๆ
เช่น อา อี อู โอ เป็นต้น
๑๒๓
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (ต่อ)
ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม
๒.๔ การออกเสียงพยัญชนะ ๑. สามารถออกเสียงพยัญชนะที่เกิด ๑. ผู้สอนให้เลียนแบบการออกเสียงพยัญชนะที่เกิดจากเสียงผู้เรียนออก
ที่เกิดจากเสียงนาสิก จากเสียงนาสิกได้ เสียงเลียนแบบเสียงได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๒. ผู้สอนให้ออกเสียงพยัญชนะ ผู้เรียน บอกพยัญชนะที่เกิดจากเสียง
นาสิกได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
๒.๕ การเปรียบเทียบเสียง ๑. สามารถเปรียบเทียบเสียง ๑. ผู้สอนให้ออกเสียงพยัญชนะที่เกิดจากเสียงนาสิกกับพยัญชนะอื่น
พยัญชนะ พยัญชนะที่เกิดจากเสียงนาสิกกับ ผู้เรียน บอกพยัญชนะที่เกิดจากเสียงนาสิกได้ ด้วยตนเอง/มีผู้
พยัญชนะอื่นได้ ช่วยเหลือแนะนา
๒.๖ การออกเสียงพยัญชนะ ๑. สามารถออกเสียงสระ เสียงสั้น ๑. ผู้สอนสอนการออกเสียงพยัญชนะ นาสิก ผู้เรียน บอกพยัญชนะที่เกิด
สระ และวรรณยุกต์ (ต่อ) เสียงยาวได้ จากเสียงนาสิกได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือแนะนา
๒. ผู้สอนให้ออกเสียงพยัญชนะเสียงกลาง ผ็เรียน ออกเสียงตามฐานกรณ์
ได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๓. ผู้สอนให้ออกเสียงพยัญชนะเสียงต่า ผู้เรียนออกเสียงตามฐานกรณ์ได้
ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๒.๗ การออกเสียงพยัญชนะ ๑. สามารถออกเสียงสระ เสียงสั้น ๑. ผู้สอนให้ออกเสียงสระเสียงสั้น อะอิ อุ เอ เอา ผู้เรียน ออกเสียงได้
สระ และวรรณยุกต์ (ต่อ) เสียงยาวได้ ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๒. ผู้สอนให้ออกเสียงสระเสียงยาว อา อี อู ออ ไอ โอ ผู้เรียน ออกเสียง
ได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๑๒๔
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. สามารถผันเสียงวรรณยุกต์ได้ ๑. ให้ผันเสียงวรรณยุกต์ เอก ผู้เรียนผันเสียงวรรณยุกต์ได้ด้วยตนเอง /
มีผู้ช่วยเหลือ
๒. ให้ผันเสียงวรรณยุกต์ โท ผู้เรียนผันเสียงวรรณยุกต์ได้ด้วยตนเอง /
มีผู้ช่วยเหลือ
๓. ให้ผันเสียงวรรณยุกต์ ตรี ผู้เรียนผันเสียงวรรณยุกต์ได้ด้วยตนเอง /
มีผู้ช่วยเหลือ
๔. ให้ผันเสียงวรรณยุกต์ เอก โท ตรี จัตวา ผู้เรียนผันเสียงวรรณยุกต์ได้
ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
๒.๘ การจัดรูปริมฝีปาก ๑. สามารถเปรียบเทียบรูปปากได้ ๑. เมื่อทารูปปาก คาที่มีรูปปากเหมือนกันสองครั้ง ผู้เรียน บอกได้ว่า
มีรูปปากเหมือนกันได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๒. เมื่อทารูปปาก คาที่มีรูปปากต่างกันสองคา ผู้เรียน บอกได้ว่ามีรูปปาก
ต่างกัน ได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๓. เมื่อทารูปปาก ผู้เรียน ชี้หรือบอกคาตามรูปปากนั้นได้ด้วยตนเอง/
มีผู้ช่วยเหลือ
๒.๙ การอ่านริมฝีปาก ๑. สามารถอ่านริมฝีปากได้ ๑. ผู้สอนจัดกิจกรรม การอ่านริมฝีปากหน้ากระจกเงา ให้ผู้เรียน
ปฏิบัติตาม
๒. เมื่อพูดเป็นคา ผู้เรียนอ่านริมฝีปากได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๓. เมื่อพูดเป็นวลี ผู้เรียนอ่านริมฝีปากได้ด้วยตนเอง/ มีผู้ช่วยเหลือ
๑๒๕
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔. เมื่อพูดเป็นประโยค ผู้เรียน อ่านริมฝีปากได้ด้วยตนเอง /มีผู้ช่วยเหลือ
๒.๑๐ การพูดเป็นคา ๑. สามารถพูดออกเสียงเป็นคาได้ ๑. ผู้สอนและผู้เรียน นั่งหน้ากระจก หรือนั่งหันหน้าชนกันโดยให้สังเกตริม
ฝีปากของครู
๒. ผู้สอนพูดออกเสียงคาศัพท์หนึ่งพยางค์ /สองพยางค์ให้ผู้เรียน พูดตามที
ละคา โดยครูแก้ไขการพูดให้กับผู้เรียนโดยครูอาจใช้สื่อประกอบการ
สอนตามความเหมาะสมเช่น เครื่องช่วยฝึกพูด
๓. ผู้สอนให้พดู เป็นคาตามบัตรภาพ ผู้เรียนเป็นคาได้ด้วยตนเอง/
มีผู้ช่วยเหลือหรือใช้เครื่องช่วยฝึกพูด
๔. ผู้สอนจัดกิจกรรมการฝึกออกเสียงเป็นคาโดยใช้เครื่องช่วยฝึกพูด
ให้ผู้เรียนและผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
ผู้สอนพาฝึกปฏิบัติ
๒.๑๑ การออกเสียงเป็นวลี ๑. สามารถพูดออกเสียงเป็นวลีได้ ๑. ผู้สอนและผู้เรียนนั่งหน้ากระจกหรือนั่งหันหน้าชนกัน โดยให้ผู้เรียน
สังเกตริมฝีปากของผู้สอน
๒. ผู้สอนพูดออกเสียงคาศัพท์ที่เป็นคาวลีให้ผู้เรียนพูดตามที่ละคา โดยครู
แก้ไขการพูดให้กับผู้เรียนโดยครูอาจใช้สื่อประกอบการสอนตามความ
เหมาะสม/ ใช้เครื่องช่วยฝึกพูด
๓. ให้พูดเป็นวลี ผู้เรียน พูดเป็นวลีได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ / ใช้
เครื่องช่วยฝึกพูด
๑๒๖
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒.๑๒ การพูดเป็นประโยค ๑. สามารถพูดออกเสียงเป็นประโยค ๑. ผู้สอนและผู้เรียนนั่งหน้ากระจกหรือนั่งหันหน้าชนกัน โดยให้ผู้เรียน
ได้ สังเกตริม ฝีปากของผู้สอน
๒. ผู้สอนพูดออกเสียงคาศัพท์ที่เป็นประโยคให้ผู้เรียนพูดตามที่ละประโยค
โดยครูแก้ไขการพูดให้กับผู้เรียนโดยผู้สอนอาจใช้สื่อประกอบการสอน
ตามความเหมาะสมเช่นเครื่องช่วยฝึกพูด
๓. ให้พูดเป็นประโยค ผู้เรียนพูดเป็นประโยคได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
๒.๑๓ การเล่าเรื่อง ๑. สามารถเล่านิทาน เหตุการณ์และ ๑. ผู้สอนยกบัตรภาพแล้วให้ฝึกเล่านิทานโดยพูดทีละคา ผู้เรียน เล่า
สิ่งที่สนใจให้ผู้อื่นฟังได้ นิทานได้ด้วยตนเอง/ มีผู้ช่วยเหลือ
๒. ผู้สอนให้เล่าเหตุการณ์ที่ผ่านมาในชีวิตประจาวันง่ายๆ ผู้เรียนเล่า
เหตุการณ์ได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๓. ผู้สอนให้เล่าสิ่งที่สนใจ ผู้เรียนเล่าสิ่งที่สนใจได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๓.การใช้เครื่องช่วย ๓.๑. การใช้เครื่องช่วยฟัง ๑. สามารถใส่เครื่องช่วยฟังได้อย่าง ๑. ผู้สอนอธิบายขั้นตอนการใส่เครื่องช่วยฟัง
ฟัง ถูกต้อง ๒. ผูส้ อนสาธิตการใส่เครื่องช่วยฟัง แล้วให้ผู้เรียนฝึกใส่เครื่องช่วยฟัง
ตามครู
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกใส่เครื่องช่วยฟังด้วยตนเอง
๒. สามารถเปิด ปิด เครื่องช่วยฟังได้ ๑. ผู้สอนอธิบายขั้นตอนการเปิดปิดเครื่องช่วยฟัง
๒. ผู้สอนสาธิตการการเปิดปิดเครื่องช่วยฟังแล้วให้ผู้เรียนฝึกการเปิดปิด
เครื่องช่วยฟังตามครู
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกใส่การเปิดปิดเครื่องช่วยฟังด้วยตนเอง
๑๒๗
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓. สามารถปรับระดับเสียง ๑. ผู้สอนอธิบายขั้นตอนการปรับระดับเสียงเครื่องช่วยฟัง
เครื่องช่วยฟังได้ ๒. ผู้สอนสาธิตการการปรับระดับเสียงเครื่องช่วยฟังแล้วให้ผู้เรียนฝึกการ
ปรับระดับเสียงเครื่องช่วยฟัง
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกใส่การปรับระดับเสียงเครื่องช่วยฟังด้วยตนเอง
๔. สามารถบอกได้ว่าเครื่องช่วยฟัง ๑. ผู้สอนอธิบาย
ขัดข้อง ๒. เมือ่ เครื่องช่วยฟังที่ขัดข้อง ผู้เรียนบอกได้ว่ามีความขัดข้อง เช่น เสียง
ขาดหาย เปิดไม่ติด ไม่ได้ยินเสียงเป็นต้น
๓.๒. การดูแลรักษา ๑. สามารถดูแลรักษาเครื่องช่วยฟังได้ ๑. ผู้สอนสอนให้ผู้เรียนใช้เครื่องช่วยฟังเสร็จแล้ว ผู้เรียนทาความสะอาดหู
เครื่องช่วยฟัง อย่างถูกวิธี ฟังได้อย่างถูกวิธีด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ

๒. สามารถเปลี่ยนแบตเตอรี่ ๑. ผู้สอนสอนให้ผู้เรียนเปลี่ยนแบตเตอรี่เครื่องช่วยฟัง ผู้เรียนเปลี่ยน


เครื่องช่วยฟังได้ แบตเตอรี่เครื่องช่วยฟัง
๒. เมื่อแบตเตอรี่เครื่องช่วยฟังหมด ผู้เรียนสามารถเปลี่ยนแบตเตอรี่
เครื่องช่วยฟังได้ด้วยตนเอง หรือมีผู้สอนคอยช่วยเหลือ
๓. สามารถเก็บเครื่องช่วยฟังไว้ในที่ ๑. เมื่อให้ผู้เรียนเก็บเครื่องช่วยฟัง ผู้เรียนสามารถเก็บเครื่องช่วยฟังได้
เหมาะสมได้ อย่างถูกวิธีด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
๑๒๘
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔. การใช้ภาษามือ ๔.๑ การใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. สามารถใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. ผู้สอนสอนเมื่อให้แนะนาตนเอง โดยใช้ภาษามือ ผู้เรียนใช้ภาษามือ
สื่อสารเกี่ยวกับตนเองและ สื่อสารเกี่ยวกับตนเองและครอบครัว แนะนาตนเองได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
ครอบครัว ได้ ๒. ผู้สอนสอนให้ผู้เรียนรู้จักบุคคลในครอบครัว โดยดูรูปภาพบุคคลใน
ครอบครัว ของผู้เรียน โดยใช้ภาษามือ ผู้เรียน ใช้ภาษามือสื่อสาร
บอกความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัวได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
๓. ผู้สอนสอนให้บอกความสัมพันธ์ของตนเองกับบุคคลในครอบครัวโดยใช้
ภาษามือ ผู้เรียนใช้ภาษามือบอกได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๔.๒ การใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. สามารถใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนดูรูปภาพเครื่องแต่งกาย ของผู้เรียนโดยใช้ภาษามือ
สื่อสารเกี่ยวกับการแต่งกาย สื่อสารเกี่ยวกับการแต่งกายได้ ผู้เรียน ใช้ภาษามือบอกเครื่องแต่งกายเหล่านั้นได้ด้วยตนเอง /
มีผู้ช่วยเหลือ
๒. เมื่อให้บอกเกี่ยวกับเครื่องแต่งกายของตนเอง ผู้เรียน ใช้ภาษามือ
บอกได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
๔.๓ การใช้ภาษามือเพื่อ ๑. สามารถใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. ผู้สอนสอนให้ดูรูปภาพสิ่งของ เครื่องใช้ ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้
การสื่อสาร เกี่ยวกับสิ่งของ สื่อสารเกี่ยวกับสิ่งของ เครื่องใช้ ภาษามือ ผู้เรียน ใช้ภาษามือบอกตาม ได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
เครื่องใช้ ที่ใช้ใน ที่ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ๒. เมื่อให้บอกเกี่ยวกับชนิดของ สิ่งของ เครื่องใช้ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
ชีวิตประจาวัน
ผู้เรียน ใช้ภาษามือบอก ได้ด้วยตนเอง /มีผู้ช่วยเหลือ
๑๒๙
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔.๔ การใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. สามารถใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. ผู้สอนสอนให้ดูรูปภาพอาหาร โดยใช้ภาษามือ ผู้เรียนใช้ภาษามือบอก
สื่อสารเกี่ยวกับอาหาร สื่อสารเกี่ยวกับอาหารได้ ตาม ได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
๒. เมื่อให้บอกเกี่ยวกับชนิดของ สิ่งของ เครื่องใช้ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
ผู้เรียน ใช้ภาษามือบอก ได้ด้วยตนเอง /มีผู้ช่วยเหลือ
๔.๕ การใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. สามารถใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. ผู้สอนสอนให้ดูรูปภาพผัก ผลไม้ โดยใช้ภาษามือผู้เรียนใช้ภาษามือ
สื่อสารเกี่ยวกับผัก ผลไม้ สื่อสารเกี่ยวกับผัก ผลไม้ได้ บอกได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
๒. เมื่อกาหนดสถานการณ์สมมติ เกี่ยวกับ ผัก ผลไม้ ผู้เรียนใช้ภาษามือ
บอกได้ด้วยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ
4.6 การใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. สามารถใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. ผู้สอนให้ดูรูปภาพสัตว์ แนะนาสัตว์ชนิดต่างๆ โดยใช้ภาษามือ
สื่อสารเกี่ยวกับสัตว์ สื่อสารเกี่ยวกับสัตว์ได้ ผู้เรียนใช้ภาษามือบอกตามด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
๔.๗ การใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. สามารถใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. ผู้สอนแนะนาสีชนิดต่างๆ โดยใช้ภาษามือ ให้ผู้เรียนใช้ภาษามือ
สื่อสารเกี่ยวกับสี สื่อสารเกี่ยวกับสีได้ บอกตามด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
๔.๘ การใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. สามารถใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. ผู้สอนสอนให้ดูรูปภาพรูปทรงเรขาคณิต โดยใช้ภาษามือ
สื่อสารเกี่ยวกับรูปทรง สื่อสารเกี่ยวกับรูปทรงเรขาคณิตได้ ให้ผู้เรียน ใช้ภาษามือบอกตามด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
เรขาคณิต
๑๓๐
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔.๙ การใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. สามารถใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. ผู้สอนสอนตัวเลข โดยใช้ภาษามือ ประกอบบัตรภาพตัวเลข
สื่อสารเกี่ยวกับการนับ สื่อสารเกี่ยวกับการนับจานวนได้ ผู้เรียนใช้ภาษามือบอกตามด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
จานวน
๔.๑๐ การใช้ภาษามือเพื่อ ๑. สามารถใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. ผู้สอนสอนพยัญชนะโดยให้ดูบัตรภาพพยัญชนะ และแนะนา
การสื่อสารเกี่ยวกับ สื่อสารเกี่ยวกับพยัญชนะภาษามือได้ ท่าภาษามือ ผู้เรียนใช้ภาษามือบอกตามได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
พยัญชนะภาษามือ
๔.๑๑ การใช้ภาษามือเพื่อ ๑. สามารถใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. ผู้สอน เรื่องสถานที่ต่างๆ ในชุมชนโดยใช้ภาษามือ ประกอบบัตรภาพ
การสื่อสารเกี่ยวกับสถานที่ สื่อสารเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ ใน ผู้เรียนใช้ภาษามือบอกตามได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
ต่างๆ ในชุมชน ชุมชนได้
๔.๑๒ การใช้ภาษามือเพื่อ ๑. สามารถใช้ภาษามือเพื่อการ ๑. ผู้สอนให้ดูรูปภาพยานพาหนะ ประกอบแนะนาท่าภาษามือ ผู้เรียนใช้
การสื่อสารเกี่ยวกับ สื่อสารเกี่ยวกับยานพาหนะได้ ภาษามือบอกตามได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
ยานพาหนะได้ ๒. เมื่อเห็นยานพาหนะ ผู้เรียนใช้ภาษามือบอกได้ด้วยตนเอง/
มีผู้ช่วยเหลือ

๔.๑๓ การใช้ภาษามือ ๑. สามารถใช้ภาษามือสื่อสาร ๑. ผู้สอนกาหนดเหตุการณ์สมมติ การเดินทางไปสถานที่ต่างๆ โดยใช้


สื่อสารเกี่ยวกับการเดินทาง เกี่ยวกับการเดินทางได้ ภาษามือ เล่าประกอบ ผู้เรียนใช้ภาษามือสื่อสารเกี่ยวกับเดินทางตามได้
ด้วยตนเองหรือมีผู้สอนคอยช่วยเหลือ เช่น สัญญาณจราจร ต่างๆ
ทิศทาง
๑๓๑

