Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 82

รายงานว�ชาการ

รายงานว�ชาการ ฉบับที่ กธว 1/2563


ฉบับที่ กธว 1/2563

คู‹มือการเข�ยนรายงานสำรวจธรณีว�ทยาประกอบแผนที่ธรณีว�ทยา
คู‹มือการเข�ยนรายงาน
สำรวจธรณีว�ทยาประกอบแผนที่ธรณีว�ทยา

กองธรณีว�ทยา กรมทรัพยากรธรณี

กรมทรัพยากรธรณี
ถนนพระรามที่ ๖ แขวงทุ‹งพญาไท เขตราชเทว� กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ กองธรณีว�ทยา กรมทรัพยากรธรณี
www.dmr.go.th กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ�งแวดลŒอม 2563
รายงานวิชาการ
ฉบับที่ กธว 1/2563

คู่มือการเขียนรายงาน
สารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา

ส่วนมาตรฐานและข้อมูลธรณีวิทยา
กองธรณีวิทยา
กรมทรัพยากรธรณี
คณะผู้จัดทา
1. นายสันต์ อัศวพัชระ กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี
2. นายธีรพล วงษ์ประยูร กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี
3. นายพล เชาว์ดารงค์ กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี
อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี
นายสมหมาย เตชวาล

ผู้อานวยการกองธรณีวิทยา
นายสุรชัย ศิริพงษ์เสถียร

ผู้อานวยการส่วนมาตรฐานและข้อมูลธรณีวิทยา นายสันต์ อัศวพัชระ

จัดพิมพ์โดย กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี


ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 02-621-9650 โทรสาร 02-621-9651
พิมพ์ครั้งที่ 1 มิถุนายน 2563
จานวน 100 เล่ม

ข้อมูลการลงรายการบรรณานุกรม
ส่วนมาตรฐานและข้อมูลธรณีวิทยา
คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา/ โดย ส่วนมาตรฐานและข้อมูล
ธรณีวิทยา กรุงเทพฯ : กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, 2563.
จานวน 67 หน้า :
รายงานวิชาการ ฉบับที่ กธว 1/2563
I

คำนำ
คู่มือการเขีย นรายงานส ารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธ รณีวิทยาฉบับนี้ จัดทาขึ้น
ภายใต้โ ครงการ การจั ดทามาตรฐานและคลั งข้อมูล ด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรแร่ มีวัตถุประสงค์
เพื่อกาหนดมาตรฐานทางธรณีวิทยาของประเทศให้ได้มาตรฐานวิชาการและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน
ให้เป็นที่ยอมรับและสามารถใช้อ้างอิงร่วมกันได้ รายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยาจึงเป็น
สิ่งสาคัญ ช่วยให้เข้าใจข้อมูลทั้งที่ปรากฏบนแผนที่และรายละเอียดเพิ่มเติมที่ไม่สามารถแสดงได้บนแผนที่
โดยเฉพาะข้อจากัด และเงื่อนไขของการจัดทาแผนที่ฉบับนั้น ๆ จนทาให้ผู้ใช้สามารถสังเคราะห์ข้อมูล
จากแผนที่ได้ถูกต้อง จนเกิดผลสัมฤทธิ์ในการวางแผนโครงการ และการดาเนินการสารวจและงานด้าน
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ วัตถุประสงค์อีกประการหนึ่ง ของการจัดทาคู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยา
ประกอบแผนที่ ธ รณี วิ ทยา ก็ เพื่ อเป็ น แนวทางให้ ก ารเขี ย นรายงานส ารวจธรณี วิ ทยาประกอบแผนที่
ธรณีวิทยาเป็นเรื่องง่าย มีจรรยาบรรณในการเขียน และมีองค์ประกอบ/เนื้อหาที่เป็นไปตามหลักวิชาการ
โดยมีวิธีการดาเนินงานจากการรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน (เอกสารวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ)
การวิเคราะห์ประมวลผล (ปรับปรุงโครงสร้างและเนื้อหา) การสรุปผลและจัดทา ภายในคู่มือประกอบด้วย
ข้อแนะนา การวางแผนเขียนรายงาน การกาหนดโครงสร้างของรายงาน การอธิบายการเขียนเนื้อหา
แต่ละหัวข้อ รวมทั้งหลักเกณฑ์/แนวทางการเขียนรายงาน รูปแบบ วีธีการอ้างอิงและการจัดพิมพ์รายงาน
เป็นต้น
กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี ในฐานะผู้จัดทาคู่มือการเขียนรายงานประกอบการ
สารวจจัดทาแผนที่ธรณีวิทยา ฉบับนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์แก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
สถาบันการศึกษา นักธรณีวิทยา และผู้เกี่ยวข้องต่อไป

( นายสุรชัย ศิริพงษ์เสถียร )
ผู้อานวยการกองธรณีวิทยา
II

สารบัญ
คานา I
สารบัญ II
บทที่ 1 บทนา
1.1 ความเป็นมา 1
1.2 วัตถุประสงค์ 2
1.3 กระบวนการจัดทาคู่มือ 2
1.4 คานิยาม 2
บทที่ 2 การเขียนรายงาน
2.1 การวางแผนเขียนรายงาน 4
2.2 เริ่มเขียนหัวข้อไหนก่อนดี 5
2.3 ลักษณะของรายงานที่ดี 6
บทที่ 3 โครงสร้างและเนื้อหาของรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา
3.1 โครงสร้างของรายงาน 7
3.2 เนื้อหาของรายงาน 9
3.2.1 หน้าปก 9
3.2.2 ปกใน 9
3.2.3 หน้าถัดจากปกใน 9
3.2.4 คาปรารภ 10
3.2.5 คานา 10
3.2.6 บทคัดย่อ/บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 10
3.2.7 บทสรุปสาหรับผู้บริหาร 11
3.2.8 สารบัญ สารบัญแผ่นภาพ สารบัญรูป และสารบัญตาราง 11
3.2.9 สัญลักษณ์และคาย่อ 12
3.2.10 บทนา 12
3.2.10.1 วัตถุประสงค์และขอบเขต 12
3.2.10.2 พื้นที่ปฏิบัติงาน 12
3.2.10.3 วิธีการสารวจ 13
3.2.10.4 ทบทวนผลงานที่ทามาก่อนแล้ว 13
3.2.10.5 กิตติกรรมประกาศ 13
3.2.11 การแปลความหมายข้อมูลระยะไกล 14
3.2.12 ธรณีวิทยาภูมิภาค 15
3.2.13 การลาดับชั้นหิน 15

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


III

3.2.14 หินอัคนี 17
3.2.14.1 หินอัคนีแทรกซอน 17
3.2.14.2 หินอัคนีพุ 17
3.2.15 หินแปร 18
3.2.16 ธรณีวิทยาโครงสร้าง 18
3.2.17 ธรณีประวัติ 19
3.2.18 เศรษฐธรณีวิทยา 19
3.2.19 แหล่งธรณีวิทยา 19
3.2.20 บทวิจารณ์ 20
3.2.21 บทสรุป 20
3.2.22 ข้อเสนอแนะ 20
3.2.23 เอกสารอ้างอิง 21
3.2.24 บรรณานุกรม 21
3.2.25 ภาคผนวก 21
3.2.26 ดัชนี 21
บทที่ 4 หลักเกณฑ์การเขียนรายงาน
4.1 การตั้งชื่อเรื่อง 23
4.2 ชื่อผู้เขียนและการจัดลาดับ 23
4.3 การจัดทาภาพประกอบ 24
4.3.1 ชนิดและชื่อเรียกของภาพประกอบ 24
4.3.2 หมายเลขรูป 25
4.3.3 การเขียนคาบรรยายรูป 26
4.4 การจัดทาตาราง 27
4.4.1 หมายเลขตาราง 27
4.4.2 การเขียนคาบรรยายตาราง 27
4.4.3 การเขียนหมายเหตุ 28
4.5 การจัดระดับหัวข้อในรายงาน 28
4.6 วิธีเขียนค่าจากเข็มทิศ 30
4.6.1 Strike notation 31
4.6.2 Dip notation 32
4.7 การตั้งชื่อและการปรับปรุงชื่อหน่วยลาดับชั้นหินตามลักษณะหินแบบทางการ 32
4.8 แบบนี้ต้องชื่อหน่วยธรณีกาล 33
4.9 หลักการใช้ Lower, Middle, Upper และ Early, Middle, Late 34
4.10 เขียนชื่อหน่วยหินอย่างไรให้ถูกต้อง 35
4.11 การใช้ภาษาที่พลาดบ่อย 36

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


IV

4.11.1 ข้อบกพร่องที่พบบ่อย 36
4.11.2 การเว้นวรรคตอน 37
4.12 แหล่งข้อมูลการใช้ศัพท์ทางธรณีวิทยา 38
4.13 แหล่งข้อมูลอื่นที่น่าสนใจ 38
บทที่ 5 การจัดทาเอกสารอ้างอิง
5.1 การอ้างอิงแทรกในเนื้อหาของรายงาน 40
5.2 การอ้างอิงเป็นรายการเอกสารอ้างอิง 41
5.3 รูปแบบวิธีเขียนเอกสารอ้างอิง 43
บทที่ 6 รูปแบบการจัดพิมพ์
6.1 ขนาดกระดาษ 48
6.2 ตัวอักษรรูปแบบและขนาด 50
6.3 การจัดหน้ากระดาษ 50
6.3.1 การจัดพิมพ์แบบ 1 คอลัมน์ 50
6.3.2 การจัดพิมพ์แบบ 2 คอลัมน์ 50
6.3.3 การพิมพ์รายงานภาษาอังกฤษ 51
6.3.4 วิธีทาสารบัญอัตโนมัติ 51
6.3.5 วิธีเปลี่ยนการวัดระหว่างนิ้วกับเซนติเมตร 52
6.4 การกาหนดเลขหน้า 52
6.5 ตัวอย่างรูปแบบการจัดพิมพ์รายงาน 53
เอกสารอ้างอิง 66

สารบัญรูป
รูปที่ 6.1 แสดงวิธีจัดทาหัวข้ออัตโนมัติ 52
6.2 ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าปกระดับกรม 54
6.3 ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าปกระดับกอง 55
6.4 ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าปกในระดับกรม 56
6.5 ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าปกในระดับกอง 57
6.6 ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าถัดจากปกในระดับกรม 58
6.7 ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าถัดจากปกในระดับกอง 59
6.8 ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าคาปรารภและหน้าคานา 60
6.9 ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าบทคัดย่อ 61
6.10 ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าเนื้อเรื่อง แบบ 2 คอลัมน์ 62
6.11 ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าเนื้อเรื่อง แบบ 1 คอลัมน์ 63

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


V

6.12 ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าเอกสารอ้างอิง แบบ 2 คอลัมน์ 64


6.13 ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าเอกสารอ้างอิง แบบ 1 คอลัมน์ 65

สารบัญตาราง
ตารางที่ 3.1 โครงสร้างของรายงานสารวจธรณีวิทยาฯ และการเรียงลาดับของหัวข้อ 8
4.1 ระบบการจัดเรียงระดับหัวข้อในรายงาน 29
4.2 การจัดเรียงระดับหัวข้อและขนาดตัวอักษรในรายงาน 30
4.3 เปรียบเทียบรูปแบบการเขียนค่าการวางชั้นของแต่ละวิธี 31
4.4 แสดงการเปรียบเทียบชื่อหน่วยลาดับชั้นหินตามอายุกาลกับหน่วยธรณีกาล 34
4.5 แสดงการเทียบเคียงการเรียกชื่อหน่วยลาดับชั้นหินของแต่ละประเภทพร้อมตัวอย่าง 34
6.1 สรุปรูปแบบการจัดพิมพ์รายงาน การจัดหน้ากระดาษพิมพ์ตัวอักษรและขนาดที่ใช้ 49

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


1

บทที่ 1
บทนา
1.1 ความเป็นมา
กรมทรัพยากรธรณี โดยกองธรณีวิทยาเป็นหน่วยงานมีหน้าที่สารวจ ผลิต ข้อมุล แผนที่
ธรณีวิทยาของประเทศ เพื่อเป็นข้อมูลให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ และผู้เกี่ยวข้องที่ต้องการจะนาไปใช้ประโยชน์
รวมทั้งเป็นแหล่งของข้อมูลสาหรับการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการธรณีวิทยา โดยทั่วไป แผนที่ธรณีวิทยาทุกชนิด
จะมีการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาควบคู่กัน เนื่องจาก ตัวแผนที่ไม่สามารถแสดงข้อมูลรายละเอียดได้
ครบถ้วน จึงต้องมีรายงานเพื่ออธิบายรายละเอียดของลักษณะธรณีวิทยาที่ปรากฏบนหรือซ่อนอยู่ในแผนที่นั้น
เช่น ข้อมูล การลาดับ ชั้นหิน การวางตัวของธรณีวิทยาโครงสร้าง ธรณีประวัติ และแหล่งทรัพยากรธรณี
ดังนั้น วิธีการเขียนรายงานจึงมีความสาคัญ เพื่อให้สามารถถ่ายทอดข้อมูล ที่จาเป็นจากผู้เขียนถึง ผู้อ่านได้
ครบถ้วน มีเหตุและผลถูกต้องตามหลักวิชาการ และจาเป็นต้องมีจรรยาบรรณของการเขียนรายงาน ปัจจุบันมี
หลายหน่ ว ยงานทั้ง ภาครัฐ ภาคเอกชนและสถาบั น การศึกษา ได้ส ารวจจัด ทาแผนที่ธ รณี วิทยาในส่ ว นที่
เกี่ยวข้องและจัดทารายงานประกอบแผนที่ธรณีวิทยา แต่ลักษณะของรายงานจะมีความแตกต่างกันแม้จะมี
วัตถุประสงค์เหมือนกัน จึงเป็นปัญหาต่อการสืบค้น การรวบรวมจัดทาฐานข้อมูล รวมทั้งการอ้างอิงด้าน
มาตรฐานและคุณภาพของรายงาน
กองธรณีวิทยา ได้ มีการจัดทาคู่มือและคาแนะนาการเขียนรายงานส ารวจธรณี มาแล้ ว
อย่างน้อย 4 ฉบับ ซึ่งมีหลักฐานปรากฏ ได้แก่ 1) ข้อแนะนาในการเขียนรายงานและแผนที่ธรณีวิทยามาตราส่วน
1:50,000 (กองธรณีวิทยา, 2528) 2) คู่มือการจัดทาแผนที่ธรณีวิทยามาตราส่วน 1:50,000 และรายงานการ
สารวจธรณีวิทยา (กองธรณีวิทยา, 2531) และ 3) รูปแบบรายงานและเอกสารธรณีวิทยา (คณะทางานจัดทา
รูปแบบรายงานและเอกสารธรณีวิทยาของ กองธรณีวิทยา, 2540) ทั้ง 3 ฉบับข้างต้นมีโครงสร้างของรายงาน
เกือบเหมือนกัน ต่างกัน ในบางจุ ดที่มีการปรับปรุงในฉบับ ถัด มา แม้ไม่ได้ระบุ มีต้นแบบมาจากที่ใดแต่มี
โครงสร้างและหัวข้อของรายงานคล้ายกับรายงานของ U.S. Geological Survey และ Manual of field
geology (Compton, 1968) ในคู่มือดังกล่าวได้แบ่งหัวข้อใหญ่ออกเป็นหลายหัวข้อรองเพื่อให้สะดวกต่อ
การเขียนรายงาน แต่ไม่ได้อธิบายในแต่ละหัวข้อว่าควรเขียนอย่างไร และ 4) การทารายงานการสารวจการ
ทาแผนที่ธรณีวิทยาและการเก็บตัวอย่าง (ประคอง พลหาญ, 2530) อย่างไรก็ตาม หน่วยงานอื่น ในกรม
ทรัพยากรธรณี เช่น กองทรัพยากรแร่ (ชื่อเดิมกองเศรษฐธรณีวิทยา/ สานักทรัพยากรแร่) ก็ได้จัดทาคู่มือการ
เขียนรายงานไว้จานวน 4 ฉบับ โดยมีต้นแบบมาจากคู่มือเขียนรายงานของ U.S. Geological Survey (Hansen,
1991) ได้แก่ คู่มือการเขียนรายงานเศรษฐธรณีวิทยา พ.ศ. 2539 ต่อมามีการปรับปรุงแก้ไขและจัดพิมพ์เผยแพร่
ในปี พ.ศ. 2542 (คณะกรรมการเอกสารทางวิชาการ, 2539 อ้างถึงในคณะกรรมการเอกสารทางวิชาการ,
2542) ซึ่งกรมทรัพยากรธรณี ได้ให้ใช้เป็นรูปแบบการเขียนรายงานวิชาการกรมทรัพยากรธรณี และเป็น
ต้นฉบับในการปรับปรุงเนื้อหาของคู่มืออีก 2 ฉบับต่อมา คือ มาตรฐานคู่มือการเขียนรายงานการสารวจแร่
(สืบศักดิ์ ศลโกสุม และคณะ, 2554) และคู่มือการเขียนรายงานการสารวจแร่ (ขวัญใจ ยวงเดชกล้า และ
วิภาวี วิบูลย์อัฐพล, 2560) มีการให้คาอธิบายในการเขียนเนื้อหาของแต่ละหัวข้อ เน้นไปในด้านการสารวจ
แหล่งแร่ โดยคู่มือดังกล่าวไม่ได้มีการกาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานด้านการสารวจธรณีวิทยา และการทา
แผนที่ธรณีวิทยาไว้แต่อย่างใด

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


2

กองธรณีวิทยา เห็นถึงความจาเป็นของการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาเพื่อให้มีมาตรฐาน
อยู่ในรูปแบบเดียวกัน เพื่อสะดวกต่อการรวบรวม ศึกษา และค้นคว้าต่อยอด รวมทั้งการเผยแพร่องค์ความรู้
จึงได้จัดทาคู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการจัดทา
และก าหนดมาตรฐานทางธรณีวิ ท ยาของประเทศ ตามอ านาจหน้ า ที่ใ นกฎกระทรวงแบ่ งส่ ว นราชการ
กรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2561

1.2 วัตถุประสงค์
เพื่ อ ใช้ เ ป็ น คู่ มื อ ในการเขี ย นรายงานส ารวจธรณี วิ ท ยาประกอบแผนที่ ธ รณี วิ ท ยา ให้ เ ป็ น
มาตรฐานในการปฏิบัติงาน การอ้างอิงในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการธรณีวิทยา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
รวมทั้งสถาบันการศึกษาสามารถนาไปใช้ประโยชน์เพื่อให้มีมาตรฐานเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

1.3 กระบวนการจัดทาคู่มือ
1) รวบรวมข้อมูล เพื่อวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลพื้นฐาน โดยรวบรวมจากเอกสาร
คู่มือของกรมทรัพยากรธรณี (กองธรณีวิทยา, 2528, 2531; คณะทางานจัดทารูปแบบรายงานและเอกสาร
ธรณีวิทยาของ กธ., 2540; ประคอง พลหาญ, 2530; คณะกรรมการเอกสารทางวิชาการ, 2542; สืบศักดิ์
ศลโกสุม และคณะ, 2554; ขวัญใจ ยวงเดชกล้า และวิภาวี วิบูลย์อัฐพล, 2560) คู่มือและตาราการเขียน
รายงาน (Compton, 1968; Hansen, 1991; Barnes and Lisle, 2004; AIPG, 2012; University
Centre Grimsby, n.d.; สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ , ม.ป.ป.; ชนกพร พัวพัฒนกุล, 2558)
เอกสารแนะนาการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาสาหรับนักศึกษา เช่น University of California Santa
Cruz, Leicester university, Enright and Bank (n.d.), Academic Learning Centre (n.d.) และ
University of New South Wales รวมทั้งสุ่มวิเคราะห์รายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา
ของกองธรณีวิทยา สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย
2) ปรับปรุงโครงสร้างของรายงานให้ทันสมัยและครอบคลุมเนื้อหาที่จาเป็น โดยเพิ่มหัวข้อ
บทคัดย่อภาษาอังกฤษเพื่อให้การเผยแพร่เป็นสากลมากขึ้น เพิ่มหั วข้อการแปลความหมายข้อมูลระยะไกล
เพื่อนาข้อมูลมาช่วยในการทาแผนที่ธรณีวิทยาให้มากขึ้น เช่น Airborne geophysics, Remote sensing,
Aerial Photos เพิ่มหั วข้อแหล่ งธรณีวิทยา (Geosites) เพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่ ง
ธรณีวิทยารวมทั้งคุณค่าทางวิชาการ เปลี่ยนหัวข้อธรณีวิทยาทั่วไปเป็นหัวข้อธรณีวิทยาภูมิภาค และลดระดับ
หัวข้อภูมิศาสตร์และธรณีวิทยาสัณฐาน
3) จัดทาคาอธิบายการเขียนบรรยายเนื้อหาของทุกหัวข้อในโครงสร้างของรายงาน
4) จัดทาข้อมูลสนับสนุนการเขียนรายงาน เช่น ข้อแนะนาการเขียนรายงาน หลักเกณฑ์
การเขียนรายงาน การจัดทาเอกสารอ้างอิง และการกาหนดรูปแบบการจัดพิมพ์

1.4 คานิยาม
คู่มือ หมายถึงสมุดหรือหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการรู้เพื่อใช้ประกอบ
ตารา เพื่ออานวยความสะดวกเกี่ยวกับการศึกษาหรือการปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเพื่อแนะนาวิธีใช้
อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542)

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


3

คู่มือ (Handbook) จัดเป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ ง ที่รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริงเฉพาะ


เรื่อง เพื่อใช้เป็นคู่มือตอบคาถามในเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว หรือเพื่อใช้เป็นคู่มือในการศึกษาและ
ปฏิบัตงิ านหนึ่ง ๆ ทั้งนี้ คู่มือมักจะมีการเรียบเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูล
ของผู้ใช้
โครงสร้างของรายงาน (Organization or Structure of a report) หมายถึง รายงานมี
โครงร่างส่วนประกอบหรือหัวข้ออะไรบ้าง และมีการจัดเรียงตามลาดับอย่างไร อาจมีคาแนะนาการเขียน
บรรยายในแต่ละหัวข้อด้วยก็ได้
รูปแบบของรายงาน (Form of a report) มีความหมายเท่ากับโครงสร้างของรายงาน
(Organization of a report) รวมบางส่วนของวิธีเขียนและจัดพิมพ์รายงาน
ส่วนเนื้อความ (Body of a report) หมายถึง เนื้อหาตั้งแต่หัวข้อบทนาจนถึงก่อนหัวข้อ
เอกสารอ้างอิง
เนื้อหาของรายงาน (Content of a report) หมายถึง รายงานมีส่วนประกอบอะไรบ้าง
และมีสาระสาคัญอย่างไร
เนื้อเรื่อง (Story) หมายถึง เรื่องราวที่บรรยายในแต่ละหัวข้อ

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


4

บทที่ 2
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเป็นการประมวลความคิดอย่างมีระบบ เป็นงานประพันธ์ที่ต้องอาศัย
ความอุ ต สาหะในการเขี ย น การอ่ า น การทบทวนและปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข การวางแผนเขี ย นรายงานจึ ง มี
ความสาคัญและจาเป็น นักธรณีวิทยาบางคนอาจมีปัญหาด้านการเขียนรายงาน แต่ถ้าการเตรียมตัวดี โอกาส
สาเร็จก็ไม่ใช่เรื่องยาก ไม่มีผลงานวิชาการใดที่นั่งเขียนครั้งเดียวแล้วเสร็จสมบูรณ์ ปกติแล้วนักธรณีวิทยา
อาชีพมักใช้เวลาในการเขียนรายงานมากกว่าเวลาที่ใช้ในการสารวจภาคสนาม ในบทนี้มีคาแนะนาการเขียน
รายงาน 3 เรื่อง ได้แก่ การวางแผนเขียนรายงาน เริ่มเขียนหัวข้อไหนก่อนดี และลักษณะของรายงานที่ดี

2.1 การวางแผนเขียนรายงาน
การวางแผนช่วยให้ผู้เขียนรู้ขั้นตอนการทางาน มีกลยุทธ์แนะนา คือ ให้ผู้เขียนตั้งเป้าหมาย
ย่อยในการทางานให้เสร็จในแต่ละวันไม่เกิน 3 อย่าง ผู้เขียนสามารถทามากกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ แต่ถ้าวัน
ไหนมีภารกิจมากหรือยุ่ง ก็ให้พยายามทาเป้าหมายย่อยย่อย (Microgoals) แทน โดยวิธีนี้รายงานก็จะ
สาเร็จได้ กลยุทธ์นี้จะเห็นผลเร็วถ้าผู้เขียนมีวินัยในการเขียนรายงาน โดยทั่วไปการวางแผนเขียนรายงานจะ
ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
1) กาหนดชื่อเรื่องของรายงาน
ชื่ อ เรื่ อ งควรสั้ น สื่ อ ความหมายชั ด เจนและสั ม พั น ธ์ กั บ เรื่ อ งที่ จ ะท า ส าหรั บ งานส ารวจ
ธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา ส่วนใหญ่เป็นงานที่ถูกกาหนดตามแผนงบประมาณ หรือตามความ
ต้องการของหน่วยงาน/ภาคเอกชน การตั้งชื่อเรื่องอาจใช้ตามแผนงบประมาณ หรือใช้ชื่อระวางแผนที่ หรือ
ชื่อสถานทีก่ ็ได้ ผู้เขียนดูรายละเอียดเพิ่มเติมเรื่องการตั้งชื่อเรื่องได้ในบทที่ 4 หัวข้อ 4.1
2) กาหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของรายงาน
การวัตถุประสงค์ต้องชัดเจนว่าต้องการทาอะไร เพื่อตอบปัญหาใดหรือเพื่อเสนอสิ่ งใด และ
ใช้วิธีการส ารวจและวิจั ย อย่ างไรบ้ าง การส ารวจทาแผนที่ธ รณีวิทยาให้ ส าเร็จตามวัตถุประสงค์ และมี
คุณภาพและได้มาตรฐานนั้น ผู้เขียนควรคานึงว่าต้องการสารวจและศึกษาในประเด็นใดบ้าง ส่วนการกาหนด
ขอบเขตของรายงาน ผู้เขียนควรคานึงถึงกรอบเวลา ความยากง่ายของพื้นที่สารวจ (ตามลักษณะธรณีวิทยา
ที่ปรากฏ) และบุคลากรทีร่ ่วมดาเนินการสารวจ
3) เขียนโครงเรื่องของรายงาน
การเขียนโครงเรื่องคล้ายกับการจัดทาสารบัญเรื่องเพียงแต่ไม่ต้องมีเลขหน้า จัดระดับ
หัวข้อเป็นหัวข้อใหญ่ และหั วข้อรอง การเขียนโครงเรื่องของรายงานควรทาตั้งแต่ช่วงแรกของโครงการ
เพื่อกาหนดขอบเขตเนื้อหาของรายงาน และช่วยให้เนื้อหาต่อเนื่องตามลาดับ ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการสารวจ
ค้นคว้า รวมทั้งเนื้อหาไม่สับสนหรือซ้าซ้อน โครงเรื่องจะทาให้ผู้เขียนทราบล่วงหน้าว่าต้องสารวจหาข้อมูล
อะไร เขียนเรื่องใดบ้าง สั้นยาวอย่างไร สาหรับการเขียนรายงานประกอบแผนที่ธรณีวิทยา อาจนาโครงเรื่องมา
จากคู่มือการเขียนรายงาน หรือรายงานสารวจธรณีวิทยาที่มีหัวเรื่องทานองเดียวกันมาปรับใช้ก็ได้ ผู้เขียนควร
กาหนดแนวคิดสาหรับหัวข้อใหญ่แต่ละหัวข้อ เพื่อเน้นแก่นและเป้าหมายของแต่ละเรื่องให้สอดคล้องตาม
วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
5

4) การสารวจ รวบรวม และบันทึกข้อมูล


หัวข้อนี้ครอบคลุมทั้งช่วงก่อนออกสารวจ การวางแผนสารวจ การทบทวนข้อมูลที่ทามา
ก่อนแล้ว การตรวจสอบความพร้อมก่อนออกสารวจ ช่วงการสารวจ การเก็บข้อมูลในภาคสนาม มีการปรับ
แผนการสารวจได้ตามความเหมาะสม การปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่าเสมอ เช่น การลงข้อมูล
บนแผนที่ การจัดทาภาพแท่งลาดับชั้นหิน (Stratigraphic column) จะมีส่วนช่วยอย่างมากทั้งด้านการ
วางแผนสารวจและการเขียนรายงาน และช่วงการทดสอบในห้องปฏิบัติการ โปรดระลึกอยู่เสมอว่ารายงานจะดี
และมีคุณภาพ ข้อมูลการสารวจและการเก็บตัวอย่างต้องถูกต้องตามหลักวิชาการต้องมาเป็นลาดับแรกก่อน
โดยผู้เขียน/ผู้สารวจอาจหาความรู้เพิ่มเติมได้จาก “คู่มือการสารวจทาแผนที่ธรณีวิทยา” ของกรมทรัพยากรธรณี
(สานักธรณีวิทยา, 2555)
5) เรียบเรียงเขียนรายงาน และ การอ้างอิง
เมื่อจัดทาต้นฉบับสาเร็จแล้ว ผู้ เขียนควรอ่านรายงานซ้าอีกครั้งก่อนส่งรายงาน แสดงถึง
ความรับผิดชอบและมาตรฐานของผู้เขียน ในรายงานไม่ควรจะมีคาพิมพ์ผิด ปัจจุบันมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ช่วยตรวจคาผิดได้ และขอแนะนาให้ผู้เขียน/ผู้สารวจทุกท่านหาความรู้เพิ่มเติมจากคู่มือการเขียนรายงาน
สารวจธรณีวิทยาฉบับนี้ ซึ่งจะช่วยให้การเขียนรายงานง่ายขึ้น

