กิจกรรมหน่วยวิทยาศาสตร์ ป.3.

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 58

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ชีวิตของมนุษย์และสัตว์

รหัสวิชา ว 13101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ


เทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
เวลา 14 ชั่วโมง
….
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิง่
มีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของ
โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางาน
สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ
ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทัง้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชีว้ ัด ป.3/1 บรรยายสิ่งที่จำเป็ นต่อการดำรงชีวิต และการ
เจริญเติบโตของมนุษย์และสัตว์ โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้
ตัวชีว้ ัด ป.3/2 ตระหนักถึงประโยชน์ของอาหาร น้ำ และอากาศ
โดยการดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รับสิ่งเหล่านีอ
้ ย่างเหมาะสม
ตัวชีว้ ัด ป.3/3 สร้างแบบจำลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตว์
และเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิด
ตัวชีว้ ัด ป.3/4 ตระหนักถึงคุณค่าของชีวต
ิ สัตว์ โดยไม่ทำให้วฏ
ั จักรชีวต

ของสัตว์เปลีย
่ นแปลง
2. สาระสำคัญ
มนุษย์จะดำรงชีวิตอยู่ได้นน
ั ้ ต้องอาศัยปั จจัยในการดำรงชีวิต
เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ สิ่งที่จำเป็ นในการดำรงชีวิตของ
มนุษย์มี 3 ประการ ได้แก่ อาหาร น้ำ และอากาศ ถ้ามนุษย์ขาดสิ่ง
ใดสิ่งหนึ่งไปอาจทำให้ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างยากลำบาก และอาจตาย
ได้ในที่สุด
สัตว์เป็ นสิ่งมีชีวิตที่สามารถเจริญเติบโต สืบพันธุ์ และออกลูก
ออกหลานได้ เพื่อดำรงเผ่าพันธุ์ให้อยู่ต่อไป เมื่อลูกสัตว์ออกมาหรือ
ฟั กออกจากไข่ จะเปลี่ยนแปลงและเจริญเติบโตจนเป็ นตัวเต็มวัย
แล้วสามารถสืบพันธุ์ออกลูกหลานได้ ซึง่ จะเกิดการหมุนเวียนแบบนี ้
ไปเรื่อย ๆ เรียกว่า วัฏจักรชีวิตของสัตว์
3. สาระความรู้
ความรู้
1) บรรยายสิ่งที่จำเป็ นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของ
มนุษย์ได้
2) ระบุสงิ่ ที่จำเป็ นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของ
สัตว์ได้
3) อธิบายวัฏจักรชีวิตของสัตว์ได้
4) เปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิดได้
5) ตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์ โดยไม่ทำให้วัฏจักรชีวิตของ
สัตว์เปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ/กระบวนการ
1) ทดลอง
2) สำรวจ
3) สืบค้นข้อมูล
4) กระบวนการกลุ่ม
5) การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
คุณลักษณะ
1) ใฝ่ หาความรู้
2) มุ่งมั่นในการทำงาน
3) มีเหตุผล
4) ยอมรับฟั งความคิดเห็นของผู้อ่ น

5) มีความเมตตา ระมัดระวังต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
6) ทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้อย่างสร้างสรรค์
4. การประเมินผลรวบยอด
ชิน
้ งาน
แผนภาพวัฏจักรชีวิตของสัตว์
การประเมินผล
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน
ประเด็น 2 1 0
การ
ประเมิน
1. ผล ผลงานสอดคล้อง ผลงาน ผลงานไม่
งานตรง กับจุดประสงค์ทุก สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ
กับจุด ประเด็น จุดประสงค์เป็ น จุดประสงค์
ประสงค์ ส่วนใหญ่
2. ผล เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ
งานมี ผลงานถูกต้องครบ ของผลงานถูก ของผลงานไม่
ความถูก ถ้วน ต้องเป็ นส่วน ถูกต้องเป็ น
ต้อง ใหญ่ ส่วนใหญ่
สมบูรณ์
3. ผล ผลงานแสดงออก ผลงานมีแนว ผลงานไม่แสดง
งานมี ถึงความคิด ความคิดแปลก แนวคิดใหม่
ความคิด สร้างสรรค์แปลก ใหม่แต่ยังไม่
สร้างสรร ใหม่เป็ นระบบ เป็ นระบบ
ค์
4. ผล ผลงานมีความเป็ น ผลงานมีความ ผลงานส่วน
งานมี ระเบียบ ประณีต เป็ นระเบียบ ใหญ่ไม่เป็ น
ความ สวยงาม แต่มีข้อ ระเบียบมีข้อ
เป็ น บกพร่องบาง บกพร่องมาก
ระเบียบ ส่วน
5. ความ ส่งงานตามกำหนด ส่งงานช้ากว่า ส่งงานช้ากว่า
รับผิด เวลา กำหนด เวลา กำหนดเวลา
ชอบ 1-3 วัน เกิน 3 วัน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8 - 10 ดีมาก
5-7 ดี
1-4 พอใช้

5. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมที่ 1 ความสำคัญของสิง่ ที่จำเป็ นต่อการดำรงชีวิตของ
มนุษย์ (2 ชั่วโมง)
1.ครูตงั ้ คำถาม เพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียน ดังนี ้
-วันนีน
้ ักเรียนคนไหนรับประทานอาหารเช้ามาบ้าง
(แนวตอบ คำตอบขึน
้ อยู่กับนักเรียน)
-ในแต่ละวันนักเรียนรับประทานอะไรบ้าง แล้วอาหารที่รับ
ประทานมีประโยชน์ต่อร่างกายหรือไม่
(แนวตอบ ขึน
้ อยู่กับสิง่ ที่นักเรียนรับประทาน)
-ทำไมเราต้องรับประทานอาหารทุกวัน ให้นักเรียนคิดคำตอบ
ไว้ในใจ แล้วครูพูดกระตุ้นนักเรียนว่า เราจะไปเรียนรู้เพื่อหา
คำตอบกัน
2.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน สำรวจอาหารที่นักเรียนรับ
ประทานในแต่ละมื้อ โดยให้สมาชิกในกลุ่มเสนอเมนูอาหารมาคนละ
1 เมนู
3.ให้แต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ ในหนังสือ
เรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 28-30 และภาพ
อาหารหลัก 5 หมู่
4. นักเรียนในกลุ่มเลือกอาหารที่ตนเองชื่นชอบ กลุ่มละ 2 เมนู
แล้วบอกส่วนประกอบของอาหาร และประโยชน์ของอาหาร โดยจัด
กระทำข้อมูลลงในกระดาษแข็งและตกแต่งให้สวยงาม
5. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้จากการเรียนจนได้ข้อสรุป
ว่า ร่างกายของเราเจริญเติบโตได้ เพราะเราได้รับประทานอาหาร
ทุกวัน ดื่มน้ำที่สะอาด และมีอากาศหายใจ ถ้าขาดสิง่ ใดสิ่งหนึ่งไป
จะทำให้เราดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างลำบากและอาจจะทำให้ตายได้

กิจกรรมที่ 2 ปั จจัยที่จำเป็ นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ (2 ชั่วโมง)


1.ครูตงั ้ คำถามเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน นักเรียนคิดว่า ทำไมมนุษย์
และสัตว์ต้องกินอาหาร แล้วให้ช่วยกันแสดงความคิดเห็น
(แนวตอบ มนุษย์และสัตว์ต้องกินอาหารเพื่อให้ร่างกายเจริญ
เติบโตและดำรงชีวิตอยู่ได้)
2.นักเรียนดูภาพบทที่ 1 ปั จจัยในการดำรงชีวิตของมนุษย์และ
สัตว์ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1
หน้า 23 แล้วช่วยกันตอบคำถาม ดังนี ้
- สิ่งใดในภาพมีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์บ้าง
(แนวตอบ อาหาร)
- สัตว์ต้องการอาหารในการดำรงชีวิตเหมือนมนุษย์หรือไม่
อย่างไร
(แนวตอบ สัตว์ต้องการอาหารในการดำรงชีวิตเหมือนมนุษย์
เพราะสัตว์ต้องการอาหารเพื่อการเจริญเติบโตและการ
ดำรงชีวิต)
3.นักเรียนศึกษาการทำกิจกรรมที่ 1 การดำรงชีวิตของมนุษย์
ตอนที่ 1 ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม
1 หน้า 26 ดังนี ้
1)กระดาษแข็ง 1 แผ่น
2)เครื่องวัดส่วนสูง 1 เครื่อง
3)เครื่องชั่งน้ำหนัก 1 เครื่อง
4)แหล่งข้อมูล เช่น หนังสือเรียน อินเทอร์เน็ต
5)ข้อมูลน้ำหนักและส่วนสูงจากสมุดรายงานสุขภาพประจำปี
4.นักเรียนแต่ละคนชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของตนเอง พร้อมกับ
บันทึกผลลงในสมุดประจำตัวนักเรียน หรือแบบฝึ กหัด
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 16
5.นักเรียนเขียนข้อมูลน้ำหนักและส่วนสูงของปี ที่ผ่านมาของ
ตนเอง
6.นักเรียนเปรียบเทียบค่าน้ำหนักและส่วนสูงของนักเรียนที่
เปลี่ยนแปลงไปจากปี ที่แล้ว
7.ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า ในการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของ
มนุษย์ เราต้องการปั จจัยต่าง ๆ ในการดำรงชีวิต และทำให้เรา
เจริญเติบโตขึน
้ มี 3 ประการ คือ อาหาร น้ำ และอากาศ ถ้า
เราขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไป จะทำให้เราดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างยาก
ลำบาก
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้การสังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม)