บัญชีคาศัพท์
หมวด คาศัพท์
การสื่อสาร การทักทาย การยกมือไหว้ การยิ้มการแสดงความเคารพ การใช้ภาษามือเรียกชื่อ เป็นต้น
การตอบรับ การพยักหน้า หัวเราะ สั่นศีรษะ แสดงสีหน้าพอใจ แสดงความสนใจ การปฏิเสธ
การปฏิบัติตามคาสั่งกิน นอน เดิน วิ่ง คลาน นั่ง กระโดด การเลียนแบบ การหยิบ ไป มา เล่น จับ ชี้ หยุด
บุคคล สมาชิกในครอบครัว พ่อ แม่ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา พี่ น้อง หลาน พี่สาว พี่ชาย น้องชาย น้องสาว ลูก
บุคคลรอบข้างครู หมอ เพื่อน ตารวจ ทหาร แม่ค้า พ่อค้า
ร่างกาย ร่างกาย ตา หู จมูก ปาก ผม ฟัน แขน ขา มือ เท้า เล็บ
สิ่งของเครื่องใช้ ห้องนอนเตียงนอน โคมไฟ หมอน ผ้าห่ม แอร์ พัดลม พรมเช็ดเท้า
ห้องน้าแปรงสีฟัน ยาสีฟัน ส้วม กระดาษชาระ กระจก สบู่ ยาสระผม โลชั่น
ห้องครัวจาน ชาม ถ้วย กระทะ ตะหลิว กาน้ารอน ช้อน ส้อม หม้อ เครื่องปิ้งขนมปัง ตู้เย็น เตาแก๊ส มีด แก้วน้า เขียง
ห้องเรียน โต๊ะ เก้าอี้ สมุด หนังสือ ไม้บรรทัด ดินสอ ปากกา ยางลบ ดินสอสี
ยานพาหนะ ทางบกรถจักรยาน รถจักรยานยนต์ รถตู้ รถบรรทุก รถโดยสารประจาทาง รถกระบะ รถพยาบาล รถดับเพลิง รถไฟ รถไฟฟ้า
ทางน้าเรือ
ทางอากาศเครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์
สัตว์ สัตว์บก สุนัข เสือ สิงโต ช้าง ม้า วัว ควาย แมว กระต่าย หมี ยีราฟ กวาง แกะ แพะ กระรอก ลิง
สัตว์น้า ปลา กุ้ง หอย ปลาวาฬ ปลาฉลาม หมู หนู
สัตว์ปีก นก ไก่ เป็ด
สัตว์เลื้อยคลาน งู จระเข้ เต่า ไส้เดือน
สี สี สีขาว แดง ดา ชมพู น้าเงิน เขียว เหลือง ส้ม ฟ้า น้าตาลเทา ทอง เงิน
๑๓๒

หมวด คาศัพท์
จานวนนับ/ตัวเลข ตัวเลข 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
จานวนนับ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
อาหาร อาหารคาว /หวาน ข้าวสวย ข้าวต้ม ข้าวเหนียว โจ๊ก ข้าวผัด หมูทอด ไข่เจียว ไข่ดาว ไข่ต้ม ก๋วยเตี๋ยว ไก่ยาง ไก่ทอด ราดหน้า
ผักซีอิ๋ว แกงเผ็ด แกงจืด ลูกชิ้น ขนมปัง
เครื่องดื่ม นม น้าส้ม น้าผลไม้ น้าสตอเบอรรี่ โอวัลติน ชา กาแฟ น้าแข็ง น้าเปล่า ชาเขียว น้าอัดลม
ผลไม้ ส้ม กล้วย องุ่น มะละกอ ทุเรียน แอบเปิล สับปะรด น้อยหน่า มังคุด ฝรั่ง มะม่วง มะพร้าวลาไย ลิ้นจี่
กิจวัตรประจาวัน การรับประทานอาหาร กิน อร่อย เอาใหม่ หิว ไม่อร่อย เผ็ด เค็ม หวาน เปรี้ยว ธรรมดา ดื่มน้า
การแต่งกาย เสื้อแขนสั้น เสื้อแขนยาว กางเกงขาสั้น กางเกงขายาว กระโปรง ผ้าเช็ดหน้า ผ้าขาวม้า ถุงมือ เข็มขัด เนคไท
รองเท้า ถุงเท้า
การทาความสะอาดร่างกาย อาบน้า แปรงฟัน ล้างหน้า ปัสสาวะ อุจจาระ ล้างมือ สระผม
ความรู้สึก หิว อิ่ม สบาย เหนื่อย ร้อน หนาว เย็น รัก โกรธ ดีใจ เสียใจ เจ็บ ปวด กลัว พอใจ ไม่พอใจ ตกใจ ตื่นเต้น
กีฬา วิ่ง ว่ายน้า ฟุตบอล บาสเกตบอล เทเบิลเทนนิส แบดมินตัน กอล์ฟ
เปตอง มวย ตะกร้อ

หมายเหตุ คาศัพท์สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตามความสามารถของเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน สถานการณ์ ฤดูกาล ภูมิภาค ตามวัตถุประสงค์ของ


ผู้สอนและผู้ปกครองควรเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการ เช่น การฝึกฟัง ฝึกพูด การใช้เครื่องช่วยฟัง ทาให้การสอนทักษะที่จาเป็น
เป็นไปอย่างต่อเนื่องทั้งที่ศูนย์การศึกษาพิเศษ และที่บ้าน
๑๓๓

ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ

๑. คาอธิบายรายทักษะ
ทักษะจาเป็นเฉพาะเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ เป็นการฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยเดิน กายอุปกรณ์เสริม
กายอุปกรณ์เทียม อุปกรณ์ดัดแปลง และเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก รวมถึงการดูแลสุขอนามัยของตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
โดยใช้การปฏิบัติจริง การสาธิต การวิเคราะห์งาน และการบูรณาการ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จากผู้มีความชานาญเฉพาะด้าน มีทีมสหวิ ทยาการ
ผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็กได้อย่างประสานสัมพันธ์ ปฏิบัติกิจวัตรประจาวันได้อย่างเหมาะสม สนใจต่อการเรียนรู้
สิ่งต่างๆ รอบตัว เล่นและทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข

๒. วัตถุประสงค์รายทักษะ
๑. เพื่อให้ผู้เรียนใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยเดิน กายอุปกรณ์เสริม กายอุปกรณ์เทียม อุปกรณ์ดัดแปลงและเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวกได้
๒. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือตนเองในการทากิจวัตรประจาวันได้
๓. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถดูแลสุขอนามัยของตนเองไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
๔. เพื่อให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการศึกษาระดับสูงขึ้น
๑๓๔

แนวการจัดการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑.การใช้อุปกรณ์ ๑.๑ การเข้าถึงอุปกรณ์ ๑. สามารถเคลื่อนย้ายตัวจากที่หนึ่ง ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเคลื่อนย้ายตัวจากเก้าอี้ไปยัง walker ด้วยตนเอง โดย
เครื่องช่วยเดิน เครื่องช่วยเดิน เข้าไปอยู่ใน walker ได้ ขยับตัวมาทางด้านหน้าเก้าอี้เล็กน้อย เท้าวางราบกับพื้น โน้มตัวมา
(walker รถเข็น ไม้ ด้านหน้า มือทั้งสองข้างจับบริเวณด้านบนของ walker ลงน้าหนักที่
เท้า ไม้ค้ายัน ) แขนทั้งสองข้างเพื่อยันตัวขึ้น พยายามทรงตัวตั้งตรง
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนเคลื่อนย้ายตัวจากพื้นไปยัง walker ด้วยตนเอง โดยจัด
ท่าให้อยู่ในท่าเทพธิดา มือทั้งสองข้างจับบริเวณขาของwalker จากนั้น
ยกตัวขั้นให้อยู่ในท่าคุกเข่า ตั้งเข่าข้างใดข้างหนึ่งขึ้นให้อยู่ในท่ากึ่ง
คุกเข่า ใช้แขนและมือเหนี่ยวตัวขึ้นให้อยู่ในท่ายืนตรง
๒. สามารถเคลื่อนย้ายตัวจากที่หนึ่ง ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเคลื่อนย้ายตัวจากเตียงไปยัง เก้าอี้รถเข็น (ในกรณีเก้าอี้
เข้าไปอยู่ในเก้าอี้รถเข็น ได้ รถเข็นอยู่ด้านหน้าเตียง)โดยจัดท่าผู้เรียนให้อยู่ในท่านั่งเหยียดขาทั้งสอง
ข้าง ล็อคล้อรถเข็น หันหลังเข้าหาเก้าอี้รถเข็น ใช้มือยันพื้นเตียงเพื่อ
เลื่อนตัวเข้าไปใกล้รถเข็น จากนั้นใช้มือทั้งสองข้างจับบริเวณที่พักแขน
รถเข็นทางด้านหน้าลงน้าหนักมือทั้งสองข้างยกตัวขึ้นเลื่อนตัวเข้าไปนั่ง
ในรถเข็น ปลดล็อคล้อรถเข็นเลื่อนรถเข็นออกเพื่อให้วางเท้าได้
๒. ผู้สอนบอกให้ผู้เรียนเคลื่อนย้ายตัวจากพื้นขึ้นไปที่เก้าอี้รถเข็น โดยจัด
ท่าให้ผู้เรียนอยู่ในท่ายืนเข่า ล็อคล้อรถเข็น ใช้มือจับบริเวณที่นั่งหรือที่
วางแขนเพื่อยันตัวลุกขึ้นยืน หลังจากนั้นหมุนตัวนั่งลงในรถเข็น ยกขา
วางบนที่พักเท้ารถเข็น
๑๓๕
แนวการจัดการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓. สามารถเคลื่อนย้ายตัวจากที่หนึ่ง ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเคลื่อนย้ายตัวจากเก้าอี้ไปยังไม้ค้ายัน โดยให้ผู้เรียนขยับ
เข้าไปอยู่ในไม้ค้ายันได้ ตัวมาทางด้านหน้าเก้าอี้เล็กน้อย ใช้มือทั้งสองข้างจับไม้ค้ายันตั้งให้
มั่นคง จากนั้นโน้มตัวมาทางด้านหน้าแล้วลงน้าหนักที่มือทั้งสองข้าง
ลุกขึ้นยืน
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนเคลื่อนย้ายตัวจากพื้นไปยังไม้ค้ายันโดยให้ผู้เรียนอยู่ใน
ท่ายืนเข่า ใช้มือทั้งสองข้างจับไม้ค้ายันตั้งให้มั่นคง จากนั้นลงน้าหนักมือ
ทั้งสองข้างยันตัวลุกขึ้นยืน
๔. สามารถเคลื่อนย้ายตัวจากที่หนึ่ง ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเคลื่อนย้ายตัวจากเก้าอี้ไปยังไม้เท้าโดยให้ผู้เรียนขยับตัว
เข้าไปอยู่ในไม้เท้าได้ มาทางด้านหน้าเก้าอี้เล็กน้อย ใช้มือข้างที่ถนัดหรือข้างที่มีแรงจับไม้เท้า
ให้มั่งคง จากนั้นโน้มตัวมาทางด้านหน้าลงน้าหนักที่มือยันตัวลุกขึ้นยืน
๑.๒ การทรงตัวอยู่ใน ๑. สามารถทรงตัวอยู่ใน walker ได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนทรงตัวโดยใช้ walker ใช้มือทั้งสองข้างจับบริเวณที่
อุปกรณ์เครื่องช่วยเดิน รองมือให้ถูกตาแหน่ง ลาตัวตั้งตรง ขาทั้งสองข้างแยกออกจากกัน
เล็กน้อย เท้าแนบระนาบกับพื้น
๒. สามารถทรงตัวอยู่ใน เก้าอี้รถเข็น ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งทรงตัวบนรถเข็น ลาตัวตั้งตรงชิดกับพนักพิงของ
ได้ รถเข็น ศีรษะอยู่แนวกึ่งกลางลาตัว เท้าวางบนที่พักเท้าของรถเข็น
๓. สามารถทรงตัวอยู่ในไม้ค้ายันได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนทรงตัว พร้อมใช้ไม้ค้ายัน โดยให้ไม้ค้ายันตั้งตรงสอด
ใต้แขนบริเวณรักแร้มือจับบริเวณที่จับ ปลายไม้เท้าวางระนาบกับพื้น
๑๓๖
แนวการจัดการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔. สามารถทรงตัวอยู่ในไม้เท้าได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนทรงตัวพร้อมใช้ไม้เท้า มือจับบริเวณที่จับ ลาตัวตั้ง
ตรงเท้าวางระนาบกับพื้น
๑.๓ การทรงตัวอยู่ใน ๑. สามารถทรงตัวอยู่ใน walker ได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนทรงตัวอยู่ใน walker โดยผู้สอนให้แรงต้านจากการ
อุปกรณ์เครื่องช่วยเดินได้ เมื่อมีแรงต้าน ใช้มือแตะบริเวณไหล่ขวาแล้วให้แรงผลักมาทางซ้าย ใช้มือแตะบริเวณ
เมื่อมีแรงต้าน ไหล่ซ้ายแล้วให้แรงผลึกมาทางขวา ใช้มือแตะบริเวณด้านหลังแล้วผลัก
มาทางด้านหน้า และใช้มือแตะบริเวณหน้าอกแล้วผลักมาทางด้านหลัง
โดยแรงที่ใช้ต้องเริ่มจากน้อยไปมาก โดยคานึงถึงความปลอดภัย
๒. สามารถทรงตัวอยู่ในเก้าอี้รถเข็น ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้เก้าอี้รถเข็น นั่งทรงตัวบนเก้าอี้รถเข็น โดยผู้สอนให้
ได้เมื่อมีแรงต้าน แรงต้านจากการใช้มือแตะบริเวณไหล่ขวาแล้วให้แรงผลักมาทางซ้าย
ใช้มือแตะบริเวณไหล่ซ้ายแล้วให้แรงผลึกมาทางขวา ใช้มือแตะบริเวณ
ด้านหลังแล้วผลักมาทางด้านหน้า และใช้มือแตะบริเวณหน้าอกแล้ว
ผลักมาทางด้านหลังโดยแรงที่ใช้ต้องเริ่มจากน้อยไปมาก โดยคานึงถึง
ความปลอดภัย
๓. สามารถทรงตัวอยู่ในไม้ค้ายันได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ไม้ค้ายัน ยืนทรงตัวพร้อมกับจับไม้ค้ายันโดยผู้สอนให้
เมื่อมีแรงต้าน แรงต้านจากการใช้มือแตะบริเวณไหล่ขวาแล้วให้แรงผลักมาทางซ้าย
ใช้มือแตะบริเวณไหล่ซ้ายแล้วให้แรงผลึกมาทางขวา ใช้มือแตะบริเวณ
ด้านหลังแล้วผลักมาทางด้านหน้า และใช้มือแตะบริเวณหน้าอกแล้ว
ผลักมาทางด้านหลังโดยแรงที่ใช้ต้องเริ่มจากน้อยไปมาก โดยคานึงถึง
ความปลอดภัย
๑๓๗
แนวการจัดการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๔. สามารถทรงตัวอยู่ในไม้เท้าได้เมื่อ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ไม้เท้า ยืนทรงตัวพร้อมกับจับไม้เท้าโดยผู้สอนให้แรง
มีแรงต้าน ต้านจากการใช้มือแตะบริเวณไหล่ขวาแล้วให้แรงผลักมาทางซ้าย ใช้มือ
แตะบริเวณไหล่ซ้ายแล้วให้แรงผลึกมาทางขวา ใช้มือแตะบริเวณ
ด้านหลังแล้วผลักมาทางด้านหน้า และใช้มือแตะบริเวณหน้าอกแล้ว
ผลักมาทางด้านหลังโดยแรงที่ใช้ต้องเริ่มจากน้อยไปมาก โดยคานึงถึง
ความปลอดภัย
๑.๔ การทรงตัวอยู่ใน ๑. สามารถทรงตัวอยู่ใน walker ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ walkerยืนทรงตัวอยู่ใน walker โดยมีการถ่าย
อุปกรณ์เครื่องช่วยเดินโดยมี โดยมีการถ่ายน้าหนักไปในทิศทาง น้าหนักไปด้านซ้าย พร้อมกับใช้มือขวาหยิบของทางด้านซ้าย ถ่าย
การถ่ายน้าหนักไปในทิศทาง ต่างๆได้ น้าหนักไปด้านขวา พร้อมกับใช้มือซ้ายหยิบของทางด้านขวาถ่าย
ต่างๆได้ น้าหนักไปด้านหน้าพร้อมกับใช้มือซ้ายหยิบของทางด้านหน้าและถ่าย
น้าหนักไปด้านหลัง พร้อมกับใช้มือซ้ายหยิบของทางด้านหลัง
๒. สามารถทรงตัวอยู่ในเก้าอี้รถเข็น ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้เก้าอี้รถเข็นนั่งทรงตัวบนเก้าอี้รถเข็นโดยมีการถ่าย
โดยมีการถ่ายน้าหนักไปในทิศทาง น้าหนักไปด้านซ้าย พร้อมกับใช้มือขวาหยิบของทางด้านซ้าย ถ่าย
ต่างๆได้ น้าหนักไปด้านขวา พร้อมกับใช้มือซ้ายหยิบของทางด้านขวาถ่าย
น้าหนักไปด้านหน้าพร้อมกับใช้มือซ้ายหยิบของทางด้านหน้าและถ่าย
น้าหนักไปด้านหลัง พร้อมกับใช้มือซ้ายหยิบของทางด้านหลัง
๑๓๘
แนวการจัดการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓. สามารถทรงตัวอยู่ในไม้ค้ายันโดย ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ไม้เค้ายัน และยืนทรงตัวพร้อมกับจับไม้ค้ายันโดยมี
มีการถ่ายน้าหนักไปในทิศทางต่างๆ การถ่ายน้าหนักไปด้านซ้าย พร้อมกับใช้มือขวาหยิบของทางด้านซ้าย
ได้ ถ่ายน้าหนักไปด้านขวา พร้อมกับใช้มือซ้ายหยิบของทางด้านขวาถ่าย
น้าหนักไปด้านหน้าพร้อมกับใช้มือซ้ายหยิบของทางด้านหน้าและถ่าย
น้าหนักไปด้านหลัง พร้อมกับใช้มือซ้ายหยิบของทางด้านหลัง
๔. สามารถทรงตัวอยู่ในไม้เท้าโดยมี ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ไม้เท้า ยืนทรงตัวพร้อมกับจับไม้เท้าโดยมีการถ่าย
การถ่ายน้าหนักไปในทิศทางต่างๆได้ น้าหนักไปด้านซ้าย พร้อมกับใช้มือขวาหยิบของทางด้านซ้าย ถ่าย
น้าหนักไปด้านขวา พร้อมกับใช้มือซ้ายหยิบของทางด้านขวาถ่าย
น้าหนักไปด้านหน้าพร้อมกับใช้มือซ้ายหยิบของทางด้านหน้าและถ่าย
น้าหนักไปด้านหลัง พร้อมกับใช้มือซ้ายหยิบของทางด้านหลัง
๑.๕ การเคลื่อนย้ายตัวด้วย ๑. สามารถเคลื่อนย้ายตัวเองไป ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ walker เดินไปด้านหน้าบนทางราบโดยให้ผู้เรียนยก
อุปกรณ์เครื่องช่วยเดินบน ด้านหน้าโดยใช้ walker บนทางราบ walker ไปทางด้านหน้า จากนั้นก้าวเท้าข้างใดข้างหนึ่งตามด้วยอีกข้าง
ทางราบและทางลาด และทางลาดได้ ทาซ้าไปเรื่อยๆจนถึงจุดหมาย
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ walker เดินไปด้านหน้าบนทางลาดโดยให้ผู้เรียนยก
walker ไปทางด้านหน้า จากนั้นก้าวเท้าข้างใดข้างหนึ่งตามด้วยอีกข้าง
ทาซ้าไปเรื่อยๆจนถึงจุดหมาย
๒. สามารถเคลื่อนย้ายตัวเองไป ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้เก้าอี้รถเข็น เข็นไปด้านหน้าบนทางราบโดยให้ผู้เรียน
ด้านหน้าโดยใช้ เก้าอี้รถเข็นบนทาง ใช้มือจับที่ hand rim ดันไปด้านหน้า
ราบและทางลาดได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้เก้าอี้รถเข็นเข็นเก้าอี้รถเข็นไปด้านหน้าบนทางลาด
โดยให้ผู้เรียนใช้มือจับที่ hand rim ดันไปด้านหน้า
๑๓๙
แนวการจัดการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓. สามารถเคลื่อนย้ายตัวเองไป ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ไม้เค้ายันเดินไปด้านหน้าบนทางราบโดยให้ผู้เรียนยก
ด้านหน้าโดยใช้ไม้ค้ายันบนทางราบ ไม้ค้ายันด้านขวาไปด้านหน้า ตามด้วยเท้าซ้าย จากนั้นยกไม้ค้ายัน
และทางลาดได้ ด้านซ้ายไปด้านหน้า ตามด้วยเท้าขวา ทาซ้าเรื่อยจนถึงจุดหมาย
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ไม้เค้ายันเดินไปด้านหน้าบนทางลาดโดยให้ผู้เรียนยก
ไม้ค้ายันด้านขวาไปด้านหน้า ตามด้วยเท้าซ้าย จากนั้นยกไม้ค้ายัน
ด้านซ้ายไปด้านหน้า ตามด้วยเท้าขวา ทาซ้าเรื่อยจนถึงจุดหมาย
๔. สามารถเคลื่อนย้ายตัวเองไป ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ไม้เท้า เดินไปด้านหน้าบนทางราบโดยให้ผู้เรียนยกไม้
ด้านหน้าโดยใช้ ไม้เท้าบนทางราบ เท้าไปทางด้านหน้า ตามด้วยเท้าด้านตรงข้าม จากนั้นก้าวเท้าอีกด้าน
และทางลาดได้ ตาม ทาซ้าไปเรื่อยๆจนถึงจุดหมาย
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ไม้เท้า เดินไปด้านหน้าบนทางลาดโดยให้ผู้เรียนยกไม้
เท้าไปทางด้านหน้า ตามด้วยเท้าด้านตรงข้าม จากนั้นก้าวเท้าอีกด้าน
ตาม ทาซ้าไปเรื่อยๆจนถึงจุดหมาย
๒. การใช้กาย ๒.๑ ใช้กายอุปกรณ์เสริม ๑.สามารถถอดและใส่กาย ๑. สาธิตวิธีการถอดกายอุปกรณ์เสริม จากนั้นให้ผู้เรียนทาตามทีละ
อุปกรณ์เสริม (เบสรส อุปกรณ์เสริมได้ ขั้นตอน และทาตั้งแต่ต้นจบจบซ้าๆ
ขาสั้น รองเท้าพิเศษ ๒. สาธิตวิธีการใส่กายอุปกรณ์เสริม จากนั้นให้ผู้เรียนทาตามทีละขั้นตอน
อุปกรณ์ดามข้อ) และทาตั้งแต่ต้นจบจบซ้าๆ
๒.สามารถยืนด้วยกายอุปกรณ์เสริม ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนโดยใส่กายอุปกรณ์เสริม ผู้สอนสอนวิธีจัดท่าทางการ
ได้ ยืนที่เหมาะสม จากนั้นให้ผู้เรียนยืนโดยใช้กายอุปกรณ์เสริมด้วยตนเอง
๑๔๐
แนวการจัดการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๓. สามารถเดินด้วยกายอุปกรณ์ได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเดินโดยใช้กายอุปกรณ์เสริม ผู้สอนสอนวิธีการก้าวเดิน
ที่เหมาะสม จากนั้นให้ผู้เรียนเดินโดยใช้กายอุปกรณ์เสริมด้วยตนเอง
๓. การใช้กายอุปกณ์ ๓.๑ การใช้กายอุปกรณ์ ๑. สามารถถอดและใส่กายอุปกรณ์ ๑. สาธิตวิธีการถอดและใส่กายอุปกรณ์เทียม จากนั้นให้ผู้เรียนทาตามทีละ
เทียมในการ เทียมในการทากิจกรรม เทียมได้ ขั้นตอน และทาตั้งแต่ต้นจบจบซ้าๆ
เคลื่อนไหว ต่างๆในชีวิตประจาวัน ๒. สามารถใช้กายอุปกรณ์เทียมใน ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้กายอุปกรณ์เทียมในการเคลื่อนไหวในท่าทางต่างๆ
การทากิจกรรมต่างๆใน เช่น งอ เหยียด กางหุบ แขนและขา จากนั้นจึงให้ลองทากิจกรรมใน
ชีวิตประจาวันได้ ชีวิตประวันอย่างง่าย เช่น การหยิบจับอาหารเข้าปาก การเดินไปเข้า
ห้องน้า
๔ การใช้อุปกรณ์ ๔.๑ การใช้อุปกรณ์ดัดแปลง ๑. สามารถสวมใส่อุปกรณ์ดัดแปลง ๑. สาธิตวิธีการใส่หรือเคลื่อนย้ายตัวไปยังอุปกรณ์ดัดแปลง จากนั้นให้
ดัดแปลง (ช้อน ในการช่วยเหลือตนเองใน หรือการเคลื่อนย้ายตัวไปยังอุปกรณ์ ผู้เรียนทาตามทีละขั้นตอน และทาด้วยตนเองตั้งแต่ต้นจนจบซ้าๆ
ดัดแปลง เก้าอี้ ชีวิตประจาวัน ดัดแปลงได้
ดัดแปลง) ๒. สามารถใช้อุปกรณ์ดัดแปลงใน ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ช้อนดัดแปลงตักอาหารเข้าปาก ใช้เก้าอี้ดัดแปลงนั่ง
การช่วยเหลือตนเองใน อาบน้าในห้องน้า เป็นต้น
ชีวิตประจาวันได้
๕. การใช้เทคโนโลยี ๕.๑ การใช้เทคโนโลยีสิ่ง ๑. สามารถใช้อุปกรณ์ช่วยในการ ๑. สาธิตวิธีการใช้อุปกรณ์ช่วยในการสื่อสาร (Communication aids)
สิ่งอานวยความ อานวยความสะดวกเพื่อ สื่อสาร (Communication aids) จากนั้นให้ผู้เรียนทดลองทาด้วยตนเองตั้งแต่ต้นจนจบ
๑๔๑
แนวการจัดการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


