3431005 - แบบวัดฯ ภาษาไทย ม.4

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

เคร�่องมือวัดและประเมินผลนักเร�ยน

"สติปัญญาจากการเรียนรู้อย่างถึงแก่น จะไม่มีทางลืมเลือน" ตามตัวชี้วัดเปนรายบุุคคล

แบบวัด
พีทาโกรัส

และบันทึกผลการเรียนรู้

แบบวัดและบันทึกผลการเร�ยนรู
ภาษาไทย
กลุมสาระการเร�ยนรูภาษาไทย
ตามหลักสูตรเเกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551

ภาษาไทย ม. 4
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4

ม. 4
Shape the FUTURE
ประนอม พงษเผือก และคณะ

ประนอม พงษเผือก
นงลักษณ เจนนาว�
จ�นตนา ว�รเกียรติสุนทร
แบบวัดฯ ภาษาไทย ม.4
วรวรรณ คงมานุสรณ
บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 8 858649 125149
โทร. /แฟกซ์. 02 6222 999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย) www.aksorn.com
65 .-
สารบัญ
• ตารางบันทึกผลการประเมินคุณภาพตามตัวชี้วัด (๑)

ตอนที่ ๑ การอ่าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ๑
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๑
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ๖) ๒
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ๔
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ การอ่านสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ๘
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๘
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖-๙, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗) ๙
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ๑๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ การอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ ๑๖
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๑๖
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒-๓, ๖-๘) ๑๗
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ๑๙
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ๒๓
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๒๓
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕-๗, ๙) ๒๔
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ๒๗
ตอนที่ ๒ การเขียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ การเขียนบันทึกความรู ้ ๓๓
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๓๓
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗-๘) ๓๔
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ๓๗
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ การเขียนเรียงความ ย่อความ จดหมาย ๔๐
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๔๐
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑-๓) ๔๑
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ๔๕
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ การเขียนอธิบาย ๔๙
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๔๙
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑) ๕๐
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ๕๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การกรอกแบบรายการ ๕๖
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๕๖
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑) ๕๗
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ๖๑
ตอนที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ หลักการฟังและการดูสื่อ ๖๔
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๖๔
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔, ๖) ๖๕
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ๖๗
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ การสรุปความจากการฟัง การดู ๗๐
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๗๐
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ๓-๔, ๖) ๗๑
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ๗๔
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ การพูดต่อที่ประชุมชน ๗๗
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๗๗
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๓.๑ ม.๔-๖/๕-๖) ๗๘
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ๘๐
ตอนที่ ๔ หลักภาษาไทยและการใช้ภาษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ธรรมชาติและพลังของภาษา ๘๓
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๘๓
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑) ๘๔
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ๘๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ลักษณะของภาษาไทย ๘๙
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๘๙
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑-๒) ๙๐
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ๙๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ค�ำราชาศัพท์ ๙๕
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๙๕
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓) ๙๖
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ๙๘
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การแต่งค�ำประพันธ์ประเภทกาพย์และโคลง ๑๐๑
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๑๐๑
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔) ๑๐๒
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ๑๐๔
ตอนที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ วรรณคดีและวรรณกรรม ๑๐๗
เรื่องที่ ๑ ค�ำนมัสการคุณานุคุณ
เรื่องที่ ๒ อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง
เรื่องที่ ๓ นิทานเวตาล (เรื่องที่ ๑๐)
เรื่องที่ ๔ นิราศนรินทร์ค�ำโคลง
เรื่องที่ ๕ หัวใจชายหนุ่ม
เรื่องที่ ๖ ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
เรื่องที่ ๗ มงคลสูตรค�ำฉันท์
เรื่องที่ ๘ มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก
• กิจกรรมฝึกทักษะ ๑๐๙
• กิจกรรมตามตัวชี้วัด (ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑-๖) ๑๑๑
• แบบทดสอบประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ๑๓๑
• กิจกรรมฝึกทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑๓๙
• แบบทดสอบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจ�ำวิชา ๑๔๑
ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา

ตอนที่ ๑ การอาน
หนวยการเรียนรูที่ ๑ การอานออกเสียง
บทรอยแกวและบทรอยกรอง
การอานเปนทักษะในการรับสารที่มีความสําคัญและจําเปนมากในชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะ
อยางยิ่ง การอานออกเสียงที่ผูอานจะตองมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับทวงทํานอง จังหวะ และรูปแบบ
ในการอาน เพื่อใหเขาใจเนื้อหาสาระไดอยางถูกตอง อันจะสงผลใหการอานสัมฤทธิผลและเกิดประโยชน
สูงสุด

