Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 35

มัลติมิเตอร์จำลอง

ชื่อผู้จัดทำ
นายธนพัฒน์ แผ่นทอง
นายภาคิน สอนรัมย์
นายสัญญา พุฒลา
นายภูชิตชัย พิกุลทอง

รายงานผลการดำเนินงานรายวิชาโครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง
ปีการศึกษา 2561
ลิขสิทธิ์เป็นของวิทยาลัยการอาชีพสังขะ
มัลติมิเตอร์จำลอง

ชื่อผู้จัดทำ
นายธนพัฒน์ แผ่นทอง
นายภาคิน สอนรัมย์
นายสัญญา พุฒลา
นายภูชิตชัย พิกุลทอง

รายงานผลการดำเนินงานรายวิชาโครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง
ปีการศึกษา 2562
ลิขสิทธิ์เป็นของวิทยาลัยการอาชีพสังขะ
แบบเสนอโครงการ
รหัสวิชา 2104 8501 ชื่อวิชา โครงการ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชา ช่างไฟฟ้า สาขางาน ไฟฟ้ากำลัง
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 กลุ่ม ชฟ.34

1.ชื่อโครงการ : มัลติมิเตอร์จำลอง
2.ผู้รับผิดชอบโครงการ
2.1นายภูชิตชัย พิกุลทอง รหัสนักศึกษา 6021040146
2.2นายธนพัฒน์ แผ่นทอง รหัสนักศึกษา 6021040114
2.1นายภาคิน สอนรัมย์ รหัสนักศึกษา 6021040098
2.2นายสัญญา พุฒลา รหัสนักศึกษา 6021040103
3.ครูที่ปรึกษาโครงการ
3.1ว่าที่ร้อยโทสราวุธ ถุนาพรรณ์ ครูที่ปรึกษาโครงการ
3.2นายฤทธิกร มั่นหมาย ครูที่ปรึกษาโครงการร่วม
3.3นางสาวกัณฑมาศ แช่มแร่ม ครูที่ปรึกษาโครงการร่วม
4.ครูผู้สอน
4.1ว่าที่ร้อยโทสราวุธ ถุนาพรรณ์
5.ระยะเวลาการดำเนินงาน
สัปดาห์ที่1-18 (15ตุลาคม 2562- 11 กุมภาพันธ์ 2563)
6.หลักและเหตุผล
เนื่องจากปัจจุบันนี้สื่อการเรียนรู้เป็นสิ่งที่มีความสำคัญและจำเป็นเพื่อใช้ในการทำให้ผู้เรียนรู้สามารถ
เข้าใจได้รวดเร็วยิ่งขึ้นโดยผู้ที่เข้ามาศึกษาสามารถมองเห็นภาพประกอบภายในซึ่งจะทำให้สามารถเรียกชื่อ
อุปกรณ์และอธิบายหลักการทำงานของระบบได้อย่างถูกต้องเป็นการสร้างความสนใจให้กับผู้ที่ต้องการศึกษา
ชุดสื่อประกอบการสอนเรื่องมัลติมิเตอร์แบบอนาล็อกนี้ เป็นชิ้นงานที่จำลองการทำงานของมัลลติมิเตอร์แบบ
อนาล็อกเพื่อใช้เป็นสื่อในการอธิบายการใช้งานของเครื่องมัลติมิเตอร์ให้นักเรียนเข้าใจมากยิ่งขึ้น
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทำให้มีการพัฒนาทางด้านระบบอิเล็กทรอนิกส์มีความล้ำหน้ามาก มี
ระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพสูง ภายใต้เทคโนโลยีการออกแบบที่เรียกว่าเทคโนโลยีแบบนาโนแต่ระบบ
การทำงานของอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนต่างก็ยังคงต้องใช้ทฤษฎีและความรู้เดิมเป็นพื้นฐานในการพัฒนาระบบให้มี
ประสิทธิภาพสูงได้ ชุดสื่อประกอบการสอนเรื่องมัลติมิเตอร์แบบอนาล็อกได้คิดค้นมาเพื่อให้ผู้ที่เรียนรู้สามารถ
เข้าใจระบบการทำงานและอธิบายถึงวิธีการใช้งานของมัลติมิเตอร์แบบอนาล็อกได้ ผู้เรียนรู้สามารถอธิบายและ
รู้จักวิธีการใช้งานเบื้องต้นของเครื่องวัดแบบมัลติมิเตอร์แบบอนาล็อกได้
ดังนั้นทางกลุ่มจึงได้คิดที่จะสร้างชุดสื่อประกอบการสอนเรื่องมัลติมิเตอร์ จำลองขึ้นเพื่อเป็นการศึกษา
และใช้ประกอบการเรียนการสอนของนักเรียนเพื่อที่จะให้นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายการใช้งานของมัล
ติมิเตอร์เบื้องต้นได้และ สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจำวันต่อไป
7.วัตถุประสงค์ของโครงการ
7.1 เพื่อให้เข้าใจระบบการทำงานของเบื้องต้นของมัลติมิเตอร์
7.2 เพื่อให้มองเห็นภาพจริงจากอุปกรณ์การทำงานของมัลติเตอร์
7.3 เพื่อให้สามารถ วิเคราะห์แก้ไขปัญหาเบื้องต้น ของมัลติมิเตอร์
7.4 เพื่อเป็นต้นแบบในการพัฒนาระบบของเครื่องมัลติเตอร์แบบอนาล็อก
8.ขอบเขตของโครงการ
8.1 สร้างชุดสื่อการสอนจำลองแบบเครื่องมัลติมิเตอร์แบบอนาล็อกจำนวน ๑ ชุด
8.2 สามารถใช้ประกอบการสอนและสาธิตการใช้งานจริงได้
9.ประโยชน์คาดว่าที่จะได้รับ
9.1 สามารถเรียนรู้ส่วนประกอบและอธิบายวิธีการใช้งานของย่านวัดในแต่ละย่านวัดของของมัลติ
มิเตอร์ได้
9.2 ความรู้ในเรื่องการติดตั้งหลอดไฟฟ้า
10.แผนการดำเนินงาน
ตารางแผนการดำเนินงาน