2.2 เริ่มเขียนหัวข้อไหนก่อนดี
การเขี ย นรายงาน ควรเริ่ มจากงานที่ พึ่ง ทาเสร็ จ ใหม่ ๆ เพราะผู้ เ ขีย นยั ง สามารถจดจ า
รายละเอี ย ดและขั้ น ตอนต่ า ง ๆ ได้ ดี รวมทั้ ง ถ้ า พบว่ า ยั ง ขาดข้ อ มู ล อะไร ก็ ยั ง มี เ วลาหามาเพิ่ ม เติ ม ได้
ไม่ แ นะน าให้ มาเริ่ ม เขี ย นหลั ง จากจบฤดู การส ารวจในภาคสนามแล้ ว เพราะเนื้ อหามี จานวนมากและ
อาจหลงลืมเขียนข้อมูลสาคัญ รายงานอาจขาดการบูรณาการของข้อมูล และหมดโอกาสหาข้อมูลเพิ่มเติม
ในส่วนที่ยังขาดไปอีกด้วย
ข้อแนะนาลาดับการเขียนรายงานของหัวข้อหลัก
1) ให้เขียนข้อมูลที่เป็นจริงก่อน (ยังไม่ผ่านการแปลผล) เริ่มเขียนรายงานตั้งแต่ตอนอยู่ ใน
ภาคสนาม สารวจอะไรไปแล้ว/พบอะไรบ้าง เช่น วิธีการสารวจ ข้อมูลจากการสารวจหรือห้องปฏิบัติการ
2) เขียนบทนา (Introduction) รวมถึงวัตถุประสงค์ทาเพื่ออะไร เพื่อตอบปัญหาใดบ้าง มี
ความสาคัญอย่างไร ทาไมถึงต้องสารวจ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เขียนรู้แนวทางในการวิเคราะห์และสืบค้นข้อมูล
3) การทบทวนผลงานที่ทามาก่อนแล้ว (Literature review) เพื่อที่จะได้รู้สถานภาพของ
งานวิชาการที่เกี่ยวข้องว่ามีใครทาอะไรไปแล้วบ้างและมีข้อสรุปอย่างใด ผู้เขียนมีความเห็นสนับสนุนหรือ
คัดค้านข้อสรุปเหล่านั้นหรือไม่ แล้วจะทาอะไรต่อไป
4) การวิจารณ์ (Discussion) ควรเตรียมแผนที่ธรณีวิทยาให้พร้อมรวมทั้งภาพประกอบ
และตารางที่เกี่ยวข้อง การวิจารณ์เป็นการนาข้อมูลทุกอย่างมาวิเคราะห์ เพื่อตอบคาถามตามวัตถุประสงค์
ผลของการสารวจเหมือนกับที่คาดหวังไว้หรือไม่ ถ้าไม่เหมือนเป็นเพราะเหตุใด มีหลักฐานใดสนับสนุน
5) บทสรุปและข้อเสนอแนะ เป็นผลที่ได้จากการวิจารณ์ควรเขียนให้ชัดเจน อ่านง่าย และ
เขียนเป็นข้อ ๆ เรียงตามหมายเลข
6) บทคัดย่อ/ บทสรุปสาหรับผู้บริหาร ให้เขียนหลังจากเขียนเนื้อหาหลักเสร็จแล้ว

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


6

2.3 ลักษณะของรายงานที่ดี
ลักษณะของรายงานที่ดีนอกจากจะมีส่วนประกอบครบถ้วนทั้ง ส่วนนา ส่วนเนื้อความ และ
ส่วนอ้างอิงแล้ว รายงานที่ดีควรมีลักษณะสาคัญอีก 5 ประการ (ดัดแปลงจาก คู่มือการเขียนรายงานวิจัย
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ) ได้แก่
1) มีการนาหลักการหรือทฤษฎีมาใช้อย่างเหมาะสม เป็นที่ยอมรับทางวิชาการ และตรงกับ
เรื่องที่ศึกษาค้นคว้า
2) มีการแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ค้นพบเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่ยังไม่เคยมีผู้ทามา
ก่อน หรือเคยมีผู้ทาแล้วแต่ไม่ชัดเจนเพียงพอ โดยมีเหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม
3) เนื้อหามีความสมบูรณ์และถูกต้องตามหลั กวิชาการ มีการแสดงหลักฐานสนับสนุนใน
การแปลความหมาย
4) รายงานมีความชัดเจนในด้านลาดับการนาเสนอ การเขียนเน้นประเด็นหรือจุดสาคัญ
มากที่ สุ ดก่ อนแล้ ว จึ ง เขีย นล าดับ ส าคั ญรองลงไปเรื่ อ ย ๆ มี ความถู กต้ อ งตามหลั ก การใช้ ภ าษา มี ความ
สม่าเสมอ (Consistency) ในการใช้คาและจัดรูปแบบ มีการใช้แผนภูมิ/ ภาพประกอบรายงาน เพื่อให้เนื้อหา
ชัดเจนเข้าใจง่าย
5) มี รู ป แบบการเขี ย นรายงานที่ เ หมาะสม ทั้ ง การจั ด เค้ า โครงเรื่ อ งอย่ า งเป็ น ระเบี ย
การอ้างอิงถูกต้องครบถ้วนทั้งในเนื้อเรื่องและในรายการเอกสารอ้างอิง มีจรรยาบรรณในการเขียน ไม่ใช้ถ้อยคา
ให้ผู้อื่นเสียชื่อเสียงและไม่แอบอ้างความคิดของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


7

บทที่ 3
โครงสร้างและเนื้อหาของรายงานสารวจธรณีวิทยา
ประกอบแผนทีธ่ รณีวิทยา
โครงสร้างของรายงาน (Organization of the report) เป็นการแสดงส่วนประกอบ
ของรายงานว่ามีหั ว ข้ออะไรบ้ างและจั ดเรียงล าดั บกันอย่างไร ปัจจุ บัน นิยมแบ่ง โครงสร้างของรายงาน
ออกเป็นส่วน ๆ เพื่อสะดวกต่อการอธิบายและการสื่อความหมาย (Hansen, 1991; คณะกรรมการเอกสาร
ทางวิชาการ, 2542; สืบศักดิ์ ศลโกสุม และคณะ, 2554; ขวัญใจ ยวงเดชกล้า และวิภาวี วิบูลย์อัฐพล, 2560;
คู่มือการเขี ย นรายงานการวิจั ย ของส านั กงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ ) คู่มือ ฉบับนี้ แบ่ง โครงสร้า ง
ของรายงานออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่ว นน า ส่ว นเนื้อความ และส่ วนอ้างอิง สาหรับเนื้อหาของแต่ละส่ว น
จะประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ที่จาเป็นในการเขียนรายงาน และคาแนะนาการเขียนของแต่ละหัวข้อ

3.1 โครงสร้างของรายงาน
โครงสร้างของรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา แบ่งเป็น 3 ส่วน (ตาราง
ที่ 3.1) เพื่อสะดวกกับการอธิบาย ดังนี้
1) ส่วนนา มีหัวข้อเรียงตามลาดับ ประกอบด้วย หน้าปก (Front cover) ปกใน (Title
page) หน้าถัดจากปกใน (Page next to title page) คาปรารภ (Foreword) (ถ้ามี) คานา (Preface) (ถ้ามี)
บทคัดย่อ (Abstract) บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (English abstract) บทสรุปสาหรับผู้บริหาร (Executive
summary) (ถ้ามี) สารบัญ (Contents) สารบัญแผนที่ (Maps), สารบัญแผ่นภาพ (Plates) สารบัญรูป
(Figures) สารบัญตาราง (Tables) สัญลักษณ์และคาย่อ (ถ้ามี)
2) ส่วนเนื้อความ มีหัวข้อเรียงตามลาดับประกอบด้วย บทนา (Introduction) การแปล
ความหมายข้อมูลระยะไกล (Interpretation from remote-tools) ธรณีวิทยาภูมิภาค (Regional geology)
การลาดับชั้นหิน (Stratigraphy) หินอัคนี (Igneous rocks) (ถ้ามี) หินแปร (Metamorphic rocks) (ถ้ามี)
ธรณีวิทยาโครงสร้าง (Structural geology) ธรณีประวัติ (Geologic history) เศรษฐธรณีวิทยา (Economic
geology) แหล่งธรณีวิทยา (Geosites) บทวิจารณ์ (Discussion) (ถ้ามี) บทสรุป (Conclusion) ข้อเสนอแนะ (Recom
mendation)
การเขียนรายงานให้แยกเป็นบท เริ่มจากบทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 เรียงตามลาดับ (ดูตาราง
ที่ 3.1) หากมีบางบทไม่ได้จัดทาในรายงาน ก็ให้ขยับหมายเลขบทให้เรียงกัน เพื่อไม่ให้หมายเลขบทกระโดด
ข้ามไป
8

ตารางที่ 3.1 โครงสร้างของรายงานสารวจธรณีวิทยาฯ และการเรียงลาดับของหัวข้อ


หน้าปก
ปกใน
หน้าถัดจากปกใน
คาปรารภ*
คานา*
บทคัดย่อ
ส่วนนา

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ*
บทสรุปสาหรับผูบ้ ริหาร*
สารบัญ
สารบัญแผนที่
สารบัญแผ่นภาพ*
สารบัญรูป
สารบัญตาราง
สัญลักษณ์และคาย่อ*
บทที่ 1 บทนา
บทที่ 2 การแปลความหมายข้อมูลระยะไกล
บทที่ 3 ธรณีวิทยาภูมิภาค
บทที่ 4 การลาดับชั้นหิน
บทที่ 5 หินอัคนี*
ส่วนเนื้อความ

บทที่ 6 หินแปร*
บทที่ 7 ธรณีวิทยาโครงสร้าง
บทที่ 8 ธรณีประวัติ
บทที่ 9 เศรษฐธรณีวิทยา
บทที่ 10 แหล่งธรณีวิทยา
บทวิจารณ์
บทสรุป
ข้อเสนอแนะ
เอกสารอ้างอิง
อ้างอิง
ส่วน

บรรณานุกรม*
ภาคผนวก*
หมายเหตุ: * ถ้ามี

3) ส่วนอ้างอิง มีหัวข้อเรียงตามลาดับประกอบด้วย เอกสารอ้างอิง (References)


บรรณานุกรม (Bibliography) (ถ้ามี) ภาคผนวก (Appendix) (ถ้ามี)
ชื่อส่วนนา ส่วนเนื้อความ และส่วนอ้างอิงนี้ มีเพื่อประโยชน์สาหรับการอธิบายและการ
สื่อความหมายเท่านั้น ไม่จาเป็นต้องเขียนเป็นหัวข้อในสารบัญหรือในรายงาน

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


9

3.2 เนื้อหาของรายงาน
รายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา เป็นรายงานที่อธิบายลักษณะทางธรณีวิทยา
ของพื้นที่สารวจ ทั้งที่แสดงบนแผนที่ธรณีวิทยาและรายละเอียดที่ไม่สามารถแสดงบนแผนที่ ได้ ส่วนใหญ่
ศึกษาเกี่ยวกับการจัดเรียงลาดับชั้นหินตามธรณีกาลของมวลหินหรือชั้นหินในพื้นที่สารวจ กลับไปเหมือนตอนที่
หินเริ่มสะสมตัวหรือกาเนิด ส่วนการสารวจด้านลักษณะธรณีวิทยาโครงสร้างเกี่ยวข้องกับการวางตัวของชั้น
หินหรือมวลหินในสภาพปัจจุบัน มีเหตุการณ์หลักทางธรณี วิทยาใดบ้างที่เกิดขึ้นในพื้นที่ รวมทั้งการสารวจ
เกี่ยวกับแหล่งทรัพยากรธรณีในพื้นที่สารวจ
ปัจจุบัน คู่มือการเขียนรายงานส่วนใหญ่จะมีคาอธิบายหรือคาแนะนาในการเขียนแต่ละหัวข้อ
ซึ่งจะช่วยให้การเขียนรายงานง่ายขึ้น และได้เนื้อหาตามที่ต้องการ อีกทั้งทาให้รายงานมีม าตรฐานอีกด้วย
ผู้เขียนรู้ล่วงหน้าว่าต้องเสาะหาข้อมูลอะไรเพื่อเขียนเรื่องใด คู่มือฉบับนี้ ได้จัดเรียงหัวข้อที่จาเป็นพร้อม
คาแนะนาวิธีเขียนของการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยา การเขียนรายงานสาหรับส่วนเนื้อความแนะนา
ให้เขียนเป็นบท (ตารางที่ 3.1)
3.2.1 หน้าปก
หน้าปก (Front cover) ปกติแล้วหน่วยงานจะเป็นผู้กาหนดและออกแบบหน้าปก ข้อมูล
ทีค่ วรมีบนหน้าปก ได้แก่ ชื่อเรื่องของรายงาน ชื่อประเภทรายงาน ลาดับชุดและหมายเลขรายงาน ชื่อหน่วยงาน
ระดับกอง (ถ้าเป็นรายงานระดับกอง) ชื่อหน่วยงานระดับกรม และชื่อหน่วยงานระดับกระทรวง (ถ้าเป็น
รายงานระดับกรม - ถ้ามี) ตราสัญลักษณ์ของหน่วยงานระดับกรม รวมทั้งข้อความที่กล่าวถึงความร่วมมือกับ
หน่วยงานอื่น (ถ้ามี) และปี พ.ศ. ที่จัดพิมพ์รายงาน ดูตัวอย่างรูปแบบการจัดพิมพ์ในหัวข้อที่ 6.5
สันปก (Spine) เป็นส่วนสันปกของเล่มรายงานหรือหนังสือที่เชื่อมต่อระหว่างปกหน้ากับ
ปกหลัง สันปกของรายงานสารวจธรณีวิทยาแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนบนให้วางตราสัญลักษณ์ของหน่วยงาน
ส่ ว นกลางเป็ น ชื่ อ เรื่ อ งรายงาน และอาจมี ชื่ อ ผู้ เ ขี ย น (ถ้ า มี พื้ น ที่ ม ากพอ) ส่ ว นล่ า งเป็ น ปี พ.ศ. ที่ พิ ม พ์
ตัวหนังสือวางในแนวนอน สาหรับขนาดของตัวอักษรให้ดูตามความเหมาะสมตามความหนาของรายงาน
ถ้าจั ดเรี ยงรายงานบนชั้น หนังสือหรือวางซ้อน ๆ กัน ข้อความบนสันปกจะเป็นประโยชน์ /อานวยความ
สะดวกสาหรับการค้นหารายงาน
3.2.2 ปกใน
ปกใน หรือหน้าชื่อเรื่อง (Title page) มีรายละเอียดเช่นเดียวกับหน้าปกหรือปกนอก
เช่น ชื่อเรื่องของรายงาน ชื่อประเภทรายงาน ลาดับชุดและหมายเลขรายงาน ชื่อหน่วยงานระดับกอง (ถ้าเป็น
รายงานระดับกอง) ชื่อหน่วยงานระดับกรม และชื่อหน่วยงานระดับกระทรวง (ถ้าเป็นรายงานระดับกรม (ถ้ามี)
รวมทั้งข้อความที่กล่าวถึงความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น (ถ้ามี) และปี พ.ศ. ที่จัดพิมพ์รายงาน แต่ที่มีเพิ่ม คือ
ชื่อและนามสกุลของผู้เขียนรายงาน (ไม่ต้องมีคานาหน้าชื่อ) ดูตัวอย่างรูปแบบการจัดพิมพ์ในหัวข้อ ที่ 6.5
ปกใน เป็นหน้าแรกของรายงานวางถัดจากหน้าปก
3.2.3 หน้าถัดจากปกใน
หน้าถัดจากปกใน (Page next to title page) หรือหน้าหน่วยงาน สาหรับรายงานสารวจ
ธรณี วิ ท ยาของกองธรณี วิ ท ยา ทั้ ง รายงานระดั บ กรมและรายงานระดั บ กอง หน้ า นี้ จ ะปรากฏชื่ อ

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


10

กรมทรัพยากรธรณี ชื่อกองธรณีวิทยา และชื่อส่วน/ฝ่าย พร้อมชื่อ-นามสกุลและคานาหน้าชื่อ ยศ ตาแหน่ง


ทางวิชาการ ของอธิบดี ผู้อานวยการกอง และหัวหน้าส่วน/ฝ่าย (ที่ผู้เขียนคนแรกสังกัด) เรียงตามลาดับ
และชื่ อ ของผู้ ด าเนิ น การจั ด พิ ม พ์ ปี พ.ศ. ที่ พิ ม พ์ ครั้ ง ที่ พิ ม พ์ ข้ อ ความแสดงลิ ข สิ ท ธิ์ International
Standard Book Number (ISBN) (ถ้ามี) ข้อมูลสาหรับการอ้างอิง และข้อมูลการลงรายการบรรณานุกรม
(ถ้ า มี - เป็ น ข้ อ มู ล ส าหรั บ บรรณารั ก ษ์ ใ นการสร้ า งระเบี ย นหนั ง สื อ วั ส ดุ สิ่ ง พิ ม พ์ โสตทั ศ วั ส ดุ เ พื่ อ ให้
เป็นมาตรฐาน สะดวกต่อการจัดเก็บและสืบค้น) ดูตัวอย่างรูปแบบการจัดพิมพ์ในหัวข้อที่ 6.5
หน้าถัดจากปกในหรือหน้าหน่วยงานพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางถัดจากหน้าปกใน
3.2.4 คาปรารภ
คาปรารภ (Foreword) จะพบน้อยในรายงานสารวจ ยกเว้นรายงานนั้นมีความสาคัญ หรือ
เป็ น ผลงานที่เ กิดจากความร่ ว มมือกั บ หน่ ว ยงานอื่ น ค าปรารภโดยทั่ว ไปกล่ าวถึ งความร่ ว มมื อระหว่า ง
หน่วยงาน การจัดทาเอกสาร เหตุผลที่ดาเนินการ รวมทั้งความสาคัญของเนื้อหา คาปรารภเป็นข้อความที่
ลงนามโดยชื่อผู้อื่นที่ไม่ใช่ผู้เขียนปกติ อาจลงนามโดยบรรณาธิการ (Editor) ผู้ดาเนินการจัดพิมพ์หนังสือหรือ
เอกสารฉบับนั้น หรือโดยผู้บริหารของหน่วยงานที่ทราบเรื่องราวการสารวจวิจัยในครั้งนั้น (Hansen, 1991;
คณะกรรมการเอกสารทางวิชาการ, 2542) ดูตัวอย่างรูปแบบการจัดพิมพ์ในหัวข้อที่ 6.5
หน้าคาปรารภพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางอยู่หลังหน้าถัดจากปกใน
3.2.5 คานา
คานา (Preface) เป็นข้อความที่เขียนและลงนามโดยผู้เขียนรายงานฉบับนั้น หรือไม่ต้องมี
ผู้ลงนามก็ได้ หรือมีแค่วัน เดือน ปี ที่เขียนคานานั้น หรือลงนามโดยผู้บริหารของหน่วยงาน คานาโดยทั่วไป
กล่าวถึงความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขตของงาน ความสาคัญและความจาเป็นของโครงการ และอาจ
กล่าวถึงปัญหาและอุปสรรคในการทารายงาน คานาในการจัดพิมพ์ครั้งแรกและการจัดพิมพ์ใหม่ในครั้งต่อมา
ซึ่ ง อาจกล่ า วถึ ง การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขในแต่ ล ะเรื่ อ ง รวมทั้ ง กล่ า วค าขอบคุ ณ ผู้ เ ขี ย นรายงานและ
ผู้ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ จนเป็นผลให้หนังสือฉบับนั้นเสร็จสิ้นสมบูรณ์ด้วยดี คานามักปรากฏให้
เห็นทั่วไปในตาราและเอกสารวิชาการ แต่พบน้อยในรายงานการสารวจทางธรณีวิทยา (Hansen, 1991;
คณะกรรมการเอกสารทางวิชาการ, 2542) ยกเว้นเป็นรายงานระดับกรมก็อาจมีคานาที่ลงนามโดยผู้บริหารของ
หน่ ว ยงาน ในหนั ง สื อ ที่จั ดท าโดยคณะกรรมการก็ มัก มีค าน าที่ ล งนามโดยผู้ บริ ห ารของหน่ ว ยงาน เช่ น
พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ลงนามโดยนายกราชบัณฑิตยสถาน และในหนังสือ
ธรณีวิทยาประเทศไทย ลงนามโดยอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี ดูตัวอย่างรูปแบบการจัดพิมพ์ในหัวข้อที่ 6.5
หน้าคานาพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางอยู่หลังหน้าคาปรารภแต่ก่อนหน้าบทคัดย่อ
3.2.6 บทคัดย่อ/ บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
บทคัดย่อ (Abstract) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (English abstract) ควรมีเนื้อหา
และความหมายที่ตรงกัน เขียนอย่างกระชับและได้ใจความ บทคัดย่อภาษาอังกฤษเป็นทางเลือก เพิ่มเข้ามา
เพื่อให้การเผยแพร่ผลงานเป็นสากลมากขึ้น การเขียนบทคัดย่อควรกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการสารวจ
พื้นที่ปฏิบัติงาน วิธีการที่ใช้ในการสารวจ ผลการค้นพบหลักและบทสรุปที่ได้จากการสารวจวิจัย รวมถึง
ข้อเสนอแนะจากการค้นพบดังกล่าวเพื่อนาไปสู่ภาคปฏิบัติในอนาคต การเขียนบทคัดย่อควรเป็นแบบให้ข้อมูล

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


11

ไม่ใช่กล่าวเพียงว่ารายงานนั้นเกี่ยวกับอะไรบ้าง บทคัดย่อเป็นการเขียนขยายความของชื่อเรื่อง แต่ไม่ใช่การ


เขียนขยายความของสารบัญ ข้อมูลอื่นซึ่งไม่มีในเนื้อหาของรายงานฉบับนั้นไม่ต้องนามากล่าวถึง และไม่ต้อง
กล่าวอ้างถึงตารางและภาพแสดงใด ๆ รวมทั้งการอ้างอิงถึงเอกสารอื่นใด การเขียนบทคัดย่อที่ดี นอกจาก
จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อผู้บริหารและผู้อ่าน ที่ใช้เวลาน้อยในการทาความเข้าใจกับความสาคัญของรายงานแล้ว
ยังช่วยให้เกิดความสนใจอยากอ่านตัว รายงานมากขึ้น และมีความสาคัญอย่างมากในฐานข้อมูลงานวิจัย
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Publication Database) ซึ่งในปัจจุบันผู้อ่านงานวิจัยจะเลือกค้นหาจากแหล่งข้อมูล
ดังกล่าวมากขึ้น
แม้ว่าบทคัดย่อจะอยู่ส่วนแรก ๆ ของรายงาน แต่ แนะนาให้เขียนหลังจากที่เขียนเนื้อหา
หลักของรายงานเสร็จแล้ว เพราะผู้เขียนต้องเข้าใจในเนื้อหาสาคัญทั้งหมดของรายงานก่อน ในรายงาน
สารวจไม่ได้จากัดความยาวหรือจานวนคาของบทคัดย่อ แต่ควรเขียนบทคัดย่อให้สั้นเท่าที่ทาได้ ผู้อ่านชอบ
อ่านบทคัดย่อที่สั้นมากกว่ายาว
หน้าบทคัดย่อจะมีชื่อเรื่อง และชื่อ-นามสกุลของผู้เขียนทั้งหมดด้วย (ไม่ต้องใส่คานาหน้าชื่อ)
โดยวางอยู่ ส่ว นบนของหน้าด้วย และควรมีคาส าคัญ (Keyword) ไม่เกิน 5 ข้อความ วางอยู่ใต้เนื้อเรื่อง
ดูตัวอย่างรูปแบบการจัดพิมพ์ในหัวข้อที่ 6.5
หน้าบทคัดย่อพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางอยู่หลังหน้าคานาแต่ก่อนหน้าสารบัญ โดยให้บทคัดย่อ
ภาษาไทยอยู่ก่อนบทคัดย่อภาษาอังกฤษ สาหรับการพิมพ์แบบ 2 หน้า ให้หน้าแรกเป็นหน้าเลขคี่เสมอ (ด้านขวา
มือรายงาน) หน้าเลขคู่ (ด้านซ้ายมือรายงาน) หากไม่มีรายการพิมพ์ให้ว่างไว้และนับเลขหน้าด้วย
3.2.7 บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร (Executive summary) เป็นการบรรยายเนื้อหาของรายงาน
อย่างสั้น มีข้อความกะทัดรัดได้ใจความ ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดของการสารวจ/วิจัย มีความสมบูรณ์ในตัว
ของมันเองและเป็นอิสระจากเนื้อเรื่อง กล่าวถึงวัตถุประสงค์ วิธีการสารวจ และผลการสารวจว่าตอบโจทย์
ตามวัตถุประสงค์อย่างไร รวมทั้งกล่าวถึงปัญหาและวิธีแก้ไขด้วยก็ได้ บทสรุปสาหรับผู้บริหารมีรายละเอียด
มากกว่าบทคัดย่อ แต่ไม่ควรมีความยาวเกินจานวน 2 หน้า ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้บริหาร/ผู้อ่านทาความ
เข้าใจเรื่องราวทั้งหมดได้โดยใช้เวลาให้น้อยที่สุด และเพื่อให้ผู้บริหารหน่วยงานใช้เป็ นเกณฑ์ในการดาเนินการ
ต่อไป รายงานฉบับใดที่มีบทสรุปสาหรับผู้บริหาร ก็ไม่จาเป็นต้องมีบทคัดย่อ
หน้าบทสรุปสาหรับผู้บริหารพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางอยู่หลังหน้าคานาแต่ก่อนหน้าสารบัญ
3.2.8 สารบัญ สารบัญแผ่นภาพ สารบัญรูป และสารบัญตาราง
สารบัญ (Contents) เป็นหน้าแสดงรายการของหัวข้อใหญ่ และหัวข้อรองที่มีในเนื้อเรื่อง
ของรายงาน หัวข้อรองอาจมีห ลายระดับ จัดวางให้มีย่อหน้าเหลื่ อมกันแต่ไม่ควรเกิน 3 แถว แถวด้านริม
ขวามือของหน้าสารบัญ ให้พิมพ์ตัวเลขแสดงหน้าของแต่ละหัวข้อ ชื่อหัวข้อควรตั้งให้กระชับ ชัดเจนและไม่
สับสน เพราะผู้อ่านนิยมค้นหาเรื่องที่สนใจจากสารบัญ สารบัญบางครั้งเขียนเป็น “สารบัญเรื่อง” และวาง
ต่อโดยไม่จาเป็นแยกหน้าใหม่ด้วย “สารบัญแผนที่ (Maps)” “สารบัญแผ่นภาพ (Plates)” “สารบัญรูป
(Figures)” และ “สารบัญตาราง (Tables)” ตามลาดับ Barnes and Lisle (2004) เสนอว่ารายงานทุก
ฉบับควรจะมีหน้าสารบัญถ้าเนื้อหามีความยาวมากกว่าจานวน 20 หน้า
หน้าสารบัญพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางอยู่หลังหน้าบทคัดย่อหรือหน้าบทสรุปสาหรับผู้บริหาร
แต่ก่อนหน้าบทนา