กิจกรรมฝกทักษะ
ให้นักเรียนท�าเครื่องหมาย / แบ่งวรรคการอ่านบทร้อยกรอง แล้วฝกอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง
วุ้งเวิ้งชะวากผา ฆนแผ่นศิลาสลอน
ช่องชานชโลทร ชลเผ่นกระเซ็นสาย
ปรอยปรอยประเล่ห์เห- มอุทกพะพร่างพราย
ซาบซ่านสราญกาย กระอุร้อนก็ผ่อนซา
ท่อธารละหานห้วย ก็ระรวยระรินวา-
รีหลั่งถะถั่งมา บมิขาดผะผาดผัง
ไม้ไล่สล้างชม ขณะลมกระพือวัง-
เวงเสียงก็เสียดดัง ดุจซอผสานสาย
แสนสาธรารมณ์ จรชมก็ชวนสบาย
ใจหงอยก็ค่อยหาย หฤหรรษเหิมหาญ
(อิลราชค�าฉันท์ : พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ))

.......................................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................................


กิจกรรมตามตัวชี้วัด
กิจกรรมที่ ๑.๑ ให้นักเรียนท�าเครื่องหมาย ✓ ลงใน หน้าข้อความที่กล่าว คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้

ถูกต้อง ตรงตามหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ๑๕
(ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑)

๑. ก่อนอ่านควรศึกษาเรือ่ งทีอ่ า่ นให้เข้าใจโดยตลอดเสียก่อน ซึง่ ควรเข้าใจทัง้ สาระส�าคัญของเรือ่ ง


และข้อความทุกข้อความ
๒. ควรอ่านออกเสียงให้ดังพอสมควร ให้เหมาะสมกับสถานที่และจ�านวนผู้ฟัง
3. เมื่ออ่านจบย่อหน้าควรผ่อนลมหายใจ และเมื่อขึ้นย่อหน้าใหม่ควรเน้นเสียง
๔. ควรอ่านโดยใช้จังหวะเร็วเพื่อให้ผู้อ่านรู้สึกกระฉับกระเฉง ตื่นตัวตลอดเวลา
5. การครั่นเสียง คือ วิธีการอ่านโดยผ่อนเสียง ผ่อนจังหวะให้ช้าลง
๖. การหลบเสียง คือ การลากเสียงช้าๆ เพื่อให้เข้าจังหวะและไว้หางเสียงเพื่อความไพเราะ
๗. ควรต่อเติมถ้อยค�าจากต้นฉบับเพื่อเป็นการแสดงไหวพริบและสร้างความสนใจแก่ผู้ฟัง
๘. เมื่ออ่านบทร้อยกรองถึงตอนจบ ต้องเร่งจังหวะเพื่อเป็นสัญญาณบอกผู้ฟังว่าจะจบเรื่อง
๙. บทร้อยกรองประเภทฉันท์ ไม่อ่านเอื้อนเสียงที่ค�าลหุ เพราะมีเสียงเบาและสั้น
๑๐. ควรอ่านเน้นค�าที่ส�าคัญและค�าที่ต้องการเพื่อให้เกิดจินตภาพแก่ผู้ฟัง
๑๑. ควรอ่านให้ถกู ต้องตามอักขรวิธีในภาษาทัง้ ภาษาไทยและภาษาทีย่ มื มาจากภาษาอืน่ ๆ เช่น บาลี
สันสกฤต เขมร เป็นต้น
๑๒. ควรอ่านออกเสียงให้เป็นเสียงพูดอย่างธรรมชาติ โดยเน้นเสียงหนัก เบา สูง ต�่า ตามลักษณะ
การพูดโดยทั่วไป
๑3. ควรศึกษาการอ่านค�าที่ใช้อักษรย่อให้ละเอียด และอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง โดยไม่จ�าเป็น
ต้องอ่านเต็มค�า
๑๔. เมื่ออ่านออกเสียงบทร้อยกรองต้องเน้นเสียงให้ฟังดูยิ่งใหญ่มีพลังมากกว่าการอ่านออกเสียง
ร้อยแก้ว
๑5. ควรศึกษาหลักการอ่านทั้งบทร้อยแก้วและร้อยกรองให้ละเอียดแล้วน�ามาปรับใช้ให้เหมาะสม
กับบุคลิก ลักษณะ และน�้าเสียงของตนเอง


กิจกรรมที่ ๑.๒ ให้นักเรียนเลือกอ่านออกเสียงบทร้อยกรองที่สะท้อนภาพและแสดง คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้

ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทยปัจจุบัน รวมถึงให้ข้อคิดในการด�ำเนิน- ๒๐
ชีวิต แล้วเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
(ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ๖)
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................

