Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

ใบความรูที่ 6.

2
เรื่อง เร็กกูเลเตอร

ศึกษาในเรื่อง
- หนาทีแ่ ละยูนติ ของเร็กกูเลเตอร
- ขั้วของเร็กกูเลเตอร
- วงจรและการทํางานของระบบประจุไฟฟาแบบธรรมดา
- วงจรของเร็กกูเลเตอรแบบตาง ๆ
จุดประสงคเชิงพฤติกรรม
1. อธิบายหนาที่ของเร็กกูเลเตอรที่ใชกับอัลเตอรเนเตอรแบบธรรมดาได
2. บอกชื่อสวนประกอบของวงจรประจุไฟฟาแบบธรรมดาได
3. อธิบายหลักการทํางานของวงจรประจุไฟฟาแบบธรรมดาได
4. แสดงใหเห็นถึงความสนใจในการเรียน
ใบความรูที่ 6.2
วิชา งานไฟฟารถยนต (2101-1004) หนวยการเรียนรูที่ 6 ชื่อหนวย ระบบประจุไฟฟา
เรื่อง เร็กกูเลเตอร สัปดาหที่ 14 เวลา 1 ชั่วโมง

เร็กกูเลเตอร

เร็กกูเลเตอร (Regulator)
เร็กกูเลเตอร คืออุปกรณที่ทําหนาที่ควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟาที่อัลเตอรเนเตอรผลิตไดไมให
เกินพิกัด ทั้งนี้เพื่อปองกันไมใหแบตเตอรี่และอุปกรณไฟฟาตางๆในรถยนตเสียหาย เนื่องจากในขณะใช
งานความเร็วรอบของเครื่องยนตไมคงที่ ความเร็วรอบของโรเตอรจะเปลี่ยนแปลงไปตามความเร็วรอบของ
เครื่องยนต โดยคุณสมบัติของอัลเตอรเนเตอรอันหนึ่งคืออัลเตอรเนเตอรสามารถจายกระแสไฟฟาประจุ
ให แ ก แ บตเตอรี่ ไ ด ตั้ ง แต ที่ ข ณะเครื่ อ งยนต เ ดิ น เบา ซึ่ ง หมายความว า ในขณะที่ เ ครื่ อ งยนต เ ดิ น เบา
แรงเคลื่ อ นไฟฟ า ที่ อั ล เตอร เ นเตอร ผ ลิ ต ได จ ะต อ งสู ง กว า แรงเคลื่ อ นไฟฟ า ของแบตเตอรี่ ดั ง นั้ น เมื่ อ
เครื่องยนตมีความเร็วรอบสูงขึ้นแรงเคลื่อนไฟฟาที่อัลเตอรเนเตอรผลิตไดจะสูงตามขึ้นไปดวย เมื่อเปน
เชนนี้จึงจําเปนตองหาอุปกรณที่จะมาควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟาที่อัลเตอรเนเตอรผลิตไดไมใหเกินพิกัดที่จะ
เป น อั น ตรายต อ อุ ป กรณ ไ ฟฟ า ในรถยนต อุ ป กรณ ค วบคุ ม แรงเคลื่ อ นไฟฟ า ของอั ล เตอร เ นเตอร คื อ
เร็ ก กู เ ลเตอร ( Regulater) เร็ ก กู เ ลเตอร ที่ ใ ช ใ นรถยนต ส ว นใหญ จ ะเป น แบบ 2 ยู นิ ต คื อ ควบคุ ม
แรงเคลื่อนไฟฟาที่อัลเตอรเนเตอรผลิตได 1 ยูนิตเรียกวา“ชุดโวลตเตจเร็กกูเลเตอร(Voltage Regulater) หรือ
ชุดควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟา” และอีก 1 ยูนิตจะทําหนาที่ควบคุมหลอดเตือนไฟชารจเรียกวา“ชุดรีเลยเตือน
ไฟชารจ(Warning Lamp)”

รูปที่6.31 เร็กกูเลเตอรที่ใชกับอัลเตอรเนเตอรแบบธรรมดา
ทั้ง 2 ยูนิตของเร็กกูเลเตอรจะมีความคลายกันมากจนไมสามารถแยกออกไดวายูนิตใดเปน
ชุดควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟาหรือเปนชุดรีเลยเตือนไฟชารจ วิธีงายที่จะใหทราบวายูนิตใดคือชุดใดนั้นใหใช
นิ้วมือกดเบาๆใหคอนแทกของทั้ง 2 ยูนิตเคลื่อนตัว ยูนิตที่เปนชุดควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟาจะมีความแข็ง
ในการกดมากกวาและยูนิตที่มีความแข็งนอยกวาคือชุดรีเลยเตือนไฟชารจ
ขั้วของเร็กกูเลเตอร มีทั้งหมด 6 ขั้วคือ
1. ขั้ว Ig. ตอไปขั้ว Ig. ของสวิตชกุญแจ
2. ขั้ว L ตอไปหลอดไฟเตือนไฟชารจทีแ่ ผงหนาปด
3. ขั้ว F ตอไปขั้ว F ของอัลเตอรเนเตอร
4. ขั้ว A หรือขั้ว B ตอไปขั้ว A (หรือขั้ว B ) ของอัลเตอรเนเตอร
5. ขั้ว N ตอไปขั้ว N ของอัลเตอรเนเตอร
6. ขั้ว E ตอไปขั้ว E ของอัลเตอรเนเตอร
วงจรและการทํางานของระบบประจุไฟแบบธรรมดา
- วงจรระบบประจุไฟแบบธรรมดา