สะดวกเพื่อการศึกษา การศึกษา ๒. สามารถใช้อุปกรณ์ช่วยในการ ๑. สาธิตพร้อมอธิบายขั้นตอนวิธีการใช้อุปกรณ์ช่วยในการเข้าถึง
เข้าถึงคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จากนั้น ให้ผู้เรียนทาตามทีละขั้นตอน เมื่อเข้าใจทั้งหมด
ผู้สอนให้ผู้เรียนทดลองใช้ด้วยตนเองตั้งแต่ต้นจนจบ
๖. การดูแล ๖.๑ การป้องกันและการ ๑. สามารถป้องกันและดูแลแผลกด ๑. ผู้สอนให้ความรู้แก่ผู้เรียนและผู้ปกครองเรื่องการดูแลและป้องกันแผล
สุขอนามัยของตนเอง ดูแลแผลกดทับ ทับได้ กดทับ ซึ่งแผลกดทับเกิดจากบริเวณอวัยวะส่วนนั้นถูกกดทับเป็น
เพื่อป้องกัน เวลานาน ไม่มีเลือดไปหล่อเลี้ยง ทาให้เนื้อเยื่อตายและเกิดแผล
ภาวะแทรกซ้อน วิธีการดูแล
- รักษาความสะอาดผิวหนัง อาบน้าเช็ดตัว วันละ ๒ครั้ง
- ผิวหนังแห้งแตกให้ทาโลชั่น เพื่อให้ผิวหนังชุ่มชื้น
- นวดรอยบุ๋ม หรือรอยที่ถูกกดทับ เพื่อช่วยให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น
- หมั่นเปลี่ยนท่านอนทุก ๒ ชั่วโมง เพื่อไม่ให้แรงกดเนื้อเยื่อบริเวณ
นั้นนานเกินไป
- ใช้หมอนรองบริเวณที่ถูกกดทับ
- ขยับขึ้นลงทุก ๑ ชั่วโมง ขณะนั่งเก้าอี้ – รถเข็น
- เปลี่ยนผ้าปูที่นอนให้แห้งสะอาด และเรียบตึงอยู่เสมอ
๖.๒ การดูแลสายสวน ๑. สามารถดูแลสายสวนปัสสาวะได้ ๑. ผู้สอนให้ความรู้แก่ผู้เรียนและผู้ปกครองเรื่องดูแลสายสวนปัสสาวะ ซึ่ง
ปัสสาวะ ผู้ป่วยมีปัญหาเรื่องการถ่ายปัสสาวะ ไม่สามารถควบคุมการขับถ่าย ยังมี
ปัสสาวะคั่งค้างในกระเพาะปัสสาวะ เนื่องจากถ่ายออกไม่หมด จะทาให้
เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะได้ง่ายขึ้น
๑๔๒
แนวการจัดการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