3
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
ค�าชี้แจง ให้นักเรียนวงกลมเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ๑๕
๑. บุคคลในข้อใดมีสมาธิในการอ่านมากที่สุด
๑. นิ่มระบายสีในขณะที่อ่านหนังสือ
๒. หนูทั้งไอและจามในขณะอ่านหนังสือ
๓. นารีฟังเพลงไปพร้อมกับการอ่านหนังสือ
๔. น้อยอ่านหนังสือและกินขนมไปพร้อมกัน
๕. หน่อยอ่านหนังสือและจดบันทึกเรื่องที่อ่าน
๒. ข้อใดกล่าวถึงการอ่านออกเสียงได้ถูกต้องที่สุด
๑. อ่านออกเสียงเรียบๆ ไม่เน้นเสียงสูง ต�่า
๒. อ่านออกเสียงให้เป็นเสียงพูดอย่างธรรมชาติ
๓. อ่านออกเสียงแทรกอารมณ์ตามวิธีการพูดทั่วไป
๔. อ่านออกเสียงให้ความรู้สึกสะเทือนอารมณ์แก่ผู้ฟัง
๕. อ่านออกเสียงให้เน้นเสียงหนัก เบา สูง ต�่า มีลีลาในการออกเสียง
3. ครูสั่งให้นายเอกอ่านนวนิยายเรื่อง ชั่วฟ้าดินสลาย ให้เพื่อนๆ ฟัง เขารีบอ่านอย่างรวดเร็วไม่นานก็จบ
การกระท�าของนายเอกเกิดผลเสียอย่างไรชัดเจนที่สุด
๑. ผู้ฟังเกิดความร�าคาญ
๒. ผู้ฟังไม่เกิดอารมณ์ร่วมกับผู้อ่าน
๓. ผู้ฟังเกิดความเบื่อหน่ายตามเรื่องไม่ทัน
๔. ผู้ฟังไม่สามารถจับใจความส�าคัญของเรื่อง
๕. ผู้ฟังไม่เกิดอารมณ์ร่วมกับผู้อ่านท�าให้ขาดความสนใจ
๔. การอ่านในใจใช้สิ่งใดเป็นส�าคัญ
๑. สายตา สมอง
๒. สายตา ความคิด
๓. สายตา ความรู้สึก
๔. สายตา ความคิดเห็น
๕. สายตา ประสาทสัมผัสทั้งห้า
5. บุคคลในข้อใดเป็นนักอ่านที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
๑. แสงดาวแปลความเรื่องที่อ่านได้
๒. แสงเดือนขยายความเรื่องที่อ่านได้
๓. แสงอุษาบอกที่มาของเรื่องที่อ่านได้
๔. แสงรวีจับใจความส�าคัญของเรื่องที่อ่านได้
๕. แสงจันทร์เขียนภาพประกอบเรื่องที่อ่านได้


อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบค�ำถามข้อ ๖.- ๙.
โ ลมา เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้ำนมชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่ในน�้ำและมีสติปัญญาสูง มีเชื้อสายใกล้เคียงกับ
วาฬ ในภาษาอังกฤษเรียกโลมาว่า Dolphin ซึ่งมาจากภาษากรีกโบราณว่า δελφίς เดลฟิส (delphis)
ต�ำนานกรีกเล่าว่า เทพแห่งไวน์ของกรีก ชือ่ ไดโอนีซอส (Dionysos) แปลงลงมาเป็นมนุษย์ และโดยสารเรือ
ข้ามจากเกาะอิคาเรีย (Ikaria) ไปยังเกาะนาซอสในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ไดโอนีซอสนั้นแม้เป็นเทพ ทว่า
ไม่มญี าณหยัง่ รูว้ า่ เรือล�ำทีต่ นโดยสารไปนัน้ เป็นเรือโจร ลูกเรือจะปล้นผูโ้ ดยสารทุกคนถ้วนหน้า เมือ่ ถึงคราว
ของไดโอนีซอส เขาจึงถูกลูกเรือปล้น และคิดจะจับเขาไปขายเป็นทาส ด้วยเหตุนี้ เขาจึงจ�ำต้องแสดงตนว่า
เป็นเทพ และสาปให้เรือมีเถาองุ่นขึ้นเต็ม มีเสียงขลุ่ยดังขึ้น พวกลูกเรือตกใจจึงกระโดดน�้ำหนีไปหมด และ
ได้กลายร่างเป็นโลมามาจนกระทั่งทุกวันนี้ เมื่อกลายเป็นโลมา นิสัยของลูกเรือก็เปลี่ยนไปด้วย โดย
กลายเป็นสัตว์ที่ใจดี มีเมตตา แถมยังช่วยเทพแห่งสมุทร คือ โพซิดอนหาเจ้าสาวอีกด้วย ด้วยเหตุนี้
โลมาจึงได้รับเกียรติจากโพซิดอน ตั้งชื่อกลุ่มดาวกลุ่มหนึ่งว่า กลุ่มดาวโลมาอีกด้วย
(ที่มา : http://orraya-lachatasoros.blogspot.com/2012/07/blog-post_3867.html)
๖. ข้อความนี้เป็นงานเขียนประเภทใด
๑. นิทาน ๒. สารคดี
๓. เรื่องสั้น ๔. คัมภีร์ศาสนา
๕. ต�ำนานเรื่องสัตว์
๗. ถ้าจะอ่านออกเสียงข้อความนี้ต้องใช้หลักเกณฑ์ใดเป็นส�ำคัญ
๑. มีสมาธิในการอ่าน
๒. แบ่งวรรคตอนในการอ่านให้เหมาะสม
๓. ใส่อารมณ์ความรู้สึกส่วนตัวในการอ่าน
๔. อ่านออกเสียงให้เป็นเสียงพูดอย่างธรรมชาติ
๕. ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงค�ำจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
๘. เมื่อถึงเวลาอ่านออกเสียงเรื่องนี้ ผู้อ่านควรท�ำอย่างไร
๑. ท�ำความเข้าใจเรื่องให้ตลอด
๒. พิจารณาจุดเด่นจุดด้อยของเรื่อง
๓. ศึกษาวิธีการอ่านให้ถูกต้องตามความนิยม
๔. มีความตั้งใจอย่างแน่วแน่ ควบคุมสายตาไว้กับเรื่อง
๕. ศึกษาการอ่านค�ำจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
๙. ถ้าจะอ่านข้อความนี้ให้ผู้อื่นฟังด้วย ควรอ่านอย่างไร
๑. อ่านออกเสียงเบา ผู้ฟังจะไม่รำ� คาญ
๒. อ่านเสียงดังเพื่อเรียกร้องความสนใจจากผู้ฟัง
๓. อ่านเสียงดังให้เหมาะกับสถานที่และจ�ำนวนผู้ฟัง
๔. อ่านช้าๆ แล้วเน้นเสียงในบางตอนที่เห็นว่าน่าสนใจ
๕. อ่านเร็วเพื่อกระตุ้นให้ผู้ฟังตามเรื่องให้ทันและจับใจความส�ำคัญได้
5
๑๐. ข้อใดอ่านออกเสียงอักษรย่อ ก.ค. ถูกต้อง
๑. กรกฎาคม
๒. การเคหะแห่งชาติ
๓. กองควบคุมอาหาร
๔. กองควบคุมการระบายน�ำ้
๕. คณะกรรมการการค้าระหว่างประเทศ
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบค�ำถามข้อ ๑๑. - ๑๒.
มนุษย์ทกุ วันนีม้ แี ต่แลเห็นความผิดของผูอ้ นื่ ปิดบังซ่อนเร้นความบกพร่องของตน ซ�ำ้ เติมผูก้ า้ วพลาด
ไม่ยอมให้โอกาสใครที่อยากมีโอกาสสักหนหรือสองหนส�ำหรับแก้ตัว อย่างหล่อนนั้น มีความอยากแก้ตัว
อยู่ในหัวใจหลายครั้งทีเดียวในปีหนึ่งๆ แต่ความอยากมักสูญหายตายจากไปในที่สุดเสมอ ด้วยสิ่งแวดล้อม
ชักจูง ด้วยผู้คนที่ไม่ยอมให้ความร่วมมือ และท้ายที่สุดก็ด้วยใจที่เกิดความท้อแท้ จนสิ้นพละก�ำลังจะต่อสู้
กับอ�ำนาจฝ่ายต�ำ่
(เลื่อมสลับลาย : กฤษณา อโศกสิน)
๑๑. ผู้เขียนกล่าวถึงสิ่งใด
๑. ลักษณะสังคมไทย
๒. ปกติวิสัยของมนุษย์
๓. การเอาชนะอ�ำนาจฝ่ายต�่ำ
๔. โอกาสปรับตัวของผู้ที่เคยก้าวผิด
๕. ความต้องการปรับเปลี่ยนชีวิตของคนที่เคยก้าวผิด
๑๒. ข้อใดเป็นความคิดหลักของเรื่อง
๑. สิ่งแวดล้อมกับชีวิตมนุษย์
๒. สภาพจิตใจของคนที่เคยก้าวผิดพลาด
๓. ผู้ที่เคยก้าวผิดพลาดควรได้รับการให้อภัย
๔. สังคมต้องให้โอกาสคนที่เคยผิดพลาดได้แก้ตัว
๕. การดิ้นรนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย์