รูปที่6.32 วงจรการทํางานของระบบประจุไฟแบบธรรมดา
การทํางาน
1. เมื่อเปดสวิตชกุญแจ กระแสไฟฟาจากแบตเตอรี่จะผานขั้ว Ig.ของสวิตชกุญแจผานฟวส
ไฟชารจ เขาขั้ว Ig.ของเร็กกูเลเตอร ผานคอนแทก PL1และ PL0ซึ่งตอกันผานไปที่ขั้ว F ของเร็กกูเลเตอร เขา
ขั้ว F ของอัลเตอรเนเตอร ผานขดลวดโรเตอร ออกขั้ว E ลงกราวดครบวงจรทําให โรเตอรเกิดอํานาจ
แมเหล็ก กระแสไฟฟาอีกสวนหนึ่งที่ผานขั้ว Ig.ของสวิตชกุญแจจะผานหลอดเตือนไฟชารจเขาขั้ว L ของ
เร็กกูเลเตอรผานคอนแทก P0 และ P1ที่ตอกัน ออกขั้ว E ของเร็กกูเลเตอรลงกราวดครบวงจรทําให หลอด
เตือนไฟชารจติด
2. เมื่ อ เครื่ อ งยนต ทํ า งานที่ ค วามเร็ ว รอบต่ํ า ถึ ง ปานกลาง เมื่ อ เครื่ อ งยนตติ ด และทํ า งานที่
ความเร็ว รอบต่ําโรเตอรจะหมุน ดวยความเร็ วรอบต่ํา สนามแมเหล็ กที่เ กิด ขึ้น ที่โรเตอรจะหมุนตั ดกับ
ขดลวดสเตเตอรทําใหสเตเตอรสามารถผลิตพลังงานไฟฟาสงออกมา โดยผานการเรียงกระแสไฟฟาจากชุด
ไดโอดออกทางที่ขั้ว B และขั้ว N ของอัลเตอรเนเตอร(ซึ่งจะไดแรงเคลื่อนไฟฟาที่ขั้ว N เปนครึ่งหนึ่งของขั้ว
B) โดยกระแสไฟฟาที่สงออกมาที่ขั้ว N ของอัลเตอรเนเตอรจะผานไปยังขั้ว N ของเร็กกูเลเตอร ผานเขา
ขดลวดของชุดรีเลยเตือนไฟชารจลงกราวดครบวงจร ทําใหแกนเหล็กออนของชุดรีเลยเตือนไฟชารจเกิด
อํานาจแมเหล็กสูงพอที่จะเอาชนะแรงสปริงดูดใหคอนแทก P0 แยกออกจาก P1ลงมาตอกับคอนแทก P2 ทํา
ให ก ระแสไฟฟ า ที่ ผ า นหลอดเตื อ นไฟชาร จ ไม ส ามารถผ า นคอนแทก P1 ไปลงกราวด ไ ด ซึ่ ง เป น ผลให
หลอดเตือนไฟชารจดับ ในขณะเดียวกันกระแสไฟฟาที่สงออกที่ขั้ว B ของอัลเตอรเนเตอรที่ไปประจุใหแก
แบตเตอรี่และไปเลี้ยงอุปกรณไฟฟาตางๆในรถยนต กระแสไฟฟาอีกสวนหนึ่งจะเขาที่ขั้วB (หรือขั้วA)ของ
เร็กกูเลเตอรผานคอนแทก P2 ซึ่งขณะนี้ตอกับ P0 เขาขดลวดของชุดควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟาลงกราวดครบ
วงจรทํ า ให แกนเหล็ ก อ อ นของชุ ด ควบคุ ม แรงเคลื่ อ นไฟฟ า มี อํ า นาจแม เ หล็ ก เมื่ อ ความเร็ ว รอบของ
เครื่ อ งยนต เ พิ่ ม ขึ้ น จนถึ ง จุ ด หนึ่ ง จะทํ า ให แ รงเคลื่ อ นไฟฟ า ที่ อั ล เตอร เ นเตอร ผ ลิ ต ได สู ง ขึ้ น และเมื่ อ ถึ ง
จุดหนึ่งในพิกัดที่ต้ังไว (ในระบบ 12โวลตจะตั้งไวประมาณ 14.5โวลต) แกนเหล็กออนของชุดควบคุม
แรงเคลื่อนไฟฟาจะมีอํานาจแมเหล็กสูงพอที่ชนะแรงสปริงดูดใหคอนแทก PL0 แยกออกจากคอนแทก PL1
แตยังไมตอกับคอนแทก PL2 ซึ่งในชวงนี้จะทําใหกระแสไฟฟาที่ไปเลี้ยงขดลวดโรเตอรไมสามารถผาน
คอนแทก PL1ได กระแสไฟฟาที่ไปเลี้ยงขดลวดโรเตอรตองผานความตานทาน R ทําใหมีกระแสไฟฟา