ลำดับ กิจกรรม ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์


ที่ ๒๕๖๑ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒
๒๕๖๑
๑ ๒ ๓ ๔๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔
1 ขออนุมัติโครงการ
2 ศึกษาค้นคว้าข้อมูล/
ออกแบบชิ้นงาน
3 จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์
4 ลงมือปฏิบัติงาน
5 ทดลองใช้/เก็บข้อมูล
6 นำเสนอ/รายงานผล

11. งบประมาณ
11.1 ไม้อัดแผ่นสำเร็จรูป จำนวน 1 แผ่น 500 บาท
11.2 สีสเปรย์พ่นเหล็ก สีดำ จำนวน 2 กระป๋อง 100 บาท
11.3 ป้ายไวนิล จำนวน 1 แผ่น 150 บาท
11.4 สกรูเกลียวปล่อย จำนวน 30 ตัว 40 บาท
รวมทั้งสิ้น 790 บาท

12.สถานที่ดำเนินงาน
แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยการอาชีพสังขะ

13.การติดตามและประเมินผล
13.1 ออกแบบเครื่องมือทดสอบชิ้นงาน
13.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของชิ้นงาน
13.3 ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ…………………………… ผู้เสนอโครงการ ลงชื่อ…………………………… ผู้เสนอโครงการ
(นายภูชิตชัย พิกุลทอง) (นายธนพัฒน์ แผ่นทอง )
นักศึกษาระดับ ปวช. นักศึกษาระดับ ปวช.

ลงชื่อ…………………………… ผู้เสนอโครงการ ลงชื่อ…………………………… ผู้เสนอโครงการ


(นายภาคิน สอนรัมย์) (นายสัญญา พุฒลา)
นักศึกษาระดับ ปวช. นักศึกษาระดับ ปวช.

ลงชื่อว่าที่ร้อยโท…………………………… ผู้เห็นชอบโครงการ ลงชื่อ………………………...ผู้เห็นชอบโครงการ


(สราวุธ ถุนาพรรณ์) (นายฤทธิกร มั่นหมาย)
ครูที่ปรึกษาโครงการ ครูที่ปรึกษาโครงการร่วม

ลงชื่อ…………………………… ผู้เห็นชอบโครงการ ลงชือ่ ว่าที่ร้อยโท………………………...ผู้เห็นชอบโครงการ


(นางสาวกัณฑมาศ แช่มแร่ม) (สราวุธ ถุนาพรรณ์)
ครูที่ปรึกษาโครงการร่วม ครูทผี่ ู้สอน

ลงชื่อ……………………………..ผู้เห็นชอบโครงการ ลงชื่อ………………………....ผู้เห็นชอบโครงการ
(นายอดิศักดิ์ แก้วใส) (นายชาครีย์ มะลิงาม)
หัวหน้าแผนกช่างไฟฟ้ากำลัง หัวหน้างานวิจัยพัฒนานวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์

ลงชื่อ……………………..........ผู้เห็นชอบโครงการ ลงชื่อ……………………….ผู้เห็นชอบโครงการ
(นายสุวิทย์ ศิริหนองหว้า) (นางสาวนภาพร สารทอง)
หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตรการเรียน การสอน รองผูอ้ ำนวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ

ลงชื่อ……………………........ผู้เห็นชอบโครงการ ลงชือ่ ว่าที่ร้อยโท………………………...ผู้เห็นชอบโครงการ