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


12

3.2.9 สัญลักษณ์และคาย่อ
สัญลักษณ์และคาย่อ (Symbol and abbreviation) เป็นการแจ้งล่วงหน้าให้ผู้อ่านทราบ
เกี่ยวกับสัญลักษณ์ คาย่อและภาษาท้องถิ่นที่จะปรากฏในรายงาน ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการเขียนรายงาน
ทาให้เนื้อความสั้น กะทัดรัด เข้าใจง่าย อาจเป็นชื่อย่อหน่วยมาตราวัดต่าง ๆ หรือชื่อย่อสถาบัน แต่หากเป็น
สัญลักษณ์หรือคาย่อที่เป็นสากลรับรู้กันโดยทั่วไป เช่น ชื่อย่อของธาตุ ก็ไม่จาเป็นต้องนามาลงในส่วนนี้
สัญลักษณ์และคาย่อพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางอยู่หลังหน้าสารบัญแต่ก่อนหน้าบทนา
3.2.10 บทนา
การเขียนบทนา (Introduction) เพื่อทาให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหา ขอบเขตและสภาวะปัจจุบัน
ของเรื่ อ งที่ต้ อ งการส ารวจ บทน าควรจะสั้ น และกระชั บ และเขี ย นให้ อ่า นเข้ า ใจง่ า ย โดยทั่ ว ไปบทน า
จะกล่าวถึงวัตถุประสงค์และขอบเขตของการสารวจ พื้นที่สารวจ ความสาคัญและที่มาของปัญหาหรือเหตุ
ที่ต้องมาสารวจในโครงการนี้ ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการสารวจ วิธีการสารวจหรือวิธีดาเนินการวิจัยและ
ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ชื่ อผู้ปฏิบัติงาน การทบทวนผลงานที่ทามาก่อนแล้ว และกิตติกรรมประกาศ
ผู้เขียนอาจพิจารณาเพิ่มหัวข้อการเดินทางเข้าถึงพื้นที่ สภาพภูมิศาสตร์ รวมถึงการเทียบผลงานที่ได้จากการ
สารวจครั้ งนี้ กับ งานที่มีทามาก่อนแล้ว ด้ว ยก็ได้ แต่หัว ข้อย่อยเหล่ านี้ อาจมีหรือไม่มีก็ได้ ขึ้ นกับลักษณะ
ของงาน บางหัวข้ออาจสาคัญแยกออกจากบทนามาเป็นหัวข้อใหญ่ก็ได้ รายงานที่ยาวจะมี หลายหัวข้อย่อย
ส่วนรายงานที่สั้นมีเพียงหัวข้อเดียวก็พอ บางเรื่องก็อาจไม่จาเป็นต้องกล่าวละเอียด เช่น กรณีที่พื้นที่สารวจ
เป็นที่รู้จักกันดี ก็อาจกล่าวเพียงเล็กน้อยในเรื่องสถานที่ การเข้าถึงภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และลักษณะของป่า
(Hansen, 1991; คณะกรรมการเอกสารทางวิชาการ, 2542)
บทนา ประกอบด้วยหัวข้อรองหลายหัวข้อที่ควรเริ่มทาในช่วงแรกของการเขียนรายงาน
เช่น วัตถุประสงค์ การทบทวนผลงานที่ทามาก่อนแล้ว วิธีการสารวจหรือวิธีดาเนินการวิจัย ชื่อผู้ปฏิบัติงาน
รวมทั้งลักษณะทางภูมิศาสตร์ เพราะจะเป็นประโยชน์ ทาให้ผู้เขียนรายงานสามารถวางแผนการส ารวจ
ล่วงหน้าว่าต้องหาข้อมูลอย่างไรเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ส่วนการเปรียบเทียบผลจากการสารวจกับ
ผลงานที่มีทามาก่อนแล้วนั้น ให้เขียนในตอนหลังเมื่อรายงานหลักเขียนเสร็จแล้ว
หน้าบทนาพิมพ์เป็นหน้าใหม่ เป็นหน้าแรกของส่วนเนื้อความ
3.2.10.1 วัตถุประสงค์และขอบเขต
วัต ถุป ระสงค์ (Purpose) ต้อ งเขี ยนให้ ชัด เจนและเขีย นให้ ครบถ้ ว น ใช้ ประโยคสั้ น ๆ
ที่สมบูรณ์ในตัวเอง ไม่ ใช้ประโยคซ้อนประโยคเพราะอาจกากวม ทาให้ผู้อ่านสับสนเข้าใจความหมายผิดได้
มีปัญหาหรือสาเหตุใด จึงต้องทาการสารวจ เพื่อแก้ไขปัญหาหรือจัดทาสิ่งใด อาจมีหลายปัญหาก็ได้ แต่ให้
เรียงลาดับความสาคัญ สาหรับขอบเขต (Scope) ของการสารวจ ควรระบุให้ชัดเจน จะทาอะไร อย่างไร
เท่าใด และควรคานึงถึงกรอบเวลา ความยากง่ายของพื้นที่สารวจ เทคนิค อุปกรณ์ และบุคลากรร่วมดาเนินการ
สารวจด้วย
3.2.10.2 พื้นที่ปฏิบัติงาน
พื้นที่ปฏิบัติงาน (Location) ที่มีชื่อเสียงหรือรู้จักกันโดยทั่วไป อาจกล่าวถึงสถานที่เพียง
เล็กน้อย หรืออาจกล่าวเป็นชื่อของระวางแผนที่หรือบางส่วนของระวางพร้อมระบุหมายเลขระวาง และมีแผนที่
แสดงตาแหน่ง (Location map) จะสามารถช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจได้เร็วขึ้น

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


13

3.2.10.3 วิธีการสารวจ
วิธีการสารวจ (Methodology) เป็นการเขียนอธิบายอย่างกระชับถึง วิธีการสารวจหรือ
วิธีดาเนิน การวิจั ย การวางแผนส ารวจ การเก็บตัว อย่างให้เป็นตัว แทนของทั้งพื้นที่ การทดสอบในห้ อ ง
ปฏิบัติการ เขียนให้ชัดเจน ไม่กากวม เพื่อผู้อ่านที่สนใจสามารถนาไปทาซ้าได้ และควรอธิบายด้วยว่าเหตุใด
จึงเลือกวิธีการ/ เครื่องมือชนิดนี้
3.2.10.4 ทบทวนผลงานทีท่ ามาก่อนแล้ว
การทบทวนผลงานที่ทามาก่อนแล้ว (Literature review หรือ Previous work) ถือเป็น
เรื่องจาเป็นสาหรับการศึกษาวิจัยและการเขียนรายงาน ที่ต้องทาตั้งแต่ช่วงแรกของโครงการ เพราะนอกจาก
จะเป็นการให้เกียรติกับผลงานที่ทามาก่อนแล้ว รายงานที่เกี่ยวข้องเหล่านั้นอาจมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ
การสารวจและการเขียนรายงาน ผู้เขียนรายงานก็จะได้ทราบถึงสถานภาพความก้าวหน้าของงานวิชาการ
ช่วยให้การสารวจไม่ต้องทาซ้าซ้อนโดยไม่จาเป็นกับงานของบุคคลอื่น มีข้อมูลด้านใดบ้างที่ สามารถนาไป
สนับสนุนหรือต่อยอดเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของรายงาน รวมทั้งยังมีปัญหาด้านใดบ้างที่ยังไม่มีข้อสรุป
ต้องสารวจค้นคว้าต่อไป
ผลงานที่ท ามาก่อ นแล้ ว ในที่ นี้ หมายถึ ง ผลงานด้า นธรณี วิท ยาที่ เกี่ ย วข้ องทั้ งที่ ท าจาก
ในพื้นที่และนอกพื้นที่สารวจ อาจสืบค้นได้จาก เช่น ตารา หนังสือ บทความในวารสาร บทความจากการ
ประชุม รายงาน หรือจากเว็บไซต์ ข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวกับการสารวจทาแผนที่ธรณีวิทยา เช่น ข้อมูลแผนที่
ธรณีวิทยาเดิม ข้อมูลแปลความหมายจากภาพถ่ายทางอากาศ ข้อมูลภาพดาวจากเทียม และข้อมูลธรณี
ฟิสิกส์ทางอากาศ ข้อมูลลาดับชั้นหิน มีหมวดหิน กลุ่มหิน หรือหมู่หินอะไรบ้างและจัดแบ่งอย่างไร นอกจากนี้
ยังมีข้อมูลด้านธรณีวิทยาโครงสร้าง ธรณีวิทยาแหล่งแร่ ข้อมูลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการ เป็นต้น
การทบทวนผลงานที่ทามาก่อนแล้ว ทาได้หลายวิธี เช่น สรุปผลงานทีละฉบับว่ามีเนื้อหา
ที่เกี่ยวข้องกับงานของผู้เขียนอย่างไร วิธีนี้ทาง่ายแต่ผู้เขียนจะได้รับประโยชน์ น้อยเพราะเป็นการพิจารณา
ข้อมูล ที ล ะรายงาน ไม่ได้น าข้อมูล ทั้งหมดมาประมวลผลร่ว มกัน อีกวิธีที่นิยมใช้ กันมากในรายงานหรือ
บทความทางวิชาการ โดยนาปัญหาทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับงานสารวจมาแยกตั้งเป็นโจทย์หรือเป็นหัวข้อ
ให้เขียนแต่ละหัวข้อแยกจากกัน แต่ละหัวข้ออาจมีทั้งการเกริ่นนา การวิจารณ์และการสรุป แล้วไปทาการ
สืบค้นข้อมูลผลงานหรือรายงานที่เกี่ยวข้องกับ หัวข้อที่ตั้งไว้ รวมทั้งสอบถามจากผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง
รวบรวมข้อมูล/ความเห็นที่ได้มาประมวล และวิจารณ์ว่ามีข้อสรุปทางวิชาการในแนวทางใดบ้าง และควร
บอกด้วยว่าการแปลความหมายแต่ละแนวทางใช้หลักฐานสนับสนุนอะไรบ้าง แล้วพิจารณาต่อว่าประเด็น
ปัญหาที่ตั้งไว้นั้นยังต้องทาการสารวจวิจัยด้านใดต่อหรือไม่อย่างไร
3.2.10.5 กิตติกรรมประกาศ
กิ ต ติ ก รรมประกาศ (Acknowledgement) เป็ น ข้ อ ความแสดงความขอบคุ ณ บุ ค คล
สถาบัน หรือหน่วยงานที่มีส่วนช่วยเหลือในการสารวจและจัดทารายงานจนสาเร็จ ตลอดถึงผู้ให้ข้อคิดเห็น
ข้อแนะนา กรรมการตรวจสอบรายงาน การวิเคราะห์และตรวจสอบในห้องปฏิบัติการหรืออนุญาตให้ใช้
ข้อเขียนหรือเครื่องมือในการสารวจวิจัย
การระบุชื่อบุคคล ให้ใช้ชื่อจริงพร้อมนามสกุลและคานาหน้า ห้ามใช้ชื่อเล่น ถ้าเป็นบุคคลที่
มีตาแหน่งฐานันดรศักดิ์/ บรรดาศักดิ์/ ยศ/ ตาแหน่งทางวิชาการ/ ตาแหน่งทางหน้าที่ก ารงานให้ระบุไว้ด้วย

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


14

สาหรับในภาษาอังกฤษให้กล่าวชื่อเต็มในครั้งแรก เช่น Clay T. Smith หรือ Mary M. Smith ต่อไปกล่าว


เพียง Mr., Mrs., Miss. หรือ Ms. Smith ส่วนในรายงานภาษาไทยให้ใช้คาว่า “คุณ” นาหน้า หากเป็นผู้ที่มี
คานาหน้าอย่างอื่น เช่น พระราชวงศ์ ยศทางทหาร-ตารวจ ศาสตราจารย์ ดร. ก็ให้ใช้ตามคานาหน้านั้น ๆ ใน
กรณีที่ขอบคุณบุคคลโดยอ้างอิงตาแหน่งนาหน้า แล้วใส่ชื่อบุคคลผู้นั้นในวงเล็บ ให้ใช้คาว่า “นาย” “นาง”
และ “นางสาว” นาหน้าชื่อแทนคาว่า “คุณ” เนื่องจากมีลักษณะเป็นภาษาทางราชการ สาหรับบุคคลที่มีคา
นาหน้าอย่างอื่นดังกล่าวข้างต้น ให้ใช้ตามคานาหน้านั้น ๆ ส่วนการขอบคุณที่อ้างชื่อนาหน้า แล้วตามด้วย
ตาแหน่งของผู้นั้นให้ใช้คาว่า “คุณ” เช่นเดิม สาหรับการขอบคุณบุคคลในครอบครัว ควรกระทาโดยส่วนตัว
จะเหมาะกว่านามากล่าวในเอกสารทางวิชาการ (คณะกรรมการเอกสารทางวิชาการ, 2542)
ความร่วมมือระหว่างองค์กร โดยทั่วไปจะกล่าวขอบคุณในบทนาของรายงาน ความร่วมมือ
ตกลงแบบมีพิธีการ จะต้องนามาเขียนไว้ที่หน้าปกและหน้าปกใน (Title page) ของรายงานด้วย และแสดง
ไว้บนแผนที่ หรือแผ่นภาพ สาหรับการที่ได้รับสนับสนุนด้านการเงินก็ต้องกล่าวคาขอบคุณไว้ด้วย ยกเว้นเป็น
งบประมาณตามแผนงานของหน่วยงาน วัสดุที่มีลิขสิทธิ์หากนามาจัดทาหรือจัดพิมพ์ใหม่ต้องได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์ และพิมพ์ข้อความแสดงไว้ชัดเจน เช่น “จัดพิมพ์ใหม่และได้รับ
อนุญาตจาก...” หรือ “reprinted from... and published with permission.” การได้รับอนุญาตจะต้อง
ระบุไว้ในบทคาขอบคุณด้วยเช่นกัน เว้นแต่เจ้าของลิขสิทธิ์มีความประสงค์จะให้ระบุไว้ ณ ที่ใดที่หนึ่งตาม
ต้องการ
หัวข้อ “กิตติกรรมประกาศ” ให้พิมพ์ต่อในส่วนท้ายสุดของบทนา สาหรับบทความที่เสนอ
ต่อที่ประชุมหรือตีพิมพ์ในวารสาร นิยมวางหัวข้อกิตติกรรมประกาศไว้ท้ายสุดแต่ก่อนหัวข้อเอกสารอ้างอิง
(References) ในบางรายงานเรียกเป็นชื่อ "คาอนุโมทนาคุณ" หรือ "คาขอบคุณ"
3.2.11 การแปลความหมายข้อมูลระยะไกล
การแปลความหมายข้อมูลระยะไกล (Interpretation from Remote-tools) เป็นการ
จัดทาแผนที่ธรณีวิทยาต้นร่างจากข้อมูลระยะไกลที่ในปัจจุบันมีอยู่หลายประเภท ที่มีคุณสมบัติและจุดเด่นที่
ต่างกัน โดยทั่วไปจะจัดทาขึ้นก่อนออกภาคสนาม สามารถใช้เปรียบเทียบกับแผนที่ธรณีวิทยามาตราส่วน
1:250,000 ที่มีแล้วทั่วประเทศ หรือเทียบกับมาตราส่วนที่ใหญ่กว่าได้ ข้อมูลประเภทนี้ มีประโยชน์มาก
ในพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยาก พื้นที่กว้างหรือมีหินโผล่น้อย การใช้วิทยาการหลายแขนงร่วมกันก็มีส่วนทาให้แผนที่มี
ความละเอียดและความถูกต้องสูงขึ้น ข้อมูลระยะไกลมีหลายประเภท เช่น
1) ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ (Aerial photography) รวมถึงการแปลความหมายด้าน
ธรณีวิทยาสัณฐาน (Geomorphology) เช่น ลักษณะแผ่นดิน (Landform), ลักษณะทางน้าและลุ่มน้า
(Drainage pattern)
2) ข้อมูลการสารวจระยะไกล (Remote sensing)
3) ข้อมูลธรณีฟิสิกส์ทางอากาศ (Airborne Geophysic data) เช่น
- แผนที่ความเข้มสนามแม่เหล็ก (Magnetic contour map)
- แผนที่ความเข้มกัมมันตรังสีทางอากาศ (Airborne radiometric contour map) -
Resistivity contour map
- แผนทีภ่ าพตัดขวางแม่เหล็กไฟฟ้า (Electro-magnetic profile map)

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


15

การแปลความหมายข้อมูลระยะไกล ต้องอาศัยประสบการณ์และความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
ของผู้แปล หัวข้อนี้อาจเป็นทางเลือกขึ้นกับผู้เขียนมีข้อมูลหรือไม่ รวมทั้งประสบการณ์ในการแปลความหมาย
ในรายงานควรกล่าวถึง วิธีการแปลความหมาย และคุณสมบัติของหินหรือเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งออกเป็น
หน่วยหินต่าง ๆ รวมถึงมีลักษณะเด่นอย่างไร และที่สาคัญควรมีตารางเทียบหน่วยหินที่ได้จากการแปลข้อมูล
ระยะไกลประเภทต่าง ๆ กับหน่ วยหิน ของแผนที่ธ รณีวิทยา เพื่อผู้อ่านอาจนาไปต่อยอดใช้ประโยชน์ ได้
สะดวกขึ้น
หน้าบทการแปลความหมายข้อมูลระยะไกลพิมพ์เป็นหน้าใหม่วางถัดจากบทนา
3.2.12 ธรณีวิทยาภูมิภาค
การเขียนธรณีวิทยาภูมิภาค (Regional geology) ที่ดีต้องใช้ข้อมูลจากการทบทวนผลงาน
ที่ทามาก่อนแล้วที่ครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าพื้นที่สารวจ อย่าลืมการอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเฉพาะด้วย
แต่ถ้าเป็นข้อมูลทั่วไปที่รู้กันอยู่แล้วก็ไม่ต้องอ้างถึง บทนี้เป็นการอธิบายลักษณะเด่นทางธรณีวิทยาในภาพ
กว้างของพื้น ที่ส ารวจและพื้นที่ใกล้เคีย งรอบ ๆ เป็นข้อมูล เบื้องต้นสาหรับผู้ ส ารวจจะได้เข้าใจลักษณะ
ธรณีวิทยาของพื้นที่ก่อนออกสารวจในภาคสนาม และใช้สาหรับการตรวจทานกับผลที่ได้จากการสารวจว่า
มีความเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ด้านการลาดับชั้นหินควรรวมกลุ่มหน่วยหินหรือหมวดหินที่คล้ายกันหรือ
ที่สะสมตัวต่อเนื่องกันเข้าด้วยกันเพื่อบรรยายไปพร้อมกัน ถ้ามีรอยชั้นไม่ต่อเนื่อง (Unconformity) ก็ใช้เป็น
ตัวแบ่งกลุ่มได้ อาจแบ่งออกประมาณ 3-5 กลุ่ม แล้วสรุปการกระจายตัว ของหน่วยหิน การเกิดเหตุการณ์
ทางธรณีวิทยาโครงสร้างที่สาคัญ เช่น รอยชั้นไม่ต่อเนื่อง การวางตัวของชั้นหินคดโค้ง รวมทั้งแนวรอยเลื่อน
หลัก และสรุปธรณีประวัติโดยกล่าวจากอายุมากกว่าไปหาอายุน้อยกว่า เพื่อให้เห็นภาพกว้างและเข้าใจได้
ง่าย การบรรยายควรจะสั้นและกระชับ ส่วนเนื้อหาในรายละเอียดให้นาไปเขียนในบทที่เกี่ยวข้อง พึงระวัง
การเขี ย นเนื้ อ หาซ้ าซ้อ นกับ ในรายงาน ควรมี ภ าพแท่ง ล าดั บ ชั้น หิ น สรุ ป ของทั้ ง พื้ น ที่ส ารวจและแผนที่
ธรณีวิทยาพิมพ์ในกระดาษขนาด A4 หรือเล็กกว่า โดยตัวแผนที่แสดงโครงร่างหลักทางธรณีวิทยาและ
ชื่อสถานที่สาคัญทางภูมิศาสตร์ ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น โดยปกติ แล้วทุกชื่อที่ปรากฏบนแผนที่จะ
ถูกอ้างถึงในรายงานด้วย ในรายงานที่สั้น หัวข้อธรณีวิท ยาภูมิภาคอาจรวมอยู่ในบทนา แต่รายงานที่ยาว
จะแยกเป็น บทต่างหาก หั วข้อธรณีวิทยาภูมิภาคมักพบในการเขียนรายงานธรณีวิทยาของต่างประเทศ
เป็นหัวข้อแทนที่หัวข้อธรณีวิทยาทั่วไปทีม่ ักพบเป็นการอธิบายเนื้อหาซ้าซ้อนกับของบทหลักที่มีอยู่
หน้าบทธรณีวิทยาภูมิภาคพิมพ์เ ป็นหน้าใหม่ วางถัดจากบทการแปลความหมายข้อมูล
ระยะไกล
3.2.13 การลาดับชั้นหิน
การลาดับชั้นหิน (Stratigraphy) ที่เกี่ยวกับการทาแผนที่ธ รณีวิทยาในมาตราส่ วนที่ใช้
ภายในประเทศจะเป็นเรื่องของการแบ่งหน่วยลาดับชั้นหินตามลักษณะหิน (Lithostratigraphic unit) หรือ
หน่วยหิน (Rock unit) ในพื้นที่สารวจสามารถแบ่งออกเป็น หมวดหิน กลุ่มหิน หรือหมู่หินอะไรบ้าง แนะนา
ให้ผู้เขียน/ ผู้สารวจทุกท่านอ่านเพิ่มเติมจากหนังสือ คู่มือการลาดับชั้นหินของประเทศไทย (อนุกรรมการจัดทา
คู่มือการตั้งชื่อหน่วยหินของประเทศไทยและการเขียนรายงาน, 2560) ซึ่งมีรายละเอียดการแบ่งลาดับชั้นหิน
และการตั้งชื่อหน่วยหิน

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


16

การบรรยาย ควรเริ่มด้วยการกล่าวนาถึงลักษณะทั่วไปของหน่วยหินที่โผล่ให้เห็น ในพื้นที่


สารวจ รวมถึงปัญหาการลาดับชั้นหินที่เกี่ยวข้อง การบรรยายลาดับชั้นหินมี 2 แบบ
แบบที่ 1 เป็นการบรรยายลักษณะของแต่ละหน่วยหิน (Description of rock-unit) โดย
เริ่มจากหน่วยหินที่มีอายุมากกว่าไปหาหน่วยหินที่มีอายุน้อยกว่า ตามลาดับ
แบบที่ 2 เป็นการบรรยายลาดับชั้นหินบริเวณที่หินโผล่ (Outcrop description) เห็นได้
ชัดเจนหรือบริเวณที่น่าสนใจ โดยวางแทรกถัดจากการบรรยายลักษณะของหน่วยหินที่หินบริเวณนั้นสัมพันธ์
ด้วย ในรายงานให้ระบุบริเวณที่มีหินโผล่เห็นชัดเจนและต่อเนื่อง (Best exposures) ว่าอยู่ที่ใดบ้างด้วย
เพื่อเป็นประโยชน์กับผู้สนใจที่จะทาการศึกษาต่อยอดหรือเป็นแหล่งธรณีวิทยา (Geosite)
การบรรยายลักษณะของหน่วยหิน ให้อธิบายทีละหน่วยหิน โดยแยกเป็นหัวข้อเพื่อสะดวก
ต่อการเขียน โดยปกติแล้วลาดับชั้นหินของหน่วยหินใด ๆ มักจะโผล่เห็นได้ไม่ครบในบริเวณเดียว ข้อมูลส่วน
ใหญ่จะเทียบเคียงและสรุปมาจากชั้นหินโผล่ของหลายบริเวณ ดังนั้นข้อมูลด้านต่าง ๆ ของหน่วยหินจึงต้อง
ประมวลมาจากหลายบริเวณด้วยเช่นกัน หัวข้อการบรรยายของแต่ละหน่วยหินประกอบด้วย ดังนี้
1) ชื่อหน่วยหิน ให้สารวจว่ามีชื่อหน่วยหินที่ใช้เรียกอยู่ก่อนแล้วหรือไม่ ซึ่งอาจเป็นชื่อใน
ระดับหมวดหิน กลุ่มหิน หรือหมู่หิน ถ้ามีหลายชื่อ ให้เลือกชื่อหมวดหินแบบทางการเป็นอันดับแรก แต่ถ้า
ต้องการปรับปรุงหรือตั้งชื่อ หน่วยหินใหม่ ให้ปฏิบัติตามคู่มือการลาดับชั้นหินของประเทศไทย (อนุกรรมการ
จัดทาคู่มือการตั้งชื่อหน่วยหินของประเทศไทยและการเขียนรายงาน, 2560)
2) การอธิบายลักษณะทางกายภาพ (Lithology) และส่วนประกอบของหน่วยหิน อธิบาย
ตามลาดับชั้นหิ นที่โผล่ ให้เริ่ มจากส่ วนล่าง (อายุ แก่กว่า ) ขึ้นไปหาส่ว นบน (อายุอ่อนกว่า ) เป็นหิ นอะไร
ลักษณะเนื้อหิน การเปลี่ยนแปลงของลักษณะเนื้อหินในแนวตั้ง และทางด้านข้าง (vertical and lateral
variations) ลักษณะทางศิลาวรรณนา (Petrography) อธิบายลักษณะเด่นของหน่วยหิน ลักษณะของชั้นหิน
และโครงสร้างทางธรณีวิทยาพร้อมทิศทางการวางชั้น (Bedding) ไม่ควรอธิบายในรายละเอียดของหินแต่ละก้อน
แต่ให้อธิบายจากลักษณะทั่วไป ให้มีภาพแท่งลาดับชั้นหิน (Stratigraphic column) และภาพประกอบหรือรูป
ถ่ายจะช่วยให้การอธิบายและสื่อความหมายได้ชัดเจนขึ้น ให้ลงตาแหน่งข้อมูลจุดพิกัดของตัวอย่างอ้างอิงและ
จุดอ้างอิงทุกครั้ง พร้อมอธิบายสภาพทางภูมิศาสตร์ของบริเวณนั้น
3) การแผ่กระจาย มีขอบเขต พบบริเวณใดบ้าง
4) ความหนาของหน่วยหิน ความหนามีการเปลี่ยนแปลงทางด้านข้างหรือไม่ บริเวณใด
มีความหนามากหรือบางไปทางใด
5) รอยสั ม ผั ส กั บ หน่ ว ยหิ น ที่ว างตัว อยู่ด้ า นล่ า งและด้ านบนเป็ น แบบไหน เช่ น sharp,
gradational contact
6) ซากดึกดาบรรพ์ (ถ้ามี) พบที่ไหน ชื่ออะไร บ่งอายุได้หรือไม่ มีข้อมูลเดิมหรือไม่
7) การกาเนิดของหิน (ถ้ามี) และแสดงหลักฐานที่ใช้ระบุหรืออ้างอิงข้อมูลจากแหล่งใด
สาหรับการบรรยายลาดับชั้นหินบริเวณที่หินโผล่เห็ นชัดเจนหรือบริเวณที่น่าสนใจ ซึ่งอาจ
โผล่เป็นบางส่วนของหน่วยหินหรือมีหินโผล่มากกว่า 1 หน่วยหิน การบรรยายอาจเป็นแบบพรรณนา ให้เริ่ม
จากส่วนล่าง (อายุแก่กว่า) ขึ้นไปหาส่วนบน (อายุอ่อนกว่า) ของหินโผล่ เช่น ชนิดหิน ลักษณะเนื้อหิน แร่หรือ
ซากดึกดาบรรพ์ที่พบ ส่วนประกอบทางเคมี (ถ้ามี) รวมทั้งลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาพร้อมทิศ ทาง

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


17

การวางตัว รายละเอียดของข้อมูลที่ควรบรรยายจะคล้ายกับการบรรยายลักษณะของหน่วยหิน แต่กรณีนี้เป็น


การบรรยายเฉพาะบริเวณ และจัดทาภาพแท่งลาดับชั้นหินและภาพประกอบหรือรูปถ่ายด้วย
ปัญหาที่เจอบ่อยของการสารวจทาแผนที่ธรณีวิทยา ก็คือขอบเขตของหน่วยหินเข้ากันไม่ได้
หรือไม่ต่อเนื่องกับแผนที่ธรณีวิทยาระวางข้างเคียงที่มีอยู่ก่อนแล้ว อาจเนื่องมาจากพบหลักฐานใหม่หรือแปล
ความหมายที่ต่างกัน ความคิดเห็ นต่างเป็นสิ่ งจาเป็นสาหรับการสารวจ ผู้เขียนควรอธิบายแสดงเหตุผ ล
สนับสนุนความเห็นต่างดังกล่าวด้วย พร้อมเทียบเคียงความสัมพันธ์ของหน่วยหินกับแผนที่ธรณีวิทยาระวาง
ข้างเคียงด้วย การอธิบายโดยใช้ตารางหรือรูปประกอบจะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่ายขึ้น
หน้าบทการลาดับชั้นหินพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางถัดจากบทธรณีวิทยาภูมิภาค
3.2.14 หินอัคนี
การศึกษาหินอัคนี (Igneous rocks) โดยทั่วไปเพื่อให้เข้าใจกระบวนการที่เกิดใต้ผิวโลก
และความสัมพันธ์กับแหล่งแร่ที่เกิดร่วมด้วย หินอัคนีเป็นส่วนหนึ่งของการลาดับชั้นหิน ปกติบรรยายภายใต้
หัวข้อการลาดับชั้นหิน (หัวข้อ 3.2.13) แต่ถ้าผู้เขียนประสงค์จะเน้นความสาคัญของหินอัค นีหรือมีการศึกษา
ในรายละเอี ย ดเชิง ลึ ก ก็ ส ามารถแยกเป็ น หั ว ข้อ ต่ า งหากได้ ควรแยกบรรยายหั ว ข้อ หิ น อั ค นีแ ทรกซอน
(Intrusive igneous rocks) กับหัวข้อหินอัคนีพุ (Extrusive igneous rocks)
หน้าบทหินอัคนีพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางถัดจากบทการลาดับชั้นหิน
3.2.14.1 หินอัคนีแทรกซอน
หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous rocks) บรรยายชื่อหิน ลักษณะเนื้อหิน ส่วนประกอบ
ของหิ น กรณีมีหิ น หลายชนิดให้ อธิบ ายถึงความสั มพันธ์ของหิ นเหล่ านั้น และให้ ความส าคัญกับบริเวณ
รอยสัมผัสกับหินชนิดอื่นเพราะมีโอกาสพบแร่ได้ เช่น บริเวณ skarn ถ้ามีการตัดแทรกของ dyke, vein,
pegmatite อธิบายชนิดของหิน-แร่ ทิศทางการวางตัวและความสัมพันธ์ต่อกัน ลักษณะทางศิลาวรรณนา
(Petrography) ส่วนประกอบทางเคมี (Geochemistry) อายุสัมบูรณ์ (Absolute age) และอายุจากการ
เทียบเคียง (Relative age)
3.2.14.2 หินอัคนีพุ
หินอัคนีพุหรือหินภูเขาไฟ (Extrusive igneous rocks) บรรยายชื่อหิน ลักษณะเนื้อหิน
ส่วนประกอบ กรณีมีหินหลายชนิดให้ อธิบายถึงความสัมพันธ์ของหิ นเหล่านั้น อธิบายการตัดแทรกของ
dyke, vein ชนิดของหิน-แร่ ทิศทางการวางตัวและความสัมพันธ์ต่อกัน ลักษณะทางศิลาวรรณนา ส่วนประกอบ
ทางเคมี (Geochemistry) อายุสัมบูรณ์และจากการเทียบเคียง
สาหรับหินตะกอนภูเขาไฟ (Pyroclastic rocks) เป็นชั้นหินที่สะสมตัวในช่วงสั้น ๆ แต่มี
การแผ่กระจายบริเวณกว้าง จึงใช้เป็น Marker bed ที่ดี การอธิบายใช้เกณฑ์เดียวกับหินตะกอน (คณะอนุกรรมการ
จัดทาคู่มือการตั้งชื่อหน่วยหินของประเทศไทยและการเขียนรายงาน, 2560)