๑๓. ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์ มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต
แม้นพูดชั่วตัวตายท�ำลายมิตร จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจา
(นิราศภูเขาทอง : สุนทรภู่)
บทประพันธ์ข้างต้นมีความดีเด่นด้านวรรณศิลป์ในข้อใดเด่นชัดที่สุด
๑. การเล่นค�ำ ๒. การสรรค�ำ
๓. การเล่นสัมผัส ๔. การใช้ภาพพจน์
๕. การให้ความหมายลึกซึ้งกินใจ

6
๑๔. บทประพันธ์ข้อใดใช้กลวิธีการคร�่ำครวญร�ำพันเพื่อให้ผู้อ่านรู้สึกเศร้าโศกไปด้วย
๑. อิลโอนศิโรเพฐน์ พจน์ขอขมาภัย
ศิวะทรงพิโรธใน ธ กระท�ำกระล�ำพร
๒. เวรามาทันแล้ว จึงจ�ำแคล้วแก้วโกมล
ให้แค้นแสนสุดทน ทุกข์ถึงเจ้าเศร้าเสียดาย
๓. พักตร์น้องละอองนวลปลั่งเปล่ง ดังดวงจันทร์วันเพ็งประไพศรี
อรชรอ้อนแอ้นทั้งอินทรีย์ ดังกินรีลงสรงคงคาลัย
๔. แม้น้องตายพี่จะวายชีวิตด้วย เป็นเพื่อนม้วยมิ่งแม่ไปเมืองผี
ร�ำจวนจิตคิดมาในวารี จนถึงที่ศาลาบ้านนาเกลือ
๕. ต้อยตะริดติด๊ ตีเ่ จ้าพีเ่ อ๋ย จะละเลยเร่รอ่ นไปนอนไหน
แอ้อีอ่อยสร้อยฟ้าสุมาลัย แม้นเด็ดได้แล้วไม่ร้างให้ห่างเชย
๑๕.
ุ ุ ุ ุ ุ ุ ุ
ั ั ั ั ั ั ั
ุ ุ ุ ุ ุ ุ ุ
ั ั ั ั ั ั ั
ุ ุ ุ ุ ุ ุ ุ
ั ั ั ั ั ั ั
ุ ุ ุ ุ ุ ุ ุ
ั ั ั ั ั ั ั
แผนผังฉันทลักษณ์ข้างต้นตรงกับบทประพันธ์ในข้อใด
๑. แง่งเงื้อมชะง่อนงาม ก็วะวามวิไลปูน
ปนรัตนไพฑูร- ยพิพิธประภากร
๒. ตูข้าพระบาทสิสุจริต บมิคิดจะปดใคร
จึ่งหวังและมุ่งมะนะสะใน วรเมตตะธรรมา
๓. เพราะฉะนั้นจะให้นาง จุติสู่ณแดนคน
มะทะนาประสงค์ตน จะก�ำเนิดณรูปใด
๔. เมื่อก่อนสิชายรัก ก็มิพักจะเออจะอวย
อวดดีและอวดด้วย บมิเคยจะลุ่มจะหลง
๕. ถลันจ้วงทะลวงจ�ำ้ บุรุษน�ำอนงค์หนุน
บุรุษรุกอนงค์รุน ประจญร่วมประจัญบาน

You might also like