(นายคมชาญ คมพิชญ์บำเพ็ญ) (บุญชุบ หลั่งทรัพย์)
รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพสังขะ
วิทยาลัยการอาชีพสังขะ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ใบรับรองโครงการวิชาชีพ
ชื่อโครงการวิชาชีพ มัลติมิเตอร์จำลอง
ชื่อนักศึกษา 1.นายภูชิตชัย พิกุลทอง รหัสนักศึกษา 6021040146
2.นายธนพัฒน์ แผ่นทอง รหัสนักศึกษา 6021040114
1.นายภาคิน สอนรัมย์ รหัสนักศึกษา 6021040098
2.นายสัญญา พุฒลา รหัสนักศึกษา 6021040103
หลักสูตร ประกาศณียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชา ช่างไฟฟ้า
สาขางาน ไฟฟ้ากำลัง
ครูที่ปรึกษาโครงการ ว่าที่ร้อยโทสราวุธ ถุนาพรรณ์
ครูที่ปรึกษาโครงการร่วม นายฤทธิกร มั่นหมาย
ครูที่ปรึกษาโครงการร่วม นางสาวกัณฑมาศ แช่มแร่ม
ครูผู้สอน ว่าที่ร้อยโทสราวุธ ถุนาพรรณ์
ปีการศึกษา 2562
คณะกรรมการตรวจสอบวิชาชีพ ลายมือชื่อ
1.ว่าที่ร้อยโทสราวุธ ถุนาพรรณ์ ครูที่ปรึกษาโครงการ
2.นายฤทธิกร มั่นหมาย ครูที่ปรึกษาโครงการร่วม
3.นางสาวกัณฑมาศ แช่มแร่ม ครูที่ปรึกษาโครงการร่วม
4.ว่าที่ร้อยโทสราวุธ ถุนาพรรณ์ ครูผู้สอน
5.นายอดิศักดิ์ แก้วใส หัวหน้าแผนกช่างไฟฟ้ากำลัง
6.นายชาครีย์ มะลิงาม หัวหน้างานวิจัยฯ
7.นายสุวิทย์ ศิริหนองหว้า หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตรฯ
8.นางสาวนภาพร สารทอง รองผู้อำนวยการแผนฯ
9.นายคมชาญ คมพิชญ์บำเพ็ญ ผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

สอบโครงการ วันที่ 18 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 เวลา 08.30น.-16.30น.


สถานที่สอบ แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยการอาชีพสังขะ
ว่าที่ร้อยโท ..............................................
(บุญชุบ หลั่งทรัพย์)
ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพสังขะ
วันที่ ............. เดือน .............พ.ศ. ........
แบบเสนอโครงการ
ชื่อโครงการ มัลติมิเตอร์จำลอง
ประเภทผลงาน เพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอน
ผู้เสนอโครงการ
1.นายภูชิตชัย พิกุลทอง
2.นายธนพัฒน์ แผ่นทอง
3.นายภาคิน สอนรัมย์
4.นายสัญญา พุฒลา
1.หลักและเหตุผล
เนื่องจากปัจจุบันนี้สื่อการเรียนรู้เป็นสิ่งที่มีความสำคัญและจำเป็นเพื่อใช้ในการทำให้ผู้เรียนรู้
สามารถเข้าใจได้รวดเร็วยิ่งขึ้นโดยผู้ที่เข้ามาศึกษาสามารถมองเห็นภาพประกอบภายในซึ่งจะทำให้
สามารถเรียกชื่ออุปกรณ์และอธิบายหลักการทำงานของระบบได้อย่างถูกต้องเป็นการสร้างความสนใจ
ให้กับผู้ที่ต้องการศึกษา ชุดสื่อประกอบการสอนเรื่องมัลติมิเตอร์แบบอนาล็อกนี้ เป็นชิ้นงานที่จำลอง
การทำงานของมัลลติมิเตอร์แบบอนาล็อกเพื่อใช้เป็นสื่อในการอธิบายการใช้งานของเครื่องมัลติมิเตอร์
ให้นักเรียนเข้าใจมากยิ่งขึ้น
2.วัตถุประสงค์ของโครงการ
2.1 เพื่อให้เข้าใจระบบการทำงานของเบื้องต้นของมัลติมิเตอร์
2.2 เพื่อให้มองเห็นภาพจริงจากอุปกรณ์การทำงานของมัลติเตอร์
3.เป้าหมายของโครงการ
3.1เป้าหมายเชิงปริมาณ
แบบจำลองมัลติมิเตอร์อนาล็อก เพื่อใช้ในการประกอบการสอน
3.2เป้าหมายเชิงคุณภาพ
มัลติมิเตอร์จำลอง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
4.ระยะเวลาการดำเนินงาน
สัปดาห์ที่1-18 (15ตุลาคม 2562- 11 กุมภาพันธ์ 2563)
ปฏิทินการดำเนินงาน
ลำดับ กิจกรรม ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์
ที่ 2562 2562 2562 2563 2563
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
1 ขออนุมัติโครงการ
2 ศึกษาค้นคว้าข้อมูล/
ออกแบบชิ้นงาน
3 จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์
4 ลงมือปฏิบัติงาน
5 ทดลองใช้/เก็บข้อมูล
6 นำเสนอ/รายงานผล