ไปเลี้ ย งขดลวดโรเตอร น อ ยลงซึ่ ง จะทํ า ให ค วามเข ม ของสนามแม เ หล็ ก ที่ โ รเตอร น อ งลงเป น ผลให
อั ล เตอร เ นเตอร ผ ลิ ต พลั ง งานไฟฟ า ที่ มี แ รงเคลื่ อ นไฟฟ า ต่ํ า ลง พลั ง งานไฟฟ า ที่ ไ ปเลี้ ย งขดลวด
ชุดควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟานอยลง ทําใหแกนเหล็กออนของชุดควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟามีอํานาจแมเหล็ก
นอยลงสปริงดึงใหคอนแทก PL0 กลับไปตอกับ PL1อีก กระแสไฟฟาที่ไปเลี้ยงขดลวดโรเตอรไมตองผาน
ความตานทานจึงมีกระแสไฟฟาไปเลี้ยงขดลวดโรเตอรเต็มที่ ความเขมของสนามแมเหล็กของโรเตอร
เพิ่มขึ้น อัลเตอรเนเตอรผลิตพลังงานไฟฟาที่มีแรงเคลื่อนไฟฟาไดสูงขึ้นอีกครั้งหนึ่งและจะทําใหเกิดการ
ตัด-ตอของคอนแทก PL0 กับ PL1 อยางตอเนื่องซึ่งจะเกิดขึ้นในลักษณะของการสั่นเพื่อเปนการควบคุม
แรงเคลื่อนไฟฟาที่อัลเตอรเนเตอรผลิตไดไมใหเกินพิกัดในชวงความเร็วปานกลาง
3. เมื่อเครื่องยนตทํางานที่ความเร็วรอบปานกลางถึงความเร็วรอบสูง เมื่อความเร็วรอบของ
เครื่องยนตสูงขึ้นอัลเตอรเนเตอรจะผลิตพลังงานไฟฟาที่มีแรงเคลื่อนไฟฟาสูงขึ้นอยางรวดเร็ว จะทําให
ความเขมของสนามแมเหล็กของชุดควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟามากพอที่จะสามารถดูดใหคอนแทก PL0 มาตอ
กับ PL2 ทําใหกระแสไฟฟาที่ไปเลี้ยงขดลวดโรเตอรผานความตานตาน R ผานหนาคอนแทก PL0 และ PL2
แลวลงกราวดครบวงจร จึงทําใหชวงนี้ไมมีกระแสไฟฟาไปเลี้ยงขดลวดโรเตอร อํานาจแมเหล็กของ
โรเตอรลดลงอยางรวดเร็ว พลังงานไฟฟาที่อัลเตอรเนเตอรผลิตไดลดลงอยางรวดเร็วเชนกัน ทําใหมี
กระแสไฟฟาไปเลี้ยงขดลวดของชุดควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟานอยมาก อํานาจแมเหล็กที่แกนเหล็กออนของ
ชุดควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟาลดนอยลงสปริงดึงใหคอนแทก PL0 แยกออกจาก PL2 แตยังไมตอกับ PL1
ในชวงนี้จะมีกระแสไฟฟาไปเลี้ยงขดลวดโรเตอรอีกครั้งหนึ่ง อัลเตอรเนเตอรจะผลิตพลังงานไฟฟาที่มี
แรงเคลื่อนไฟฟาสูงขึ้นอยางรวดเร็ว คอนแทก PL0 จะถูกดูดมาตอกับ PL2 อีกและจะตัด-ตอเชนนี้ไปเรื่อยๆ
ในลักษณะของการสั่ นเพื่อเป นการควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟาที่อัลเตอรเนเตอรผลิ ตไดไ มใ หเ กิน พิกัด ที่
ความเร็วสูง
วงจรประจุไฟฟาแบบธรรมดาที่ใชเร็กกูเลเตอรแบบตาง ๆ

รูปที่6.33 วงจรประจุไฟฟาของ Hitachi


รูปที่6.34 วงจรประจุไฟฟาของ Mitsubishi

เร็กกูเลเตอร

รูปที่6.35 วงจรประจุไฟฟาของ ND

You might also like