กิจกรรมที่ 3 ปั จจัยที่จำเป็ นต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ (4 ชั่วโมง)


1.ครูนำภาพสัตว์แต่ละชนิดมาให้นักเรียนดู แล้วช่วยกันบอกว่า
อาหารที่สัตว์แต่ละชนิดกินคืออะไร และสัตว์ชนิดใดบ้างที่กิน
อาหารเหมือนกัน
2.สัตว์ต่าง ๆ ต้องการปั จจัยในการดำรงชีวิตเหมือนกับมนุษย์
หรือไม่ ครูให้นักเรียนคิดหาคำตอบไว้ในใจ แล้วครูพูดกระตุ้น
นักเรียนว่า เราจะได้ศก
ึ ษาจากกิจกรรมต่อไปนี ้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้การสังเกตพฤติกรรม
การทำงานรายบุคคล)
3.นักเรียนแต่ละกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของน้ำ
อาหาร และอากาศ ที่มีผลต่อการดำรงชีวิตและการเจริญ
เติบโตของสัตว์ บันทึกข้อมูลลงในสมุดประจำตัวนักเรียนหรือ
แบบฝึ กหัดวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 21
4.นักเรียนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับปั จจัยที่จำเป็ นต่อการดำรงชีวิต
ของสัตว์ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1
หน้า 37-38
5.ครูนำภาพสัตว์ชนิดต่าง ๆ 5-6 ชนิด ติดบนกระดาน แล้วให้
นักเรียนช่วยกันบอกว่า อาหารที่สัตว์แต่ละชนิดกินคืออะไร และ
สัตว์ชนิดใดบ้างที่กินอาหารเหมือนกัน และให้นก
ั เรียนร่วมกัน
กำหนดปั ญหาเรื่องอาหารของสัตว์
6.ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับอาหารที่สัตว์แต่ละชนิดกิน ครู
ตัง้ คำถามนักเรียนว่า ทำไมสัตว์แต่ละชนิดถึงมีชีวิตอยู่ได้
(แนวคำตอบ กินอาหาร กินน้ำ และหายใจ)
7.ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า สัตว์เป็ นสิ่งมีชีวิตที่ต้องการอาหาร น้ำ
และอากาศ  เพื่อใช้ในการดำรงชีวิต
- อาหาร สัตว์ต่าง ๆ ต้องกินอาหารเพื่อให้ร่างกายเจริญ
เติบโตและดำรงชีวิตอยู่ได้ สัตว์แต่ละชนิดจะกินอาหารแตก
ต่างกัน สัตว์บางชนิดกินพืชเป็ นอาหาร สัตว์บางชนิดกิน
สัตว์ด้วยกันเองเป็ นอาหาร และสัตว์บางชนิดกินทัง้ พืชและ
สัตว์เป็ นอาหาร ถ้าสัตว์ต่าง ๆ ไม่ได้กินอาหารเป็ นเวลานาน
ๆ ก็จะตายในที่สุด
- น้ำ สัตว์ทุกชนิดต้องการน้ำในการดำรงชีวิต สัตว์ต้องกินน้ำ
เพื่อให้ร่างกายทำงานได้ตามปกติ เพราะน้ำเป็ นส่วน
ประกอบของร่างกาย ถ้าขาดน้ำเป็ นเวลานาน ๆ สัตว์ก็จะ
ตาย
- อากาศ สัตว์ทุกชนิดต้องการอากาศหายใจ เพื่อให้ดำรงชีวิต
อยู่ได้ เพราะแก๊สออกซิเจนที่มีอยู่ในอากาศมีความจำเป็ น
ต่อร่างกายของสัตว์ สัตว์ที่อยู่บนบกจะหายใจโดยใช้อากาศ
ที่อยู่รอบตัว ส่วนสัตว์ที่อยู่ในน้ำจะหายใจโดยใช้แก๊ส
ออกซิเจนที่มีอยู่ในน้ำ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้การสังเกตพฤติกรรม
การทำงานรายบุคคล)

กิจกรรมที่ 4 การเรียนรู้วัฏจักรชีวิตของสัตว์ (6 ชั่วโมง)


1.ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนา เกี่ยวกับการเจริญเติบโตของ
สัตว์ โดยครูตงั ้ คำถามนักเรียนต่อ
ไปนี ้
- วัฏจักรชีวิตของสัตว์คืออะไร
(แนวตอบ สัตว์บางชนิดเมื่อมีการผสมพันธุ์จะเจริญเติบโต
เป็ นตัวอ่อน จากนัน
้ ตัวอ่อนจะเจริญเติบโตไปเป็ น
ตัวเต็มวัย จนกระทั่งสืบพันธุ์ได้ หมุนเวียนต่อเนื่อง
เป็ นวัฏจักรแบบนีไ้ ปเรื่อย ๆ)
- นักเรียนดูภาพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ป.3 เล่ม 1 หน้า 44 แล้วตอบคำถามว่าสัตว์ในภาพมีวัฏจักร
ชีวิตหรือไม่ อย่างไร
(แนวตอบ สัตว์ในภาพ คือ ผีเสื้อ มีวัฏจักรชีวิต คือ ออกลูก
เป็ นไข่ แล้วฟั กออกจากไข่เป็ นตัวอ่อน จากนัน
้ เป็ น
ดักแด้ และเจริญเติบโตเต็มที่ พร้อมที่จะสืบพันธ์
และขยายพันธุ์ได้)
2.นักเรียนจับสลากที่ครูเตรียมไว้คนละ 1 ใบ ซึ่งมีช่ อ
ื ของสัตว์
ชนิดต่าง ๆ เขียนไว้ เช่น ไก่ ม้า วัว ผึง้ ปลา จากนัน
้ ให้นักเรียนที่ได้
สัตว์ชนิดเดียวกันเข้ากลุ่มเดียวกัน
3.นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการทำกิจกรรมที่ 1 วัฏจักชีวิตของ
สัตว์ ตอนที่ 1 โดยนักเรียนเตรียมอุปกรณ์ที่นักเรียนแต่ละกลุ่ม
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของสัตว์และการดูแลรักษาเกี่ยวกับ
วัฏจักรชีวิตของสัตว์ที่นักเรียนจับสลากได้ จากแหล่งความรู้ เช่น
อินเทอร์เน็ต ห้องสมุด ใช้ในการทำกิจกรรม
4.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน แล้วให้แต่ละกลุ่มสืบค้น
วัฏจักรชีวิตของสัตว์จากแหล่งความรู้ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต
ซึ่งจะต้องไม่ซ้ำกับที่เรียนมาแล้ว โดยมีหัวข้อ ดังนี ้
- วัฏจักรชีวิตของสัตว์ที่ออกลูกเป็ นไข่ที่มี 3 ระยะ มา 1 ชนิด
- วัฏจักรชีวิตของสัตว์ที่ออกลูกเป็ นไข่ที่มี 4 ระยะ มา 1 ชนิด
- วัฏจักรชีวิตของสัตว์ที่ออกลูกเป็ นตัวมา 1 ชนิด
5. จากนัน
้ ครูให้นักเรียนเลือกวัฏจักรชีวิตของสัตว์ที่นักเรียนได้
สืบค้นได้มากลุ่มละ 1 ชนิด
6. นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนและจัดทำสมุดนิทาน เรื่อง วัฏจักร
ชีวิตของสัตว์ พร้อมตกแต่งรูปเล่มและวาดภาพประกอบให้
สวยงาม และเนื้อหาของนิทานให้น่าสนใจ
7. แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานโดยการเล่านิทาน วัฏจักร
ชีวิตของสัตว์ ของกลุ่มของนักเรียนให้เพื่อน ๆ ฟั ง
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน
2) แบบทดสอบก่อนเรียน
3)บัตรภาพอาหารต่าง ๆ
4)บัตรภาพโรงงานอุตสาหกรรม
5)ภาพการแยกส่วนประกอบของอาหาร
6)ใบงาน
7)อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง วัสดุในชีวิตประจำวัน
รหัสวิชา ว 13101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
เวลา 10 ชั่วโมง
….
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร
ความสัม พัน ธ์ร ะหว่า งสมบัต ิข องสสารกับ โครงสร้า งและแรงยึด
เหนี่ย วระหว่า งอนุภ าค หลัก และธรรมชาติข องการเปลี่ย นแปลง
สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวชีว้ ัด ป.3/1 อธิบายว่าวัตถุประกอบขึน
้ จากชิน
้ ส่วนย่อยๆ ซึ่ง
สามารถแยกออกจากกันได้และประกอบกันเป็ นวัตถุชน
ิ ้ ใหม่ได้ โดย
ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ตัวชีว้ ัด ป.3/2 อธิบายการเปลี่ยนแปลงของวัส ดุเ มื่อ ทำให้ร้อ น
ขึน
้ หรือทำให้เย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
2. สาระสำคัญ
วัต ถุร อบตัว เราบางอย่า งอาจทำมาจากวัส ดุช น
ิ ้ เดีย ว แต่บ าง
อย่างอาจทำมาจากวัสดุหลายชนิดประกอบกัน หากนำวัตถุมาแยก
ชิน
้ ส่วนย่อยที่เ ป็ นวัสดุชนิดต่างๆ ออกจากกัน จะสามารถนำวัส ดุ
เหล่านัน
้ มาประกอบเข้าด้วยกัน เพื่อสร้างเป็ นวัตถุชน
ิ ้ ใหม่ได้
เมื่อให้ความร้อนกับวัตถุบางอย่าง วัตถุจะเกิดการเปลี่ยนแปลง
เช่น ถ้าทำให้เนยร้อนขึน
้ เนยจะเปลี่ยนรูปร่างกลายเป็ นของเหลว
หรือถ้าทำให้น้ำเย็นลงมากๆ น้ำจะเปลี่ยนรูปร่างกลายเป็ นของแข็ง
3. สาระความรู้
ความรู้
วัตถุอาจทำจากชิน
้ ส่วนย่อย ๆ ซึ่งแต่ละชิน
้ มีลก
ั ษณะเหมือน
กันมาประกอบเข้าด้วยกัน เมื่อแยกชิน
้ ส่วนย่อยๆ แต่ละชิน
้ ของ
วัตถุออกจากกัน สามารถนำชิน
้ ส่วนเหล่านัน
้ มาประกอบเป็ น
วัตถุชน
ิ ้ ใหม่ได้ เช่น กำแพงบ้านมีก้อนอิฐหลายๆ ก้อนประกอบ
เข้าด้วยกัน และสามารถนำก้อนอิฐจากกำแพงบ้านมาประกอบ
เป็ นพื้นทางเดินได้
เมื่อให้ความร้อนหรือทำให้วัสดุร้อนขึน
้ และเมื่อลดความร้อน
หรือทำให้วัสดุเย็นลง วัสดุจะเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ เช่น สี
เปลี่ยน รูปร่างเปลี่ยน
ทักษะ/กระบวนการ
1) ทดลอง
2) สำรวจ
3) สืบค้นข้อมูล
4) กระบวนการกลุ่ม
5) การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
คุณลักษณะ
1) ใฝ่ หาความรู้
2) มุ่งมั่นในการทำงาน
3) มีเหตุผล
4) ยอมรับฟั งความคิดเห็นของผู้อ่ น