5.งบประมาณในการทำโครงการ(กลุ่มผู้จัดทำจัดหางบประมาณเอง)
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 540 บาท
6.วัสดุอุปกรณ์ในการทำงาน
6.1ไม้อัดแผ่นสำเร็จรูป จำนวน 1 ตัว 500 บาท
6.2สีสเปรย์กระป๋อง สีดำ จำนวน 4 ตัว 100 บาท
6.3ป้ายไวนิล จำนวน 1 เส้น 150 บาท
6.4สกรูเกลียวปล่อย จำนวน 30 ตัว 40 บาท
รวมทั้งสิ้น 790 บาท
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
7.1สามารถเรียนรู้ส่วนประกอบและอธิบายวิธีการใช้งานของย่านวัดในแต่ละย่านวัดของ
ของมัลติมิเตอร์ได้
8.การติดตามผล
8.1ประเมินผลก่อนปฏิบัติงาน
8.2ประเมินผลระหว่างปฏิบัติงาน
8.3ประเมินผลระหว่างปฏิบัติงานเสร็จ
8.4ประเมินผลจากแบบสอบถาม
9.ปัญหาและอุปสรรคที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
9.1วัสดุบางรายการหายากในท้องตลาด
10.ผู้รับผิดชอบโครงการ
10.1นายภูชิตชัย พิกุลทอง
10.2นายธนพัฒน์ แผ่นทอง
10.1นายภาคิน สอนรัมย์
10.2นายสัญญา พุฒลา
11.ครูที่ปรึกษาโครงการ
11.1ว่าที่ร้อยโทสราวุธ ถุนาพรรณ์
11.2นายฤทธิกร มั่นหมาย
11.3นางสาวกัณฑมาศ แช่มแร่ม
12.ครูประจำรายวิชาโครงการ
12.1ว่าที่ร้อยโทสราวุธ ถุนาพรรณ์

ชื่อ :นายภูชิตชัย พิกุลทอง
:นายธนพัฒน์ แผ่นทอง
:นายภาคิน สอนรัมย์
:นายสัญญา พุฒลา
ชื่อเรื่อง :มัลติมิเตอร์จำลอง
สาขาวิชา :ช่างไฟฟ้า
แผนกวิชา :ไฟฟ้ากำลัง
ที่ปรึกษา :ว่าที่ร้อยโทสราวุธ ถุนาพรรณ์
:นายพาสันติ บุญธรรม
ปีการศึกษา :2561

บทคัดย่อ
โครงงานเรื่อง “ มัลติมิเตอร์จำลอง “ มีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ในงานจราจร
ซึ่งประดิษฐ์ชิ้นงานนี้ขึ้นมาเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง ทางคณะผู้จัดทำได้ศึกษาหาข้อมูลและทำการ
ประดิษฐ์ชิ้นงานนี้ขึ้นมาเองเพื่อทำการสร้างชิ้นงานที่ทำให้นักศึกษาได้ศึกษาชิ้นงานนี้และเป็นอุปกรณ์
การเรียนการสอนให้กับทางสถาบันการศึกษา

กิตติกรรมประกาศ

การดำเนินโครงการครั้งนี้จะไม่สามารถลุล่วงได้ หากปราศจากความช่วยเหลือจากคณะ
อาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมโครงการ ซึ่งประกอบด้วย อาจารย์สมศักดิ์ แสนแก้ว
และผู้ปกครอง ที่ได้กรุณาให้ข้อเสนอแนะช่วยเหลือ และให้คำปรึกษาตรวจแก้ข้อบกพร่องต่างๆเป็น
อย่างดี ตลอดจนอาจารย์ท่านอื่นๆคณะผู้จัดทำ ขอขอบพระคุณอย่างสูง
ตลอดระยะเวลาในการดำเนินโครงการ คณะผู้จัดทำได้รับความช่วยเหลือจาก อาจารย์ที่ปรึกษาและ
อาจารย์ปรึกษาร่วมโครงการ มาโดยตลอดนอกจากนี้ยังมีอีกหลายท่านที่ไม่ได้กล่าวนาม ที่ได้ให้ความ
ช่วยเหลือในด้านต่างๆ จึงขอขอบคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ด้วย สุดท้ายนี้ คณะผู้จัดทำขอมอบคุณค่า
และประโยชน์ของรายงานผลการดำเนินโครงการฉบับนี้เป็นเครื่องบูชาพระคุณพ่อพระคุณแม่
ตลอดจนคุณครูและผู้มีพรคุณทุกท่านที่ได้อบรมสั่งสอน คอยให้กำลังใจ สนับสนุน ให้คณะผู้จัดทำได้
ทำการศึกษาและดำเนินโครงการสำเร็จตามความมุ่งหมาย