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


18

3.2.15 หินแปร
หินแปร (Metamorphic rocks) เป็นส่วนหนึ่งของการลาดับชั้นหิน (หัวข้อ 3.2.13) แต่ผู้เขียน
อาจแยกเขียนเป็นบทใหม่ต่างหากได้ ในบทนี้เป็นการอธิบายเกี่ยวกับ Regional metamorphism ส่วน Contact
metamorphism ให้อธิบายในบทหินอัคนี ในการทาแผนที่ธรณีวิทยาของหินแปรมี 2 ประเด็นที่ควรสนใจ
คือ หินเดิม (Original lithology) ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นหินแปรเป็นหินอะไร (Premetamorphic rock) มีอายุ
เท่าใด และหินปัจจุบัน (Present lithology) เป็นหินอะไร มีอายุหินแปร (Metamorphic age) เท่าใด มีลาดับ
ชั้นหินอย่างไร ระบุชื่อหินแปร ลักษณะเนื้ อหิน ส่วนประกอบและแหล่งแร่ที่อาจเกิดร่วมด้วย ตรวจสอบการ
เปลี่ยนลักษณะ (Deformation) เป็นอย่างไรและเกิดกี่ครั้ง รวมทั้งรอยสัมผัส (Contact) กับหินอื่นเป็นแบบ
ไหน เช่น sharp, gradational, fault
สาหรับหินแปรที่ยังคงแสดงลักษณะของหินตะกอนเดิม ให้กาหนดเป็นหน่วยหินในหัวข้อ
การลาดับชั้นหิน (หัวข้อ 3.2.13) โดยใช้เกณฑ์การจาแนกเช่นเดียวกับหินตะกอน (คณะอนุกรรมการจัดทา
คู่มือการตั้งชื่อหน่วยหินของประเทศไทยและการเขียนรายงาน, 2560)
หน้าบทหินแปรพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางถัดจากบทหินอัคนี
3.2.16 ธรณีวิทยาโครงสร้าง
ธรณีวิทยาโครงสร้าง (Structural geology) ควรเริ่มด้วยการแนะนาแบบสั้น ๆ เกี่ยวกับ
ธรณีวิทยาโครงสร้างหลักหรือที่มีลักษณะเด่นและทิศทางการวางตัวที่พบในพื้นที่สารวจ รวมทั้งความสัมพันธ์
ระหว่างธรณีวิทยาโครงสร้างเหล่านั้น ซึ่งจะอธิบายคล้ายกับในหัวข้อ “ธรณีวิทยาภูมิภาค” แต่ต่างตรงที่
กล่าวถึงเฉพาะธรณีวิทยาโครงสร้างภายในพื้นที่ มีรายละเอียดมากกว่าและส่วนใหญ่เป็นผลจากการสารวจ
ในรายงานควรจะอ้างถึงภาพตัดขวาง และภาพประกอบหรือรูปภาพอื่น ๆ ให้บ่อย จะทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
ประกอบด้วยหัวข้อ ดังนี้
1) รอยชั้ น ไม่ ต่อ เนื่ อง (Unconformity): ชื่อ เรี ยกว่ าอย่า งไร พบที่ ใดบ้า ง อธิบ ายและ
จาแนกตามลักษณะการวางตัว ด้านล่างและด้านบนของรอยชั้นไม่ต่อเนื่องเป็นหินอะไร เป็นหน่วยหินใดและ
อายุใด
2) รอยคดโค้ง (Fold): ชื่อเรียกว่าอย่างไร พบที่ใด มีการวางตัว เอีย งแบบไหน กี่องศา
สาคัญอย่ างไร มีผล-ไม่มีผลกระทบต่อหมวดหินใดบ้างหรือไม่ ไม่จาเป็นต้องอธิบายรอยคดโค้งแต่ละตัว
แต่ควรรวบรวมที่คล้ายกันเข้าด้วยกันแล้วอธิบายเป็นกลุ่ม
3) รอยเลื่ อน (Faults): ชื่อเรีย กว่าอย่างไร พบที่ใด อธิบ ายและจาแนกรอยเลื่ อนตาม
หลักฐานการเคลื่อนตัว การวางตัวของหน้าระนาบ และระยะทางการเคลื่อนตัว ความสัมพันธ์กับธรณีวิทยา
โครงสร้างอื่น อธิบายรอยเลื่อนว่าเกิดเมื่อใดและสาเหตุที่ทาให้เกิด ไม่จาเป็นต้องอธิบายรอยเลื่อนแต่ละตัว
แต่ควรรวบรวมเป็นกลุ่ม ๆ แล้วอธิบายไปพร้อมกัน
4) ธรณีวิทยาโครงสร้างที่เกิดภายในและรอบ ๆ หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive bodies)
5) รูปแบบของแนวแตก (Joints) (ถ้าเหมาะสม)
6) อธิบ ายการเปลี่ ยนลักษณะ (Deformation) ของชั้นหิ น เกิดขึ้นกี่ครั้งและเกิดเมื่อใด
พร้อมแสดงหลักฐานสนับสนุนการแปลความหมาย
หน้าบทธรณีวิทยาโครงสร้างพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางถัดจากบทหินแปร

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


19

3.2.17 ธรณีประวัติ
บทธรณีประวัติ (Geologic history) เป็นการลาดับกระบวนการทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้น
ของพื้นที่ว่าเป็นอย่างไร มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น (What happened) ที่ไหน (Where) เมื่อไหร่ (When) ทั้ง
เหตุก ารณ์ ห ลั ก ทางธรณี โ ครงสร้ า งและลั ก ษณะภูมิ ศ าสตร์บ รรพกาล (Paleogeography) หรือ มี ส ภาพ
แวดล้อมของการสะสมตัว (Depositional environment) เป็นแบบไหน มีกระบวนการแปรสัณฐาน (Tectonic
process) เป็นอย่างใด อาจแสดงผลการตรวจวัดหาอายุ การบรรยายเรียงตามธรณีกาลจากอายุมากกว่าไป
หาอายุน้อยกว่า เหตุการณ์ทางธรณีโครงสร้าง เช่น การยกตัวของแผ่นเปลือกโลกและการโค้งงอของชั้นหินมี
หรือไม่และเกิดเมื่อใด เกิดกี่ครั้ง มีรอยชั้นไม่ต่อเนื่อง (Unconformity) หรือไม่ มีการแทรกขึ้นมาของหิน
อัคนีหรือไม่และเกิดในช่วงใด หรือการแปรสภาพเป็นหินแปรเกิดขึ้นเมื่อใด สาหรับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาที่
เกิดนอกพื้นที่สารวจถ้าเคยอธิบายถึงแล้วในรายงานก็ไม่ ต้องนามากล่าวซ้าอีก แต่ให้ พยายามสรุปขึ้นมาจาก
ข้อมูลที่ได้จากการสารวจ การแปลความหมาย เข้ากับข้อมูลที่รวบรวมมาจากที่อื่น
หน้าบทธรณีประวัติพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางถัดจากบทธรณีวิทยาโครงสร้าง
3.2.18 เศรษฐธรณีวิทยา
เศรษฐธรณีวิทยา (Economic geology) ก่อนสารวจในภาคสนามผู้เขียนควรหาข้อมูลว่า
ในพื้นที่มีการทาเหมืองแร่ มีแหล่งแร่อะไรอยู่ทใี่ ด หัวข้อนี้อธิบายเกี่ยวกับแหล่งทรัพยากรแร่ที่พบในพื้นที่ ทั้ง
แร่ หิน ดิน ทราย อธิบายชนิดของแร่ การเกิดร่วมกันของแร่ ในแหล่งแร่ รูปร่างของแหล่งแร่ ความกว้าง-
ความยาว-ความหนาของสายแร่ การวางตัว ของสายแร่ (เช่น dip/strike) ขอบเขตและการกระจายตัว
เชื่อมโยงความสัมพันธ์กับการลาดับชั้นหิน และธรณีวิทยาโครงสร้าง เช่น การวางชั้น (Bedding) แนวรอย
เลื่อน (Fault) รอยคดโค้ง (Fold) รวมทั้งอาจแสดงคุณสมบัติทางเคมี คุณสมบัติทางกลศาสตร์ของตัวอย่าง
ทรัพยากรแร่
หน้าบทเศรษฐธรณีวิทยาพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางถัดจากบทธรณีประวัติ
3.2.19 แหล่งธรณีวิทยา
แหล่งธรณีวิทยา (Geosites) คือ จุดหรือบริเวณที่มีลักษณะทางธรณีวิทยาที่น่าสนใจ สวยงาม
หรือโดดเด่น หรือเป็นลักษณะพิเศษ หรือเป็นลักษณะที่หายาก หรือมีคุณค่าทางวิชาการ ที่แตกต่างจากพื้นที่
อื่นที่มีส่ว นประกอบและอายุ ที่คล้ ายกัน แหล่ งธรณีวิทยาเหล่ านี้จึงควรได้รับการอนุรักษ์ เพื่อเป็นมรดก
ของชาติและประโยชน์ ทางวิช าการ แหล่ งธรณีวิทยามีความเสี่ ยงถูกทาลายจากทั้งฝี มือมนุษย์และการ
สึกกร่อนผุพังตามธรรมชาติ
การบรรยาย กล่าวถึงลักษณะที่โดดเด่นทางธรณีวิทยาว่าเป็นอย่างไร ทั้งด้านความสวยงาม
ความหายาก ความหลากหลาย และมีความสาคัญทางวิชาการหรือไม่อย่างไร เป็นแหล่งอนุรักษ์ธรณีวิทยา
ประเภทใด ชนิดหิน แร่ และซากดึกดาบรรพ์ที่พบ การลาดับชั้นหิน รวมทั้งการกาเนิด (ถ้ามี) นาการบรรยาย
ลาดับชั้นหินบริเวณที่หินโผล่ (Outcrop description) หัวข้อ 3.2.13 มาใช้ได้
กรมทรัพยากรธรณี ได้แบ่งแหล่งอนุรักษ์ธรณีวิทยาออกเป็น 7 ประเภท คือ
1) แหล่งลาดับชั้นหินแบบฉบับ (Type section)
2) แหล่งซากดึกดาบรรพ์ (Fossil)
3) แหล่งธรณีสัณฐานวิทยา (Geomorphology)

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


20

4) แหล่งธรณีวิทยาโครงสร้าง (Geological structures)


5) แหล่งพุน้าร้อน (Hot spring)
6) แหล่งแร่แบบฉบับ (Typical minerals deposit)
7) แหล่งหินแบบฉบับ (Typical rock sites)
หน้าบทแหล่งธรณีวิทยาพิมพ์เป็นหน้าใหม่วางถัดจากบทเศรษฐธรณีวิทยา
3.2.20 บทวิจารณ์
การวิ จ ารณ์ (Discussion) เป็ น การอธิ บ าย แสดงความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ผลของการส ารวจ
วิธีการสารวจ อาจเปรียบเทียบกับผลงานที่ทามาแล้วจากแหล่งอื่นที่มีการศึกษาคล้ายคลึงกัน เปรียบเทียบทั้ง
ที่เหมือนกันและต่างกัน หรืออธิบายถึงสาเหตุที่ ผลการศึกษาออกมาไม่เหมือนกับที่คาดไว้ หรือผลของการ
สารวจสามารถสร้างสมมุติฐานใหม่ได้ การวิจารณ์เป็นการนาข้อมูลที่เกี่ยวข้องทุกด้านมาพิจารณาทั้งข้อมูลที่
สนับสนุนและที่คัดค้าน ผลของการวิจารณ์จะนาไปใช้ในบทสรุป
หน้าบทวิจารณ์พิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางถัดจากบทแหล่งธรณีวิทยา
3.2.21 บทสรุป
ทุกรายงานต้องมีข้อสรุปหรือ บทสรุป (Conclusion) ต่างจากข้อเสนอแนะตรงที่เป็นการ
รายงานสาระสาคัญของการสารวจโดยไม่ได้เน้นการนาไปปฏิบัติ และต่างจากบทคัดย่อตรงที่มีมุมมองกว้าง
กว่ า ข้ อ สรุ ป เป็ น ผลของการวิ จ ารณ์ (Discussion) การเขี ย นข้ อ สรุ ป ควรจะสั้ น ใจความกระชั บ คลุ ม
สาระสาคัญของรายงาน และไม่ควรแสดงเหตุผลประกอบ บทสรุปอาจกล่าวถึงข้อเสนอแนะสาหรับนาไป
ปฏิ บั ติ และข้ อ แนะน าส าหรั บ การส ารวจวิ จั ย ในขั้ น ต่ อ ไป ผลของการส ารวจมี ลั ก ษณะเด่ น อย่ า งใด
และสามารถตอบคาถามตามวัตถุป ระสงค์ได้อย่างไร แนะนาให้ เขีย นเป็นข้อเรียงตามหมายเลข (AIPG,
2012) ในรายงานฉบับสั้นอาจไม่จาเป็นต้องใช้หัวข้อแยกออกมาต่างหาก เพียงจัดให้อยู่ในตอนสุดท้ายของ
ตัวเนื้อเรื่อง รายงานฉบับที่มีความยาว อาจใช้หัวข้อ เช่น บทสรุป หรือสาระสังเขป (Summary) หรือหัวข้อ
อื่นที่เหมาะสม
สาหรับ “สาระสังเขป” เป็นการกล่าวอย่างรวบรัด สั้นและกระชับ โดยรวบรวมเรื่องที่เป็น
หลักสาคัญของรายงาน ต้องมีความชัดเจนในประเด็นหลักของรายงาน และจะต้องไม่เพิ่ม แนวความคิดใหม่/
ข้อมูลใหม่เข้าไปอีก
หน้าบทสรุปพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางถัดจากบทวิจารณ์
3.2.22 ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะ (Recommendation) เป็นการเสนอแนะเกี่ยวกับงานในขั้นตอนต่อไป เป็น
การแนะนาเพื่อให้มีผลทางปฏิบัติ ทาไมถึงต้องทาและทาอย่างไร รวมถึงการนาผลของการสารวจไปพัฒนา
หรือใช้ให้เกิดประโยชน์ ในบางกรณีอาจต้องประเมินงบประมาณให้ด้วย การเขียนคาแนะนาควรจะสั้น กระชับ
ตรงประเด็น และไม่ต้องแสดงเหตุผลประกอบ ควรเขียนเป็นข้อเรียงตามลาดับ ในคู่มือการเขียนรายงานของ
American Institute of Professional Geologists ให้ความสาคัญกับการเสนอแนะมาก โดยให้หัวข้อ
“Recommendations and conclusions” อยู่ส่วนหน้าของรายงาน บทสรุปและบทข้อเสนอแนะอาจเขี ยน
รวมเป็นบทเดียวกันก็ได้ขึ้นกับดุลยพินิจของผู้เขียน แต่ควรเขียนแยกเป็นหัวข้อให้ชัดเจน
หน้าข้อเสนอแนะพิมพ์เป็นหน้าใหม่วางถัดจากบทสรุป

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


21

3.2.23 เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง (References หรือ Literature cited) หัวข้อนี้เป็นการนารายชื่อของแหล่ง
ข้อมูลที่อ้างถึงในรายงานมารวบรวมไว้ตอนท้ายของรายงาน โดยจัดเขียนเป็นรายการจัดเรียงตามรูปแบบที่
กาหนด เพื่อแสดงหลักฐานและเป็นข้อมูลสาหรับผู้อ่านที่สนใจจะได้ไปค้นคว้าเพิ่มเติมได้ อีกทั้ง เป็นการ
แสดงความน่าเชื่อถือของตัวรายงานอีกด้วย ในรายงานที่แบ่งเป็นบท หัวข้อเอกสารอ้างอิงจะเป็นหน้าเฉพาะ
วางตามหลังหน้าบทสรุป แต่อยู่ ก่อนหน้าภาคผนวก ส่วนในบทความจะวางอยู่ในตอนท้ายเช่นกันแต่ วาง
ต่อเนื่องกับหัวข้ออื่น รายละเอียดในการเขียนเอกสารอ้างอิง และวิธีการอ้างอิง จะกล่าวแยกในบทที่ 5
หน้าเอกสารอ้างอิงพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางถัดจากหน้าข้อเสนอแนะ
3.2.24 บรรณานุกรม
บรรณานุกรม (Bibliography) คือ การนารายชื่อของเอกสารที่เกี่ ยวข้องกับเนื้อเรื่องของ
รายงานทั้งที่อ้างถึงและไม่ได้อ้างไว้ในเนื้อหาของรายงาน นามารวบรวมเป็นรายการจัดพิมพ์ไว้ท้ายรายงาน เพื่อ
ประโยชน์สาหรับผู้อ่านที่สนใจจะติดตามรายละเอียดในเรื่องที่ เกี่ยวข้อง หรือทาความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น โดย
จัดพิมพ์ตามรูปแบบที่กาหนดเหมือนกับหัวข้อเอกสารอ้างอิง บรรณานุกรมจัดเป็นหน้าเฉพาะวางไว้หลังหน้า
เอกสารอ้างอิง ซึ่งผู้อ่านอาจอ่านเพิ่มเติมได้จากเอกสารเหล่านั้น บรรณานุกรมแตกต่างกับเอกสารอ้างอิง
ตรงที่ไม่ได้มีการนาเอามาอ้างอิงในเนื้อหาโดยตรงและอาจไม่จาเป็นสาหรับรายงานสารวจธรณีวิทยา
หน้าบรรณานุกรมพิมพ์เป็นหน้าใหม่ วางถัดจากหน้าเอกสารอ้างอิง
3.2.25 ภาคผนวก
ภาคผนวก (Appendix) เป็นข้อมูลที่ใช้สนับสนุนการเขียนรายงานแต่ไม่ใช่เนื้อหาของรายงาน
เพื่อช่วยให้เข้าใจรายงานได้แจ่มชัดขึ้น อาจเป็นข้อมูลรายการยาว ๆ หรือเป็นข้อมูลดิบ เช่น ผลการวิเคราะห์
ทางเคมี ข้อมูลหลุมเจาะ (Well logs) ข้อมูลสถิติ ตาแหน่งตัวอย่าง ข้อมูลการสัมภาษณ์ หรือวิธีการ เป็นต้น
ที่ผู้เขียนรายงานเห็นว่าจะมีประโยชน์ต่อผู้อ่าน และนามาใส่ไว้ในภาคผนวกก็ได้ แต่ก็ไม่ควรจะมีจานวนมาก
เกินไป ข้อมูลในภาคผนวก โดยปกติจะเป็นข้อมูลพิเศษ ซึ่งจาเป็นหรือเป็นที่ต้องการของผู้อ่านบางท่าน
เท่านั้น หากมีข้อมูลหลายประเภท ก็แยกเป็นหลายภาคผนวกเรียงตามลาดับ เช่น ภาคผนวกที่ 1, 2, 3,...
หรือภาคผนวก ก, ข, ค,... (กรณีภาษาไทย) อย่างใดอย่างหนึ่ง ปัจจุบันข้อมูลที่จัดเป็นภาคผนวก มักจะนาไป
รวมเล่มเป็นรายงานที่ยังไม่ได้พิมพ์เผยแพร่อย่างเป็นทางการ
หน้าภาคผนวก วางไว้ในส่วนท้ายของรายงาน หลังหน้าเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
3.2.26 ดัชนี
ดัชนี (Index) ที่ปรากฏท้ายเล่มเป็นส่วนของรายชื่อของคาหรือข้อความพร้อมเลขหน้า
ทีจ่ ัดทาขึ้นมา เพื่อประโยชน์ในการช่วยค้นหาคาหรือข้อความที่ต้องการได้สะดวกขึ้นว่าอยู่หน้าใดในรายงาน
ส่วนใหญ่มักพบในตาราหรือหนังสือที่มีความยาวมาก ปัจจุบันโปรแกรม MS-Word สามารถจัดทาดัชนีได้
ผู้เขียนหรือผู้แต่งหนังสือเพียงแค่คัดเลือกประเภทของคาหรือข้อความที่ต้องการ เช่น ชื่อหิน ชื่อแร่ ชื่อหมวด
หิน แล้วใช้เมนู “REFERENCES” ใน MS-Word กาหนดให้เป็นดัชนี จากนั้นโปรแกรมก็จะทารายการดัชนี
พร้อมแสดงเลขหน้าและเรียงลาดับให้

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


22

ในรายงานการสารวจและวิจัยทางธรณีวิทยา ไม่มีความจาเป็นต้องมีดัชนีท้ายเล่ม รวมทั้ง


ปัจจุบันรายงานต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะมีไฟล์ดิจิ ทัลหรือ “pdf. file” ที่สามารถสืบค้นได้สะดวก ยกเว้นเอกสาร
ที่มีความยาวมากเกินกว่า 300 หน้าขึ้นไป และรายงานเกี่ยวกับซากดึกดาบรรพ์มาก ที่มีความยาวประมาณ
100 หน้า ก็อาจจัดให้มีดัชนีท้ายเล่มได้ เช่น หนังสือธรณีวิทยาประเทศไทย มีความหนา 598 หน้ามีดัชนี
ท้ายเล่มด้วย
หน้ าดัช นี พิมพ์เป็ น หน้ าใหม่ วางถัดจากหน้า เอกสารอ้างอิงหรือ บรรณานุกรม แต่ก่อน
ภาคผนวก

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


23

บทที่ 4
หลักเกณฑ์การเขียนรายงาน
คู่มือการเขียนรายงานส่วนใหญ่จะมีหลักเกณฑ์การเขียนรายงานด้านต่าง ๆ อยู่ด้วย เพื่อให้
รายงานมีมาตรฐาน มีการจั ดทาในแนวทางเดียวกัน และมีข้อมูลตามที่ต้องการ ในบทนี้ได้รวบรวมบาง
หลักเกณฑ์ที่จาเป็นสาหรับการเขียนรายงาน ดังนี้

4.1 การตั้งชื่อเรื่อง
ชื่อเรื่อง (Title) มีความสาคัญมากในงานสารวจและวิจัย เพราะการค้นหาหนังสือ มักจะ
เริ่มจากชื่อเรื่อง บริการดัชนีอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic indexing service) มักให้ความสาคัญกับชื่อเรื่อง
เพื่อผู้อ่านสามารถค้นหางานวิจัยที่ตนสนใจได้ ดังนั้น ชื่อเรื่องควรจะสั้น กระชับ เข้ าใจง่ายและสื่อความ
หมายชัดเจน เป็นชื่อที่สัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง การตั้งชื่อเรื่องยาวโดยไม่จาเป็นจะทาให้ผู้อ่านจดจาไว้อ้างอิงหรือ
กล่าวอ้างถึงได้ยาก และไม่ใช้คาหรือกลุ่มคาที่ขยายความออกเป็นทอด ๆ จนเกินความจาเป็น การตั้งชื่อเรื่อง
ควรเลือกชื่อที่จะทาให้บุคคลในวงการวิชาชีพสนใจ และเลือกใช้คาสาคัญหรือคาหลัก (Keyword) ที่ชี้จุด
สนใจให้มากที่สุด ตั้งชื่อให้ตรงกับประเด็น ปัญหาการวิจัย จะทาให้ผู้อ่านทราบได้ทันที ว่าเนื้อเรื่องเกี่ยวกับ
อะไร กรณีพื้นที่สารวจครอบคลุมตามระวางแผนที่ (Map sheet) ก็อาจใช้ชื่อระวางแผนที่นั้น และให้ระบุ
หมายเลขระวางด้วยเพื่อสะดวกต่อการสืบค้น หรือใช้ชื่ออาเภอ ตาบล ด้วยก็ได้
สาหรับรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา ส่วนใหญ่จะใช้ชื่อระวางแผนที่
ในบางรายงานอาจมีชื่อหมายเลขระวางแผนที่ด้วย ซึ่งใช้เป็นคาหลักในการสืบค้นได้ เช่น ธรณีวิทยาระวาง
บ้านแสนขันและระวางบ้านสวนป่าน, ธรณีวิทยาระวางบ้านระเบิดขาม (5537 III), ธรณีวิทยาอาเภอตาคลี
(5039-1) และ ธรณีวิทยาระวางบ้านชีจอชี เป็นต้น มีข้อสังเกต คือ หมายเลขระวางแผนที่มีการใช้ทั้งเลข
โรมันและเลขอารบิก ซึ่งอาจมีผลต่อการสืบค้น เลขอารบิกอาจสะดวกต่อการสืบค้นมากกว่า และอาจเขียน
ติดกันเป็น 50391 เป็นต้น

หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก เจ็ด แปด เก้า สิบ สิบเอ็ด
เลขอารบิก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
เลขโรมัน I II III IV V VI VII VIII IX X XI

4.2 ชื่อผู้เขียนและการจัดลาดับ
การจัดทารายงานสารวจธรณีวิทยาจนสาเร็จเป็นรูปเล่มนั้น อาจทาโดยผู้เขียนหลายคน
ผู้เขียนหลักหรือหัวหน้ากลุ่มจะเป็นผู้แบ่งงานให้ผู้ร่วมงานเป็นผู้รับผิดชอบไปจัดทา ซึ่ งอาจมีปริมาณงานมาก
น้อยต่างกันแล้วจึงนามารวมเป็นต้นฉบับ ดังนั้น แต่ละคนจะรู้ว่าตนเองรับผิดชอบส่วนใดของรายงาน และ
ควรมีชื่อปรากฏอยู่ในลาดับเท่าใดของรายชื่อผู้เขียนทั้งหมด เพราะลาดับรายชื่อผู้เขียนในรายงานจะเรียง
ตามสัดส่วนความรับผิดชอบในรายงาน ผู้เขียนชื่อแรกเป็นชื่อของหัวหน้ากลุ่มหรือผู้รับผิดชอบงานหลัก
(Hansen, 1991) แต่ผู้เขียนในที่นี้หมายถึงเฉพาะผู้ที่ให้ข้อมูลที่มีสาระจาเป็นต่อการสารวจหรือวิจัย หรือ

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


24

เป็นผู้ร่วมงานตามความรับผิดชอบของงานที่ได้รับมอบ ความอาวุโสหรือตาแหน่งหน้าที่การงานไม่ใช่เกณฑ์
ที่ใช้ประกอบการตัดสินใจว่าผู้ใดคือผู้เขียนรายงานหลักหรือผู้ใดเป็นเพียงผู้ร่วมเขียนรายงาน โดยปกติจะ
ไม่นาชื่อผู้บริหารหรือผู้ให้คาปรึกษาคาแนะนามารวมในรายชื่อผู้เขียนรายงาน หรือเขียนบทความวิชาการ
แม้กระทั่งบุคคลที่ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่เป็นงานประจาอยู่ แล้วในห้อง ปฏิบัติการ
ก็จะไม่มีชื่อปรากฏในกลุ่มผู้เขียนรายงานด้วยเช่นกัน แต่อาจมีชื่อในหัวข้อ “กิตติกรรมประกาศ” หรือ คาขอบคุณ
ทั้งนี้แล้วแต่ลักษณะของการช่วยเหลือและความตกลงกันระหว่างผู้เขียนกับบุคคลนั้น การให้เครดิตหรือ
ความสาคัญต่อบุคคล ควรให้ตามความรับ ผิดชอบ ปริมาณงาน และความคิดที่ทุ่มเทจนทาให้งานสาเร็จ
อย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น โดยทั่วไปผู้ที่ให้ความช่วยเหลือในห้องปฏิบัติการและผู้ที่ให้ความช่วยเหลืออื่น ๆ
จะให้ความสาคัญโดยมีชื่อปรากฏในเนื้อเรื่องหรือในตารางแสดงผลวิเคราะห์เท่านั้น แต่ถ้าเป็นผู้ที่ช่วยงาน
ให้เกิดผลสาเร็จเป็นอย่างมาก ก็อาจได้รับการพิจารณาให้เป็นผู้ร่วมเขียนรายงานได้หรือเป็นผู้เขียนอาวุโสได้
(Hansen, 1991; คณะกรรมการเอกสารทางวิชาการ, 2542)
สาหรับชื่อผู้เขียนในรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา ส่วนใหญ่ชื่อแรก
เป็นหัวหน้าคณะสารวจ และรายชื่อผู้เขียนเป็นนักธรณีวิทยาและผู้ช่วยสารวจที่อยู่ในคณะสารวจต่อท้าย
ตามลาดับ ในบางรายงานผู้ช่วยสารวจจะรวมถึงพนักงานขับรถยนต์ด้วย

4.3 การจัดทาภาพประกอบ
ภาพประกอบ (Illustration) มีความหมายกว้าง หมายถึง รูปภาพทุกชนิดที่นามาสอดแทรก
ในเนื้อหาของรายงาน เช่น รูปถ่าย ภาพวาด ภาพลายเส้น แผนที่ ภาพตัดขวางทางธรณีวิทยา (Geologic cross
sections) แผนภูมิ (Chart) แผนภาพ (Diagram) กราฟ (Graph) แผนภาพรั้ว (Fence diagram) ภาพแท่ง
ลาดับชั้นหิน (Stratigraphic column) และแผ่นภาพซากดึกดาบรรพ์ (Fossil plate) และรวมถึงแผนที่
(Map) แผ่นภาพ (Plate) และรูปภาพอื่น ๆ ที่มีขนาดใหญ่ ที่ไม่ได้เย็บติดกับ ตัวรายงานหรือพับเก็บ ไว้ใน
ซองเอกสารด้านในของปกหลัง
การจัดทาภาพประกอบที่ดี ต้องทาให้ผู้อ่านมองแล้วรู้สึกประทับใจ หรือช่วยอธิบายเนื้อหา
ในรายงานให้ชัดเจนขึ้น หรือแสดงหลักฐานสนับสนุน ข้อวิจารณ์ในรายงาน ภาพประกอบมีความสาคัญ
เนื่องจากผู้อ่านจานวนไม่น้อยนิยมสืบค้นข้อมูลในหนังสือหรือรายงานจากการพลิกดูภาพประกอบและตาราง
มากกว่าที่จะอ่านโดยตรงจากเนื้อหา ดังนั้น การจัดทาภาพประกอบและตารางจึงควรมีความสมบูรณ์ และ
ถูกต้อง สามารถสื่อความหมายด้วยตัวเองได้ เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความสนใจอยากอ่านตัวรายงานหรือหนังสือ
มากขึ้ น ภาพประกอบยั ง เป็ น ข้ อ มู ล ช่ ว ยเสริ ม ให้ ผู้ อ่ า นเข้ า ใจเนื้ อ หาของรายงานได้ ดี แ ละง่ า ยขึ้ น เช่ น
ช่วยเปรียบเทียบข้อมูลชี้ให้เห็นความแตกต่าง หรือแสดงให้เห็นแนวโน้มในอนาคต รวมทั้งช่วยจัดระเบียบ
ข้อมูลตัวเลขที่มีจานวนมากและหลายชนิดให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
4.3.1 ชนิดและชื่อเรียกของภาพประกอบ
ในตารางด้านล่าง แสดงการเปรียบเทียบการเรียกชื่อภาพประกอบและตารางระหว่าง
รายงานสารวจธรณีวิทยาของกรมทรัพยากรธรณี USGS และ Australia โปรดสังเกตการเรียกชื่อที่ ต่างกัน
โดยเฉพาะรูปถ่าย และแผนที่ ดังนี้

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


25

DMR USGS Australia


รูปถ่าย รูปที่ ../ Figure .. Figure .. Plate ..
แผนที่ในรายงาน/ภาพวาด/ รูปที่ ../ Figure .. Figure .. Figure ..
กราฟ/ ภาพแท่งลาดับชัน้ หิน
แผนที่ขนาดใหญ่ แผนที่ ../ Map .. Plate .. Map ..
แผ่นภาพ/แผนภูมิขนาดใหญ่ แผ่นภาพ ../ Plate .. Plate ..
แผ่นภาพซากดึกดาบรรพ์ แผ่นภาพ ../ รูปที่ ../ Plate .. Plate .. Plate ..
ตาราง ตารางที่ ../ Table .. Table .. Table ..