5) มีความเมตตา ระมัดระวังต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
6) ทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้อย่างสร้างสรรค์

4. การประเมินผลรวบยอด
ชิน
้ งาน
ประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุ

การประเมินผล
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน
ประเด็น 1 0.5 0
การ
ประเมิน
1. ผล ผลงานสอดคล้อง ผลงาน ผลงานไม่
งานตรง กับจุดประสงค์ทุก สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ
กับจุด ประเด็น จุดประสงค์เป็ น จุดประสงค์
ประสงค์ ส่วนใหญ่
2. ผล เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ
งานมี ผลงานถูกต้องครบ ของผลงานถูก ของผลงานไม่
ความถูก ถ้วน ต้องเป็ นส่วน ถูกต้องเป็ น
ต้อง ใหญ่ ส่วนใหญ่
สมบูรณ์
3. ผล ผลงานแสดงออก ผลงานมีแนว ผลงานไม่แสดง
งานมี ถึงความคิด ความคิดแปลก แนวคิดใหม่
ความคิด สร้างสรรค์แปลก ใหม่แต่ยังไม่
สร้างสรร ใหม่เป็ นระบบ เป็ นระบบ
ค์
4. ผล ผลงานมีความเป็ น ผลงานมีความ ผลงานส่วน
งานมี ระเบียบ ประณีต เป็ นระเบียบ ใหญ่ไม่เป็ น
ความ สวยงาม แต่มีข้อ ระเบียบมีข้อ
เป็ น บกพร่องบาง บกพร่องมาก
ระเบียบ ส่วน
5. ความ ส่งงานตามกำหนด ส่งงานช้ากว่า ส่งงานช้ากว่า
รับผิด เวลา กำหนด เวลา กำหนดเวลา
ชอบ 1-3 วัน เกิน 3 วัน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4-5 ดีมาก
2-3 ดี
0-1 พอใช้

5. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้วัสดุในชีวิตประจำวัน (10 ชั่วโมง)
กิจกรรมที่ 1 การประกอบวัตถุชน
ิ ้ ใหม่จากชิน
้ ส่วนย่อย (3
ชั่วโมง)
1. นักเรียนดูภาพบทที่ 1 การประกอบวัตถุและการ
เปลี่ยนแปลงของวัสดุ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 59 แล้วช่วยกันตอบคำถาม ดังนี ้
- กำแพงบ้านทำจากวัสดุชนิดใด นักเรียนช่วยกันแสดงความ
คิดเห็น
(แนวตอบ อิฐ)
- ถ้าเราแยกอิฐออกจากกำแพงบ้าน เราสามารถนำอิฐไปใช้
ประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง
(แนวตอบ ทำรัว้ ทำกระถางต้นไม้ )
2.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน หรือใช้กลุ่มจากชั่วโมงที่แล้ว
จากนัน
้ ร่วมกันทำกิจกรรมที่ 1 การประกอบวัตถุ ตอนที่ 2 โดย
ศึกษาขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 63
3.นักเรียนสำรวจสิ่งของรอบตัวหรือสิ่งของภายในชัน
้ เรียนมา 3
ชิน
้ โดยให้สังเกตว่า สิง่ ของชิน
้ นัน
้ ประกอบจากชิน
้ ส่วนย่อยอะไร
บ้าง แล้วบันทึกผลลงในสมุดประจำตัวนักเรียนหรือแบบฝึ กหัด
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 41
4.นักเรียนร่วมกันวางแผน ออกแบบ และสร้างวัตถุชน
ิ ้ ใหม่ขน
ึ ้ มา
1 ชิน
้ โดยเลือกใช้ชน
ิ ้ ส่วนย่อยจากสิ่งของ 3 ชิน
้ นัน
้ มาประกอบกัน
แล้วบันทึกผลลงในสมุดประจำตัวนักเรียนหรือแบบฝึ กหัด
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 42
5.นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 4 กลุ่ม จากนัน
้ ครูแจกจิกซอว์ภาพ
วัตถุให้แต่ละกลุ่มช่วยกันต่อภาพจิกซอว์ให้เป็ นภาพที่สมบูรณ์
6.ครูตงั ้ ประเด็นคำถามนักเรียน ดังนี ้
- ภาพที่ได้ช่ อ
ื ว่าอะไร
- จากภาพเป็ นของเล่นหรือของใช้
- สิ่งของนัน
้ ทำมาจากอะไรบ้าง
นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้จากการเรียนได้ข้อสรุปว่า
วัตถุแต่ละอย่างอาจทำมาจากชิน
้ ส่วนย่อย ๆ หลายชิน

กิจกรรมที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ (3 ชั่วโมง)


1. ครูให้นักเรียนดูรูปคนถือไอศกรีมกลางแสงแดด จากนัน

ตัง้ คำถามเกี่ยวกับประสบการณ์เดิมของนักเรียนว่า เมื่อเวลา
ผ่านไปไอศกรีมจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
(แนวตอบ ไอศกรีมละลาย)
นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน แล้วให้ทำกิจกรรมที่ 2
ช็อกโกแลตแปลงร่าง
2.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตัง้ สมมติฐานว่า ถ้าทำให้ช็อกโกแลต
ร้อนขึน
้ และทำให้เย็นลง ช็อกโกแลตจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่
แล้วบันทึกผลลงในสมุดประจำตัวนักเรียนหรือแบบฝึ กหัด
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 45
3.นักเรียนนำเสนอผลการทดลองหน้าชัน
้ เรียน เพื่อเปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทำให้วัสดุร้อนขึน
้ หรือทำให้วัสดุเย็นลง
4.นักเรียนทำกิจกรรมหนูตอบได้ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 68 ลงในสมุดประจำตัวนักเรียน
หรือแบบฝึ กหัดวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 46-47
โดยมีคำถาม ดังนี ้
- ถ้าต้องการใช้ประโยชน์จากน้ำ นักเรียนจะเลือกวิธีให้ความ
ร้อนแก่น้ำหรือทำให้น้ำเย็นลง เพราะอะไร
(แนวตอบ ให้ความร้อนแก่น้ำ เพราะต้องการทำให้น้ำร้อน
โดยการนำน้ำไปต้ม เพื่อชงเครื่องดื่มร้อน และทำให้
น้ำเย็นลง เพราะต้องการทำน้ำแข็ง โดยต้องเทน้ำใส่
แม่พิมพ์ แล้วนำไปแช่ในช่องแช่แข็งของตู้เย็น เพื่อ
ชงเครื่องดื่มเย็น)
5.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน จากนัน
้ แจกน้ำแข็งให้
นักเรียนกลุ่มละ 3 ก้อน ใส่ลงไปในถุงพลาสติกใบละ 1 ก้อน 3 ใบ
แล้วรัดปากถุง
6.นักเรียนตัง้ สมมติฐานว่า อุณหภูมิสูงน่าจะทำให้น้ำแข็ง
หลอมเหลวได้เร็วขึน