ชื่อผูจ้ ัดทำ
นางภูชิตชัย พิกุลทอง
นายธนพัฒน์ แผ่นทอง
นายภาคิน สอนรัมย์
นายสัญญา พุฒลา
สารบัญ

เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญรูป ค
สารบัญตาราง ง
บทที่1 บทนำ
1.1ความเป็นมาของงานวิจัย 1
1.2วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 1
1.3ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ 1
1.4ขอบเขตของงานวิจัย 1
1.5วิธีการดำเนินงาน 2
1.6นิยามศัพท์เฉพาะ 2
บทที่2 หลักการและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
2.1หลักการและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง 3-6
บทที่3 วิธีและการดำเนินงาน
3.1วิธีการดำเนินงาน 7
3.2เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ดำเนินงาน 8
3.3ศึกษาข้อมูล 8
3.4เสนอโครงการ 8
3.5ทำแบบประเมินผล 9
บทที่4 ผลการทดลอง
4.1เพศของผู้ประเมิน 10
4.2ระดับอายุของผู้ประเมิน 10
4.3ผลการประเมินของเครื่องดูดน้ำมัน 11
เบรก และน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม
สารบัญ(ต่อ)

บทที่5 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
5.1สรุปผล 12
5.2อภิปรายผล 12
5.3ข้อเสนอแนะ 12
บรรณานุกรม
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก ข
ภาคผนวก ค

สารบัญรูป
รูปที่ หน้า
รูปที่ 2.1 แสดงภาพคอปเปอร์ลม 3
รูปที่ 2.2 แสดงภาพบอลวาล์ว 4
รูปที่ 2.3 ภาพแสดงสายยางใส 4
รูปที่ 2.4 ข้อต่อทองเหลือง หางปลาไหล 5
รูปที่ 2.5 ตัวควบคุมลมดูด 5
รูปที่ 2.6 กระปุกฝาเกลียว 6
รูปที่ 2.7 ตะขอแขวนอุปกรณ์ 6
รูปที่ 3.1 รูปแผนผังขั้นตอนการดำเนินงาน 7

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า
ตารางที่ 3.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ดำเนินการ 8
ตารางที่ 4.1 แสดงผลเพศ 10
ตารางที่ 4.2 แสดงผลอายุตอบแบบสอบถาม 10
ตารางที่ 4.3 แสดงผลการประเมินผลการใช้อุปกรณ์ 11
เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์โดยใช้ระบบลม
บทที่1
บทนำ
1.ความเป็นมาของงานวิจัย
ในปัจจุบันการทำงานได้มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานช่างยนต์เพื่อ
อำนวยความสะดวกมากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากปัจจุบันในงานอาชีพต่างๆ ต้องการความสะดวก และ
รวดเร็วในการทำงานเพื่อตอบสนองกับชีวิตประจำวันที่เร่งรีบ
คณะผู้จัดทำได้ตระหนักถึง ความสะดวก และใช้ในงานที่ต้องทำดังกล่าว ไม่มีอุปกรณ์ช่วยทุ่น
แรงและมักจะทำงานล่าช้า คณะผู้จัดทำจึงได้คิดค้นอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรก และน้ำมันเกียร์ โดย
ใช้ระบบลมขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงานนี้โดยเฉพาะ
2. วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
2.1 เพื่อความสะดวกในการทำงาน
2.2 เพื่อความรวดเร็วในการทำงาน
3. ประโยชน์ที่รับจากโครงการ
3.1 จะช่วยประหยัดเวลาในการทำงาน
3.2 สามารถปฏิบัติงานได้ง่ายขึ้น
4. ขอบเขตของงานวิจัย
คณะผู้จัดทำได้ออกสำรวจตามสถานประกอบการพบว่า 85 % ของสถานประกอบการที่สำรวจ
ปฏิบัติเพื่อปราศจากอุปกรณ์ช่วยอำนวยความสะดวก
และผู้จัดทำได้สำรวจร้านค้าเครื่องมือช่างพบว่า 90 % ไม่มีอุปกรณ์นี้วางจำหน่ายตามร้านขาย
เครื่องมือช่าง ผู้จัดทำจึงได้ริเริ่มดำเนินงานจัดทำโครงการชิ้นนี้ขึ้นมา
2