ภาพประกอบ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แผนที่ แผ่นภาพ และรูป


แผนที่ (Map) หมายถึง แผนที่ธรณีวิทยาหรือแผนที่ชนิดอื่นที่มีขนาดใหญ่ ไม่ได้เย็บติดกับ
ตัวรายงาน อาจพับแยกอยู่ในซองท้ายเล่ม ถ้ามีมากกว่า 1 แผ่น ในรายงานจัดเรียงตามลาดับหมายเลขเป็น
“แผนที่….” ส่วนในแผนที่ให้เขียน “แผนที่….” พร้อมเลขที่ เช่น “แผนที่ 1” ให้มองเห็นชัดเจนเมื่อพับ
แผนที่แล้ว ส่วนชื่อแผนที่ให้เป็นไปตามรูปแบบการทาแผนที่ธรณีวิทยา
แผ่นภาพ (Plate) หมายถึง ภาพประกอบใด ๆ ที่มีขนาดใหญ่ ไม่ได้เย็บติดกับตัวรายงาน
ยกเว้นแผนที่ธรณีวิทยาขนาดใหญ่ ในรายงานจัดเรียงตามลาดับเป็น “แผ่นภาพที่ ….” คาอธิบายแผ่นภาพ
ให้วางอยู่ใต้แผ่นภาพ ประกอบด้วยแผ่นภาพที่ ตามด้วยเลขที่ของแผ่นภาพ และชื่อแผ่นภาพ ตามลาดับ
สาหรับเลขที่แผ่นภาพเป็น 1, 2, 3 ตามลาดับ
รูป (Figure) หมายถึง รูปภาพและภาพประกอบใด ๆ ที่นามาสอดแทรกในเนื้อหาของ
รายงาน ต้องมองเห็นชัดและตัวอักษรอ่านออกได้ ในรายงานจัดเรียงตามลาดับเป็น “รูปที่ ….”
อนึ่ ง รู ป ถ่ า ยหรื อ ภาพวาดของซากดึ ก ด าบรรพ์ ห ลายรู ป ที่ น ามาพิ ม พ์ ใ นแผ่ น เดี ย วกั น
ในรายงานจัดเรียงตามลาดับเป็น “แผ่นภาพที่ ….” หรือ “Plate ….” ลาดับเลขที่แผ่นภาพ ให้ใช้ตามบทที่
แผ่นภาพนั้นอยู่เหมือนกับวิธีการของรูป โดยปกติชื่อแผ่นภาพกับรูปซากดึกดาบรรพ์จะอยู่คนละหน้าแต่ถัด
กัน ให้อธิบายซากดึกดาบรรพ์ในรูปย่อยเรียงตามลาดับที่กาหนดไว้ที่รูป อย่างไรก็ดี รูปของซากดึกดาบรรพ์ก็
อาจจัดอธิบายเป็นแบบ “รูปที่” ได้ด้วย
4.3.2 หมายเลขรูป
การกาหนดหมายเลขรูป ในรายงานที่ยาวให้ใช้ตามบทที่รูปนั้นอยู่
เช่น ในบทที่ 1 เป็น รูปที่ 1.1, รูปที่ 1.2
ในบทที่ 2 เป็น รูปที่ 2.1, รูปที่ 2.2 ตามลาดับ
สาหรับรายงานสั้น หรือบทความที่นาเสนอในวารสาร หรือการประชุม มักจะกาหนดเป็น
หมายเลขเรียงตามลาดับ เช่น รูปที่ 1, รูปที่ 2, รูปที่ 3 ตามลาดับ

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


26

4.3.3 การเขียนคาบรรยายรูป
การเขียนคาบรรยายรูป (Caption) ไม่มีเกณฑ์มาตรฐานว่าควรมีความยาวเท่าใด แต่ควร
จะเขียนให้กระชับได้ใจความและมีความถูกต้อง มีคาอธิบายของสัญลักษณ์ (ถ้ามี) ถ้าผู้เขียนต้องการเน้นจุด
ใดในรูปภาพเป็นพิเศษก็ให้เขียนระบุในคาบรรยายด้วย หรือเขียนคาบรรยายลงในรูปภาพ คาบรรยายรูปควร
มีข้อมูลตาแหน่งสถานที่ หรื อจุดพิกัดของรูปภาพด้วย ถ้ารูปภาพนั้นผู้เขียนไม่ได้จัดทาขึ้นเองหรือทาการ
ปรับปรุงมาจากข้อมูลของผู้อื่นก็ต้องอ้างถึงแหล่งที่มาด้วย และก่อนตีพิมพ์ผู้เขียนควรตรวจความถูกต้องของ
ข้อมูล รวมทั้งคาบรรยายด้วย
คาบรรยายรูป ในรายงานให้ วางอยู่ ข้างใต้รูปหรือ อาจวางด้านข้างรูป ก็ไ ด้ ให้ใ ช้ตัว อัก ษร
เดียวกันกับเนื้อเรื่องแต่มีขนาดเล็กกว่าเนื้อเรื่อง 1 pt. ในที่นี้คือ 15[14] pt. กรณีวางไว้ข้างใต้ของรูป ให้เว้น
ห่างจากขอบรูป 6 pt. มีรูปแบบประกอบด้วย “รูปที่ ....” ตามด้วย “เลขที่รูป” ตามด้วย “คาบรรยายรูป”
ตามลาดับ ควรเว้นวรรคให้พอดีหรือใช้แบบเว้นวรรคใหญ่ โดย “รูปที่ และเลขที่รูป” เป็นตัวหนา คาบรรยายรูป
ถ้ายาวเกินบรรทัดแรก ในบรรทัดถัดไปให้เริ่มตรงกับคาบรรยายรูป
ตัวอย่าง: ใน บทที่ 1 บทนา
รูปที่ 1.1 ……………………………………………………………………………………….………............………..

แผ่นภาพที่ 1.1 ........................................................................................................................

อนึ่ง การเขียนคาบรรยายรูปหรือตารางในหนังสือตาราหรือวารสารภาษาอังกฤษส่วนใหญ่
รวมถึงรายงานของ USGS พบว่ามีการใช้จุด (มหัพภาค หรือ full stop) ตามหลังเลขที่รูปและเลขที่ตาราง
ด้วย สาหรับในภาษาไทยใช้การเว้นวรรคแทนการจบข้อความหรือประโยค ผู้เขียนจึงควรใช้ให้ตรงตาม
ข้อกาหนดของแต่ละหน่วยงานด้วย
นอกจากนี้ การให้เครดิตเรื่องการยืมภาพประกอบ (Illustration) มาแสดงในรายงานก็เป็น
สิ่งจาเป็น โดยแสดงไว้ให้เห็นบนแผ่นภาพหรือหัวข้อนั้น ๆ การนาภาพประกอบของผู้อื่นมาคัดลอกจัดทาขึ้น
ใหม่ ให้เขียนกากับไว้ว่า “คัดลอกจาก ผู้เขียน (ปี พ.ศ.)” เช่น “from Renault (1948)” ในกรณีที่มีการ
เปลี่ยนแปลงจากเดิมมากพอสมควร ให้เขียนว่า “คัดลอกและแก้ไขเพิ่มเติม จาก ผู้เขียน (ปี พ.ศ.)” หรือ
“modified from Renault (1948)” การใช้คาว่า “after” เป็นการแสดงนัยให้เห็นถึงการนาแนวความคิด
มาใช้มากกว่าที่จ ะแสดงให้ เห็น เด่น ชัดว่าเป็นการคัดลอก อย่างไรก็ตาม อนุโ ลมให้ ใช้คาว่า “after” ได้
เนื่องจากในวารสารที่ตีพิมพ์บางวารสารยังคงนิยมใช้คานี้อยู่ ส่วนคาว่า “adapted from” มีความหมาย
เหมือนกับคาว่า “modified from” แต่ไม่นิยมใช้กันมากนัก สาหรับภาพถ่าย ซึ่งถ่ายโดยผู้เขียนรายงานเอง
ไม่จาเป็นต้องเขียนให้เครดิต ยกเว้นกรณีที่มีผู้ร่วมงานหลายคน อาจเขียนให้เครดิตต่อผู้ถ่ายภาพได้หาก
มีความประสงค์ โดยให้ระบุว่าภาพถ่ายโดย “ผู้ถ่าย (ปี พ.ศ.)” ภาพถ่ายหรือภาพอื่นใดที่ยืมมาแสดงในรายงานให้
เขียนแสดงความขอบคุณไว้ในคาอธิบายภาพหรือหัวข้อที่แสดงภาพนั้นด้วย แม้จะมีการปรับปรุงแก้ไขบ้างก็ตาม
การให้เครดิตอันนี้ถือเป็นการมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี เป็นการให้เกียรติและเป็นสิ่งซึ่งจาเป็นต้องปฏิบัติ

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


27

4.4 การจัดทาตาราง
ตาราง คือ รูปแบบของข้อมูลที่จัดเป็นระเบียบ จัดเป็นแถวในแนวนอน (Row) และแนวตั้ง
(Column) เป็นการรวบรวมและนาเสนอข้อมูลที่มีรายการซ้า ๆ เพื่อให้การวิเคราะห์และเปรียบเทียบข้อมูล
ได้ง่ายขึ้น ควรออกแบบและจัดทาตารางตั้งแต่ช่วงแรกของการเขียนรายงาน โดยทั่วไป การจัดทาตาราง
ขนาดเล็กหลายตารางจะดีกว่าการจัดทาตารางขนาดใหญ่ที่ซับซ้อนเพียงตารางเดียว สิ่งสาคัญของการจัดทา
ตาราง คือ การจัดเรียงรายชื่อของข้อมูลแถวแรกของแนวตั้งและแนวนอนตามหลักตรรกวิทยา ควรจัดกลุ่ม
ข้อมูลและจัดเรียงตามลาดับอย่างมีความหมาย เนื่องจากจะสะท้อนให้เห็นถึงการลาดับของรายการในตารางด้วย
การออกแบบตารางที่ดีมีส่วนช่วยทาให้รายงานน่าอ่านและเข้าใจได้ง่ายขึ้น ตารางควรจะชัดเจน ดูไม่ อึดอัด และ
ตัวอักษรอ่านได้ หากข้อมูลมีน้อยเกินไปก็ไม่ควรทาตาราง (ดูตัวอย่างการจัดทาตารางของคู่มือฉบับนี้ประกอบ)
4.4.1 หมายเลขตาราง
ตาราง มี 2 แบบ คือ แบบแรกคือตารางที่พบทั่วไปในรายงาน เป็นแบบมี การระบุเลขที่
ตารางพร้อมคาบรรยาย โดยวางอยู่ด้านบนของตาราง ตารางจะมีการตีเส้นหรือไม่มีก็ได้ แบบนี้จะแสดง
รายชื่อเลขที่ตารางและคาบรรยายตารางไว้ในสารบัญตารางด้วย สาหรับการวางตารางแทรกในเนื้อหา
ก็เหมือนกับรูปหรือภาพ โดยปกติมักจะระบุชื่อ เลขตารางในเนื้อหาก่อน แล้วจึงแทรกตัวตารางให้อยู่ใกล้
เนื้อหาที่ระบุถึง เพื่อสะดวกต่อผู้อ่านในการเชื่อมโยงเนื้อเรื่อง แบบที่สองเป็นตารางที่ไม่มีชื่อเลขที่ตารางและ
คาบรรยายตารางกากับ เป็นตารางที่เขียนเป็นส่วนหนึ่งของคาบรรยาย เป็นข้อมูลที่สั้นและง่าย จึงไม่มีการ
ตีเส้น และไม่ต้องแสดงไว้ในสารบัญตาราง
การกาหนดหมายเลขตาราง ใช้ระบบเดียวกับที่ใช้กับรูปที่...ถ้าเป็นรายงานยาวที่มีหลายบท
หลายหัวข้อใหญ่ ให้ใช้หมายเลขตามบทที่ตารางนั้นอยู่
เช่น ใน บทที่ 1 เป็น ตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.2 ตารางที่ 1.3
บทที่ 2 เป็น ตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.2 ตารางที่ 2.3 ตามลาดับ
ส่วนในรายงานสั้น หรือบทความที่นาเสนอในวารสาร หรือการประชุม มักจะกาหนดเป็น
หมายเลขเรียงตามลาดับ เช่น ตารางที่ 1, ตารางที่ 2, ตารางที่ 3 ตามลาดับ

4.4.2 การเขียนคาบรรยายตาราง
การเขีย นคาบรรยายตารางไม่มีเกณฑ์มาตรฐานว่าควรมีความยาวเท่าใด แต่ควรเขียน
ให้ชัดเจน และกระชับ ไม่กากวม หรือสร้างความสับสน ถ้าต้องการเน้นจุดใดในตารางเป็นพิเศษก็อาจเขียน
ในคาบรรยายได้ ผู้เขียนจะต้องระบุแหล่งที่มาของตารางไว้ใต้ตาราง (หมายเหตุล่าง) หรือต่อท้ายคาบรรยาย
ตารางด้วย ยกเว้นตารางนั้นผู้เขียนจัดทาขึ้นเอง ก่อนตีพิมพ์ผู้เขียนควรตรวจความถูกต้องของข้อมูล รวมทั้ง
คาบรรยาย
คาบรรยายมีรูปแบบประกอบด้วย “ตารางที่ ” ตามด้วย “เลขที่ตาราง” ตามด้วย “คา
บรรยายตาราง” ควรเว้นวรรคให้พอดีหรือใช้แบบเว้นวรรคใหญ่ ให้ใช้ตัวอักษรแบบเดียวกับเนื้อเรื่องแต่มี
ขนาดเล็กกว่า 1 pt. ในที่นี้คือ 15[14] pt. โดยวางไว้ด้านบนชิดขอบซ้ายของตาราง เว้นห่างจากขอบตาราง
6 pt ถ้าคาบรรยายตารางมีความยาวเกินบรรทัดแรก ในบรรทัดถัดไป ให้เริ่มพิมพ์ตรงคาแรกของคาบรรยาย
แถวบน และคาว่า “ตารางที่ และเลขที่ตาราง” ให้เป็นตัวหนา หากตารางมีขนาดใหญ่หรือกว้างกว่ากรอบ

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


28

หน้ากระดาษพิมพ์ให้ถ่ายย่อลง โดยตารางยังคงมีความชัดเจนและอ่านง่าย หากตารางมีความยาวเกินกว่าที่จะพิมพ์


ลงในหน้าเดียวให้ขึ้นหน้าใหม่ได้ โดยพิมพ์เลขที่ตาราง ตามด้วยคาว่า “(ต่อ)” หรือ “(cont.)” ต่อท้ายหมาย
เลขตาราง
การออกแบบตารางที่ดีมีส่วนช่วยทาให้รายงานน่าอ่า นและเข้าใจได้ง่ายขึ้น ตารางควรมี
ความชัดเจน มีช่องว่างระหว่างแถวทั้งแนวตั้งและแนวนอน จะทาให้ตารางไม่ แน่นจนเกินไป มีหน่วยวัด
กากับ ตัวอักษรอ่านได้ไม่เล็กจนเกินไป ตัวอักษรในตารางควรมีขนาดเล็กกว่าเนื้อเรื่อง
ตัวอย่าง: ใน บทที่ 1 บทนา
ตารางที่ 1.1

ตารางที่ 1.2

4.4.3 การเขียนหมายเหตุ
การเขียนหมายเหตุเพื่ออธิบายข้อความในตารางมี 2 วิธี (Hansen, 1991; คณะกรรมการ
เอกสารทางวิชาการ, 2542) คือ
หมายเหตุบน (Headnotes) วางไว้ใต้คาบรรยายตารางแต่บนตาราง ส่วนใหญ่ใช้สาหรับ
อธิบายชื่อหัวข้อหรือชื่อย่อในตาราง เช่น LOI = loss on ignition; bdl = below detection limit, คาย่อ
และสัญลักษณ์ที่ใช้ เช่น ppm = parts per million; wt pct = weight percent; gp = group, หรือ
กล่าวเกี่ยวกับวิธีการที่ใช้ หรือใส่ชื่อผู้ทาการวิเคราะห์เพื่อเป็นการให้เกียรติ โดยจัดวางข้อความอยู่ภายใน
วงเล็บเหลี่ยม [ ] ถ้ามีข้อความยาวให้ขึ้นบรรทัดใหม่ได้ โดยเริ่มพิมพ์ให้ตรงกับ คาว่าตาราง ปกติจะไม่ใช้
มหัพภาค (.) ก่อนหน้าวงเล็บเหลี่ยมปิด ทั้งนี้ยกเว้นลงท้ายด้วยคาย่อจะต้องตามด้วยมหัพภาคก่อนวงเล็บปิด
หมายเหตุล่าง (Footnotes) วางไว้ใต้ตารางชิดขอบล่างซ้าย ใช้สาหรับอธิบายความหมาย
ของแต่ละข้อมูลในตาราง เช่น อ้างถึงที่มาของข้อมูล หรืออธิบายลักษณะของข้อมูล ปกติจะใช้ตัวยกกาลัง
(Superscript) วางไว้ด้านหน้าข้อมูลที่อ้างถึง โดยใช้สัญลักษณ์หรือตัวอักษร (จะมีขนาดเล็กกว่าของข้อมูล)
ถ้าเป็นภาษาอังกฤษนิยมใช้ตัวพิมพ์เล็ก ถ้าใช้ตัวเลขต้องระวังไม่ให้เกิดความสับสนกับข้อมูล
คาบรรยายของหมายเหตุ ให้ใช้ตัวอักษรแบบเดียวกับเนื้อเรื่อง อาจมีขนาดเดียวกับตาราง
แต่ไม่ใหญ่กว่าคาบรรยายตาราง

4.5 การจัดระดับหัวข้อในรายงาน
การจั ด ระดับ หั ว ข้อในรายงานมีห ลายระบบ (ตารางที่ 4.1) เช่น ระบบตัว เลขทศนิย ม
(Decimal system) ระบบตัวอักษรสลับตัวเลข (Alpha-numeric system) ในรายงานนี้ให้ใช้ตามระบบ
ตัวเลขทศนิยมเป็นหลัก โดยแบ่งหัวข้อเรียงตามลาดับ (ตารางที่ 4.2) ดังนี้ ชื่อเรื่อง บทที่ หัวข้อใหญ่ หัวข้อ
รองหนึ่ง หัวข้อรองสอง และหัวข้อย่อย และถ้าต้องการแบ่งระดับในหัวข้อย่อยให้มากขึ้น ก็ใช้ระบบตัวอักษร
สลับตัวเลขมาเสริมได้ ตัวอักษรของเนื้อเรื่องและของหัวข้อใช้แบบเดียวกัน คือ TH SarabunPSK ขนาด
ตัวอักษรของหัวข้อต้องไม่เล็กกว่าของเนื้อเรื่อง ขนาดตัวอักษรของเนื้อเรื่องคือ 16 pt. [15] โดยตัวเลข
“16” หมายถึงการจัดพิมพ์แบบ 1 คอลัมน์ และ “[15]” หมายถึงการจัดพิมพ์แบบ 2 คอลัมน์

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


29

ชื่อเรื่อง ในที่นี้หมายถึงชื่อเรื่องที่ปรากฏเป็นหัวเรื่องในหน้าบทคัดย่อ ทั้งที่พิมพ์แบบ 1


และ 2 คอลัมน์ ชื่อเรื่องจัดวางกลางบรรทัดด้านบนของหน้า ขนาดตัวอักษร 26 pt. [24] ตัวหนาทั้งหมด
และมีระยะห่างระหว่างย่อหน้า (Paragraph spacing) ก่อน (Before) เท่ากับ 24 pt. [24] หลัง (After)
เท่ากับ 24 pt. [24]
บทที่ ในรายงานที่แบ่งเป็นบท ให้ขึ้นหน้าใหม่เสมอ โดยเขียนเลขบทที่ในบรรทัดแรก ชื่อบท
อยู่ในบรรทัดถัดไปและวางกลางบรรทัด เช่น “บทที่ 1” เขียนบนบรรทัดแรก และ “บทนา” ในบรรทัดที่สอง
และวางไว้กลางบรรทัด ขนาดตัวอักษร 24 pt. [22] ตัวหนาทั้งหมด และมีระยะห่าง (Paragraph spacing)
ก่อน (Before) เท่ากับ 24 pt. [24] หลัง (After) เท่ากับ 24 pt. [24] กรณีนี้ จะไม่มีระยะห่างระหว่าง
บรรทัดของ “บทที่ 1” กับ “บทนา” คือ = 0 pt. แต่ในกรณีที่ชื่อบทอยู่ในบรรทัดเดียว เช่น “บทสรุป” จะมี
ระยะห่าง “ก่อน” = 24 pt. “หลัง” = 24 pt. (ดูวิธีพิมพ์ในบทที่ของคู่มือฉบับนี้ประกอบ)
หัวข้อใหญ่ ใช้ตัวเลขตามบท เช่น ถ้าในบทที่ 1 เป็น 1.1, 1.2 โดยวางชิดซ้ายของบรรทัด
ขนาดตัวอักษร 20 pt. [18] ตัวหนาทั้งหมด และมีระยะห่าง “ก่อน” เท่ากับ 18 pt. [18] “หลัง” เท่ากับ 6
pt. [6]
หัวข้อรองหนึ่ง เลขที่หัวข้อให้เรียงลดหลั่นตามเลขที่ของหัวข้อใหญ่ เช่น 1.1.1, 1.1.2 โดย
วางชิดขอบซ้ายของบรรทัด และมีย่อหน้า 1.25 [0.7] เซนติเมตร (0.49 [0.28] นิ้ว) ขนาดตัวอักษร 18 pt.
[17] ตัวหนาทั้งหมด และมีระยะห่าง “ก่อน” เท่ากับ 15 pt. [15] “หลัง” เท่ากับ 6 pt. [6]
หัวข้อรองสอง เลขที่หั วข้อให้เรียงลดหลั่ นตามเลขที่ของหั วข้อรองหนึ่ง เช่น 1.1.1.1,
1.1.1.2 โดยวางชิดซ้ายของบรรทัด และมีย่อหน้า 2 [1] เซนติเมตร (0.79 [0.39] นิ้ว) ขนาดตัวอักษร 17 pt.
[16] ตัวหนาทั้งหมด และมีระยะห่าง “ก่อน” เท่ากับ 12 pt. [12] “หลัง” เท่ากับ 6 pt. [6]
ตารางที่ 4.1 ระบบการจัดเรียงระดับหัวข้อในรายงาน (คัดลอกและแก้ไขเพิ่มเติมจาก Rudd, 2005)
Decimal system Alpha-Numeric systems รูปแบบในคู่มือฉบับนี้
1 Main Heading A Main Heading ชื่อเรื่อง
1.1 Secondary heading 1 Secondary heading 1 บทที่/ ชื่อบท
1.1.1 Sub-heading a) Sub-heading 1.1 หัวข้อใหญ่
1.1.2 Sub-heading b) Sub-heading 1.1.1 หัวข้อรองหนึ่ง
1.2 Secondary heading i) Sub-sub-heading 1.1.2 หัวข้อรองหนึ่ง
1.2.1 Sub-heading 1.1.2.1 หัวข้อรองสอง
1.2.2 Sub-heading 1.1.2.2 หัวข้อรองสอง
1.2.2.1 Sub-sub-heading 1) หัวข้อย่อย
2) หัวข้อย่อย
1 Main Heading
a) Secondary heading
i) Sub-heading
ii) Sub-heading

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


30

ตารางที่ 4.2 การจัดเรียงระดับหัวข้อและขนาดตัวอักษรในรายงาน


ชื่อ การจัดเรียงตัวเลข ขนาดตัวอักษร ระยะย่อหน้า Paragraph spacing
บทที่ 1 1 24 [22] ตัวหนา วางกลาง ก่อน: 24 pt. [24]
หลัง: 24 pt. [24]
หัวข้อใหญ่ 1.1 20 [18] ตัวหนา ชิดขอบซ้าย ก่อน: 18 pt. [18]
หลัง: 6 pt. [6]
หัวข้อรองหนึ่ง 1.1.1 18 [17] ตัวหนา 1.25 ซม. [0.7 ซม.] บน: 15 pt. [15]
1.1.2 ล่าง: 6 pt. [6]
หัวข้อรองสอง 1.1.2.1 17 [16] ตัวหนา 2.0 ซม. [1 ซม.] บน: 12 pt. [12]
1.1.2.2 ล่าง: 6 pt. [6]
หัวข้อย่อย 1) 16 [15] 2.0 ซม. [1 ซม.] บน: 3 [3]
2) ล่าง: 3 [3]

หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บเหลี่ยม [ ] คือการจัดพิมพ์แบบสองคอลัมน์


หัวข้อย่อย แสดงโดยตัวเลขตามด้วยวงเล็บปิด เช่น 1), 2) โดยวางชิดซ้ายของบรรทัด และ
มีย่อหน้า 2 [1] เซนติเมตร (0.79 [0.39] นิ้ว) ขนาดตัวอักษร 16 pt. [15] และมีระยะห่าง “ก่อน” เท่ากับ 3
pt. [3] “หลัง” เท่ากับ 3 pt. [3] โดยมีข้อความของเนื้อเรื่องวางต่อในบรรทัดเดียวกัน
ในกรณีหัวข้อวางต่อเนื่องกันโดยไม่มีเนื้อเรื่องคั่น ให้ใช้ระยะห่างของหัวข้อที่เขียนก่อน
เท่านั้น ยกเว้นกรณีของหัวข้อบทที่มี 2 บรรทัดติดกันขึ้นไป เช่น หัวข้อใหญ่และหัวข้อรองหนึ่งที่วางต่อเนื่อง
ในบรรทัดถัดกัน กรณีเช่นนี้ให้ใช้ระยะห่างของหัวข้อใหญ่ คือ 6 pt. เท่านั้น
เนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวที่บรรยายในแต่ละหัวข้อ ให้ใช้ตัวอักษร TH SarabunPSK ขนาด
16 pt. [15] ให้จัดพิมพ์แบบเต็มแนว (Justify) ยกเว้นจะมีระบุเป็นอย่างอื่น

4.6 วิธีเขียนค่าจากเข็มทิศ
โครงสร้างทางธรณีวิทยา สามารถอธิบายได้ด้วยการวางตัวของระนาบ (Plane) แนวเส้น
(Line) และจุด (Point) แต่วิธีเขียนหรื อจดค่าการวางตัว ของระนาบและแนวเส้นมีหลายแบบหรือ หลาย
ระบบ มีทั้งที่เขียนรูปแบบต่างกัน และที่ใช้รูปแบบเหมือนกัน แต่ความหมายต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นกับความถนัด
นิ ย มใช้ในแต่ล ะสถาบั น และขึ้น กับ ชนิ ดของเข็ มทิศที่ใช้วัด ด้ว ย เพื่อ ป้องกันไม่ใ ห้ ผู้ อ่านเกิด ความสั บสน
ให้ผู้เขียนรายงานอธิบายรูปแบบที่ใช้ไว้ในรายงานด้วย อย่างไรก็ดี ในหน่วยงานหนึ่ง ๆ ควรเลือกใช้วิธีเขียน
ค่าที่เหมือนกัน เพื่อประโยชน์ต่อการสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน ลดข้อผิดพลาดจากการถ่ายโอนข้อมูลและการ
จัดทาฐานข้อมูลของหน่วยงาน
ในส่วนของระนาบนั้น แสดงโดยใช้ค่าของแนวระดับ (strike) และค่ามุมเท (dip) รวมทั้ง
ทิศมุมเท วิธีที่นิยมใช้เขียนค่าระนาบจากเข็มทิศมี 2 ระบบ คือ Strike notation และ Dip notation ใน
ตารางที่ 4.3 แสดงเปรียบเทียบรูปแบบการเขียนค่าทิศทางการวางชั้น (Bedding) ของแต่ละวิธี โปรดสังเกต
ความสับสนจะเกิดขึ้นถ้าไม่เขียนทิศมุมเทกากับไว้หรือไม่บอกวิธีที่ใช้วัดค่า ดังนั้ น คู่มือฉบับนี้แนะนาให้เขียน
ทิศของมุมเทกากับไว้ด้วย และระบุวิธีที่ใช้วัดค่าไว้ในรายงาน ซึ่งจะช่วยให้ความหมายชัดเจนขึ้น และลดความ
สับสนได้ และไม่แนะนาให้เขียนเครื่องหมายองศาในทุกกรณี เพื่อป้องกันไปสับสนกับเลขศูนย์ (0)