7.ครูอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติมในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 69-70 เมื่อเราให้ความร้อนแก่วัสดุหรือ
ทำให้วัสดุเย็นลง วัสดุต่าง ๆ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ เช่น สี
เปลี่ยน รูปร่างเปลี่ยน
- การให้ความร้อนแก่วัสดุ คือ การเพิ่มอุณหภูมิหรือการทำให้
วัสดุร้อนขึน
้ สามารถทำได้หลายวิธี เช่น การเผาด้วยไฟ การ
แช่น้ำร้อน การอบด้วยความร้อน การนำไปตากแดด เช่น
การเผากระดาษ ทำให้กระดาษมีสีและรูปร่างเปลี่ยนไป
การทำให้วัสดุเย็นลง คือ การลดอุณหภูมิหรือทำให้วัสดุเย็นลง
สามารถทำได้หลายวิธี เช่น การทิง้ ไว้ในอุณหภูมิห้องปกติโดย
ไม่ได้รับความร้อนเพิ่ม การแช่ในถังน้ำแข็งหรือตู้เย็น การแช่
แข็งในช่อง แช่แข็งของตู้เย็น เช่น การแช่น้ำไว้ในช่องแช่แข็ง
ของตู้เย็น ทำให้น้ำมีอุณหภูมิต่ำจนกลายเป็ นน้ำแข็ง
กิจกรรมที่ 3 การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ 2 (4 ชั่วโมง)
1. ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนโดยให้ดูรูปน้ำแข็ง จากนัน
้ ตัง้
คำถามว่า เมื่อตัง้ น้ำแข็งทิง้ ไว้จะเกิดการเปลี่ยนแปลง
ลักษณะใด
(แนวตอบ น้ำแข็งละลายกลายเป็ นน้ำ)
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการ
ใช้ประโยชน์จากการทำให้วัสดุ
ร้อนขึน
้ หรือทำให้วัสดุเย็นลง โดยปฏิบัติกิจกรรม ดังนี ้
3. ครูให้แต่ละกลุ่มจับสลากเลือกหัวข้อการใช้ประโยชน์จากการ
ทำให้วัสดุร้อนขึน
้ หรือทำให้
วัสดุเย็นลง เป็ นหันักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและหาข้อ
สรุปจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวคำถามต่อไปนี ้
- การทำให้วัสดุเปลี่ยนสถานะโดยการเพิ่มหรือลดอุณหภูมิมี
ประโยชน์ต่อเราในเรื่องใด
(แนวตอบ ทำให้เราสามารถเปลี่ยนแปลงรูปทรงของวัสดุต่าง ๆ
ได้ตามต้องการ)
- ยกตัวอย่างวัสดุต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันที่มีการเปลี่ยนแปลง
เมื่อมีการเพิ่มหรือลดอุณหภูมิ
4. ให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อน สำรวจสิ่งของในชีวิตประจำวันที่
ประกอบขึน
้ จากชิน
้ ส่วนย่อยมา 1 ชิน

5. นำสิ่งของที่นักเรียนเลือกมาแยกชิน
้ ส่วน แล้วนำชิน
้ ส่วนย่อย
ไปประกอบเป็ นวัตถุชน
ิ ้ ใหม่
6. นักเรียนนำเสนอผลงานหน้าชัน
้ เรียน ตามหัวข้อดังนี ้
1)ระบุชน
ิ ้ ส่วนย่อยจากสิ่งของที่เลือกมา
2)บรรยายวิธีการนำชิน
้ ส่วนเหล่านัน
้ มาประกอบกันเป็ นวัตถุ
ชิน
้ ใหม่
3)บอกการนำวัตถุชน
ิ ้ ใหม่ไปใช้ประโยชน์วัสดุต่าง ๆ
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน
2) แบบทดสอบ
3) บัตรภาพและบัตรคำ
4) อินเตอร์เน็ต

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง แรงและการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่


ของวัสดุ
รหัสวิชา ว 13101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
เวลา 14 ชั่วโมง
….
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผล
ของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่ แบบต่าง ๆ ของวัตถุ
รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชีว้ ัด ป.3/1 ระบุผลของแรงที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์
ตัวชีว้ ัด ป.3/2 เปรียบเทียบและยกตัวอย่างแรงสัมผัสและแรงไม่
สัมผัสที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ตัวชีว้ ัด ป.3/3 จำแนกวัตถุโดยใช้การดึงดูดกับแม่เหล็กเป็ น
เกณฑ์จากหลักฐานเชิงประจักษ์
ตัวชีว้ ัด ป.3/4 ระบุขว้ั แม่เหล็กและพยากรณ์ผลทีเ่ กิดขึนระหว่
้ างขัว้ แม่
เหล็ก เมื่อนำมาเข้าใกล้กันจากหลักฐานเชิงประจักษ์
2. สาระสำคัญ
วัตถุที่หยุดนิ่งจะเคลื่อนที่ และวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่จะเคลื่อนที่
เร็วขึน
้ หรือช้าลงหรือเปลี่ยนทิศทาง การเคลื่อนที่ล้วนเป็ นผลมาจาก
แรงกระทำต่อวัตถุ ซึ่งแรงที่มากระทำต่อวัตถุอาจเป็ นแรงที่สัมผัส
กับวัตถุหรือแรงที่ไม่สัมผัสกับวัตถุ
แม่เหล็กมีแรงดึงดูดหรือแรงผลักระหว่างแท่งแม่เหล็กด้วยกัน
แท่งแม่เหล็กมีสนามแม่เหล็กทำให้ดึงดูดวัตถุที่เป็ นสารแม่เหล็กได้
จึงมีการนำแม่เหล็กมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น ทำของเล่น
ของใช้ นำไปใช้แยกสารแม่เหล็กออกจากวัตถุอ่ น

3. สาระความรู้
ความรู้
1) การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ ได้แก่ วัตถุที่อยู่นิ่ง
เปลี่ยนเป็ นเคลื่อนที่ วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่เปลี่ยนเป็ นเคลื่อนที่
เร็วขึน
้ หรือช้าลงหรือหยุดนิ่งหรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่
2) การดึงหรือการผลักเป็ นการออกแรงที่เกิดจากวัตถุหนึ่ง
กระทำกับอีกวัตถุหนึ่ง โดยวัตถุทงั ้ สองอาจสัมผัสหรือไม่ต้อง
สัมผัสกัน เช่น การออกแรงโดยใช้มือดึงหรือผลักโต๊ะให้
เคลื่อนที่เป็ นการออกแรงที่วัตถุต้องสัมผัสกัน แรงนีจ
้ ึงเป็ น
แรงสัมผัส ส่วนการที่แม่เหล็กดึงดูดหรือผลักระหว่างแม่เหล็ก
เป็ นแรงที่เกิดขึน
้ โดยแม่เหล็กไม่จำเป็ นต้องสัมผัสกัน แรงแม่
เหล็กนีจ
้ ึงเป็ นแรงไม่สัมผัส
3) แรงแม่เหล็กเป็ นแรงที่เกิดขึน
้ ระหว่างแม่เหล็กกับสารแม่
เหล็ก หรือแม่เหล็กกับแม่เหล็ก แม่เหล็ก มี 2 ขัว้ คือ ขัว้
เหนือและขัว้ ใต้ ขัว้ แม่เหล็กชนิดเดียวกันจะผลักกัน ต่างชนิด
กันจะดึงดูดกัน
ทักษะ/กระบวนการ
1) ทดลอง
2) สำรวจ
3) สืบค้นข้อมูล
4) กระบวนการกลุ่ม
5) การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
คุณลักษณะ
1) ใฝ่ หาความรู้
2) มุ่งมั่นในการทำงาน
3) มีเหตุผล
4) ยอมรับฟั งความคิดเห็นของผู้อ่ น

5) มีความเมตตา ระมัดระวังต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
6) ทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้อย่างสร้างสรรค์
4. การประเมินผลรวบยอด
ชิน
้ งาน
วาดภาพแรงที่เกิดขึน
้ ระหว่างแม่เหล็ก
การประเมินผล
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน
ประเด็น 2 1 0
การ
ประเมิน
1. ผล ผลงานสอดคล้อง ผลงาน ผลงานไม่
งานตรง กับจุดประสงค์ทุก สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ
กับจุด ประเด็น จุดประสงค์เป็ น จุดประสงค์
ประสงค์ ส่วนใหญ่
2. ผล เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ
งานมี ผลงานถูกต้องครบ ของผลงานถูก ของผลงานไม่
ความถูก ถ้วน ต้องเป็ นส่วน ถูกต้องเป็ น
ต้อง ใหญ่ ส่วนใหญ่
สมบูรณ์
3. ผล ผลงานแสดงออก ผลงานมีแนว ผลงานไม่แสดง
งานมี ถึงความคิด ความคิดแปลก แนวคิดใหม่
ความคิด สร้างสรรค์แปลก ใหม่แต่ยังไม่
สร้างสรร ใหม่เป็ นระบบ เป็ นระบบ
ค์
4. ผล ผลงานมีความเป็ น ผลงานมีความ ผลงานส่วน
งานมี ระเบียบ ประณีต เป็ นระเบียบ ใหญ่ไม่เป็ น
ความ สวยงาม แต่มีข้อ ระเบียบมีข้อ
เป็ น บกพร่องบาง บกพร่องมาก
ระเบียบ ส่วน
5. ความ ส่งงานตามกำหนด ส่งงานช้ากว่า ส่งงานช้ากว่า
รับผิด เวลา กำหนด เวลา กำหนดเวลา
ชอบ 1-3 วัน เกิน 3 วัน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8 - 10 ดีมาก
5-7 ดี
1-4 พอใช้

5. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ (2
ชั่วโมง)
1.นักเรียนดูภาพ แล้วตอบคำถามสำคัญประจำบทที่ 1
แรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 77
- จากภาพ มีการออกแรงกระทำต่อวัตถุอย่างไร
- การออกแรงในภาพมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุหรือไม่
อย่างไร
2.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน จากนัน
้ ครูให้นักเรียน
แต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมที่ 1 ช่วยกันดึง ช่วยกันผลัก คือ
1)ดันโต๊ะเรียน
2)ดึงโต๊ะ
3.นักเรียนสังเกตลักษณะการออกแรงและการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ว่ามีทิศทางการเคลื่อนที่เป็ นอย่างไร
4.นักเรียนจับคู่ แล้วยืนห่างกันประมาณ 2-3 เมตร โดยยืนหัน
หน้าเข้าหากัน
5.นักเรียนคนักเรียนและครูร่วมกันสรุปได้ข้อสรุปว่า แรง
หมายถึง สิง่ ที่กระทำต่อวัตถุ แล้วทำให้วัตถุเปลี่ยนแปลงสภาพไป
- การดึง เป็ นการออกแรงกระทำต่อสิ่งใดสิ่งหนึง่ แล้วทำให้สิ่ง
นัน
้ เคลื่อนที่เข้าหาตัว
- การผลัก เป็ นการออกแรงกระทำต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง แล้วทำให้
สิ่งนัน
้ เคลื่อนที่ออกจากตัวเรา
กิจกรรมที่ 2 ผลของแรงที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่
ของวัตถุ (2 ชั่วโมง)
1.นักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำ
ตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไป
สู่การเรียนรู้ เรื่อง แรงและผลของการออกแรงที่กระทำต่อ
วัตถุ
2.ครูตงั ้ คำถามเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ดังนี ้
- รถยนต์เคลื่อนที่ได้อย่างไร
(แนวตอบ แรงขับเคลื่อนจากเครื่องยนต์)
3.นักเรียนจับคู่กับเพื่อน แล้วปฏิบัติกิจกรรมที่ 2 การเคลื่อนที่
ของวัตถุ ดังนี ้
1)วางลูกฟุตบอลไว้บนพื้น โดยไม่ออกแรงกระทำต่อลูก
ฟุตบอล
2)วางลูกฟุตบอลไว้บนพื้น ใช้มือผลักลูกฟุตบอลไปข้างหน้า
3)ขณะที่ลก
ู บอลกำลังเคลื่อนที่ ให้ใช้มือออกแรงผลักลูกบอล
ไปในทิศทางเดียวกับที่ลูกบอลกำลังเคลื่อนที่
4)ขณะที่ลก
ู ฟุตบอลกำลังเคลื่อนที่ ให้ออกแรงผลักลูกฟุตบอล
ไปทางด้านขวา
5)ขณะที่ลก
ู ฟุตบอลกำลังเคลื่อนที่ ให้ใช้มือออกแรงผลักลูก
ฟุตบอลไปในทิศทางตรงกันข้ามกับที่ ลูกฟุตบอลเคลื่อนที่
4.นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของลูกฟุตบอล
พร้อมกับบันทึกผล
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้การสังเกตพฤติกรรม
การทำงานรายบุคคล)
5.ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนโดยให้ดูภาพคนกำลังเข็น
รถยนต์ แล้วตัง้ คำถามกับนักเรียนว่า
- การเคลื่อนที่ของวัตถุในภาพมีแรงมากระทำหรือไม่
- ถ้ามี แรงที่กระทำคือแรงอะไร มีทิศทางใด
6.นักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำ
ตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ เรื่อง ผลของแรงที่มี
ผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ
7.ครูอธิบายเพิ่มเติม เมื่อเราออกแรงกระทำต่อวัตถุนน
ั ้ จะส่งผล
ต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุในลักษณะต่าง ๆ
- วัตถุเคลื่อนที่ช้าลงหรือหยุดนิ่ง เช่น การหยุดลูกบอลที่กำลัง
เคลื่อนที่ด้วยเท้า
- วัตถุกำลังเคลื่อนที่อยู่แล้วเคลื่อนที่เร็วขึน
้ เช่น การปั่ น
จักรยานเพื่อเพิ่มความเร็ว
- วัตถุที่หยุดนิ่งเกิดการเคลื่อนที่ เช่น การตีลูกขนไก่ที่หยุดนิ่ง
ให้เคลื่อนที่
- วัตถุเคลื่อนที่อยู่แล้วเกิดการเปลี่ยนทิศทาง เช่น การเขี่ยส่ง
ลูกบอลเพื่อหลบคู่แข่งขัน
กิจกรรมที่ 3 แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัส (4 ชั่วโมง)
1. ทบทวนความรู้จากชั่วโมงที่แล้ว การดึงหรือการผลัก เป็ นการ
ออกแรงที่เกิดจากวัตถุหนึ่งกระทำกับอีกวัตถุหนึ่ง โดยวัตถุทงั ้ สอง
อาจสัมผัสกันหรือไม่สัมผัสกัน
2. แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัสต่างกันอย่างไร นักเรียนจะได้เรียนรู้
จากการทำกิจกรรมต่อไปนี ้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้การสังเกตพฤติกรรม
การทำงานรายบุคคล)
3. ครูให้นักเรียนแต่ละคนปฏิบัติกิจกรรม ดังนี ้
1)ออกแรงดันเก้าอี ้
2)ออกแรงดันโต๊ะ
3)เตะลูกบอล
4)ดันสมุดให้เคลื่อนที่
.สังเกตการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของสิง่ ต่าง ๆ
4. ครูตงั ้ คำถามนักเรียนว่า สิ่งของเคลื่อนที่ได้อย่างไร
(แนวตอบ ออกแรงกระทำต่อวัตถุ)
5. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ทดลองการตกของวัตถุ
ดังนี ้
- หาก้อนหินและถ่านมาอย่างละ 1 ก้อน
- มือขวากำก้อนหิน มือซ้ายกำถ่าน คว่ำมือลงแล้วเหยียด
แขนออกให้มือทัง้ สองอยู่ระดับเดียวกัน
6. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏิบัติ
กิจกรรม โดยใช้แนวคำถามต่อไปนี ้
-ผลสรุปของการทดลองนีค
้ ืออะไร
(แนวตอบ วัตถุที่มีน้ำหนักต่างกัน ถ้าปล่อยจากความสูงเท่า
กันจะตกถึงพื้นพร้อมกัน)
-ถ้าเปลี่ยนจากยางลบเป็ นแผ่นกระดาษจะได้ผลเหมือนเดิม
หรือไม่ เพราะเหตุใด
(แนวตอบ ไม่เหมือนเดิม เพราะแผ่นกระดาษไม่ตกลงตาม
แนวดิ่งเหมือนยางลบ)
7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดย
ให้ได้ข้อสรุป ดังนี ้
- แรงโน้มถ่วงมีทิศมุ่งลงในแนวตัง้ ฉากกับผิวโลกหรือพุ่งสู่
ใจกลางของโลก
- แรงโน้มถ่วงของโลกจะน้อยลงเมื่อห่างจากโลกออกไป ใน
อวกาศที่ไกลมาก ๆ จะไม่มีแรงโน้มถ่วง
ของโลก
8. ครูอธิบายแรงไม่สัมผัส คือ การออกแรงของวัตถุหนึ่ง
กระทำต่ออีกวัตถุหนึ่ง โดยวัตถุทงั ้ สองไม่มีการสัมผัสกัน เช่น
- แรงโน้มถ่วงของโลก เป็ นแรงที่ดึงดูดวัตถุต่าง ๆ บนโลกและ
วัตถุที่อยู่ใกล้โลก เช่น ดาวเทียม ดวงจันทร์ ให้เข้าสู่
ศูนย์กลางของโลก
- แรงแม่เหล็ก เป็ นแรงดึงดูดหรือแรงผลักที่เกิดขึน
้ ระหว่างแม่
เหล็กกับสารแม่เหล็ก หรือแม่เหล็กกับแม่เหล็กด้วยกัน เช่น
แท่งแม่เหล็กดึงดูดสารแม่เหล็ก
- แรงไฟฟ้ า เป็ นแรงที่กระทำต่อวัตถุที่มีประจุไฟฟ้ าด้วยกัน
เช่น ไฟฟ้ าสถิต
9. ครูให้นักเรียนดู Power Point เรื่อง แรงกับการเคลื่อนที่
ของวัตถุ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้การสังเกตพฤติกรรม
การทำงานรายบุคคล)

กิจกรรมที่ 4 แม่เหล็ก ( 4 ชั่วโมง)