5.วิธีการดำเนินงาน
5.1 วางแผนศึกษาข้อมูล
5.2 ออกแบบชิ้นงาน
5.3 เสนอโครงการ
5.4 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
5.5ดำเนินการจัดสร้างเครื่องดูดน้ำมันเบรก น้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม
5.6 จัดเก็บข้อมูลผลการทดลอง
5.7 ประเมินผลโดยผู้เชี่ยวชาญ
5.8 สรุปผลการทดลอง
นิยามศัพท์เฉพาะ
อุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม หมายถึง น้ำมันเบรก หมายถึง
เป็นของเหลวที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดกำลังโดยของเหลว หรือเรียกว่าไฮดรอลิกก็ได้เมื่อ
เราเหยียบเบรกที่แป้นเบรก แรงดันที่เหยียบจะถูกถ่ายทอดผ่านของเหลว (น้ำมันเบรก) ในระบบยังไป
ห้ามล้อทั้ง4 ล้อ ซึ่งจะทำให้ความเร็วของรถช้าลง หรือหยุดตามแรงกดที่ต้องการ น้ำมันเกียร์ หมายถึง
น้ำมันหล่อลื่นในระบบเกียร์ธรรมดา และระบบเกียร์ออโต้ (เกียร์อัตโนมัติ) การทำงานของของระบบ
เกียร์มีกลไกการทำงานที่ซับซ้อนและมีแรงเสียดทานตลอดช่วงการขับขี่ น้ำมันเกียร์จึงเป็นตัวช่วยที่ดี
ในการหล่อลื่นระบบเกียร์ให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและป้องกันเกียร์สะดุด
การประเมินผล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ในการสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อ
อุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม
ผู้เชี่ยวชาญ หมายถึง ผู้ที่ให้คำแนะนำและประเมินผล ได้แก่ คณะครูอาจารย์แผนก
วิชาช่างยนต์ วิทยาลัยการอาชีพสังขะ
บทที่2
ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาจัดโครงการอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรก น้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม คณะ


ผู้จัดทำได้รวบรวมแนวคิดทฤษฏีและหลักการต่างๆ จากเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้
2.1ข้อต่อลมสวมเร็ว (quick connector) หรือ คอปเปอร์ลม
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อสายลมจากท่อส่งลมอัดที่มาจากปั๊มลมออกแบบมาเพื่อให้มี
การใช้งานที่ง่ายและรวดเร็วสามารถเชื่อมต่อหรือปลดออกได้ทันทีที่ต้องการตัวอุปกรณ์เป็นโลหะ
สังกะสีผสม (zinc alloy) ซึ่งมีคุณสมบัติที่โดดเด่น คือ การป้องกันสนิม มีความแข็งแรงทนทาน จึงทำ
ให้สามารถใช้งานได้กับลมที่มีแรงดันสูงๆ รวมถึงป้องกันการเกิดสนิมจากละอองน้ำที่มาจากลม
เนื่องจากระบบกรองลมไม่ได้ประสิทธิภาพ

รูปที่2.1แสดงภาพคอปเปอร์ลม
4

2.2บอลวาล์ว
บอลวาล์ว คือ วาล์วทีม่ ีตัวเปิด-ปิด (DISC)เป็นทรงกลม ซึ่งทรงกลมนั้นจะมีรุตรงกลางให้น้ำไหล
ผ่าน ส่วนด้ามจับจะบ่งบอกว่าวาล์วกำลังเปิดหรือว่าปิด
บอลวาล์วมีความคงทน และมีหลากหลายแบบให้ใช้สำหรับแต่ละงาน ซึ่งสามารถทนแรงดันได้
สูงถึง 1000 บาร์ และทนอุณหภูมิได้สูงถึง 500 องศาเซลเซียส ขึ้นอยู่กับการออกแบบ

รูปที่2.2แสดงภาพบอลวาล์ว

2.3สายยางใส
ยางหรือพลาสติก เป็นต้น ทำเป็นเส้นยาวกลวงเหมือนท่อ สำหรับเป็นทางลำเลียงน้ำ

รูปที่2.3ภาพแสดงสายยางใส
5

2.4ข้อต่อทองเหลือง หางปลาไหล
ข้อต่อทองเหลือง คือโลหะผสมชนิดหนึ่งที่มีส่วนประกอบระหว่างทองแดงและสังกะสี ข้อต่อ
ทองเหลืองจะมีสีเหลืองคล้ายสีเนื้อทองคำ มีความทนทานกับสนิม กันน้ำได้ ทนต่อทุกสภาพอากาศ
และทนจากรอยขีดขวน ข้อต่อทองเหลืองนิยมใช้ในงานอุตสาหกรรมยานยนต์ งานแก๊ส งานข้อต่อลม
อุปกรณ์ไฟฟ้า ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ กุญแจรถ กุญแจบ้าน รวมถึงป้ายต่างๆที่ต้องการความแข็งแรง
อีกด้วย

รูปที่2.4ข้อต่อทองเหลือง หางปลาไหล

2.5ตัวควบคุมลมดูด
เป็นส่วนหนึ่งในระบบการปรับปรุงคุณภาพลมหรือ FRL ซึง่ R ใช้กันมากในระบบนิวเมติกส์
เพื่อใช้ในการปรับแรงดันลมในระบบให้ได้แรงดันลม

รูปที่2.5ตัวควบคุมลมดูด
6

2.6กระบอกฝาเกลียว
คือขวดที่ทำจากพลาสติก ใช้บรรจุของเหลว ขนาดบรรจุ 500 มล.