วิธีการดูแล
- ควบคุมการดื่มน้า ๒ ลิตรต่อวัน เพื่อระบายสิ่งที่ตกค้าง และทาให้
ปัสสาวะใสขึ้น
- ใส่ผ้าอ้อม เลือกขนาดให้พอเหมาะกับผู้ป่วย เปลี่ยนทุกครั้งที่
ปัสสาวะ และทาความสะอาดบริเวณอวัยวะขับถ่าย เช็ดให้แห้ง
เสมอ
- การใส่สายสวนปัสสาวะ ต้องหมั่นรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะ
ขับถ่ายอยู่เสมอ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
- คอยดูแลสายปัสสาวะไม่ให้อุดตันหรือหักงอ เพื่อให้ปัสสาวะไหลได้
สะดวก
- ติดเทปตรึงสายปัสสาวะ เก็บถุงปัสสาวะให้ต่ากว่ากระเพาะ
ปัสสาวะ เพื่อป้องกันการไหลย้อนกลับ

๖.๓ การดูแลช่องขับถ่าย สามารถดูแลช่องขับถ่ายบริเวณหน้า ๑. ผู้สอนให้ความรู้แก่ผู้เรียนและผู้ปกครองเรื่องการดูแลช่องขับถ่าย


บริเวณหน้าท้อง ท้องได้ บริเวณหน้าท้อง ซึ่งในผู้ป่วยอัมพาตพบปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
เนื่องจากไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายได้ ยังมีปัญหาท้องผูก อุจจาระ
คั่งค้างอยู่ในลาไส้ อุจจาระแข็ง ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาที่สร้างความ
วิตกกังวลให้กับผู้ป่วยมาก
๑๔๓
แนวการจัดการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


วิธีการดูแล
- กินอาหารที่มีกากใยมาก เช่น ผัก ผลไม้
- ดื่มน้าอย่างเพียงพอ วันละ ๖-๘ แก้ว จะช่วยให้การขับถ่ายเป็น
ปกติ
- ออกกาลังกาย โดยฝึกเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้องให้แข็งแรง เพื่อช่วย
ในการเบ่งถ่าย
- ฝึกควบคุมการถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา
๑๔๔

ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กออทิสติก

๑. คาอธิบายรายทักษะ
ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็ก ออทิสติก เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านความสนใจ การตอบสนองต่อสิ่งเร้า การลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
การเข้าใจภาษา การแสดงออกทางภาษา อารมณ์ ความรู้สึก การปฏิบัติตามกติกาของสังคมการเลียนแบบการหลีกหนีจากอันตราย
โดยใช้การปฏิบัติจริง การสาธิต การเลียนแบบ บทบาทสมมติ การวิเคราะห์งาน การบูรณาการ และเทคนิคการสอนที่หลากหลาย เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ จากผู้มีความชานาญเฉพาะด้าน มีทีมสหวิทยาการ ผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ใช้ภาษาในการสื่ อสารได้อย่างเหมาะสม สนใจต่อการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว เล่นและทากิจกรรมร่วมกับ
ผู้อื่นได้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบ การคิดแก้ปัญหา และดารงชีวิตประจาวันได้อย่างอิสระและมีความสุข

๒. วัตถุประสงค์รายทักษะ
๑. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสดงออกทางภาษา พฤติกรรม อารมณ์ และความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม
๒. เพื่อให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และปฏิบัติตนตามกฎกติกาของสังคมได้อย่างเหมาะสม
๓. เพื่อให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการศึกษาระดับสูงขึ้น
๑๔๕

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กออทิสติก

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๑. ความสนใจ ๑.๑ การควบคุมตนเองในการ ๑.สามารถควบคุมตนเองให้ยืนใน ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนในพื้นที่ในระยะเวลาที่กาหนด
ทากิจกรรม สถานการณ์ต่างๆได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนต่อกันเป็นแถวในแนวยาว
๓. ให้ผู้เรียนยืนเข้าแถวในแนวยาวในสถานการณ์ต่างๆ เช่น การ
ยืนเข้าแถวเคารพธงชาติ การเข้าแถวรอรับถาดอาหาร
๒.สามารถควบคุมตนเองให้นั่งใน ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งทากิจกรรมบนเก้าอี้จนสาเร็จ เช่น นั่งร้อย
สถานการณ์ต่างๆได้ ลูกปัดจานวน ๓๐ เม็ด
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งบนเก้าอี้ในระยะเวลาที่กาหนด หรือ
สถานการณ์ที่กาหนด เช่น การนั่งรอรับประทานอาหาร การ
นั่งรอดื่มนมพร้อมเพื่อน
๓. สามารถควบคุมตนเองในการ ๑. ผู้สอนจับมือให้ผู้เรียนหยิบวัตถุไปวางที่เป้าหมายแล้วกลับมา
ปฏิบัติกิจกรรมจนสาเร็จได้ ยังที่เดิม
๒. ให้ผู้เรียนหยิบวัตถุไปวางที่เป้าหมาย แล้วกลับมายังที่เดิม
ด้วยตนเอง เช่น การนาบอลไปใส่ตะกร้าในระยะทาง ๓ เมตร
การนาห่วงไปใส่หลักในระยะทาง ๕ เมตร
๒.การตอบสนองต่อสิ่ง ๒.๑ การตอบสนองต่อสิ่งเร้า ๑.สามารถปรับการตอบสนองต่อสิ่ง ๑. ผู้สอนค้นหาสิ่งเร้าที่เป็นปัญหาต่อพฤติกรรมของผู้เรียน เช่น
เร้า เร้าได้อย่างเหมาะสม เดินเขย่งปลายเท้าจากการหลีกหนีต่อการสัมผัส เอามือปิด
หูจากการหลีกหนีต่อเสียง หมุนตัวเพื่อต้องการปรับสมดุล
การทรงตัว สะบัดมือเพื่อต้องการการรับรู้ของข้อต่อ
๑๔๖
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กออทิสติก (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. ผู้ สอนปรับเพิ่มหรือปรับลดสิ่งเร้าจากสิ่งที่ผู้เรียนยอมรับได้
มากไปน้อย เช่น เมื่อผู้เรียนไม่ยอมรับการสัมผัสที่มีผิว
ละเอียดให้ผู้สอนเริ่มฝึกให้ผู้เรียนสัมผัส วัตถุที่มีขนาดใหญ่
วัตถุที่มีขนาดเล็ก วัตถุที่มีพื้นผิวขรุขระ หยาบ และละเอียด
เช่น ลูกบอลในอ่าง เม็ดถั่วแดงในกระบะ เม็ดถั่วเขียวที่ติด
บนกระดาษ และกระดาษทราย เป็นต้น
๓.การเข้าใจภาษา ๓.๑ การเข้าใจภาษา ๑.สามารถปฏิบัติตามคาสั่งง่ายๆได้ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนตอบสนองต่อการปฏิบัติตามคาสั่งง่ายๆ
๑ สถานการณ์ เช่น นั่งลง ยืนขึ้น หยุดเดิน เป็นต้น
๒. ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนตอบสนองต่อการปฏิบัติตามคาสั่ง ๒
สถานการณ์เช่น หยิบปากกาบนโต๊ะให้ครู
๒.สามารถปฏิบัติตามคาสั่งที่ซับซ้อน ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนตอบสนองต่อการปฏิบัติตามคาสั่งที่ซับซ้อน
ได้ เช่น ไปล้างหน้าที่ก๊อกน้าหน้าอาคาร เป็นต้น
๔.การแสดงออกทาง ๔.๑การแสดงออกทางภาษา ๑.สามารถบอกความต้องการของ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนแสดงความต้องการในการปฏิบัติ
ภาษา ตนเองได้ ชีวิตประจาวันโดยใช้ท่าทาง เช่น เมื่อหิวข้าวให้แสดงท่าทาง
ตักข้าวเข้าปาก
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนแสดงความต้องการในการปฏิบัติ
ชีวิตประจาวันโดยการชี้หรือใช้ภาพแลกกับความต้องการ
เช่น เมื่อหิวข้าวให้ชี้ภาพรับประทานอาหาร หรือ เมื่อหิวน้า
ให้หยิบภาพแก้วน้ามาให้ผู้สอน เป็นต้น
๑๔๗
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กออทิสติก (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๒. สามารถตอบคาถามอย่างง่ายได้ ๑. ผู้ สอนให้ผู้เรียนตอบคาถามในชีวิตประจาวันให้ตรงตาม
คาถาม เช่น
ถาม : ใครมาส่ง
ตอบ : แม่
ถาม : กินข้าวกับอะไร
ตอบ : ไข่เจียว เป็นต้น
๓.สามารถบอกประสบการณ์ที่พบเห็น ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียงเหตุการณ์ที่พบเห็นโดยการพูดเป็นคาๆ
ได้ เช่น ตื่นนอน อาบน้า แต่งตัว ไปโรงเรียนตามลาดับ
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนพูดประโยคที่มีคาเชื่อมสมบูรณ์ เช่น ตื่นนอน
แล้วไปอาบน้า อาบน้าเสร็จแต่งตัว ไปโรงเรียน
๕. การแสดงออกทาง ๕.๑ การแสดงออกทางอารมณ์ ๑. สามารถแสดงออกทางอารมณ์ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนดูรูปภาพบุคคลหรือรูปภาพจากคอมพิวเตอร์
อารมณ์ ความรู้สึก ความรู้สึก และความรู้สึกต่อบุคคลและ แล้วบอกผู้เรียนว่าบุคคลในภาพรู้สึกอย่างไร
สถานการณ์อย่างเหมาะสมได้ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนแสดงสีหน้าท่าทางตามการสาธิตของผู้สอน
เช่น ทาหน้ายิ้มหมายถึงดีใจและมีความสุข ทาหน้าบึ้ง
หมายถึงโกรธ เมื่อร้องไห้หมายถึงเสียใจ เมื่อหัวเราะหมายถึง
สนุก เป็นต้น
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนแสดงสีหน้าท่าทางตอบสนองต่อสีหน้าท่าทาง
ของบุคคลอื่นอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
๖.การลดพฤติกรรมที่ไม่ ๖.๑ การลดพฤติกรรมที่ไม่พึง ๑. สามารถลดพฤติกรรมที่ไม่พึง ๑. ผู้เรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ผู้สอนมีแนวทางการปรับ
พึงประสงค์ ประสงค์ ประสงค์ได้ พฤติกรรม เช่น
๑๔๘
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กออทิสติก (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