1. นักเรียนดูภาพในหน้าบทที่ 2 แรงแม่เหล็ก ในหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 หน้า 93 แล้วช่วยกันตอบ
คำถาม ดังนี ้
- แม่เหล็กคืออะไร
- เหตุการณ์ในภาพเกิดขึน
้ ได้อย่างไร
2.นักเรียนร่วมกันคาดคะเนว่า เมื่อนำแท่งแม่เหล็กไปวางใกล้
วัตถุชนิดต่าง ๆ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
3.นักเรียนทำการทดลองพร้อมสังเกตว่า เมื่อนำวัตถุไปวางใกล้
กับวัตถุ แท่งแม่เหล็กดึงดูดวัตถุชนิดใด ได้บ้าง
4.นักเรียนทำกิจกรรมที่ 2 แรงระหว่างแม่เหล็ก ตอนที่ 3 ให้
นักเรียนร่วมกันพยากรณ์และบันทึกว่า เมื่อนำแท่งแม่เหล็ก
ทัง้ 2 แท่ง มาวางใกล้กันผลจะเป็ นอย่างไร
5.ทำการทดลองเพื่อตรวจสอบผลการพยากรณ์ โดยนำแท่งแม่
เหล็ก 2 แท่ง มาวางใกล้กัน ดังภาพ แล้วสังเกตการ
เปลี่ยนแปลงและบันทึกผลลงในสมุดประจำตัวนักเรียนหรือ
แบบฝึ กหัดวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1
6.ครูอธิบายเนื้อหาในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ป.3 เล่ม 1 หน้า 99-101 โดยติดภาพแม่เหล็กบนกระดาน
แล้วให้นักเรียนศึกษารูปร่างลักษณะที่แตกต่างกันของแม่
เหล็ก
7.ครูตงั ้ คำถามกระตุ้นนักเรียน ดังนี ้
-นักเรียนรู้จักวิธีการทำแม่เหล็กหรือไม่
-อุปกรณ์ใดบ้างที่สามารถทำเป็ นแม่เหล็กได้
8.นัก เรียนร่วมกัน แสดงความคิด เห็น เพื่อ เชื่อ มโยงไปสูก
่ ารทำ
กิจกรรม
9.ครูนำ ภาพแม่เ หล็ก ที่มีป ลายแท่ง มีส ีและตัวอัก ษร N และ S
ติดบนกระดาน พร้อมกับถามนักเรียนว่า
-ตัว อัก ษร N และ S ปรากฏบนแม่เ หล็ก ทัง้ 2 ข้า ง เรีย กว่า
อะไร
(แนวตอบ ขัว้ แม่เหล็ก)
-แม่เหล็กมีกี่ขว
ั ้ อะไรบ้าง
(แนวตอบ แม่เหล็กมี 2 ขัว้ คือ ขัว้ เหนือและขัว้ ใต้)
กิจกรรมที่ 5 ประโยชน์ของแม่เหล็ก(2 ชั่วโมง)
1.ครูทบทวน เรื่องแม่เหล็ก แม่เหล็ก มีแรงดึงดูดหรือแรงผลัก
ระหว่างแท่งแม่เหล็กด้วยกัน และสามารถนำแม่เหล็กมาใช้
ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
2.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน จากนัน
้ ร่วมกันออกแบบ
และประดิษฐ์ของเล่น โดยใช้ความรู้ เรื่อง สมบัติของแม่เหล็ก
ที่ได้เรียนรู้มากลุ่มละ 1 อย่าง
3.นักเรียนแต่ละกลุ่มประดิษฐ์ของเล่นตามที่ออกแบบไม้ โดยใช้
วัสดุเหลือใช้หรือวัสดุที่หาได้ง่าย
4.นำเสนอผลงานหน้าชัน
้ เรียน พร้อมทัง้ อธิบายการใช้สมบัติของ
แม่เหล็กในการเล่นของเล่น
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้การสังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม)
5.ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์ของแม่เหล็ก เช่น แม่
เหล็กที่ติดบริเวณขอบประตูตู้เย็น โดยใช้แผ่นยางหุ้มเพื่อให้ตู้
เย็นปิ ดสนิทป้ องกันไม่ให้ความเย็นรั่วออกจากตู้เย็น จากนัน
้ ครู
เชื่อมโยงความรู้เข้ากับหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นให้
นักเรียนรู้จักการใช้ตู้เย็นอย่างถูกวิธีเพื่อช่วยประหยัดพลังงาน
ดังนี ้
- หมั่นตรวจสอบยางขอบประตูตู้เย็น ไม่ปล่อยให้มีรอยรั่วหรือ
เสื่อมสภาพ เพราะจะทำให้อากาศร้อนภายนอกเข้าไปภายใน
ตู้เย็น มอเตอร์ทำความเย็นจะทำงานหนักกว่าปกติ ทำให้
เปลืองไฟฟ้ ามากขึน

- อย่าเปิ ดตู้เย็นบ่อย ๆ การเปิ ดตู้เย็นแต่ละครัง้ ความเย็น
ภายในจะกระจายออกมา อากาศร้อนข้างนอกจะเข้าไป
แทนที่ เครื่องต้องทำงานหนักมากขึน
้ เมื่อเปิ ดแล้วต้องรีบปิ ด
- อย่าใส่ของในตู้เย็นแน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้การถ่ายเท
อากาศภายในตู้ไม่สะดวก ของที่แช่ก็จะเย็นไม่ทั่วถึงโดยจะ
เย็นใกล้ ๆ กับช่องน้ำแข็งเท่านัน
้ ส่วนบริเวณอื่นไม่เย็นเท่าที่
ควร เครื่องควบคุมก็จะไม่ตัดไฟโดยอัตโนมัติ เครื่องจึงทำงาน
ตลอดเวลา ทำให้เปลืองไฟฟ้ ามากกว่าปกติ
6.นักเรียนสแกน QR Code 3D เรื่อง ประโยชน์ของแม่เหล็ก
นักเรียนดู Power Point เรื่อง แรงแม่เหล็ก
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน
2) แบบทดสอบ
3) บัตรภาพและบัตรคำ
4) อินเตอร์เน็ต
5) QRCode

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง อากาศรอบตัวเรา


รหัสวิชา ว 13101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
เวลา 14 ชั่วโมง
….
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความ
สัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณี พิบัติภัย กระบวนการ
เปลี่ยนแปลง ลม ฟ้ า อากาศ และภูมิ
อากาศโลก รวมทัง้ ผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิง่ แวดล้อม
ตัวชีว้ ัด ป.3/1 ระบุส่วนประกอบของอากาศ บรรยายความสำคัญ
ของอากาศ และผลกระทบของ
มลพิษทางอากาศต่อสิ่งมีชีวิต จากข้อมูลที่รวบรวมได้
ตัวชีว้ ัด ป.3/2 ตระหนักถึงความสำคัญของอากาศ โดยนำเสนอ
แนวทางการปฏิบัติตนในการลด
การเกิดมลพิษทางอากาศ
ตัวชีว้ ัด ป.3/3 อธิบายการเกิดลมจากหลักฐานเชิงประจักษ์
ตัวชีว้ ัด ป.3/4 บรรยายประโยชน์และโทษของลม จากข้อมูลที่
รวบรวมได้
2. สาระสำคัญ
อากาศประกอบด้วยแก๊สไนโตรเจน 78% ออกซิเจน 21%
คาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สอื่น ๆ 1% โดยปริมาตร นอกจากนี ้ ยัง
มีไอน้ำและฝุ ่นละออง ซึ่งหากมีฝุ่นละอองมากจะก่อให้เกิดผลเสียต่อ
สุขภาพ
แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อลดการปล่อยมลพิษทางอากาศ เช่น
ใช้พาหนะร่วมกัน เลือกใช้เทคโนโลยีที่ลดมลพิษทางอากาศ
อุณหภูมิของอากาศแต่ละบริเวณแตกต่างกัน อากาศในบริเวณที่
ร้อนจะลอยตัวสูงขึน
้ อากาศบริเวณใกล้เคียงที่เย็นกว่าจะเคลื่อนที่
เข้ามาแทนที่ เรียกการเคลื่อนที่ของอากาศว่า การเกิดลม
ลม เป็ นพลังงานที่มนุษย์เลือกใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใช้
เป็ นพลังงานธรรมชาติในการผลิตกระแสไฟฟ้ า แต่ในบางครัง้ ลม
อาจก่อให้เกิดโทษได้ เช่น ลมมีกำลังแรงจนเกิดเป็ นพายุ จะสร้าง
ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้
3. สาระความรู้
ความรู้
1) อากาศ โดยทั่วไปไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ประกอบด้วยแก๊ส
ไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊ส
อื่น ๆ รวมทัง้ ไอน้ำและฝุ ่นละออง อากาศมีความสำคัญต่อสิ่งมี
ชีวิต หากส่วนประกอบของอากาศไม่เหมาะสม เนื่องจากมีแก๊ส
บางชนิดหรือฝุ ่นละอองในปริมาณมาก อาจเป็ นอันตรายต่อสิ่งมี
ชีวิตชนิดต่าง ๆ จัดเป็ นมลพิษทางอากาศ
2) ลม คืออากาศที่เคลื่อนที่ เกิดจากความแตกต่างกันของ
อุณหภูมิอากาศบริเวณที่อยู่ใกล้กัน โดยอากาศบริเวณที่มี
อุณหภูมิสูงจะลอยตัวสูงขึน
้ และอากาศบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำ
กว่าจะเคลื่อนเข้าไปแทนที่
3) ลมสามารถนำมาใช้เป็ นแหล่งพลังงานทดแทน ในการผลิต
ไฟฟ้ า และนำไปใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของ
มนุษย์ หากลมเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงอาจทำให้เกิดอันตราย
และความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้
ทักษะ/กระบวนการ
1) ทดลอง
2) สำรวจ
3) สืบค้นข้อมูล
4) กระบวนการกลุ่ม
5) การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
คุณลักษณะ
1) ใฝ่ หาความรู้
2) มุ่งมั่นในการทำงาน
3) มีเหตุผล
4) ยอมรับฟั งความคิดเห็นของผู้อ่ น