รูปที่2.6ภาพแสดงกระบอกฝาเกลียว

2.7ฝาเกลียว
คือสิ่งที่ใช้ปิดภาชนะต่างๆ

รูปที่2.7ภาพแสดงฝาเกลียว
บทที่3
วิธีดำเนินงานวิจัย
การดำเนินการครั้งนี้ เป็นงานทดลอง ที่มุ่งจะศึกษาจัดทำโครงการเครื่องดูดน้ำมันเบรก
น้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม ดังนั้นเพื่อให้โครงการเป็นไปด้วยความถูกต้อง และบรรลุตรงตาม
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผู้จัดทำจึงได้กำหนดขั้นตอนดังนี้
3.1วิธีการดำเนินงาน
ในการศึกษาและจัดทำโครงการเครื่องดูดน้ำมันเบรก น้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม ผู้จัดทำได้
วางแผนดำเนินงานดังต่อไปนี้
ศึกษาข้อมูล

อนุมัติโครงการ

จัดหาวัสดุอุปกรณ์

จัดทำชิ้นงาน
ปรับปรุง

ทดลอง
ไม่ผ่าน
ผ่าน
บันทึกผลการทดลอง

นำเสนอผลงาน

นำเสนอผลงาน
3.1รูปแผนผังขั้นตอนการดำเนินงาน
8

3.2เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ดำเนินการ
ลำดับ อุปกรณ์ ราคา (บาท) จำนวน
1 คอปเปอร์ลม 30 1ตัว
2 บอลวาล์ว 75 1ตัว
3 สายยางใส 30 1เส้น
4 ข้อต่อหางปลาไหลทองเหลือง 25 1ตัว
5 ตัวควบคุมลมดูด 300 1ตัว
6 กระปุกฝาเกลียว 50 1ชิ้น
7 ตะขอแขวนอุปกรณ์ 30 2ชิ้น
รวม 540
3.3การศึกษาข้อมูล
การศึกษาข้อมูลการจัดทำโครงการวางแผนก่อนที่จะดำเนินการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมัน
เบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลมมีการศึกษาข้อมูลรายละเอียดต่างๆดังนี้
1.ศึกษารูปแบบโครงสร้าง
2.ศึกษาวัสดุอุปกรณ์ที่จะสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม
3.ศึกษาข้อมูลรายละเอียดของอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม
3.4เสนอโครงการ
ในการจัดทำโครงการนี้ได้เสนอต่อครูที่ปรึกษา เพื่อผ่านความเห็นชอบและเสนอต่อ
สาขายานยนต์เพื่ออนุมัติจัดทำโครงการ
วิธีการดำเนินการสร้าง
การดำเนินการสร้าง คณะผู้จัดทำได้ดำเนินการสร้างดังนี้
1.สร้างอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม
2.สร้างแบบสอบถาม
9

3.5ทำแบบประเมินผล
การประเมินผล โดยสร้างแบบทดสอบขึ้นมาเพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญทำการประเมินหมายเหตุแบบ
ประเมินผลให้ดูจากภาคผนวก ข
ขั้นตอนการประเมินผล
1.ออกแบบสอบถามที่ใช้ในการประเมินผลอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์
โดยใช้ระบบลม
2.นำแบบสอบถามที่ใช้ให้ครูที่ปรึกษาตรวจสอบความถูกต้อง
3.นำแบบสอบถามไปถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ
4.นำแบบสอบถามจากการประเมินผลค่าเฉลี่ยระดับความคิด (ค่ามัชฌิมเลขคณิต)
จากการสอบถามแบบสอบถาม ซึ่งมีความหมายดังนี้
1.คะแนนค่าเฉลี่ย 4.50-5.00 หมายความว่าอยู่ในเกณฑ์ดีมาก
2.คะแนนค่าเฉลี่ย 3.50-4.49 หมายความว่าอยู่ในเกณฑ์ดี
3.คะแนนค่าเฉลี่ย 2.50-3.49 หมายความว่าอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง
4.คะแนนค่าเฉลี่ย 1.50-2.49หมายความว่าอยู่ในเกณฑ์น้อย
5.คะแนนค่าเฉลี่ย 1.00-1.49หมายความว่าอยู่ในเกณฑ์ปรับปรุงแก้ไข

ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ ได้นำมาประเมินทางสถิติกาคำนวณโดยใช้
ค่าเฉลี่ย

สถิติที่ใช้ในการคำนวณ

สูตร =

เมื่อ แทน ค่าเฉลี่ย

แทน ผลรวมของข้อมูลทั้งหมด
แทน จำนวนข้อมูล
บทที่4
ผลการทดลอง การประเมิน
ในการจัดทำอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม คณะผู้จัดทำได้
ประเมินผล โดยคณะผู้จัดทำได้ประเมินผลโดยทำแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการจัดเก็บรวบรวม
โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน10ท่านเป็นผู้ให้ความคิดเห็นแบบสอบถาม