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


31

4.6.1 Strike notation


แสดงโดยใช้แนวระดับ (strike) เป็นตัวนา มีรูปแบบเป็น “strike, dip angle, dip direction”
แยกเป็น 3 แบบ คือ Quadrant, Azimuth และ Right-hand rule มีรายละเอียด ดังนี้
1) “Quadrant” แบ่งมุมในเข็มทิศ 360 องศาออกเป็น 4 ส่วนๆ ละ 90 องศา และอ่าน
ค่าที่เข็มทิศเบนออกจากทิศเหนือหรือทิศใต้ เช่น N30E ในขณะที่เข็มทิศอีกด้านชี้ S30W แต่แบบนี้นิยมอ่าน
ค่าทาง north quadrant ดังนั้น มักอ่านแนวระดับเป็น N30E (ไม่นิยมอ่าน S30W)
N65W, 25S (“Quadrant”) เมื่อแนวระดับทามุม N65W และมุมเทไปทางทิศใต้ 25 องศา
การอ่านแบบนี้ถ้าทิศแนวระดับใกล้ 45 องศา ก็นิ ยมใช้ตัวอักษรคู่ในการบอกทิศมุมเท เช่น NE หรือ NW
การเขียนค่าจะใช้เครื่องหมายจุลภาค (Comma) หรือเว้นวรรค (เช่น N65W 25S) ก็ได้ สาหรับเข็มทิศอาจ
เป็น Brunton นิยมใช้มากในอเมริกาเหนือ
2) “Azimuth” แสดงแนวทิศโดยตัวเลข 0-360 องศา ทิศเหนือ = 0 องศา (หรือ 360),
ทิศตะวันออก = 90, ทิศใต้ = 180, และทิศตะวันตก = 270 องศา
295, 25S (“Azimuth”) เมื่อแนวระดับมีค่า azimuth 295 องศา โดยเริ่มวัดตามเข็ม
นาฬิกาจากทิศเหนือ และค่ามุมเท 25 องศาไปทางทิศใต้ วิธีนี้นิยมอ่านค่าแนวระดับจากเข็มที่อยู่ด้านเหนือสุด
(Northernmost end) แต่ก็มีการอ่านค่าแนวระดับอีกด้านหนึ่งของเข็มทิศ ด้วยเช่นกันคือ 115, 25S วิธีนี้
ต้องมีทิศของมุมเทกากับด้วย เพื่อจะได้ไม่สับสน การเขียนค่าจะใช้ เครื่องหมายทับ (/) ก็ได้ เช่น 295/25S
สาหรับเข็มทิศอาจเป็น Brunton, Silva
ตารางที่ 4.3 เปรียบเทียบรูปแบบการเขียนค่าการวางชั้นของแต่ละวิธี
(Modified from https://www.public.asu.edu)

Quadrant N 40 E, 36 SE N 35 W, 15 NE N28W, N 48 E, 9 NW N 18 E, 20
N40E 36SE N35W 15NE 41W N 48 E 9 NW E
N 18 E 20 E
Strike notation

Azimuth 040, 36 SE 325, 15NE 332, 41 SW 048, 9 NW 198, 20 E


040/ 36 SE 332/ 41 048/ 9 NW
SW
Right-hand 040, 36 SE 325, 15 NE 152, 41 SW 228/ 9 NW 018, 20 E
rule (US) 325/ 15 NE 152/ 41
SW
Azimuth 36/130 15/055 41/242 09/318 20/108
notation
Dip

Quadrant 36, S 50 E 15, N 55 E 41, S 62 W 9, N42W 20, S 72 E

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


32

3) แบบ Right-hand rule (RHR) มีวิธีใช้ที่ต่างกันระหว่างแบบ American กับ British


เช่น เมื่อน ามือขวาที่กางออกไปทาบบนหน้าระนาบแบบ American ให้ นิ้ว หั วแม่มือชี้ไปเป็นแนวระดับ
(strike) และนิ้วที่เหลือชี้มุมเท (dip) หรือเมื่อยืนมองไปตามแนวระดับทางขวามือจะเป็นมุมเท ในขณะที่
แบบ British ให้นิ้วหัวแม่มือชี้ไปเป็นแนวมุมเท ในรายงานนี้แสดงแบบ American ค่า Azimuth ที่วัดได้เป็น
ค่าแนวระดับ และทิศของมุมเทให้นับต่อจากค่า azimuth ไปอีก 90 องศา อย่างไรก็ดี การเขียนค่าวิธีนี้ถ้า
ไม่มีทิศกากับจะสับสนกับระบบ dip direction ได้ จึงแนะนาให้มีทิศกากับด้วยดังตัวอย่าง เช่น
N 40 E, 67 SE = 040, 67 SE นักธรณีบางท่านเขียนแบบ 040/67 SE
N 40 E, 67 NW = 220, 67 NW
N 40 W, 67 NE = 320, 67 NE
N 40 W, 67 SW = 140, 67 SW

4.6.2 Dip notation


แสดงโดยใช้มุมเท (dip) เป็นตัวนา มีรูปแบบเป็น “dip angle, dip direction” แยกเป็น
2 แบบ คือ Quadrant และ Azimuth
1) 25, S 25 W (“Quadrant”) เมื่อมุมเท 25 องศาไปทางทิศ S25W หรือ azimuth 205
องศา สาหรับเข็มทิศอาจเป็น Brunton
2) 25/ 205 (“Azimuth”) เมื่อมุมเท 25 องศาไปทางทิศ azimuth 205 องศา หรือ
S25W วิธีนี้มุมเทต้องเป็นเลข 2 หลักเสมอ และทิศมุมเทเป็นเลข 3 หลักเสมอ การวัดเช่นนี้นิยมเรียกว่าแบบ
dip direction สาหรับเข็มทิศอาจเป็น Breithaupt Stratum compass นิยมใช้ในยุโรป

4.7 การตั้งชื่อและการปรับปรุงชื่อหน่วยลาดับชั้นหินตามลักษณะหินแบบทางการ
คู่มือ การล าดับ ชั้น หิ น ของประเทศไทย (อนุก รรมการจั ด ท าคู่มื อ การตั้ ง ชื่ อ หน่ว ยหิน ของ
ประเทศไทยและการเขียนรายงาน, 2560) ระบุว่าการตั้งชื่อและการปรับปรุงชื่อหน่วยลาดับชั้นหินตามลักษณะหิน
แบบทางการให้ใช้ขั้นตอนและวิธีการแบบเดียวกัน (หน่วยลาดับชั้นหินใช้ได้กับการจาแนกลาดับชั้นหินทุกประเภท
ในกรณีของหน่วยลาดับชั้นหินตามลักษณะหินหรือ Rock unit เรียกอีกชื่อเป็นหน่วยหิน) ดังนี้
1) ต้องแสดงเจตนาและเหตุผลของการตั้งชื่อหรือการปรับปรุงชื่อหน่วยหิน
2) การตั้งชื่อหน่วยหินต้องทาจากบริเวณที่มีลาดับชั้นหินโผล่ชัด เจนและต่อเนื่อง เพื่อเป็น
ชั้นหินมาตรฐานสาหรับการอ้างอิงหรือเป็นชั้นหินแบบฉบับ (Type section) หรือที่ตั้งแบบฉบับ (Type
locality) สาหรับการเทียบเคียงกับชั้นหินในพื้นที่อื่น
3) ระบุชื่อหน่วยหินและที่มาของชื่อ ระบุระดับของหน่วยหินที่ต้องการตั้ง ถ้าพื้นที่นั้นยังไม่
มีชื่อหน่วยหินแบบทางการ (Formal name) ให้ตั้งหน่วยหินเป็นระดับหมวดหิน (Formation) ชื่อหน่วยหิน
ประกอบด้วย “ชื่อทางภูมิศาสตร์+unit term” หรือ “ชื่อทางภูมิศาสตร์+lithologic term” เช่น Saraburi
Group, Mae Tha Basalt

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


33

4) การบรรยายในรายละเอียดต้องทาทั้งด้า นภูมิศาสตร์และด้านธรณีวิทยา ให้ ระบุตาแหน่ง


ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์และจุดพิกัด (UTM) ของชั้นหินแบบฉบับ การเข้าถึง พื้นที่ มีแผนที่แสดงตาแหน่งที่ตั้ง
ควรอ้างอิงถึงจุดสังเกตทางภูมิศาสตร์หรือสิ่งก่อสร้างถาวร
5) การบรรยายด้านธรณีวิทยา มีการอธิบายในรายละเอียดของลาดั บชั้นหินบริเวณชั้นหิน
แบบฉบับหรือที่ตั้งแบบฉบับอย่างชัดเจนครบถ้วน ลักษณะเด่นของหน่วยหิน ลักษณะทางศิลาวรรณนา (ถ้ามี)
ให้เริ่มบรรยายจากส่วนล่างของลาดับชั้นหิน (อายุแก่กว่า) ไปหาส่วนบน (อายุน้อยกว่า) ชื่อหิน ลักษณะเนื้อ
หินและโครงสร้างชั้นหิน (Sedimentary structure) ซากบรรพชีวินบอกอายุได้หรือไม่ บันทึกค่า การวาง
ชั้น (Bedding) เป็นระยะ ความหนาของหน่วยหิน ชั้นหินบริเวณนี้เป็นส่วนใดของหน่วยหิน มีขอบเขตด้านบน
และด้านล่างเป็นอย่างไร จัดทาภาพแท่งลาดับชั้นหิน (Stratigraphic column) เขียนบรรยายให้ผู้อ่านที่
สนใจสามารถเข้าไปติดตามสารวจเพิ่มเติมในพื้นที่ได้
6) การเทียบสัมพันธ์กับหน่วยหินอื่น อธิบายว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร
7) อายุ (Geologic age) เป็นอายุจากอะไร พบที่ไหน อธิบายพอสังเขป
8) กระบวนการเกิด (Genesis) หากว่าสามารถอธิบายได้ หน่วยหินมีการเกิดอย่างไร
9) เอกสารอ้างอิง ที่กล่าวอ้างถึงในรายงาน
10) ต้องตีพิมพ์เผยแพร่การตั้งชื่อหรือการปรับปรุงชื่อ ในหนังสือหรือวารสารทางวิชาการ
ที่เผยแพร่ในวงกว้างก่อน ถึงจะมีสิทธิ์เป็นหน่วยหินแบบทางการ (Formal name)

4.8 แบบนี้ต้องชื่อหน่วยธรณีกาล
ปัจจุบันมาตรเวลาทางธรณีวิทยา (Geologic Time Scale) มีใช้กัน 2 แบบคู่ขนานกัน คือ
หน่วยลาดับชั้นหินตามอายุกาล (Chronostratigraphic unit) หรือ Time-rock unit และหน่วยธรณีกาล
(Geochronologic unit) หรือ Time unit โดยทั้งในภาษาไทยและอังกฤษใช้ชื่อเวลาทางธรณีวิทยาที่เหมือนกัน
ต่างกันเฉพาะชื่อหน่วย (ตารางที่ 4.4) จึงอาจทาให้เกิดความสับสนในการใช้ชื่อเมื่อต้องการอ้างถึงเวลาทาง
ธรณีวิทยา เช่น การเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา โดยปกติการอธิบายของหมวด
หินหรือกลุ่มหินในบทการลาดับชั้นหินจะอยู่ภายใต้หัวข้อเวลาทางธรณีวิทยาที่เรียงจากอายุมากไปหาอายุน้อย
หัวข้อเวลาทางธรณีวิทยาแบบนี้เป็นเรื่องของหน่วยธรณีกาลหรือ Time unit เช่น เมื่อต้องการกล่าวถึงอายุของ
หมวดหินที่เกิดในยุคเพอร์เมียนให้ใช้หัวข้อเป็น หินเพอร์เมียน, Permian rock, Permian Period หรือยุค
เพอร์เมียน ไม่ใช่ หินยุคเพอร์เมียน เพราะคาว่า “หินยุค หรือ System” เป็นคาเฉพาะของหน่วยลาดับชั้นหินตาม
อายุกาล (ดูเพิ่มเติมในตารางที่ 4.5)
เช่น 4.2 ยุคเพอร์เมียน (Permian Period)
4.2.1 หมวดหินพับผ้า (Phap Pha Formation)
4.2.2 หมวดหินอุ้มลูก (Um Luk Formation)
4.3 ยุคไทรแอสซิก

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


34

ตารางที่ 4.4 แสดงการเปรียบเทียบชื่อหน่วยลาดับชัน้ หินตามอายุกาลกับหน่วยธรณีกาล


Chronostratigraphic units Geochronologic units
หน่วยลาดับชั้นหินตามอายุกาล Time-rock units หน่วยธรณีกาล Time units
Phanerozoic Eonothem หินบรมยุคฟาเนอโรโซอิก Phanerozoic Eon บรมยุคฟาเนอโรโซอิก
Paleozoic Erathem หินมหายุคพาลีโอโซอิก Paleozoic Era มหายุคพาลีโอโซอิก
Permian System หินยุคเพอร์เมียน Permian Period ยุคเพอร์เมียน
Miocene Series หินสมัยไมโอซีน Miocene Epoch สมัยไมโอซีน
Norian Stage หินช่วงอายุนอเรียน Norian Age ช่วงอายุนอเรียน

ตารางที่ 4.5 แสดงการเทียบเคียงการเรียกชื่อหน่วยลาดับชั้นหินของแต่ละประเภทพร้อมตัวอย่าง


ไม่ใช่
หน่วยลาดับชั้นหิน (Stratigraphic units)
หน่วยลาดับชั้นหิน
categories Lithostratigraphic units Biostratigraphic units Chronostratigraphic units Geochronologic
หน่วยลาดับชั้นหิน หน่วยลาดับชั้นหิน หน่วยลาดับชั้นหิน units
ตามลักษณะหิน ตามชีวภาพ ตามอายุกาล หน่วยธรณีกาล
(Rock units) (Fossil units) (Time-rock units)
(Time units)
Principal Supergroup(กลุ่มหินใหญ่) Biozones(ส่วนชั้นชีวภาพ) Eonothem(หินบรมยุค) Eon (บรมยุค)
Group (กลุ่มหิน) Assemblage zones Erathem (หินมหายุค) Era (มหายุค)
Stratigraphic
Formation(หมวดหิน) Range zones System (หินยุค) Period (ยุค)
Unit-terms Series (หินสมัย) Epoch (สมัย)
Member (หมู่หิน) Abundance zones
(ชื่อตาแหน่ง) Bed (ชั้นหิน) Interval zones Stage (หินช่วงยุค) Age (ช่วงอายุ)
Lampang Group Eponides - Paleozoic Erathem Paleozoic Era
(กลุ่มหินลาปาง) Planorbulinella (หินมหายุคพาลีโอโซอิก) (มหายุคพาลีโอโซอิก)
หมวดหินเขาขาด Assemblage Zone, หินยุคเพอร์เมียน ยุคเพอร์เมียน
(Khao Khad Formation) Globigerina brevis (Permian System) (Permian Period)
Chonta Formation Miocene Series หินเพอร์เมียน
Range Zone,
Mae Lu Sandstone (หินสมัยไมโอซีน) (Permian rock)
ตัวอย่าง Globigerinoides sicanus
Member Carnian Stage Carnian Age
หมู่หินทรายแม่ลู -Orbulina suturalis (หินช่วงยุคคาร์เนียน) (ช่วงอายุคาร์เนียน)
หมวดหินเชิร์ตฝาง Interval Zone
(Fang Chert)
หินบะซอลต์แม่ทะ
(Mae Tha Basalt)
หมายเหตุ ชื่อตาแหน่งพื้นฐานหลักแสดงเป็นตัวหนา

4.9 หลักการใช้ Lower, Middle, Upper และ Early, Middle, Late


การใช้คาระหว่าง Lower, Middle, Upper และ Early, Middle, Late เป็นประเด็น
ถกเถียงกันมานาน และเคยมีการเสนอให้เลิกใช้คา Lower, Middle, Upper เพราะไม่เห็นประโยชน์ รวมถึง
การใช้คาว่าอายุหรือ Age ในภาษาพูด ก็เป็นคนละความหมายกับ Age (ช่วงอายุ) ของหน่วยธรณีกาล
แต่อย่างไรก็ตาม ในการประชุมกรรมาธิการนานาชาติด้านการลาดับชั้นหิน (International Commission
on Stratigraphy, ICS) เมื่อปี ค.ศ. 2010 ได้มีมติให้คงการใช้ทั้งการลาดับชั้นหินตามอายุกาล (Chronostratigraphy)

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


35

และธรณีกาลวิทยา (Geochronology) นั่นคือเห็นชอบให้ใช้คา Lower, Middle, Upper และ Early, Middle, Late
ต่อไป
สาหรับการใช้ Lower, Middle, Upper และ Early, Middle, Late มีหลักการ
(Zalasiewicz et al., 2013) ดังนี้
1) Lower (ตอนล่าง), Middle (ตอนกลาง), Upper (ตอนบน) รวมทั้งที่ขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์
เล็ก (lower, middle, upper) ใช้กับการลาดับชั้นหิน เช่น หน่วยลาดับชั้นหินตามลักษณะหิน หน่วยลาดับ
ชั้นหินตามอายุกาล เมื่ออ้างถึงหินและตาแหน่งในลาดับชั้นหิน เช่น Upper Cretaceous rocks, lower
Ordovician sequence
อนึ่ง การแบ่งหน่วยลาดับชั้นหินตามอายุกาลก็ใช้ Lower, Middle และ Upper เช่น
Devonian System แบ่งออกเป็น Lower, Middle และ Upper Series ดังใน International Chronostratigraphic
Chart ของ International Commission on Stratigraphy
2) ถ้าเขียนถึงอายุของหมวดหิน ให้ใช้ Lower (ตอนล่าง), Middle (ตอนกลาง), Upper
(ตอนบน) เช่น “…ซากไทรโลไบต์ของยุคแคมเบรียนตอนบนถึงออร์โดวิเชียนตอนล่างของออสเตรเลียมีความ
คล้ายคลึงกันกับซากดึกดาบรรพ์ในหินทรายของกลุ่มหินตะรุเตา..”
3) Early (ช่วงต้น), Middle (ช่วงกลาง), Late (ช่วงปลาย) รวมทั้งที่ขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์เล็ก
(early, middle, late) ใช้กับหน่วยธรณีกาลวิทยา (Geochronologic unit) เมื่ออ้างถึงเวลา (Time) หรือ
อายุการเกิดเหตุการณ์หรือกระบวนการทางธรณีวิทยา (depositional, diagenetic, biotic, climatic,
tectonic, magmatic events) เช่น การเกิดรอยเลื่อน (Fault) รอยชั้นไม่ต่อเนื่อง (Unconformity) หรือ
สภาพแวดล้อมการสะสมตัว เช่น “...ลานหินปูนลาดเอียง (carbonate ramp deposit) โดยจะค่อยๆ สะสม
ตัวในบริเวณทะเลตื้น ในสมัยเทรมาโดเชียนช่วงปลายถึงอารินิเจียนช่วงต้น...” หรืออายุตัวเลขที่ได้จากการ
หาอายุสัมบูรณ์
4) Lower (ตอนล่าง), Middle (ตอนกลาง), Upper (ตอนบน), Early (ช่วงต้น), Middle
(ช่วงกลาง), Late (ช่วงปลาย) เป็นคาคุณศัพท์ (adjective) ในภาษาอังกฤษ ให้นาคาคุณศัพท์ไปวางหน้าชื่อ
Era, Period or Epoch ส่วนการเขียนในภาษาไทย ให้นาคาคุณศัพท์ไปต่อท้าย มหายุค/ยุค/สมัย เช่น
มหายุคซีโนโซอิกช่วงปลาย = Late Cenozoic Era
5) ถ้าชื่อหน่วยธรณีกาลวิทยาหรือหน่วยลาดับชั้นหินเป็นแบบไม่เป็นทางการ (Informal
names) คาว่า lower, middle, upper, early middle และ late ไม่ต้องขึ ้นต้ นด้ วยตัวพิมพ์ใหญ่
6) ไม่ควรใช้คา lower, upper ปนกับ early, late ตัวอย่างที่ผิด เช่น “early Calabrian
Stage,” “lower Eocene Epoch,” and “early Upper Ordovician strata”

4.10 เขียนชื่อหน่วยหินอย่างไรให้ถูกต้อง
1) ตั้งชื่อหน่วยหินตามคู่มือการลาดับชั้นหินของประเศไทย (อนุกรรมการจัดทาคู่มือการตั้ง
ชื่อหน่วยหินของประเทศไทยและการเขียนรายงาน, 2560)
2) ไม่ควรใช้ชื่อแบบ Informal name ในเอกสารพิมพ์เผยแพร่ (Salvador, 1994; NACSN,
2005)

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


36

3) ไม่ควรใช้ชื่อทางภูมิศาสตร์ซ้าในการตั้งชื่อ เช่น Li formation, Li granite; Lansang


gneiss, Lansang gravel
4) ไม่ควรใช้คา lower, middle, และ upper ในการตั้งชื่อหน่วยหินแบบทางการ เช่น
Lower Nam Phong formation, Lower Phu Kradung formation
5) ไม่ควรใช้คา Genetic terms, structural terms ในการตั้งชื่อหน่วยหิน เช่น Tak
pluton, Khuntan batholith, Nai Thon Beach suite
6) สะกดชื่อหน่วยหินไม่เหมือนผู้ตั้งชื่อ เช่น Phu Tok Formation (ชื่อตอนตั้ง) vs Phu
Thok Formation; Maha Sarakham Formation (ชื่อตอนตั้ง) vs Mahasarakham Formation
7) การเขีย นชื่อหน่ ว ยหิ นในภาษาไทยให้ เขียนชื่อภาษาอังกฤษประกบในตอนแรกของ
รายงานด้วยเสมอ เช่น หมวดหินฮ่องหอย (Hong Hoi Formation), หินไนส์ทับศิลา (Thabsila gneiss)
เพื่อแสดงสถานะของชื่อหน่วยหินว่าเป็นชื่อแบบทางการ (Formal name) หรือเป็นชื่อแบบไม่ทางการ
(Informal name)
8) กรณีของหินที่ไม่แสดงชั้นหิน เช่น หินอัคนีแทรกซอน หินภูเ ขาไฟที่ไม่แสดงชั้น และหิน
แปรขั้นสูง ให้ใช้ที่ตั้งแบบฉบับ (Type locality) เป็นตัวแทนหน่วยหิน การบรรยายให้ใช้ข้อกาหนดแบบ
เดียวกับหน่วยหินตะกอน สาหรับการตั้งชื่อหน่วยหินให้ใช้วิธีแบบ “ชื่อทางภูมิศาสตร์ + lithologic term”
เช่น Tak granite (หินแกรนิตตาก), Orb Luang gneiss (หินไนส์ออบหลวง)
9) กรณีหน่วยหินตะกอนมีชื่อหน่วยหินแบบ “ชื่อทางภูมิศาสตร์ + lithologic term” ใน
ชื่อภาษาไทยให้เขียน “หมวดหิน”, “หมู่หิน” นาหน้าด้วย ส่วนชื่อในภาษาอังกฤษของหมู่หิน ให้เขียน
“Member” ต่อท้ายด้วย เช่น - Phanomwang Limestone Member (หมู่หินปูนพนมวังก์) - Sattahip
shale (หมวดหินดินดานสัตหีบ) - Bangkok Clay (หมวดหินดินเคลย์กรุงเทพฯ)

4.11 การใช้ภาษาที่พลาดบ่อย
การเขียนรายงานการสารวจและวิจัย นอกจากความถูกต้องของเนื้อหาจะมีความสาคัญแล้ว
การใช้ภาษาที่อ่านง่าย สื่อความหมายชัดเจน และถูก ต้องตามหลักการใช้ภาษาก็มีความสาคัญไม่แพ้กัน
สามารถบ่งถึงความเป็นมืออาชีพและความรอบคอบของผู้เขียน การเขียนเรียงตามลาดับความสาคัญ ช่วยให้
ผู้อ่านจับประเด็นได้เร็วขึ้น โดยเริ่มจากประเด็นที่สาคัญมากสุดก่อน แล้วจึงเขียนลาดับความสาคัญรองลงไป
ตามลาดับ ข้อควรระวังของการใช้ภาษา เช่น การใช้เครื่องหมายวรรคตอน ไวยากรณ์ การสะกดตัวการันต์
ความสม่าเสมอ (consistency) ของการใช้คาหรือข้อความ เมื่อใช้คาใดในรายงานแล้วก็ควรใช้คานั้นตลอด
ทั้งรายงาน
หลักเกณฑ์การใช้ภาษาไทย มีเผยแพร่ในเว็บไซต์สานักงานราชบัณฑิตยสภา http://www.
royin.go.th /?page_id=130
หลักเกณฑ์การทับศัพท์ มีเผยแพร่ในเว็บไซต์ สานักงานราชบัณฑิตยสภา http://www.
royin.go.th/?page_id=617
4.11.1 ข้อบกพร่องที่พบบ่อย
ข้อบกพร่องที่พบเห็นได้บ่อย ๆ ในการใช้ภาษาในการเขียนรายงาน (คณะกรรมการเอกสาร
ทางวิชาการ, 2542; ขวัญใจ ยวงเดชกล้า และวิภาวี วิบูลย์อัฐพล, 2560; ข้อมูลจากเว็บไซต์สานักงานราช
บัณฑิตยสภา) เช่น

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


37

1) การนาภาษาพูดมาใช้เขียนในรายงานวิชาการ
2) การเขี ย นประโยคไม่ ก ระชั บ หรื อ เป็ น ประโยคซ้ อ นประโยค ซึ่ ง ท าให้ ข้ อ ความยาว
จนบางครั้งทาให้อ่านเข้าใจได้ยาก และแปลความหมายผิด
3) การเขียนคาศัพท์วิชาการและคาทั่วไปบางคาผิด เช่น “กระบวนการ” มักจะเขียนเป็น
“ขบวนการ” “ฉะนั้น” เขียนเป็น “ฉนั้น” “สังเกต” เขียนเป็น “สังเกตุ” และ “สัญลักษณ์” เขียนเป็น
“สัญญลักษณ์”
4) การใช้ภาษาไม่สละสลวย ที่พบเห็นบ่อยครั้งคือ การเขียนในรูปแบบประโยคที่กรรมเป็น
ประธานของประโยค (passive voice) เหมือนการเขียนรายงานภาษาอังกฤษ เช่น “พื้นที่สารวจได้ถูก
กาหนดขึ้น” การใช้คาซ้ามากเกินไปในย่อหน้าหนึ่ง ๆ ได้แก่คา “ที”่ “ซึง่ ” “พบ” “มัก” “อัน”
5) การเขียนย่อหน้าใหม่ด้วยคากริยา เช่น “พบ” “เป็น” คาหรือกลุ่มคาอื่น ๆ เช่น “ได้” และ
“เช่นเดียวกัน”
6) ความสม่าเสมอในการใช้คาย่อและเนื้อหา ในรายงานบางฉบับ บางหน้าใช้คาย่อบาง
หน้าใช้คาเต็ม เช่น การใช้คาย่อของ อาเภอ จังหวัด ระบบชั่ง ตวง วัด (เซนติเมตร กรัม) เป็นต้น บางฉบับ
นาเอาข้อมูลจากรายงานฉบับอื่นมาปะติดปะต่อแต่ ไม่สอดคล้องกันอย่างเป็นระบบ ทั้งในด้านการใช้ภาษา
การอ้างอิงและภาพประกอบต่าง ๆ
7) ตัวย่อต้องมีจุดกากับเสมอ เว้นวรรคเล็กหน้าตัวย่อทุกแบบ และเว้นวรรคระหว่างกลุ่ม
อักษรย่อ เช่น ซม. (เซนติเมตร) กก. (กิโลกรัม) กม. (กิโลเมตร) พ.ศ. (พุทธศักราช) เม.ย. (เมษายน) ชม.
(ชั่วโมง) กปร. (คณะกรรมการประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ)
4.11.2 การเว้นวรรคตอน
การเว้นวรรคตอน มีความสาคัญเพราะอาจทาให้ข้อความที่อ่านมีความหมายเปลี่ยนไปได้
แต่ส่วนใหญ่มักจะเป็นความผิดพลาดที่เกิดจากการพิมพ์ ซึ่งผู้เขียนควรระมัดระวังในเรื่องนี้ใ ห้มาก การเว้น
วรรคตอนมี 2 แบบ คือ การเว้นวรรคใหญ่ และการเว้นวรรคเล็ก (ข้อมูลจากเว็บไซต์สานักงานราชบัณฑิตยสภา:
http://www.royin.go.th/?page_id=130)
1) การเว้นวรรคใหญ่ มีช่องขนาด 2 ตัวอักษร ใช้เมื่อจบข้อความแต่ละประโยค
เช่น นั่งให้เรียบร้อย อย่าไขว่ห้าง
2) การเว้นวรรคเล็ก มีช่องขนาด 1 ตัวอักษร ให้ใช้ในกรณีต่อไปนี้ เมื่อเชื่อมประโยคย่อ
ที่มีใจความสมบูรณ์ 2 ประโยคด้วยคาสันธาน “และ” “หรือ” “แต่” ฯลฯ
เช่น นายดาอยู่ที่บ้านคุณแม่ที่เชียงใหม่ แต่น้องชายอยู่บ้านพี่สาวที่ระยอง
แต่ถ้าเป็นประโยคสั้นให้เขียนติดกัน
เช่น ฉันและเธอกลับบ้าน น้าขึ้นแต่ลมลง เป็นต้น
การเว้นวรรคเล็กระหว่างคานาหน้าแต่ละชนิด
เช่น ศ. ดร. ปริญญา นุตาลัย
เว้นวรรคเล็กระหว่างกลุ่มอักษรย่อ
เช่น นายเสริม วินิจฉัยกุล ป.จ. ม.ป.ช. ม.ว.ม.