5) มีความเมตตา ระมัดระวังต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
6) ทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้อย่างสร้างสรรค์
4. การประเมินผลรวบยอด
ชิน
้ งาน
วาดภาพประกอบการอธิบายส่วนประกอบของอากาศ
การประเมินผล
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน
ประเด็น 2 1 0
การ
ประเมิน
1. ผล ผลงานสอดคล้อง ผลงาน ผลงานไม่
งานตรง กับจุดประสงค์ทุก สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ
กับจุด ประเด็น จุดประสงค์เป็ น จุดประสงค์
ประสงค์ ส่วนใหญ่
2. ผล เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ
งานมี ผลงานถูกต้องครบ ของผลงานถูก ของผลงานไม่
ความถูก ถ้วน ต้องเป็ นส่วน ถูกต้องเป็ น
ต้อง ใหญ่ ส่วนใหญ่
สมบูรณ์
3. ผล ผลงานแสดงออก ผลงานมีแนว ผลงานไม่แสดง
งานมี ถึงความคิด ความคิดแปลก แนวคิดใหม่
ความคิด สร้างสรรค์แปลก ใหม่แต่ยังไม่
สร้างสรร ใหม่เป็ นระบบ เป็ นระบบ
ค์
4. ผล ผลงานมีความเป็ น ผลงานมีความ ผลงานส่วน
งานมี ระเบียบ ประณีต เป็ นระเบียบ ใหญ่ไม่เป็ น
ความ สวยงาม แต่มีข้อ ระเบียบมีข้อ
เป็ น บกพร่องบาง บกพร่องมาก
ระเบียบ ส่วน
5. ความ ส่งงานตามกำหนด ส่งงานช้ากว่า ส่งงานช้ากว่า
รับผิด เวลา กำหนด เวลา กำหนดเวลา
ชอบ 1-3 วัน เกิน 3 วัน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8 - 10 ดีมาก
5- 7 ดี
1-4 พอใช้

5. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมที่ 1 ส่วนประกอบและความสำคัญของอากาศ (4 ชั่วโมง)
1. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียน 5 คน จากนัน
้ ครูแจกลูกโป่ งคนละ 1 ลูก
ให้นักเรียนเป่ าลูกโป่ งเพื่อเก็บอากาศ แล้วมัดลูกโป่ งให้แน่น โดย
ครูตงั ้ คำถามกระตุ้นนักเรียน ดังนี ้
- นักเรียนคิดว่า มีอะไรอยู่ในลูกโป่ ง
(แนวตอบ อากาศ)
- นักเรียนมองเห็นอากาศที่อยู่ในลูกโป่ งหรือไม่
(แนวตอบ มองไม่เห็น)
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาขัน
้ ตอนการทำ
กิจกรรมที่ 1 ส่วนประกอบของอากาศ สังเกตสิ่งเจือปนในครู
สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา พร้อมทัง้ ให้
นักเรียนตอบคำถามในประเด็นคำถามต่อไปนี ้
- รอบตัวเรามีอากาศอยู่หรือไม่
- นักเรียนมองเห็นอากาศหรือไม่
- มีอะไรปนอยู่ในอากาศบ้าง
3. นักเรียนร่วมกันค้นหาคำตอบว่า เราสามารถสัมผัสกับอากาศได้
หรือไม่
- โบกสมุดไปมาใกล้ ๆ หน้าของตนเอง เราจะรู้สึกว่าหน้า
ของเราสัมผัสกับสิ่งใด
(แนวตอบ อากาศ)
4. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนดูภาพสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
พร้อมกับตอบคำถามในประเด็นต่อไปนี ้
- อะไรบ้างที่ต้องการอากาศ (แนวตอบ กระต่าย นก สุนัข)
- สิ่งที่ต้องการอากาศเป็ นสิง่ มีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิต (แนวตอบ สิง่
มีชีวิต)
- สิ่งที่ต้องการอากาศใช้อากาศเพื่ออะไร (แนวตอบ ใช้อากาศใน
การหายใจ)
5. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาการทำกิจกรรมที่ 3
ความสำคัญของอากาศ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 หน้า 10
6. ครูให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรม ดังนี ้
7. กระดาษแข็ง 1 แผ่น
8. แหล่งข้อมูล เช่น อินเทอร์เน็ต ห้องสมุด
9. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความสำคัญของอากาศต่อสิ่งมีชีวิต
จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
10. ร่วมกันอภิปรายและสรุปข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น แล้วบันทึก
ผลลงในสมุดประจำตัวนักเรียนหรือแบบฝึ กหัดวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 หน้า 9-10
11. นำข้อมูลที่ได้มาจัดกระทำในรูปแบบต่าง ๆ เช่น แผนภาพ
แผนผัง ลงในกระดาษแข็ง พร้อมตกแต่งให้สวยงาม
กิจกรรมที่ 2 มลพิษทางอากาศต่อสิ่งมีชีวิต (4 ชั่วโมง)
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนดูภาพสภาพอากาศ ครูถาม
นักเรียน ดังนี ้
- สภาพอากาศในภาพใดน่าอยู่กว่ากัน
- ควันของโรงงานอุตสาหกรรมทำให้อากาศเป็ นพิษ
หรือไม่
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ทำกิจกรรมที่ 4 มลพิษทาง
อากาศ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2
หน้า 14
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นและบันทึกข้อมูลลงในสมุด
ประจำตัวนักเรียนหรือแบบฝึ กหัดวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ป.3 เล่ม 2 หน้า 13-14 ตามหัวข้อ ดังนี ้
1)มลพิษทางอากาศคืออะไร
2)สาเหตุที่ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ
3)ผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อสิง่ มีชีวิต
4)แนวทางการปฏิบัติตนในการลดการเกิดมลพิษทางอากาศ
4. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นตาม
หัวข้อต่าง ๆ แล้วนำเสนอข้อมูลหน้าชัน
้ เรียน
5. ครูนำรูปภาพมลพิษทางอากาศ 4-5 ภาพ ให้นักเรียนดู
6. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า ภาพใดเกิดจากการกระทำ
ของมนุษย์ และภาพใดเกิดเองตามธรรมชาติ
7.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน จากนัน
้ แต่ละกลุ่มร่วมกัน
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศที่เกิดจากการกระทำของ
มนุษย์และภาพใดเกิดเองตามธรรมชาติ
8. ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ เป็ นภาวะของ
อากาศที่มีการเจือปนด้วยสารต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดมลพิษทาง
อากาศและเป็ นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ซึ่งสามารถเกิดขึน
้ เองตาม
ธรรมชาติและเกิดจากการกระทำของมนุษย์
9. ครูตงั ้ คำถามนักเรียนว่า ผลกระทบของมลพิษทางอากาศมีอะไร
บ้าง
(แนวตอบ - ทำลายสุขภาพ อากาศเสียทำให้เกิดโรคแพ้อากาศ
โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคเกี่ยวกับ
การไหลเวียนของโลหิต ผลที่เกิดในระยะยาวอาจ
ทำให้ถึงตายได้
- ทำลายสิ่งก่อสร้างและเครื่องใช้โดยเฉพาะสิง่ ก่อสร้าง
ทีทำ
่ ด้วยโลหะทําให้เกิดการสึกกร่อน ทำให้หนังสือ
และศิลปกรรมต่าง ๆ เสียหาย
- ทำให้ทัศนวิสัยไม่ดี และมีผลทำให้อุณหภูมิอากาศลด
ต่ำลงกว่าปกติได้ ทัศนวิสัยเลวลง ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ
ทัง้ ในอากาศ ท้องถนน และท้องน้ำ )
กิจกรรมที่ 3 การเกิดลม ( 4 ชั่วโมง)
1. นักเรียนดูภาพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ป.3 เล่ม 2 หน้า 22 แล้วนักเรียนช่วยกันตอบคำถาม ดังนี ้
-ลมเกิดขึน
้ ได้อย่างไร
-เราสามารถใช้ประโยชน์จากลมได้อย่างไรบ้าง
2. นักเรียนร่วมกันอ่านคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับอากาศรอบตัวและ
มลพิษทางอากาศ
นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมที่
1 การเกิดลม
3. ครูให้นักเรียนสังเกตภาพเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของลมจาก
บริเวณที่ความกดอากาศสูงไปยังความกดอากาศต่ำ แล้วตัง้
คำถาม ดังนี ้
- ถ้าบริเวณหนึ่งมีปริมาณอากาศหนาแน่น ส่วนอีกบริเวณหนึ่งมี
ปริมาณอากาศเบาบางจะเกิอะไรขึน