4.1เพศของผู้ประเมิน
ตารางที่4.1แสดงผลเพศ
ลำดับที่ เพศ จำนวนคน ร้อยละ
1 ชาย 10 100
2 หญิง 0 0
3 อื่นๆ 0 0
ค่าเฉลี่ย 10 100

4.2ระดับอายุของผู้ประเมิน
ตารางที่4.2แสดงผลอายุตอบแบบสอบถาม
ลำดับที่ อายุ ระดับความคิดเห็นค่าเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ต่ำกว่า20ปี 3 30
2 20-30ปี 7 70
3 มากกว่า40ปีขึ้นไป 0 0
ค่าเฉลี่ย 10 100
11

4.3การประเมินผลการใช้งานอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม
ตารางที่4.3แสดงผลการประเมินผลการใช้อุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้
ระบบลม
ลำดับ รายการประเมินผล ระดับความคิดเห็น ร้อยละ
ที่ มาก มาก ปาน น้อย น้อยที่สุด
ที่สุด กลาง
5 4 3 2 1
1 ขนาดของอุปกรณ์เครื่องดูด
น้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดย 40 38 12 5 5 4.03
ใช้ระบบลมเหมาะสมหรือไม่
2 ใช้ดูดของเหลวได้ทุกชนิด 50 40 5 3 2 4.82
หรือไม่
3 สามารถใช้งานได้อย่างมี 30 28 20 12 10 3.56
ประสิทธิภาพหรือไม่
4 ประโยชน์ที่มากน้อยเพียงใด 35 25 24 10 6 3.73

จากตารางที่4.3แสดงการประเมินผลอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม
พบว่าข้อ2 มีความเหมาะสมอยู่ในระดับดีมาก เป็นอันดับแรก รองลงมาคือข้อที่1 3และข้อที่4 มีความ
เหมาะสมอยู่ในระดับดี
บทที่5
สรุปผล อภิปรายข้อเสนอเเนะ
ในการศึกษาและจัดทำโครงการเครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม คณะ
ผู้จัดทำได้ตั้งวัตถุประสงค์ของโครงการดังต่อไปนี้
1.เพื่อสร้างเครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม จำนวน1ชิ้น
2.เพื่อใช้ในการเปลี่ยนน้ำมันเบรก และน้ำมันเกียร์
3.เพื่อประหยัดเวลา และใช้งานได้อย่างรวดเร็ว
สรุปผล
จากการประเมินผลจากแบบทดสอบ ของอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้
ระบบลม พบว่าการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม มีความ
เหมาะสมอยู่ในระดับดี
อภิปราย
จากการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพ และจากการประเมินผลจากแบบสอบถาม ของอุปกรณ์
เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม พบว่าการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดน้ำมันเบรกและ
น้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลม สามารถใช้ดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ ได้เป็นอย่างดี
การเปลี่ยนน้ำมันเบรก มีความจำเป็นที่ต้องเปลี่ยนอย่างสม่ำเสมอ น้ำมันเบรกมีความสำคัญต่อ
ระบบห้ามล้อ บางคนอาจยังไม่รู้และมองข้ามที่จะเปลี่ยนถ่าย ทำให้ระบบห้ามล้อ สึกเร็วกว่ากำหนด
เพราะเมื่อเบรกจะเกิดความร้อนจากการเสียดสีของผ้าเบรกกับจานเบรก และจะถ่ายเทความร้อนผ่าน
ก้านดันผ้าเบรกเข้าสู่ลูกสูบ และน้ำมันเบรก ดังนั้นคณะผู้จัดทำจึงมีแนวคิดที่จะประดิษฐ์อุปกรณ์
เครื่องดูดน้ำมันเบรกและน้ำมันเกียร์ โดยใช้ระบบลมเพื่อใช้งานดังกล่าว
สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นมานี้สามารถนำมาใช้ในการประกอบอาชีพเกี่ยวกับงานซ่อมรถยนต์และ
สามารถเผยแพร่ให้ชุมชน สังคม เพื่อเป็นชิ้นงานต้นแบบในการพัฒนาในครั้งต่อไปให้ดียิ่งขึ้น

ข้อเสนอแนะ
ควรมีการปรับปรุงด้านกระบอกของชิ้นงานให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
บรรณานุกรม
ภิญโญ ภิรมย์. เชื้อเพลิงและวัสดุหล่อลื่น พิมพ์ครั้งที่1 (พ.ศ2557) ( วันที่สืบค้นข้อมูล:10 ธันวาคม
2561 )
น้ำมันเบรก.http://www.samrongbrakepad.com/index.php/2009-09-20-04-01-06/16-
brake-oil ( วันที่สืบค้นข้อมูล:15 ธันวาคม 2561 )
น้ำมันเกียร์.http://www.yukonlubricants.com/type-transmission-fluid/ ( วันที่สบื ค้นข้อมูล:
15 ธันวาคม 2561 )

You might also like