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


38

เว้นวรรคเล็กระหว่างวันกับเวลา
เช่น ผมมีกาหนดประชุมในวันอังคารที่ 12 มิถุนายน เวลา 10.00 น.
เว้นวรรคเล็กหลังข้อความที่เป็นหน่วยมาตราต่าง ๆ กับข้อความที่ตามมา
เช่น โต๊ะประชุมมีขนาดกว้าง 0.80 เมตร ยาว 1.50 เมตร สูง 0.60 เมตร
เว้นวรรคเล็กหลังเครื่องหมาย จุลภาค (,), อัฒภาค (;) และไปยาลน้อย (ฯ)
เว้นวรรคเล็กหน้าและหลังเครื่องหมายอัญประกาศ (“..”) และวงเล็บ ( )
เว้นวรรคเล็กหน้าและหลังคา “ธ” “ณ” “ๆ” “เช่น” “ได้แก่”
เช่น ผลพระคุณ ธ รักษา ปวงประชาเป็นศุขสานต์
เขายืนอยู่ ณ ยอดเขาอินทนนท์จุดสูงสุดของประเทศไทย
เครื่องล่อใจให้อยู่ในโลก ได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส

4.12 แหล่งข้อมูลการใช้ศัพท์ทางธรณีวิทยา
ผู้เขียนอาจค้นคว้าข้อมูลการใช้ศัพท์วิชาการทางธรณีวิทยา เพื่อให้มีการใช้ในแนวเดียวกัน
สื่อสารเข้าใจตรงกัน และรายงานมีคุณภาพได้มาตรฐาน ตามเอกสารดังต่อไปนี้ :-
1) ชื่อแร่และธาตุ ใช้ตามประกาศสานักนายกรัฐมนตรี ปี พ.ศ. 2523 ในราชกิจจานุเบกษา
เล่ม 98 ตอนที่ 7 หน้า 101-136 ลงวันที่ 20 มกราคม 2524 เรื่อง การบัญญัติชื่อธาตุและเรื่องศัพท์บัญญัติ
ชื่อแร่ พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2536 พิมพ์ที่บริษัทสหธรรมิก จากัด 40 หน้า
2) ศัพท์วิทยาศาสตร์ ใช้ตามประกาศสานักนายกรัฐมนตรี ปี พ.ศ. 2528 จัดพิมพ์โดย
ราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2536 พิมพ์ที่ บริษัท สหธรรมิก จากัด 343 หน้า”
3) ศัพท์ธรณีวิทยา ใช้ตามพจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้งที่ 2
ปี พ.ศ. 2558 พิมพ์ที่สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา 888 หน้า
4) ศัพท์การลาดับชั้นหิน ใช้ตามคู่มือการลาดับชั้นหินของประเทศไทย พิมพ์ปี พ.ศ. 2560
จัดทาโดยอนุกรรมการจัดทาคู่มือการตั้งชื่อหน่วยหินของประเทศไทยและการเขียนรายงาน โดยความร่วมมือ
ระหว่างกรมทรัพยากรธรณี และสมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย
5) ศัพท์อัญมณี ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ศัพท์บัญญัติอัญมณี มอก. 1215-
2537 สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม 111 ตอนที่ 73 ง ลงวันที่ 13 กันยายน 2537 พิมพ์ที่ บริษัทประชาชนจากัด 98 หน้า

4.13 แหล่งข้อมูลอื่นทีน่ ่าสนใจ


หลั ก เกณฑ์ การเขีย นคาย่อ และศั พท์ ภูมิ ศาสตร์ ให้ ใ ช้ต ามหนั งสื อ ที่ ร าชบัณ ฑิต ยสถาน
กาหนดและจัดพิมพ์เผยแพร่ (คณะกรรมการเอกสารทางวิชาการ, 2542) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ :-
1) ศัพท์ภูมิศาสตร์ ใช้พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ตามประกาศสานักนายกรัฐมนตรี ปี พ.ศ. 2524 พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2523 พิมพ์ที่ห้างหุ้นส่วนจากัด นนทชัย
1,000 หน้า

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


39

2) พจนานุ กรม ฉบั บ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2546 พิมพ์ที่
สานักพิมพ์นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์ 1436 หน้า
3) การเขียนชื่อประเทศและเมืองหลวง ชื่อจังหวัด เขต อาเภอ และกิ่งอาเภอ สืบค้นจาก
เว็บไซต์สานักงานราชบัณฑิตยสภา http://www.royin.go.th/ ?page_ id=633

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


40

บทที่ 5
การจัดทาเอกสารอ้างอิง
การเขีย นเอกสารทางวิช าการ รวมถึงรายงานการส ารวจธรณีวิทยา ผู้ เขียนต้องมีการ
ค้นคว้ารวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่าง ๆ โดยคัดเลือกเฉพาะเอกสารที่สาคัญ น่าเชื่อถือ ทั้งที่มี
ผลสรุปในแนวทางเดียวกันและขัดแย้งกับผู้เขียนนาไปกล่าวถึงหรืออ้างอิงประกอบการเขียนรายงาน ซึ่งจะทาให้
รายงานของผู้เขียนมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น การอ้างอิงอาจทาได้ทั้งโดย การคัดลอกข้อความทุกตัวอักษร หรือ
แปลมาแบบคาต่อคา การถอดความโดยการเขียนข้อความใหม่แต่คงความหมายและส่ วนประกอบทุกอย่าง
เหมือนต้นฉบับ แต่เขียนหรือเรียบเรียงด้วยภาษาของผู้เขียนรายงานเอง และโดย การสรุป คือเขียนข้อความ
ขึ้นใหม่ โดยสรุปเฉพาะเนื้อหาสาระที่สาคัญจากต้นฉบับ (ชนกพร พัวพัฒนกุล, 2558)
เมื่อมีการนาข้อมูลของบุคคลอื่นมาประกอบในรายงาน ไม่ว่าจะการคัดลอก การถอดความ
หรือการสรุป รวมทั้งการอ้างคาพูด ความคิด หรือใช้ตาราง แผนภาพ แผนภูมิจากเอกสารที่ตีพิมพ์เผยแพร่
หรื อ ไม่ก็ ต าม จะต้อ งอ้ างอิ ง ถึ งแหล่ งที่ ม าหรื อ เจ้า ของผลงานไว้ ใ นรายงานเสมอ เพราะเป็ น การแสดง
จรรยาบรรณทางวิชาการและมาตรฐานของผู้เขียน เป็นการให้เกียรติ (Credits) กับเจ้าของผลงาน รวมทั้ง
เป็ น การแจ้ งให้ ผู้ อ่านรู้ ถึง แหล่ งข้อมูล เดิม ยกเว้นข้ อมูล นั้นเป็นที่รู้กันดีโ ดยทั่ว ไปก็ไม่จาเป็นต้องอ้างถึ ง
การขโมยความคิดหรือลอกเลียนผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนโดยไม่มีการอ้างอิง (Plagiarism) เป็นการ
กระทาที่ผิดอย่างร้ายแรง และอาจถูกฟ้องร้องเรื่องลิขสิทธิ์ได้
รูปแบบการอ้างอิงมี 2 ลักษณะ คือ การอ้างอิงแทรกในเนื้อหาของรายงาน (Citing in
text) และการอ้างอิงในหัวข้อเอกสารอ้างอิงตอนท้ายของรายงาน (Reference list)

5.1 การอ้างอิงแทรกในเนื้อหาของรายงาน
เมื่อมีการนาข้อมูลใด ๆ ของบุคคลอื่นมาประกอบในรายงานจะต้องมีการอ้างถึงในรายงาน
เสมอ และต้องนาไปเขียนในรายการเอกสารอ้างอิงตอนท้ายของรายงานให้ข้อมูลตรงกันด้วย ยกเว้นการอ้าง
คาพูด ความคิดเห็น การเจรจาและการสอบถาม จะแสดงการอ้างอิงเฉพาะในเนื้อหาของรายงานเท่านั้นจะ
ไม่มีรายชื่อปรากฏในรายการเอกสารอ้างอิง การอ้างอิงในลักษณะนี้ มีหลายรูปแบบทั้ง “ระบบชื่อและปี”
(Name-year system) ที่อ้างอิงโดยระบุชื่อผู้เขียนและปีที่เผยแพร่ ระบบตัวอักษรและตัวเลข (Alphabet-
number System) ที่อ้างอิงโดยเรียงตามลาดับอักษรและอ้างถึงการอ้างอิงดังกล่าวโดยใช้ตัวเลข หรือระบบ
การอ้างอิงตามลาดับ (Citation order system) ที่อ้างอิงตามลาดับการอ้างอิง
สาหรับรูปแบบการอ้างอิงของทั้ง USGS และ APA จะใช้เหมือนกันเป็น Name-year
system คือ “ชื่อผู้เขียน, ปีพิมพ์, และ/หรือเลขหน้าที่อ้างอิง” สาหรับ “ชื่อผู้เขียน” ในกรณีนี้ ถ้าเป็นคนไทย
หมายถึ ง ชื่ อ จริ ง และนามสกุ ล แต่ ถ้ า ตี พิ ม พ์ ใ นเอกสารภาษาต่ า งประเทศให้ ใ ช้ ชื่ อ นามสกุ ล ไม่ ต้ อ งใส่
คานาหน้านามอื่น ๆ (เช่น นาย นาง และนางสาว) หรือคาที่แสดงตาแหน่งทางวิชาการหรือคุณวุฒิต่าง ๆ
(เช่น ดร. และศาสตราจารย์) แต่สาหรับคนต่างประเทศทุกกรณีหมายถึง ชื่อนามสกุล หากไม่ทราบชื่อผู้เขียน
ให้ใช้ชื่อวารสารที่เอกสารฉบับนั้นพิมพ์เผยแพร่ แล้วตามด้วยจุลภาค
1) กรณีผู้เขียนมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ และสมณศักดิ์ ให้ระบุฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์
และสมณศักดิ์ไว้หลังชื่อ เช่น

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


41

มหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค), สมเด็จเจ้าพระยา


นราธิปพงศ์ประพันธ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่น
วิจิตรวาทการ, หลวง
วิจิตรมาตรา, ขุน
คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว.
2) กรณีผู้เขียน 1 คน เช่น
(สันต์ อัศวพัชระ, 2546, น. 46)
(Chaodumrong, 1994, p. 215)
3) กรณีมีผู้ เขีย น 2 คน ระหว่างชื่อให้ ใส่ คาว่า “และ” ส าหรับภาษาไทย และ “and”
สาหรับบทความภาษาอังกฤษ เช่น
(นิคม จึงอยู่สุข และ สมบุญ โฆษิตานนท์, 2532)
(Burrett and Chaodumrong, 2017, p. 40-41)
4) กรณีผู้เขียนมากกว่า 2 คน สาหรับรายงานภาษาไทย ให้ระบุเฉพาะชื่อและนามสกุล
ของผู้เขียนคนแรก ตามด้วยข้อความ “และคณะ” สาหรับรายงานภาษาอังกฤษให้ระบุชื่อนามสกุลของผู้เขียน
คนแรก ตามด้วย “et al.” หรือ “others” เช่น
(สมชาย นาคะผดุงรัตน์ และคณะ, 2531)
(Bunopas et al., 1983)
5) กรณีที่ผู้ เขีย นอ้างถึงงานของผู้ อื่น โดยการสรุปเนื้อหาหรืออ้างแนวคิดจากรายงาน
ทั้งฉบับ ให้ระบุเพียง “ชื่อผู้เขียน, ปีพิมพ์” เช่น
(พิสิทธิ์ ธีรดิลก, 2529)
6) กรณีผู้เขียนต้องการเน้นชื่อผู้เขียนมากกว่าผลงาน หรือเป็นการคัดลอกข้อความมาไว้ใน
รายงาน กรณีนี้อาจระบุชื่อผู้เขียน แล้วใส่ปีที่พิมพ์ และ/หรือเลขหน้าภายในวงเล็บ ส่วนข้อความที่คัดลอก
วางไว้ข้างในเครื่องหมายอัญประกาศคู่ (“...........”) เช่น
อัศนี มีสุข และคณะ (2538, น. 29-30) กล่าวถึงสภาพแวดล้อมของยุคจูแรสสิกไว้ว่า
“………………...”
7) การอ้างอิงจากเอกสารทุติยภูมิ หรือเอกสารที่ไม่ใช่ต้นฉบับโดยตรง ให้ระบุชื่อ ผู้เขียน
ของเอกสารปฐมภูมิก่อน ตามด้วย “อ้างถึงใน” หรือ “Quoted in” แล้วตามด้วยชื่อผู้เขียนของเอกสารทุติย
ภูมิ เช่น
(Burrett, 2010, p. 21 อ้างถึงใน พล เชาว์ดารงค์, 2562, น. 33)

5.2 การอ้างอิงเป็นรายการเอกสารอ้างอิง
รายการเอกสารอ้างอิง คือ การรวบรวมรายชื่อของแหล่งข้อมูลที่อ้างอิงในเนื้อหามาแสดง
ไว้ตอนท้ายของรายงาน โดยเขียนตามรูปแบบที่กาหนดแล้วนามาจัดเรียงตามลาดับตามตัวอักษร ถ้าเอกสาร
อ้างอิงมีหลายภาษา ให้แยกเป็นกลุ่มโดยให้ภาษาไทยอยู่ลาดับแรก ตามด้วยภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ
ตามลาดับ

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


42

การเขียนรายการเอกสารอ้างอิง มีรูปแบบและกฎเกณฑ์ที่หลากหลาย วารสารแต่ละฉบับ


หน่วยงานและสถานศึกษาแต่ละแห่ง อาจมีข้อกาหนดที่แตกต่างกันไป รูปแบบสากลที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
เช่น รูปแบบ APA (American Psychological Association) ของสมาคมจิตวิทยาอเมริกัน รูปแบบ MLA
Modern Language Association) ของสมาคมภาษาสมัยใหม่ รูปแบบตัวเลขหรือรูปแบบแวนคูเวอร์
(Vancouver style) รูปแบบเชิงอรรถ (Footnote style) ของมหาวิทยาลัยชิคาโก รูปแบบมหาวิทยาลัย
ฮาเวิร์ ด และรูปแบบ USGS รวมทั้งรูปแบบจากวารสารวิชาการด้านธรณีวิทยาที่เผยแพร่ในห้ องสมุด
กรมทรัพยากรธรณี เช่น Geoheritage, Journal of Vertebrate Paleontology, Economic Geology,
Journal of Asian Earth Sciences, Georisk, Geochemistry, และ Revue de micropaleontology
ก็มีรูปแบบการเขียนรายการเอกสารอ้างอิงที่ต่างกัน ผู้เขียนรายงานจึงต้องศึกษารายละเอียดของการเขียน
อ้างอิงให้ตรงตามที่สถาบันหรือหน่วยงานกาหนด และเมื่อเลือกใช้แบบใดแล้ว ต้องใช้ให้สม่าเสมอตลอด
รายงาน ปัจจุบัน มีซอฟต์แวร์มากมายที่ช่วยจัดทารายการเอกสารอ้างอิงออกมาในรูปแบต่าง ๆ รวมทั้งใน
ซอฟต์แวร์ MS-Word ในคาสั่ง REFERENCES ก็มีรูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิง
สาหรับคู่มือการเขียนรายงานของกรมทรัพยากรธรณี (กองธรณีวิทยา, 2528, 2531; คณะทางาน
จัดทารูปแบบรายงานฯ กองธรณีวิทยา, 2540; คณะกรรมการเอกสารทางวิชาการ, 2542; และ สืบศักดิ์ ศลโกสุม
และคณะ, 2554) ใช้ตามรูปแบบของ USGS (Hansen, 1991) เป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นคู่มือการเขียนรายงาน
สารวจแร่ฉบับล่าสุด (ขวัญใจ ยวงเดชกล้า และวิภาวี วิบูลย์อัฐพล, 2560) ใช้ตามรูปแบบ APA โดย ทั้งรูปแบบ
USGS และ APA เป็นการอ้างอิงแบบใช้ “ชื่อ, ปีพิมพ์, เลขหน้าที่อ้าง” (Name and Year system) เหมือนกัน
แต่ต่างกันในการเขียนเอกสารอ้างอิงท้ายรายงานตรงทีก่ ารใช้เครื่องหมายจุลภาค (comma), มหัพภาค (full
stop), ทวิภาค (colon), วงเล็บ และการกาหนดข้อความเป็นตัวเอียง เป็นต้น เช่น
USGS Style
สงัด ปิยะศิลป์, 2515, ธรณีวิทยาของแผนที่ระวางจังหวัดลาปาง, มาตราส่วน 1:250,000: กรุงเทพ, กรมทรัพยากรธรณี,
รายงานการวิจัยฉบับที่ 14, 98 หน้า
MacKenzie, W.S., and Guilford, C., 1981, Atlas of rock-forming minerals in thin section: New York,
Wiley, 98 p.
APA Style
สงั ด ปิ ย ะศิ ล ป์ . (2515). ธรณี วิ ท ยาของแผนที่ ร ะวางจั ง หวั ด ล าปาง, มาตราส่ ว น 1:250,000. กรุ ง เทพ:
กรมทรัพยากรธรณี, รายงานการวิจัยฉบับที่ 14, 98 หน้า
MacKenzie, W.S., & Guilford, C. (1981). Atlas of rock-forming minerals in thin section. New York,
Wiley.
ในคู่มือฉบับนี้ ใช้รูปแบบการเขียนรายการเอกสารอ้างอิงตามแบบ USGS ซึ่งเป็นรูปแบบ
ที่กรมทรั พ ยากรธรณีใช้ กัน มานาน ยกเว้ นการใช้ เครื่ องหมายทวิภ าค (colon) ตอนท้ายของชื่อเรื่องที่
เปลี่ยนไปใช้ มหัพภาค (full stop) แทน เพื่อป้องกั นความสับสนที่อาจเกิดขึ้นว่าชื่อเรื่องสิ้นสุดตรงไหน
เพราะปัจจุบันมีการใช้เครื่องหมายทวิภาคในชื่อเรื่องด้วย
การพิมพ์รายการเอกสารอ้างอิง ใช้ตัวอักษรหรือฟอนต์แบบเดียวกับเนื้อความ แต่ให้มี
ขนาดเล็กกว่า 1 pt. ในที่นี้คือขนาด 15 [14] โดยฟอนต์ขนาด 15 pt. สาหรับการพิมพ์แบบ 1 คอลัมน์ และ

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


43

ฟอนต์ขนาด 14 pt. สาหรับการพิมพ์แบบ 2 คอลัมน์ โดยให้พิมพ์แต่ละรายการที่อ้างอิงชิดซ้ายหน้ากระดาษ


หากมีข้อความยาวเกิน 1 บรรทัด เมื่อขึ้นบรรทัดใหม่ให้ย่อหน้า สาหรับการพิมพ์แบบ 1 คอลัมน์ ให้เว้น
ระยะ 0.6 นิ้ว (1.5 ซม.) หรือเว้นระยะ 7 ช่วงตัวอักษร เริ่มพิมพ์ต่อช่วงตัวอักษรที่ 8 สาหรับการพิมพ์แบบ 2
คอลัมน์ ให้เว้นระยะ 0.3 นิ้ว (0.75 ซม.) หรือเว้นระยะ 3 ช่วงตัวอักษร เริ่มพิมพ์ต่อช่วงตัวอักษรที่ 4

5.3 รูปแบบวิธีเขียนเอกสารอ้างอิง
1) การอ้างอิงตารา หรือ Text book

ชื่อผู้เขียน,\บรรณาธิการ-ถ้ามี,\ปีพิมพ์,\ชื่อหนังสือ\(ครั้งที่พิมพ์-ถ้ามี).\สถานที่พิมพ์,\ชื่อสานักพิมพ์,\จานวน
หน้า\ หน้า.

Author,\ed., if any\publication year,\book title\(edition number -if any).\city of


publication,\name of publisher,\total page numbers\ p.
หมายเหตุ - เครื่องหมาย “ \ ” หมายถึงให้เว้นระยะพิมพ์ 1 ตัวอักษร
- สถานที่พิมพ์ ถ้ามีหลายเมือง ให้ใส่ชื่อชื่อเมืองแรกที่ปรากฏ
ตัวอย่าง
สมพงศ์ จันทร์มี, 2532, ธรณีวิทยาโครงสร้าง ทฤษฎีพื้นฐานและลักษณะธรณีโครงสร้าง. ภาควิชาธรณีวิทยา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 177 หน้า.
Hyndman, D.W., 1985, Petrology of igneous and metamorphic rocks (2nd ed.). New York, McGraw-
Hill Book Company, 786 p.
2) การอ้างอิงสิ่งพิมพ์ที่ไม่ได้ออกต่อเนื่อง
เช่น รายงานของการประชุม (Proceedings, Symposiums, Congress, Meetings)
หนังสือเฉพาะเรื่องที่มีบรรณาธิการเป็นผู้จัดทา คู่มือทัศนศึกษา
ชื่อผู้เขียน,\ปีที่พิมพ์,\ชื่อบทความ.\ใน\ชื่อบรรณาธิการ (ถ้ามี),\บรรณาธิการ\ชื่อการประชุม.\สถานที่ประชุม
,\ปีที่จัดประชุม,\ชื่อผู้จัด,\หน้า\ เลขหน้า.

Author,\publication year,\article title.\in\name of editor,\ed.,\name of


conference.\vanue,\year of conference,\name of organizer,\p.\page numbers.
ตัวอย่าง
พิสิทธิ์ ธีรดิลก, 2538, ทรัพยากรหินปูนของประเทศไทย. ใน เอกสารการประชุมวิชาการ กรมทรัพยากรธรณี เรื่อง
ความก้าวหน้าและวิสัยทัศน์ของการพัฒนาทรัพยากรธรณี. กรุงเทพมหานคร, 2538, กรมทรัพยากรธรณี,
หน้า 63-86.

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


44

สุวิชช์ สัมปัตตะวนิช , เชิดศักดิ์ อรรถอารุณ, วุฒิกานต์ สุขเสริม และ อดุลย์ ใจตาบุตร, 2528, แร่อโลหะของ
ประเทศไทย. ใน การประชุมธรณีวิทยาและการพัฒนาทรัพยากรธรณีของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
ขอนแก่น, 26-29 พฤศจิกายน 2528, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, หน้า 149-163.
Pitakpaivan, K., and Mantajit, N., 1981, Early Permian brachiopods from Ko Yao Noi and near
Krabi, southern Thailand. in The Permian stratigraphy and palaeontology of southern
Thailand. Department of Mineral Resources, Geological Survey memoir no. 4, p. 51-55.
Tantiwanit, W., Raksaskulwong, L., and Mantajit, N., 1983, The Upper Paleozoic pebbly rocks in
southern Thailand. in Nutalaya, P., ed., Proceedings of the Stratigraphic correlation of
Thailand and Malaysia. Songkhla, Thailand, 1983, Geological Society of Thailand, p. 96-
104.
3) การอ้างอิงรายงานที่ออกต่อเนื่อง
เช่น รายงานวิชาการ รายงานสารวจ (มีลาดับฉบับที่, เล่มที่)
ชื่อผู้เขียน,\ปีพิมพ์,\ชื่อเรื่อง.\ชื่อหน่วยงานที่พิมพ์,\ประเภทรายงาน\ฉบับที่รายงาน,\จานวนหน้า\หน้า.

Author,\publication year,\report title.\name of organization,\report type\issue


number,\total page numbers\p.

ตัวอย่าง
จุมพล คืนตัก, ธงชัย พึ่งรัศมี และพิภพ วสุวานิช , 2521, ดิน. กองเศรษฐธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี , เอกสาร
เศรษฐธรณีวิทยา เล่มที่ 19, 282 หน้า.
ชัยยั นต์ หิน ทอง, 2524, ธรณี วิทยาและแหล่ง แร่ระวางจั งหวัดพระนครศรีอยุธ ยา (ND47-8) มาตราส่ว น
1.250,000. กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, รายงานการสารวจธรณีวิทยา ฉบับที่ 4, 105 หน้า.
สมาน บุราวาศ, 2511, เรื่องเพชรพลอยอย่างสังเขป. กรมโลหกิจ (กรมทรัพยากรธรณี), เอกสารสาหรับประชาชน,
ฉบับที่ 19, หน้า 29-41.
Goudarzi, G.H., 1984, Guide to preparation of mineral survey reports on public lands. U.S.
Geological Survey, Open-File Report 84-787, 51 p.
Cressman, E.R., 1989, Reconnaissance stratigraphy of the Prichard Formation (Middle Proterozoic)
and the early development of the Belt basin, Washington, Idaho and Montana. U.S.
Geological Survey, Professional Paper 1490, 80 p.

4) การอ้างอิงวารสาร (Journal, Bulletin, Magazine, Gazette)

ชื่อผู้เขียน,\ปีพิมพ์,\ชื่อเรื่อง.\ชื่อวารสาร,\ชื่อหน่วยงาน(ถ้ามี) \ปีที่\เลขที่ปี,\ฉบับที่\เลขฉบับที่,\หน้า\เลข
หน้า.

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


45

Author,\publication year,\article title.\full name of publication,\name of organization-if


any\v.\volume number,\no.\issue number,\p.\page numbers.

ตัวอย่าง
อรกุล อ่อนสุวรรณ, 2515, มรกตยามเย็น. ข่าวสารการธรณี, กรมทรัพยากรธรณี , ปีที่ 18, เล่มที่ 1, หน้า 81-90.
Armstrong, F.C., and Oriel, S.S., 1965, Tectonic development of Idaho-Wyoming thrust belt.
American Association of Petroleum Geologists Bulletin, v. 49, no. 11, p. 1847-1866.
Coeraads, R.R., Vichit, P., and Sutherland, F.L., 1995, An unusual sapphire-zircon-magnetite
xenolith from the Chanthaburi Gem Province, Thailand. Mineralogical Magazine, v. 59, p.
465-479.
Engel, A.E.J., Engel, C.G., and Havens, R.G., 1965, Chemical characteristics of oceanic basalts and
the upper mantle. Geological Society of America Bulletin, v. 76, p. 719-733.
5) การอ้างอิงแผนที่
ชื่อผู้เขียน,\ปีพิมพ์,\ชื่อแผนที่.\ชื่อหน่วยงาน.

Author,\publication year,\map title.\name of organization.

ตัวอย่าง
วีระพงษ์ ตันสุวรรณ, พล เชาว์ดารงค์, และประวัติ เทียนศิริ, 2528, แผนที่ธรณีวิทยาระวางจังหวัดสตูล มาตรา
ส่วน 1:250,000. กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี.
สัน ติ ลีว งศ์เจริญ , 2540, แผนที่ ธ รณี วิท ยาระวางบ้ า นลาดหญ้ า มาตราส่ ว น 1:50,000. กองธรณี วิ ท ยา
กรมทรัพยากรธรณี.
Javanaphet, J.C., 1969, Geological map of Thailand, scale 1:1,000,000. Department of Mineral
Resources, Bangkok, Thailand.
6) การอ้างอิงบทคัดย่อ
การกล่าวอ้างถึงบทคัดย่อ ใช้รูปแบบเดีย วกับการอ้างอิงวารสารและการอ้างอิงรายงาน
แต่ให้เขียน “บทคัดย่อ” หรือ “abs.” ไว้ในวงเล็บเหลี่ยม โดยวางตามหลังชื่อเรื่องแต่ก่อนหน้ามหัพภาคหรือ
Full stop

ตัวอย่าง
จรรยา จานงค์ไทย, สันต์ อัศวพัชระ และ ลออ เล็บครุฑ , 2544, ฟอสซิลปลาที่บ้านท่าพล [บทคัดย่อ ]. ใน
การประชุมเสนอผลงานกองธรณีวิทยา ประจาปีงบประมาณ 2543, กรุงเทพมหานคร, 2544, กอง
ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, หน้า 27.

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


46

Campbell, C.D., 1946, Structural problems of the east border of the Colville batholith [abs.].
Geological Society of America Bulletin, v. 57, no. 12, p. 1184-1185.

7) การอ้างอิงวิทยานิพนธ์
ข้อมูลของ “ระดับปริญญา” (degree) ถ้าเป็นระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก
ในภาษาไทยใช้คาว่า วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต และวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต ตามลาดับ สาหรับภาษาอังกฤษ
ใช้คาย่อของปริญญาที่ได้รับ เช่น M.Sc. และ Ph.D.

ชื่อผู้เขียน,\ปีพิมพ์,\ชื่อวิทยานิพนธ์.\ชื่อมหาวิทยาลัย,\ระดับปริญญา,\จานวนหน้าทั้งหมด\หน้า.

Author,\publication year,\thesis title.\name of university,\unpublished\abbreviation of


degree\thesis,\total page numbers\p.