- การอยู่ไม่นิ่ง ให้ผู้เรียนทากิจกรรมที่ต้องใช้พละกาลัง
จนกว่าจะเหนื่อยและสงบลง
- การทาซ้าหรือกระตุ้นตนเองบ่อยๆ ให้ผู้สอนเบี่ยงเบน
พฤติกรรมทาซ้านั้นไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่พึงประสงค์เช่น
ผู้เรียนสะบัดมือ ผู้สอนเรียกชื่อแล้วให้ผู้เรียนยกมือ
สวัสดีทาซ้าบ่อยครั้งที่พบพฤติกรรมสะบัดมือ จนกระทั่ง
เรียกชื่อเฉยๆแล้วผู้เรียนหยุดการสะบัดมือ
- ไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ผู้สอนสร้างข้อตกลงร่วมกับ
ผู้เรียนโดยให้แรงเสริมทางบวก เช่น ยืนสลับที่เข้าแถว
เคารพธงชาติ ผู้สอนกับผู้เรียนตกลงกันว่าในการเข้าแถว
จะต้องวนลาดับในทุกๆวัน ถ้าใครทาได้ผู้สอนจะให้แรง
เสริมทางบวกตามข้อตกลง
- การแยกตัว ผู้สอนนาผู้เรียนทากิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์โดย
เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม เช่น กิจกรรมดนตรี
บาบัด
- การทาร้ายตนเอง ทาร้ายผู้อื่นหรือทาลายสิ่งของ ให้
ผู้สอนหยุดพฤติกรรมนั้นทันทีทันใด จากนั้นนาผู้เรียน
ออกจากสถานการณ์ไปอยู่ในที่ที่ปลอดภัย
ส่วนพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์อื่นผู้สอนควรใช้หลักการเสริมแรง
ทางบวกในการปรับพฤติกรรม
๑๔๙
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กออทิสติก (ต่อ)

ทักษะย่อย เนื้อหา พัฒนาการที่คาดหวัง แนวการจัดกิจกรรม


๗.การปฏิบัติตามกติกา ๗.๑ การปฏิบัติตามกติกาของ ๑. สามารถปฏิบัติตามกติกาของ ๑. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางระเบียบของห้องเรียน โดยการ
ของสังคม ห้องเรียน ห้องเรียนได้ กาหนดกติกาและข้อตกลงในการปฏิบัติร่วมกัน
๒. เมื่อมีผู้เรียนไม่ปฏิบัติตามกติกาให้ผู้สอนปฏิบัติตามข้อตกลง
ที่ตั้งไว้แล้วให้ทาความเข้าใจกับผู้เรียนที่ทาผิดกติกาใหม่อีก
ครั้ง
๓. ผู้สอนควรป้องกันไม่ให้นักเรียนทาผิดกติกาซ้า
๘.การเลียนแบบ ๘.๑ การเลียนแบบ ๑.สามารถเลียนแบบการเคลื่อนไหว ๑. ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนเลียนแบบการเคลื่อนไหวขั้นตอนเดียว
ได้ เช่น ยกแขน ๒ ข้างขึ้น โบกมือไปมา เป็นต้น
๒.สามารถเลียนแบบพฤติกรรมที่พึง ๑. ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนเลียนแบบท่าทางการเคลื่อนไหวที่เป็น
ประสงค์ได้ ธรรมชาติ เช่น การเดินตามครู การไหว้บุคคลระดับต่างๆ
เป็นต้น
๒. ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนเลียนแบบท่าทางการวางตัวที่สุภาพ เช่น
การนั่งรับประทานอาหารร่วมกับผู้อื่น
๙.การหลีกหนีจาก ๙.๑ การหลีกหนีจากอันตราย ๑. สามารถหลีกหนีจากอันตรายใน ๑. ผู้สอนควรแนะนาผู้เรียนให้รู้ถึงอันตรายและวิธีการหลีกหนี
อันตราย การใช้ชีวิตประจาวันได้ ภัยที่เกิดจากอันตรายนั้น เช่น การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าการเล่น
กับสัตว์การใช้ของแหลมหรือของมีคม การหลีกเลี่ยงสถานที่
อันตรายการระวังอันตรายจากรถยนต์
๑๕๐

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๐. พิมพ์ครั้งที่ ๒.


กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, ๒๕๕๓.
มยุรี เพชรอักษร. คู่มือคัดกรองและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก. พิมพ์ครั้งที่ ๖. เชียงใหม่ : บริษทั บีเอสดี
การพิมพ์จากัด, ๒๕๕๓.
โรงพยาบาลราชานุกูล . คู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็ก : การทดสอบ และฝึกทักษะ อายุ ๐-๑ ปี. พิมพ์
ครั้งที่ ๔. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๓๗.
โรงพยาบาลราชานุกูล . คู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็ก : การทดสอบ และฝึกทักษะ อายุ ๑-๒ ปี. พิมพ์
ครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๓.
โรงพยาบาลราชานุกูล. คู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็ก : การทดสอบ และฝึกทักษะ อายุ ๒-๓ ปี. พิมพ์
ครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๓.
โรงพยาบาลราชานุกูล. คู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็ : การทดสอบ และฝึกทักษะ อายุ ๓-๔ ปี. พิมพ์ครั้ง
ที่ ๔. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๓๗.
โรงพยาบาลราชานุกูล . คู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็ก : การทดสอบ และฝึกทักษะ อายุ ๔-๕ ปี. พิมพ์
ครั้งที่ ๔. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๓๗.
โรงพยาบาลราชานุ กู ล .คู่ มื อ การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการเด็ ก วั ย แรกเกิ ด -๕ ปี . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ ๕ .
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๓.
โรงพยาบาลราชานุกูล.รายการตรวจพัฒนาการของเด็กอายุแรกเกิด-๕ ปี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๓.
โรงเรียนสุพรรณบุรีปัญญานุ กูล. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุพรรณบุรีปัญญานุกูล พุทธศักราช
๒๕๕๔ (ฉบับปรับปรุง). ม.ป.ท., ๒๕๕๔.
ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา ๑ จังหวัดนครปฐม. แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมสร้างพัฒนา
ศักยภาพเด็กพิการ. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สถาบันราชานุกูล. คู่มือการฝึกพูดเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตร แห่งประเทศไทย, ๒๕๕๒.
สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย. คู่มืออาสาสมัครร่วมพัฒนาคุณภาพชีวิตคนตาบอด.
กรุงเทพมหานคร : ธีรานุสรณ์การพิมพ์, ๒๕๔๒.
สุขพัชรา ซิ้มเจริญ. การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาสาหรับเด็กที่มีความบกพร่อง. พิมพ์ครั้งที่ ๑.
กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ประสานมิตร, ๒๕๔๕.
๑๕๑

สุวิมล อุดมพิริยะศักย์. คู่มือการเลี้ยงดูเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็นสาหรับผู้ปกครอง.


พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๓๘.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องภาษามือไทยเกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องภาษามือไทยเกี่ยวกับสี. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องภาษามือไทยเกี่ยวกับผลไม้. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หลักสูตรภาษามือไทยสาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อนวัย
เรียนภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนหูหนวก. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องภาษามือไทยเกี่ยวกับยานพาหนะ. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องภาษามือไทยเกี่ยวกับบุคคล. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องการเตรียมความพร้อมด้านอารมณ์-จิตใจ. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องภาษามือไทยเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยง. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องการเตรียมความพร้อมด้านสังคม. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องการเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย(ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก/สติปัญญา).
ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องการเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย (ทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่). ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องภาษามือไทยเพื่อการสื่อสาร. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องภาษามือไทยเกี่ยวกับจานวนนับ. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
๑๕๒

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องภาษามือไทยเกี่ยวกับร่างกาย. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องภาษามือไทยเกี่ยวกับกิจวัตรประจาวัน. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กหูหนวกระดับก่อน
วัยเรียนเรื่องภาษามือไทยเกี่ยวกับเครื่องแต่งกาย. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง(๒๕๕๒-๒๕๕๙).
พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จากัด, ๒๕๕๓.
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ (สาหรับ
เด็กที่มีอายุต่ากว่า ๓ ปี). พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว,
๒๕๕๑.
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. คู่มือการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม (Early Intervention : EI)
เด็กพิการสาหรับโรงเรียนเฉพาะความพิการและศูนย์การศึกษาพิเศษ. ม.ป.ท., ๒๕๕๑.
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. แนวทางการจัดหลักสูตรสาหรับบุคคลออทิสติกห้องเรียนคู่ขนาน
พุทธศักราช ๒๕๔๗ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๕๑). กรุงเทพมหานคร : สานัก
บริหารงานการศึกษาพิเศษ, ๒๕๕๑.
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. แนวทางการจัดหลักสูตรสาหรับบุคคลออทิสติก พุทธศักราช
๒๕๕๕ (ฉบับทดลองใช้). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค.ลาดพร้าว, ๒๕๕๕
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๔๔ สาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น พุทธศักราช ๒๕๕๐.
กรุงเทพมหานคร : สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ, ๒๕๕๐.
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๔๔ สาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน พุทธศักราช ๒๕๕๐.
กรุงเทพมหานคร : สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ, ๒๕๕๐.
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๔๔ สาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือสุขภาพ พุทธศักราช
๒๕๕๐. กรุงเทพมหานคร : สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ, ๒๕๕๐.
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๔๔ สาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา พุทธศักราช ๒๕๕๐.
กรุงเทพมหานคร : สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ, ๒๕๕๐.
๑๕๓

สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๔๔ สาหรับบุคคลออทิสติก พุทธศักราช ๒๕๕๐. กรุงเทพมหานคร : สานัก
บริหารงานการศึกษาพิเศษ, ๒๕๕๐.
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาและการ
สื่อสาร เล่ม ๑. กรุงเทพมหานคร : สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ, ม.ป.ป.
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะทางพฤติกรรมและ
อารมณ์ เล่ม ๒. กรุงเทพมหานคร : สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ, ม.ป.ป.
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการรับรู้และการ
เคลื่อนไหว เล่ม ๔. กรุงเทพมหานคร : สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ, ม.ป.ป.
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการดูแลช่วยเหลือ
ตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน เล่ม ๕.กรุงเทพมหานคร : สานักบริหารงานการศึกษา
พิเศษ, ม.ป.ป.
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะทางวิชาการ เล่ม ๖.
กรุงเทพมหานคร : สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ, ม.ป.ป.
หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา. สมุดบันทึกพัฒนาการ. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพมหานคร :
ม.ป.ท., ๒๕๓๕.
๑๕๔

ภาคผนวก
๑๕๕

ตัวอย่ำงแผนกำรสอนเฉพำะบุคคล
(Individual Implementation Plan : IIP)

ชื่อ-สกุล เด็กชายคนดี ขั้นเทพ ประเภทควำมพิกำร บกพร่องทางสติปัญญา ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๖


ทักษะที่สอน การกล้ามเนื้อมัดมัดใหญ่ เนื้อหำ การวิ่งข้ามสิ่งกีดขวาง
เป้ำหมำยระยะยำว ๑ ปี ภายในปีการศึกษา ๒๕๕๖ เด็กชายคนดีสามารถวิ่งข้ามสิ่งกีดขวางได้
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ ๑. ภายในเดือน ตุลาคม ๒๕๕๖ เมื่อกาหนดให้ เด็กชายคนดี
วิ่งข้ามสิ่งกีดขวางสูง ๕ เซนติเมตร จานวน ๒ จุดในระยะทาง ๑๐ เมตร สามารถวิ่งผ่านสิ่งกีดขวาง
ที่กาหนดได้

***************************************************************************
แผนที่ ๑ เริ่มใช้แผนวันที่ ๑๖ พ.ค. ๒๕๕๖ วันสิ้นสุดแผน ๓๐ มิ.ย. ๒๕๕๖
ใช้เวลาสอนครั้งละ ๓๐ นาที
สำระสำคัญ
วิ่งข้ามสิ่งกีดขวางสูง ๒ เซนติเมตร ในระยะทาง ๑๐ เมตร

จุดประสงค์
เด็กชายคนดี วิ่งข้ามสิ่งกีดขวางสูง ๒ เซนติเมตรเมตร จานวน ๒ จุดในระยะทาง ๑๐ เมตร
สามารถวิ่งผ่านสิ่งกีดขวางที่กาหนดได้
กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน
ขั้นนำ
๑. ผูส้ อนกล่าวคาทักทายผู้เรียนและผู้สอนร้องเพลงวิ่ง วิ่ง วิ่ง ให้ผู้เรียนฟังและฝึกให้ผู้เรียน
ร้องเพลงวิ่ง วิ่ง วิ่ง พร้อมกัน
๒. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันร้องเพลงวิ่ง วิ่ง วิ่ง
ขั้นสอน
๑. ผู้สอนจัดกิจกรรมบนลานกว้างปลอดภัยโดยจัดสถานการณ์ให้มีการวิ่งข้ามสิ่งกีดขวาง
กาหนดเส้นทางระยะ ๑๐ เมตร โดยใช้เชือกเป็นสิ่งกีดขวางจานวน ๒ จุด เพื่อให้ผู้เรียนวิ่งข้าม
๒. ผู้สอนสาธิตการวิ่งข้ามเชือก
๓. ผู้สอนจับแขนผู้เรียนพาวิ่งข้ามเชือกไปพร้อมกัน
๑๕๖

๔. ผู้สอนให้ผู้เรียนวิ่งข้ามเชือกด้วยตนเอง ช่วยเหลือเมื่อผู้เรียนทาไม่ได้และลดการช่วยเหลือ
เมื่อผู้เรียนทาได้มากขึ้น
๖. สิ่ งกีดขวางอาจเปลี่ย นเป็น แผ่นโฟม ท่อนไม้ ท่อพีวีซี ตามระดับความสามารถของ
ผู้เรียน
ขั้นสรุป
ผู้สอนทบทวนกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นสอน และให้การชมเชย

สื่อ /อุปกรณ์
๑. สิ่งกีดขวางที่มีความสูงแตกต่างกัน เช่น แผ่นโฟม เชือก ท่อนไม้ ท่อพีวีซี
๒. เพลง วิ่ง วิ่ง วิ่ง
กำรวัดและประเมินผล
วิธีการ - การทดสอบโดยการปฏิบัติจริง
เครื่องมือ - แบบสังเกตและบันทึกพฤติกรรม ได้แก่ แบบบันทึกการสอนตามแผนการสอน
เฉพาะบุคคล(IIP)
เกณฑ์การประเมินผล - สามารถปฏิบัติได้ในระดับความสามารถ ๔ ขึ้นไป

ลงชื่อ .............พอเพียง...............
(นางสาวพอเพียง เงินทอง)
ครูประจาชั้น

ควำมคิดเห็นหัวหน้ำกลุ่มบริหำรงำนวิชำกำร

ตรวจสอบแผนการสอนเฉพาะบุคคลแล้ว สามารถนาไปใช้สอนได้

ลงชื่อ ......นกน้อย ในกรงทอง.......


(นางนกน้อย ในกรงทอง)
หัวหน้างานวิชาการ

You might also like