Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

วัสดุวศิ วกรรม

(Engineering Materials)
ผูส้ อน: ปาพจน์ เจริญอภิบาล

 หนังสื อประกอบการเรียน
“วัสดุศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุพ้นื ฐาน” แปลโดย สุ วนั ชัย พงษ์สุกิจวัฒน์ และคณะ สานักพิมพ์ทอ้ ป
(จากหนังสื อ “Materials Science and Engineering an Introduction” William D. Callister. Jr.)

1
Chapter 1

Introduction
วัตถุประสงค์
 ผูเ้ รี ยนจะสามารถ
 บอกประเภทของวัสดุ 6 ประเภทพร้อมทั้งสมบัติและการนาไป
ประยุกต์ใช้งาน
 บอกเกณฑ์ที่สาคัญในการเลือกใช้วสั ดุ
ิ วกรรมและอธิบายได้วา่ ทาไมจึง
 เข้าใจความสาคัญของวิชาวัสดุวศ
ต้องศึกษาวิชาวัสดุวิศวกรรม

3
การนาวัสดุไปประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ

4
การนาวัสดุไปประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ (ต่อ)

5
Materials Science and Materials Engineering

โครงสร้างอะตอม
พันธะเคมี มีผลต่อคุณสมบัติเชิงกล, ไฟฟ้ า,
การจัดเรี ยงตัวของอะตอมเป็ นผลึก การนาความร้อน ของวัสดุอย่างไร
ส่ วนผสมของโลหะอื่น
6
วัสดุศาสตร์และวัสดุวิศวกรรม

ความรู ้พ้นื ฐาน ผลจากความรู ้ของโครงสร้าง สมบัติ การประยุกต์ความรู ้


ของวัสดุ กระบวนการผลิต และสมรรถนะ ของวัสดุต่างๆ
ของวัสดุวิศวกรรม

สมบัติ
วิทยาศาสตร์ ความต้องการ
พื้นฐานและ ทางสังคมและ
ความเข้าใจ
โครงสร้าง สมรรถนะ ประสบการณ์

กระบวนการ

7
ความสัมพันธ์กบั ศาสตร์อื่นๆ

8
Why materials science and engineering?
 Civil:

 Electrical:

 Agriculture:

 Industrial:

 Mechanical:

 Computer:

 Environmental:

9
ประเภทของวัสดุ
 โลหะ

 เซรามิก

 พอลิเมอร์

 วัสดุผสม (composite materials)

 สารกึ่งตัวนา (semiconductor)

 วัสดุชีวภาพ

10
โลหะ (Metals)
 นาไฟฟ้ าและนาความร้อนได้ดี
 มีคุณสมบัติแข็งแรง และเหนี ยว

 Ferrous Metals and Alloys: เช่น เหล็กกล้า เหล็กหล่อ

 Nonferrous Metals and Alloy: เช่น อะลูมิเนี ยม ทองเหลือง


สังกะสี
 ทองแดง ใช้ทาลวดไฟฟ้ าเนื่องจากนาไฟฟ้ าได้ดี
 เหล็ก ใช้ทาเป็ นส่ วนประกอบของโครงสร้างอาคาร เนื่องจาก แข็งแรง
และเหนียว

11
ตัวอย่างการนาโลหะไปประยุกต์ใช้งาน

ภาพแสดงเครื่ องยนต์ของเครื่ องบิน (PW 2037) ทาจากโลหะพิเศษผสมนิเกิล


12
พอลิเมอร์ (Polymeric and rubber Materials)

 เป็ นวัสดุที่มีโมเลกุลเป็ นโซ่ยาวๆ


 เป็ นฉนวนไฟฟ้ าที่ดี ทนความร้อนได้ดี

 แข็งเปราะหรื อเหนี ยว

 มีน้ าหนักเบา
 นาไปผลิตเป็ นปลอกหุม้ สายไฟฟ้ า เนื่องจากเป็ นฉนวนไฟฟ้ าที่ดี
 นาไปผลิตเป็ นท่อน้ า PE, PVC เนื่องจากเหนียว ทนต่อการกัดกร่ อน

13
ตัวอย่างการนาพลาสติกไปประยุกต์ใช้งาน

14
เซรามิก (Ceramics)

 ประกอบด้วยธาตุที่เป็ นโลหะและอโลหะรวมกัน
 มีความแข็งแต่เปราะ ทนอุณหภูมิได้สูงมาก

 ใช้ทาผนังเตาหลอมโลหะ ทาผิวของ Space

Shuttle ชิ้นส่ วนของเครื่ องยนต์


 SiO2 ใช้ทากระจกหน้าต่าง

15
ตัวอย่างการนาเซรามิกไปประยุกต์ใช้งาน

16
วัสดุผสม (Composites)
 เป็ นวัสดุที่ประกอบด้วยสาร 2 ชนิดขึ้นไป
ั มากคือ
 ที่ใช้กน
 เส้นใยแก้วเสริ มแรงในพอลิเอสเทอร์หรื ออีพอกซี
 เส้นใยคาร์บอนเสริ มแรงในอีพอกซี
 คอนกรี ตเสริ มเหล็ก
 คุณสมบัติจะก้ ากึ่งระหว่างวัสดุที่ผสมกันเช่น คอนกรี ตเสริ ม
เหล็ก; คอนกรี ตแข็งแต่เปราะ vs. เหล็ก มีความเหนียวสู ง >>
คอนกรี ตเสริ มเหล็ก จึงมีท้ งั ความแข็งและเหนียว

17
วัสดุผสม (Composites)

18
สารกึ่งตัวนา (Semiconductors)

 มีสมบัติกล้ ากึ่งระหว่างตัวนาและฉนวนไฟฟ้ า
 โดยทัว่ ๆไปเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น การนาไฟฟ้ าของ สารกึ่งตัวนาจะ
ดียงิ่ ขึ้น <> ตรงกันข้ามกับโลหะ
 การนาไฟฟ้ าขึ้นอยูก ่ บั ปริ มาณของสารเจือที่ผสมอยูเ่ ช่น Boron,
Phosphorus

19
สารกึ่งตัวนา (Semiconductors)

20
วัสดุชีวภาพ (Biomaterials)
 Must not produce toxic substances
 Must be compatible with body tissues

21
วัสดุสาหรับอนาคต

22

You might also like