ตัวอย่าง
นรรัตน์ บุญกันภัย, 2544, การศึกษาศักยภาพทรัพยากรหินคาร์บอเนตเพื่อใช้ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม
ในแผนที่ภูมิประเทศระวางอาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง. มหาวิทยาลัยมหิดล, วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต,
170 หน้า.
Ampornmaha, A., 1993, Lithostratigraphy and biostratigraphy of carbonate rocks in the
Phatthalung area, peninsular Thailand. University of Tsukuba, unpublished M.Sc. thesis,
74 p.
Bunopas, S., 1981, Paleogeographic history of Western Thailand and adjacent parts of Southeast
Asia - A plate tectonics interpretation. Victoria University of Wellington, unpublished
Ph.D. thesis, 810 p.
Lemoine, S.R., 1979, Correlation of the upper Wallace with the lower Missoula Group and
resulting facies interpretations, Cabinet and Coeur d’Alene Mountaines, Montana.
University of Montana, unpublished M.S. thesis, 162 p.
8) การอ้างอิง website
กรณีที่รายงานไม่ระบุปีพิมพ์ ให้ใช้ “ม.ป.ป.” (ไม่มีปีปรากฏ) สาหรับการอ้างอิงในภาษา
ไทย และ “n.d.” (no data) สาหรับการอ้างอิงในชื่อภาษาอังกฤษ
ชื่อผู้เขียน,\ปีพิมพ์,\ชื่อเรื่อง.\สืบค้นจาก\ชื่อโปรโตคอลและเว็บไซต์\[ระบุวัน เดือน ปี ที่สืบค้น]

Author,\publication year,\article title.\Retrieved from:\ protocol and website names\[date


of download]

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


47

ตัวอย่าง
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ , ม.ป.ป., คู่มือการเขียนรายงานวิจัย. สืบค้นจาก http://www.sri.cmu.
ac.th/form/researchwrite.pdf [17 เมษายน 2562]
Alred, G.J., Brusaw, C.T., and Oliu, W.E., 2010, Handbook of technical writing (9thed.). Retrieved
from: http://site.iugaza.edu.ps/mahir/files/2017/01/Handbook-of-Technical-Writing-9th-
Edition.pdf [13 May 2019]

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


48

บทที่ 6
รูปแบบการจัดพิมพ์
การจั ดทารายงาน นอกจากเนื้อหามีความถูกต้อง เนื้อเรื่องมีความต่อเนื่อง มีรูปแบบ
การเขียนที่เข้าใจได้ง่ายและถูกตามหลักภาษาแล้ว การจัดรูปแบบการจัดพิมพ์ก็มีความสาคัญ เพราะอาจมี
ผลต่ออารมณ์ของผู้อ่าน ช่ว ยลดความเครียดขณะอ่าน ทาให้หนังสือน่าอ่านมากขึ้น รวมทั้งประเด็นความ
ประหยัด และลักษณะงานที่นาไปใช้ประโยชน์ก็ต้องคานึงถึงด้วย รูปแบบการจัดพิมพ์เป็นการกาหนดเงื่อนไข
ต่าง ๆ สาหรับการจัดพิมพ์รายงาน เพื่อให้รายงานในประเภทเดียวกันมีรูปแบบหน้าตาที่คล้ายกัน ทาให้
สะดวกต่อการสืบค้นและการรวบรวมข้อมูล
ในปี พ.ศ. 2540 กรมทรัพยากรธรณีได้ประกาศรูปแบบของการพิมพ์รายงานทางวิชาการ
มีการกาหนดรูปแบบของปกและเนื้อเรื่องทั้งระดับกรมและระดับกอง ส่วนรายละเอียดด้านวิชาการให้แต่ละ
กองเป็นผู้กาหนดเพิ่มเติม และใช้เป็นแนวทางในการจัดทารายงานวิชาการของกรมทรัพยากรธรณีมาจนถึง
ปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม รูปแบบดังกล่าว ดูคล้ายตาราเรียน แต่ละหน้าอัดแน่นไปด้วยตัวหนังสือ เมื่อเทียบกับ
หนังสือวิชาการที่วางจาหน่ ายในท้องตลาด ที่ดูสบายตา มีการใช้ ช่องว่าง ช่องไฟ ระยะห่าง และขนาด
ตัวอักษร รวมทั้งสีในการจัดรูปแบบกันมาก
ปัจจุบัน คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์จาเป็นสาหรับการเขียนรายงาน ผู้เขียนจะมีส่วนร่วม
อย่างมากในการจัดทารายงาน ทั้งการเขียนเนื้อหาของรายงาน การพิมพ์ร่างต้นฉบับและพิมพ์ต้นฉบับตาม
รูปแบบที่กาหนดพร้อมจัดทาไฟล์ดิจิทัล เปรียบเทียบกับการจัดทารายงานเมื่อ 30 ปีก่อน ที่ต้องให้พนักงาน
พิมพ์ดีดช่วยจัดพิมพ์ต้นฉบับ หรือให้โรงพิมพ์เป็นผู้จัดพิมพ์รายงานทั้งหมด
ตารางที่ 6.1 เป็นการสรุปรูปแบบการจัดพิมพ์ การจัดหน้ากระดาษพิมพ์ รูปแบบตัวอักษร
และขนาดตัวอักษรที่ใช้ รวมทั้งการกาหนดช่วงระยะต่าง ๆ ของคู่มือ การเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยา
ประกอบแผนที่ธรณีวิทยาฉบับนี้

6.1 ขนาดกระดาษ
กระดาษขนาด A4 เป็นมาตรฐานที่ใช้กันทั่วไป ทั้งในการจัดทาเอกสารและรายงานของ
ภาครัฐและเอกชน เป็นขนาดมาตรฐานสาหรับเครื่องพิมพ์และการถ่ายเอกสาร รวมทั้งราคาประหยัด และ
อยู่ในขนาดที่พกพาได้
กระดาษพิมพ์รายงานสารวจธรณี วิทยา ให้ใช้กระดาษปอนด์ขนาด A4 (210x297 มม.)
สีขาวเรียบไม่มีเส้นบรรทัด ความหนา 80 แกรมสาหรับการพิมพ์หน้าเดียว และไม่น้อยกว่า 80 แกรมสาหรับ
การพิมพ์ 2 หน้า
49

ตารางที่ 6.1 สรุปรูปแบบการจัดพิมพ์รายงาน การจัดหน้ากระดาษพิมพ์ ตัวอักษรและขนาดที่ใช้


คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยา 2562
ข้อกาหนด
พิมพ์แบบ 1 คอลัมน์ พิมพ์แบบ 2 คอลัมน์ ระยะห่าง (spacing)
ขนาดกระดาษ A4 A4
ความหนา (แกรม) : พิมพ์ 1 หน้า 80 80 -
: พิมพ์ 2 หน้า ≥80 ≥80
ตัวอักษรและขนาด : เนื้อเรื่อง TH SarabunPSK : 16 TH SarabunPSK : 15
: คาบรรยายรูปและตาราง TH SarabunPSK : 15 TH SarabunPSK : 14 -
: เอกสารอ้างอิง TH SarabunPSK : 15 TH SarabunPSK : 14
ระยะห่างจากขอบ (บน-ล-ซ-ข) 1-1-1-1 นิ้ว 1-0.79-0.79-0.79 นิ้ว
2.54-2.54-2.54-2.54 ซม. 2.54-2-2-2 ซม.
หน้ากระดาษ
การตั้งค่า

ระยะเย็บกระดาษ (Gutter) 0.28 นิ้ว/ 0.7 ซม. 0.39 นิ้ว/ 1 ซม. -


Column spacing - 0.28 นิ้ว/ 0.7 ซม.
Column width - 3.12 นิ้ว/ 7.65 ซม.
การย่อหน้า (Paragraph)/ เนื้อเรือ่ ง 16 normal, justify 15 normal, justify ก่อน: 0 pt. [0]
: ย่อหน้าระยะห่างจากขอบซ้าย 0.79 นิ้ว/ 2 ซม. 0.39 นิ้ว/ 1 ซม. หลัง: 3 pt. [3]
ระยะห่างระหว่างบรรทัด : ไทย Single Single
-
: รายงานภาษาอังกฤษ Multiple 0.8 Multiple 0.8
ก่อน: 24 pt. [24]
ชื่อเรื่อง และตาแหน่ง 26 bold กลาง 24 bold กลาง หลัง: 24 pt. [24]
บทที/่ ชื่อบท และตาแหน่ง ก่อน: 24 pt. [24]
24 bold กลาง 22 bold กลาง
หลัง: 24 pt. [24]
หัวข้อใหญ่ (1.1, 1.2, 2.1) ก่อน: 18 pt. [18]
20 bold ชิดซ้าย 18 bold ชิดซ้าย
หลัง: 6 pt. [6]
หัวข้อรองหนึ่ง (1.1.1, 1.1.2) 18 bold 17 bold ก่อน: 15 pt. [15]
ระยะย่อหน้า 0.49 นิ้ว/ 1.25 ซม. 0.28 นิ้ว/ 0.7 ซม. หลัง: 6 pt. [6]
หัวข้อรองสอง (1.1.1.1) 17 bold 16 bold ก่อน: 12 pt. [12]
ระยะย่อหน้า 0.79 นิ้ว/ 2 ซม. 0.39 นิ้ว/ 1 ซม. หลัง: 6 pt. [6]
หัวข้อย่อย (1), 2), 3), …) 16 15 ก่อน: 3 pt. [3]
ระยะย่อหน้า 0.79 นิ้ว/ 2 ซม. 0.39 นิ้ว/ 1 ซม. หลัง: 3 pt. [3]
เลขหน้า และตาแหน่ง บนกึ่งกลาง บนกึ่งกลาง
: ระยะห่างจากขอบบน 0.49 นิ้ว/ 1.25 ซม. 0.49 นิ้ว/ 1.25 ซม. -
: ส่วนนา เลขโรมัน เลขโรมัน
: ส่วนเนื้อความ และส่วนอ้างอิง เลขอาราบิก เลขอาราบิก
รูป: ก่อน 6pt. [6]
การกาหนดเลขรูปที/่ เลขตารางที่ ใช้เลขตามบท ใช้เลขตามบท
ตาราง: หลัง 6pt. [6]
หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บเหลี่ยม [ ] คือการจัดพิมพ์แบบ 2 คอลัมน์

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


50

6.2 ตัวอักษรรูปแบบและขนาด
การเลือกใช้แบบตัวอักษร (Font) ใดในรายงานควรคานึงถึงความชัดเจน อ่านง่าย และ
สบายตา ไม่เลือกใช้ตัวอักษรที่มีลวดลายมากเพราะจะอ่านยาก ส่วนการใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่มากในบาง
หัวข้อหรือบางจุดเพื่อดึงความสนใจของผู้อ่าน ก็นิยมใช้ในหนังสือวิชาการของภาคเอกชนที่วางจาหน่าย
ทั่วไป
การจัดทารายงานสารวจธรณีวิทยาให้ใช้แบบตัวอักษร TH SarabunPSK ขนาด 16 pt.
สาหรับการจัดพิมพ์แบบ 1 คอลัมน์ และ 15 pt. สาหรับการจัดพิมพ์แบบ 2 คอลัมน์ การพิมพ์เนื้อเรื่องทั่วไป
ให้จัดพิมพ์แบบเต็มแนว (Justify) ยกเว้นจะระบุเป็นอย่างอื่น เช่น ที่ใช้กับหัวข้อต่าง ๆ เป็นต้น การเลือกใช้
แบบตัวอักษรอาจเปลี่ยนไปตามเทคโนโลยี แต่ควรเป็นแบบที่อ่านง่ายและชัดเจน เช่น ในอดีตเคยกาหนดให้
ใช้แบบตัวอักษร EucrosiaUPC และ AngsanaUPC เป็นต้น
แบบตัวอักษรหรือฟอนต์สารบรรณ (Sarabun) เป็นหนึ่งใน 13 ฟอนต์แห่งชาติที่สานักงาน
ส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สอซช. หรือ SIPA) ผลิตขึ้นเพื่อเป็นฟอนต์ของ
คนไทย และในปี พ.ศ. 2553 รัฐบาลได้ ประกาศให้หน่วยงานฝ่ายบริหารทั้งหมดใช้ในราชการ เพื่อใช้แทน
ฟอนต์จากผู้ผลิตต่างประเทศอย่าง Angsana New, Cordia New เพื่อป้องกันปัญหาลิขสิทธิ์จากการใช้
ฟอนต์ของภาคเอกชน แต่ ห ลั งจากเริ่ มใช้พบว่า ฟอนต์ “TH SarabunPSK” มี การแสดงผลไม่คมชัด
โดยเฉพาะในหน้าจอที่มีความละเอียดต่า และอาจมีผลต่อการพิมพ์ และการถ่ายสาเนาเอกสารได้ไม่คมชัด
สาหรับฟอนต์ “TH Sarabun New” ที่แสดงผลได้คมชัดกว่าปรับปรุงมาจาก “TH SarabunPSK” โดย
ภาคเอกชน

6.3 การจัดหน้ากระดาษ
ปัจจุบันการพิมพ์รายงานหรือเอกสารส่วนใหญ่ใช้โปรแกรมการพิมพ์ เช่น MS-Word ใน
เครื่องคอมพิวเตอร์ การกาหนดพื้นที่พิมพ์จึงทาจากการกาหนดระยะห่างจากขอบกระดาษทั้ง 4 ด้าน หรือ
บน-ล่าง-ซ้าย-ขวา (top-bottom-left-right) โดยใช้คาสั่งการตั้งค่าหน้ากระดาษ (Page Setup) คู่มือฉบับนี้
มีการกาหนดค่าระยะห่างต่าง ๆ ให้ทั้งเป็นนิ้วและเซนติเมตร แต่ผู้เขีย นควรเลือกใช้แบบใดแบบหนึ่งไม่ควร
ใช้ปนหรือสลับไปมา
6.3.1 การจัดพิมพ์แบบ 1 คอลัมน์
กาหนดให้มีระยะห่างจากขอบกระดาษทั้ง 4 ด้าน ๆ ละ 2.54 ซม. (1 นิ้ว) เย็บขอบกระดาษ
ด้านซ้าย ให้มีระยะเย็บกระดาษ (Gutter) 0.7 ซม. (0.28 นิ้ว) ตาแหน่งเย็บกระดาษด้านซ้าย จัดพิมพ์เนื้อเรื่อง
แบบเต็มแนว (Justify) และระยะย่อหน้า 2 ซม. (0.79 นิ้ว) ของรายงานทุกหน้า ยกเว้นจะระบุเป็นอย่างอื่น
กรณีต้องการพิมพ์ 2 หน้า (พิมพ์ทั้ง 2 ด้านของแผ่นกระดาษ) ให้ใช้คาสั่ง Mirror margins ใน Multiple
pages ของคาสั่ง Page Setup ยกเว้นหน้าปกหน้าไม่ต้องมีระยะเย็บกระดาษ
6.3.2 การจัดพิมพ์แบบ 2 คอลัมน์
กาหนดให้มีระยะห่างจากขอบกระดาษด้านบน 2.54 ซม. (1 นิ้ว) ด้านล่าง 2.0 ซม. (0.79
นิ้ว) ด้านซ้าย 2.0 ซม. (0.79 นิ้ว) และด้านขวา 2.0 ซม. (0.79 นิ้ว) ตาแหน่งเย็บกระดาษด้านซ้าย ให้มีระยะ
เย็บกระดาษ (Gutter) 1.0 ซม. (0.39 นิ้ว) มีระยะช่องไฟ หรือระยะห่าง (Column spacing) 0.7 ซม.

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


51

(0.28 นิ้ว) จัดพิมพ์เนื้อเรื่องแบบเต็มแนว (Justify) และระยะย่อหน้า 1 ซม. (0.39 นิ้ว) ในทุกหน้าของ


รายงาน ยกเว้นจะระบุเป็นอย่างอื่น กรณีต้องการพิมพ์ 2 หน้า ให้ใช้คาสั่ง Mirror margins ใน Multiple
pages ของคาสั่ง Page Setup ยกเว้นหน้าปกหน้า (Front cover) ไม่ต้องมีระยะเย็บกระดาษ
การพิมพ์แบบ 2 คอลัมน์นี้ ควรจัดแถวในแนวนอน (Row) ของทั้ง 2 คอลัมน์ให้อยู่ในระดับ
ตรงกัน จะช่วยให้อ่านรายงานได้สะดวกขึ้น ผู้พิมพ์จึงควรให้ความสนใจในประเด็นนี้ด้วย ซึ่งทาได้โดยการเพิ่ม
หรือลดระยะห่างระหว่างย่อหน้า (Paragraph spacing)
สาหรับรายงานที่จัดพิมพ์แบบ 2 คอลัมน์ กาหนดให้หน้าต่อไปนี้จัดพิมพ์เป็นแบบ 1 คอลัมน์
ได้แก่ ปกนอก ปกใน หน้าถัดจากปกใน คาปรารภ คานา บทคัดย่อ สารบัญ และภาคผนวก
6.3.3 การพิมพ์รายงานภาษาอังกฤษ
สาหรับการพิมพ์รายงานภาษาอังกฤษหรือบทคัดย่อที่เป็นภาษาอังกฤษ ให้ใช้รูปแบบเดียว
กับที่ใช้ในภาษาไทย ยกเว้นการจัดระยะห่างระหว่างบรรทัด (Line spacing) ให้เปลี่ยนจาก Single เป็น
Multiple 0.8 ซึ่งช่วงห่างจะแคบกว่าและดูสวยงามกว่า
6.3.4 วิธีทาสา รบัญอัตโนมัติ
โปรแกรม MS-Word มีวิธีทาสารบัญอัตโนมัติ โดยใช้ “หัวเรื่อง” (heading) และระดับ
ของหัวเรื่องที่อยู่ในโปรแกรม เพื่อทาเป็นหัวข้ออัตโนมัติก่อน เมื่อเสร็จแล้วใช้เมนู “สารบัญ (Table of
Contents)” ทาสารบัญอัตโนมัติ มีขั้นตอน ดังนี้
1) กาหนดระดับของหัวข้อในรายงาน เช่น บทที่ หัวข้อใหญ่ หัวข้อรองหนึ่ง หัวข้อรองสอง
หัวข้อย่อย
2) ใน MS-Word คลิก “หน้าแรก (Home)” คลิกมุมล่างขวาของเมนู “สไตล์ (Styles)”
เลือก “หัวเรื่อง (heading)” (รูปที่ 6.1ก) โดยเลือกให้เรียงระดับตรงกัน เช่น
เลือก หัวเรื่อง 1 (heading 1) เป็น บทที่
หัวเรื่อง 2 (heading 2) = หัวข้อใหญ่
หัวเรื่อง 3 (heading 3) = หัวข้อรองหนึ่ง
หัวเรื่อง 4 (heading 4) = หัวข้อรองสอง ..ตามลาดับ
3) ในเมนู “หัวเรื่อง (heading)” เลือก “ปรับเปลี่ยน..(Modify)” เพื่อตั้งชื่อสไตล์ให้ตรง
กับหัวข้อที่เลือก ในรูป (รูปที่ 6.1ข) คือ “หัวข้อใหญ่” และคลิก “รูปแบบ (Format)” เพื่อตั้งค่าตัวอักษร
(Font) ตั้งค่าการย่อหน้า (Paragraph) ตั้งค่าระยะห่างตามที่ต้องการ
4) เสร็จแล้วคลิก “ตกลง”
5) ทา “สารบัญ” โดยวาง cursor ไว้หน้าแรกของรายงาน ในเมนู “การอ้างอิง
(References)” คลิก “สารบัญ (Table of Contents)” อยู่มุมบนซ้าย แล้วเลือก “Automatic Table”
จะปรากฏตารางสารบัญพร้อมเลขหน้าในจุดที่วาง cursor
6) ในเมนู “มุมมอง (View)” คลิก “บานหน้าต่างนาทาง (Navigation Pane)” จะปรากฏ
รายการหัวข้ออัตโนมัติขึ้นทางด้านซ้ายของหน้าจอ

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


52

(ก)
(ข)

รูปที่ 6.1 แสดงวิธีจัดทาหัวข้ออัตโนมัติ (ก) เลือก Heading (ข) ตั้งชื่อสไตล์และตั้งค่ารูปแบบ

6.3.5 วิธีเปลี่ยนการวัดระหว่างนิ้วกับเซนติเมตร
ในโปรแกรม MS-Word มีวิธีเปลี่ยนการวัดระหว่างนิ้วกับเซนติเมตร ดังนี้
1) คลิกเมนู “ไฟล์” ในโปรแกรม MS-Word
2) คลิกเมนู “ตัวเลือก” แล้วคลิกเมนู “ขั้นสูง”
3) เลื่อนลงไปด้านล่างจนเจอ “แสดงการวัดในหน่วยของ” แล้วเปลี่ยนค่าจากนิ้วเป็น ซม.
หรือสลับกัน

6.4 การกาหนดเลขหน้า
การกาหนดเลขหน้ าของรายงานให้ แยกเป็น 2 ส่ว น คือ ให้ ส่ ว นนาตามโครงสร้างของ
รายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบด้วย ปกนอก ปกใน หน้าถัดจากปกใน คาปรารภ คานา บทคัดย่อ และ
สารบัญ ตามลาดับจนถึงหน้าก่อนหน้าบทนา มีเลขหน้าเรียงแบบตัวพยัญชนะไทย (ก, ข, ค, ง) หรือ ตัวเลข
โรมัน (I, II, III, IV) อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยนับหน้าปกในเป็นหน้าที่หนึ่ง สาหรับส่วนเนื้อความและส่วนอ้างอิง
ให้มีเลขหน้าต่อเนื่องกัน ตั้งแต่บทนาไปจนถึงหน้าสุดท้ายของรายงาน มีเลขหน้าแบบเลขอารบิก (1, 2, 3, 4)
โดยให้หน้าแรกของหน้าดังต่อไปนี้ไม่ต้องพิมพ์เลขหน้า ได้แก่ ปกนอก ปกใน หน้าถัดจากปกใน คาปรารภ
คานา บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ทุกบท (เช่น บทนา ธรณีวิทยาภูมิภาค ลาดับชั้นหิน ธรณีวิทยาโครงสร้าง

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


53

ธรณีประวัติ เศรษฐธรณีวิทยา แหล่งธรณีวิทยา บทวิจารณ์ บทสรุป ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ เป็นต้น)


เอกสารอ้างอิง บรรณานุกรม และดัชนี
การจัดวางเลขหน้าให้วางด้านบนกึ่งกลางบรรทัด โดยมีระยะห่างจากขอบกระดาษด้านบน
1.25 ซม. (0.49 นิ้ว) ใช้ตัวอักษรแบบเดียวกับเนื้อเรื่อง (TH SarabunPSK) แต่มีขนาดเล็กกว่า 1 pt. ในที่นี้
คือ 15[14] pt. ตัวเลขในวงเล็บเหลี่ยมหมายถึงการพิมพ์แบบ 2 คอลัมน์

6.5 ตัวอย่างรูปแบบการจัดพิมพ์รายงาน
ตัวอย่างแบบการจัดพิมพ์รายงาน เป็นการนาข้อกาหนดต่าง ๆ เช่น ในตารางที่ 6.1 และใน
หัวข้ออื่นมาแสดงเป็นรูปภาพ เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นและสะดวกต่อการนาไปปฏิบัติ สาหรับคู่มือการเขียน
รายงานสารวจธรณีวิทยาฯ มีตัวอย่างแบบการจัดพิมพ์รายงาน ดังนี้
ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าปกระดับกรม (รูปที่ 6.2) และระดับกอง (รูปที่ 6.3)
ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าปกในระดับกรม (รูปที่ 6.4) และระดับกอง (รูปที่ 6.5)
ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าถัดจากปกในระดับกรม (รูปที่ 6.6) และระดับกอง (รูปที่ 6.7)
ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าคาปรารภและหน้าคานา ( รูปที่ 6.8)
ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าบทคัดย่อ (รูปที่ 6.9)
ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าเนือ้ เรื่อง หัวข้อ แบบ 2 คอลัมน์ (รูปที่ 6.10)
ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าเนือ้ เรื่อง หัวข้อ แบบ 1 คอลัมน์ (รูปที่ 6.11)
ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าเอกสารอ้างอิง แบบ 2 คอลัมน์ (รูปที่ 6.12)
ตัวอย่างรูปแบบจัดพิมพ์หน้าเอกสารอ้างอิง (รูปที่ 6.13)

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


54

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


55

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


56

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


57

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


58

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


59

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


60

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


61

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


62

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


63

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


64

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


65

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


66

เอกสารอ้างอิง
กองธรณีวิทยา, 2528, ข้อแนะนาในการเขียนรายงาน และแผนที่ธรณีวิทยามาตราส่วน 1:50,000. กลุ่มงานเฉพาะกิจ
ศึกษาวิจัยทางธรณีวิทยา กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, 20 หน้า.
กองธรณีวิทยา, 2531, คู่มือการจัดทาแผนที่ธรณีวิทยา มาตราส่วน 1:50,000 และรายงานการสารวจธรณีวิทยา.
กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, 40 หน้า.
ขวัญใจ ยวงเดชกล้า และวิภาวี วิบูลย์อัฐพล, 2560, คู่มือการเขียนรายงานการสารวจแร่. สานักทรัพยากรแร่ กรม
ทรัพยากรธรณี, 126 หน้า.
คณะกรรมการเอกสารทางวิชาการ, 2542, คู่มือการเขียนรายงานเศรษฐธรณีวิทยา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กองเศรษฐ
ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, รายงานวิชาการ ฉบับที่ กศ 4/2542, 117 หน้า.
คณะทางานจัดทารูปแบบรายงานและเอกสารธรณีวิทยาของ กธ, 2540, รูปแบบรายงานและเอกสารธรณีวิทยาของ
กองธรณีวิทยา. กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, 19 หน้า.
คณะอนุกรรมการจัดทาคู่มือการตั้งชื่อหน่วยหินของประเทศไทยและการเขียนรายงาน, 2560, คู่มือการลาดับชั้นหิน
ของประเทศไทย. คณะกรรมการมาตรฐานธรณี วิ ท ยาและประมวลวิ ธี ป ฏิบั ติของประเทศไทย , กรม
ทรัพยากรธรณี, รายงานวิชาการมาตรฐานธรณีวิทยา ฉบับที่ สธว 1/2560, 60 หน้า.
ชนกพร พัวพัฒนกุล, 2558, การเขียนรายงานวิชาการ. เอกสารประกอบการสอน ศศภท 100 ศิลปะการใช้ภาษาไทย
เพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล สืบค้นจาก: http://www.la.mahidol.ac.th/course/lath100/wp-
content/uploads/2016/02/ AcademicWriting02.pdf [4 เมษายน 2562]
เพียงตา สาตรักษ์, 2551, หลักและวิธีสารวจธรณีวิทยาภาคสนาม (พิมพ์ครั้งที่ 2). ภาควิชาเทคโนโลยี คณะ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น, หน้า 355-372.
ราชบัณฑิตยสถาน, 2542, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพ, บริษัทนานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์
ราชบัณฑิตยสถาน, 1436 หน้า.
ราชบัณฑิตยสถาน, 2558, พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพ, สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรี
และราชกิจจานุเบกษา ราชบัณฑิตยสถาน, 888 หน้า.
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ , ม.ป.ป., คู่มือการเขียนรายงานวิจัย. 34 หน้า, สืบค้นจาก: http://www.sri.
cmu.ac.th/form/researchwrite.pdf [17 เมษายน 2562]
สานักธรณีวิทยา, 2555, คู่มือการสารวจทาแผนที่ธรณีวิทยา. สานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, 100 หน้า.
สืบศักดิ์ ศลโกสุม, สุภาภรณ์ วรกนก และ อรพินท์ รุจิรานุพงศ์, 2554, มาตรฐานคู่มือการเขียนรายงานการสารวจแร่.
สานักทรัพยากรแร่ กรมทรัพยากรธรณี, รายงานวิชาการ ฉบับที่ สทร 3/2554, 98 หน้า.
Academic Learning Centre, n.d., Writing a scientific report in the geological sciences. University of
Manitoba, Canada, 3 p. Retrieved from: https://umanitoba.ca/student/ academiclearning
/media/geology_report_writing.pdf [18 April 2019]
American Institute of Professional Geologists (AIPG), 2012, Organization and content of a typical
geological report. American Institute of Professional Geologists, 4 p. Retrieved from:
http://aipg.org/images/Publications/pdf/OrgandContentTypGeoRep.pdf [17 April 2019]

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


67

Barnes, J.W., and Lisle, R.J., 2004, Basic geological mapping (4th ed.). John Wiley & Sons, Ltd., p.
143-150.
Compton, R.R., 1968, Manual of field geology (2nd ed.). New Delhi, Wiley Eastern Private Limited, p.
185-207.
Enright, A. and Bank, C., n.d., A guide to writing a geological map in ESS241. Department of Earth
Sciences, University of Toronto, 8 p. Retrieved from: https://docplayer.net/14674840-A-
guide-to-writing-a-geological-map-report-in-ess241.html [18 April 2019]
Hansen, W.R., ed., 1991, Suggestions to authors of the reports of the United States Geological
Survey (7th Ed.). U.S. Government Printing Office, U.S. Geological Survey, 289 p.
Leicester University, 2009, Writing reports. Retrieved from: https://www2.le.ac.uk
/offices/ld/resources/writing/writing-resources/reports [15 May 2019]
Rudd, D., 2005, Report writing a guide to organization and style. Learning support and
Development, University of Bolton.
University Centre Grimsby, n.d., Structure of reports. Retrieved from: https://grimsby.
ac.uk/documents/quality/skills/Structure-of-Reports-Learnhigher.pdf [23 August 2019]
University of California, Santa Cruz (UCSC), n.d., Guidelines for reports. University of California,
Santa Cruz, 5 p. Retrieved from: https://websites.pmc.ucsc.edu/~crowe
/ES109/readings/Report%20Guidelines.pdf [18 April 2019]
University of New South Wales, 2014, Writing a geological report. Retrieved from:
http://www.unswgeosoc.com/blog/writing-a-geological-report [21 September 2019]
Zalasiewicz, J., Cita, M.B., Hilgen, F., Pratt, B.R., Strasser, A., Thierry, J., and Weissert, H., 2013,
Chronostratigraphy and geochronology: A proposed realignment. GSA Today, v. 23, no. 3,
p. 4-8.

คู่มือการเขียนรายงานสารวจธรณีวิทยาประกอบแผนที่ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี 2563


รายงานว�ชาการ

รายงานว�ชาการ ฉบับที่ กธว 1/2563


ฉบับที่ กธว 1/2563

คู‹มือการเข�ยนรายงานสำรวจธรณีว�ทยาประกอบแผนที่ธรณีว�ทยา
คู‹มือการเข�ยนรายงาน
สำรวจธรณีว�ทยาประกอบแผนที่ธรณีว�ทยา

กองธรณีว�ทยา กรมทรัพยากรธรณี

กรมทรัพยากรธรณี
ถนนพระรามที่ ๖ แขวงทุ‹งพญาไท เขตราชเทว� กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ กองธรณีว�ทยา กรมทรัพยากรธรณี
www.dmr.go.th กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ�งแวดลŒอม 2563

You might also like