- บริเวณยอดเขากับบริเวณพื้นผิวโลก บริเวณใดมีความกด
อากาศมากกว่ากัน เพราะอะไร
4. ทบทวน เรื่อง ความกดอากาศ พร้อมทัง้ นำแผนภาพการเกิด
ลมมาให้นักเรียนดู แล้วตัง้ คำถาม ดังนี ้
- ถ้าพื้นที่ 2 บริเวณ มีความกดอากาศที่แตกต่างกัน นักเรียน
คิดว่าจะเกิดอะไรขึน
้ เพราะอะไร
- นักเรียนคิดว่าการเกิดลมพัดมีสาเหตุมาจากอะไร
- อากาศร้อนและอากาศเย็นมีความสัมพันธ์กับการเกิดลม
หรือไม่ เพราะอะไร
5. นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นต่อคำตอบจากความรู้และ
ประสบการณ์ของตนเอง
6. นักเรียนดูภาพเกี่ยวกับการเกิดลมบก ลมทะเล
นักเรียนและครูร่วมกันสรุป ลม เกิดจากการเคลื่อนที่ของอากาศ
ในแนวราบขนานไปกับพื้นโลก ซึ่งปั จจัยที่ทำให้เกิดลม ได้แก่
อุณหภูมิของอากาศและความกดอากาศ
กิจกรรมที่ 4 ประโยชน์และโทษของลม (2 ชั่วโมง)
1. ครูนำกังหันลมมาให้นักเรียนดู แล้วตัง้ คำถาม ดังนี ้
- กังหันหมุนได้อย่างไร
(แนวตอบ มีลมพัด)
2. นักเรียนจะได้ทราบถึงประโยชน์และโทษของลมจากการทำ
กิจกรรมต่อไปนี ้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้การสังเกตพฤติกรรม
การทำงานรายบุคคล)
3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน จากนัน
้ ช่วยกันสืบค้นข้อมูล
เกี่ยวกับประโยชน์และโทษของลมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ แล้ว
บันทึกข้อมูลลงในสมุด
4. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น แล้ว
นำข้อมูลมาจัดทำในรูปแบบต่าง ๆ ลงในกระดาษแข็งพร้อมตกแต่ง
ให้สวยงาม
5. นำเสนอผลงานเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกับเพื่อนกลุ่มอื่นภายในชัน

เรียน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้การสังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม)

6. แบ่งนักเรียนออกเป็ น 3 กลุ่มเท่า ๆ กัน ให้นักเรียนเรียนคละกัน


ตามความเหมาะสม แล้วกำหนดบทบาทหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่ม
ช่วยกันสืบค้นข้อมูล ดังนี ้
กลุ่มที่ 1 ศึกษาการเกิดลมที่มีผลกระทบและมีประโยชน์ต่อ
มนุษย์
กลุ่มที่ 2 ศึกษาการเกิดลมที่มีผลกระทบและมีประโยชน์ต่อ
สัตว์
กลุ่มที่ 3 ศึกษาการเกิดลมที่มีผลกระทบและมีประโยชน์ต่อสิ่ง
แวดล้อม
7. เมื่อนักเรียนสืบค้นข้อมูลเสร็จแล้วให้นำข้อมูลมาอภิปรายกลุ่ม
ย่อยภายในกลุ่ม และนำเสนอผลหน้าชัน
้ เรียน
8. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน จากนัน
้ แต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง
การเกิดลม
9. ออกแบบและสร้างแบบจำลองการเกิดลมจากวัสดุต่าง ๆ เพื่อ
อธิบายการเกิดลม พร้อมตกแต่งให้สวยงาม
10. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชัน
้ เรียน โดยให้มีการจัด
ประกวดผลงาน และนำผลงานไปวางไว้ที่ศูนย์การเรียนรู้ของ
ห้องเรียน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้การสังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม)

6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน
2) แบบทดสอบ
3) บัตรภาพและบัตรคำ
4) อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง พลังงานบนโลก
รหัสวิชา ว 13101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
เวลา 14 ชั่วโมง
….
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การ
เปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสาร
และพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น
ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า รวม
ทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชีว้ ัด ป.3/1 ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงพลังงานหนึ่งไปเป็ น
อีกพลังงานหนึง่ จากหลักฐานเชิงประจักษ์
ตัวชีว้ ัด ป.3/2 บรรยายการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าและ
ระบุแหล่งพลังงานผลิตกระแสไฟฟ้ าจากข้อมูลที่รวบรวมได้
ตัวชีว้ ัด ป.3/3 ตระหนักในประโยชน์และโทษของไฟฟ้ า โดยนำ
เสนอวิธีการใช้ไฟฟ้ าอย่างประหยัดและปลอดภัย
2. สาระสำคัญ
พลังงานเป็ นปริมาณที่แสดงถึงความสามารถในการทำงาน เมื่อ
วัตถุเกิดการเคลื่อนที่ พลังงานจะเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง
เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงของพลังงาน
ไฟฟ้ าเป็ นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนรูปเป็ นพลังงาน
อื่น และทำให้เครื่องมือต่าง ๆ สามารถทำงานได้ และเพื่อช่วย
อำนวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ
ไฟฟ้ าผลิตจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าซึง่ ใช้พลังงานจากแหล่ง
พลังงานธรรมชาติหลายแหล่ง เช่น พลังงานจากลม พลังงานจากน้ำ
พลังงานจากแก๊สธรรมชาติ
การผลิตไฟฟ้ าต้องใช้พลังงานจากแหล่งพลังงานธรรมชาติที่มี
จำกัด และแหล่งพลังงานหมุนเวียน ซึ่งแหล่งพลังงานที่มีจำกัดนีเ้ มื่อ
ใช้แล้วจะค่อย ๆ หมดไป ดังนัน
้ จึงต้องเรียนรู้วิธีการใช้ไฟฟ้ าอย่าง
ประหยัด
3. สาระความรู้
ความรู้
1) พลังงานเป็ นปริมาณที่แสดงถึงความสามารถในการ
ทำงาน พลังงานมีหลายแบบ เช่น พลังงานกล พลังงานไฟฟ้ า
พลังงานแสง พลังงานเสียง และพลังงานความร้อน โดยพลังงาน
สามารถเปลี่ยนจากพลังงานหนึง่ ไปเป็ นอีกพลังงานหนึ่งได้เช่น
การถูมือจนรู้สึกร้อน เป็ นการเปลี่ยนพลังงานกลเป็ นพลังงาน
ความร้อน แผงเซลล์สุริยะเปลี่ยนพลังงานแสงเป็ น พลังงาน
ไฟฟ้ า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้ าเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานอื่น
2) ไฟฟ้ าผลิตจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าซึ่งใช้พลังงานจากแหล่ง
พลังงานธรรมชาติหลายแหล่ง เช่น พลังงานจากลม พลังงาน
จากน้ำ พลังงานจากแก๊สธรรมชาติ
3) พลังงานไฟฟ้ ามีความสำคัญต่อชีวิตประจำวัน การใช้
ไฟฟ้ านอกจากต้องใช้อย่างถูกวิธี ประหยัดและคุ้มค่าแล้วยังต้อง
คำนึงถึงความปลอดภัยด้วย
ทักษะ/กระบวนการ
1) ทดลอง
2) สำรวจ
3) สืบค้นข้อมูล
4) กระบวนการกลุ่ม
5) การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
คุณลักษณะ
1) ใฝ่ หาความรู้
2) มุ่งมั่นในการทำงาน
3) มีเหตุผล
4) ยอมรับฟั งความคิดเห็นของผู้อ่ น

5) มีความเมตตา ระมัดระวังต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
6) ทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้อย่างสร้างสรรค์
4. การประเมินผลรวบยอด
ชิน
้ งาน
ออกแบบและนำเสนอวิธีการใช้ไฟฟ้ าอย่างประหยัด
การประเมินผล
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน
ประเด็น 2 1 0
การ
ประเมิน
1. ผล ผลงานสอดคล้อง ผลงาน ผลงานไม่
งานตรง กับจุดประสงค์ทุก สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ
กับจุด ประเด็น จุดประสงค์เป็ น จุดประสงค์
ประสงค์ ส่วนใหญ่
2. ผล เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ
งานมี ผลงานถูกต้องครบ ของผลงานถูก ของผลงานไม่
ความถูก ถ้วน ต้องเป็ นส่วน ถูกต้องเป็ น
ต้อง ใหญ่ ส่วนใหญ่
สมบูรณ์
3. ผล ผลงานแสดงออก ผลงานมีแนว ผลงานไม่แสดง
งานมี ถึงความคิด ความคิดแปลก แนวคิดใหม่
ความคิด สร้างสรรค์แปลก ใหม่แต่ยังไม่
สร้างสรร ใหม่เป็ นระบบ เป็ นระบบ
ค์
4. ผล ผลงานมีความเป็ น ผลงานมีความ ผลงานส่วน
งานมี ระเบียบ ประณีต เป็ นระเบียบ ใหญ่ไม่เป็ น
ความ สวยงาม แต่มีข้อ ระเบียบมีข้อ
เป็ น บกพร่องบาง บกพร่องมาก
ระเบียบ ส่วน
5. ความ ส่งงานตามกำหนด ส่งงานช้ากว่า ส่งงานช้ากว่า
รับผิด เวลา กำหนด เวลา กำหนดเวลา
ชอบ 1-3 วัน เกิน 3 วัน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8 -10 ดีมาก
5-7 ดี
1-4 พอใช้

5. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมที่ 1 พลังงานและการเปลี่ยนแปลง (6 ชั่วโมง)
1. นักเรียนดูภาพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3
เล่ม 2 หน้า 39 แล้วช่วยกันตอบคำถามสำคัญประจำบท ดังนี ้
- ในภาพมีพลังงานเกิดขึน
้ หรือไม่ อะไรบ้าง
- ในชีวิตประจำวันเราเกี่ยวข้องกับพลังงานอย่างไรบ้าง
2. นักเรียนศึกษาขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมที่ 1 พลังงานเปลี่ยนไป ใน
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลครูสาธิตการทำงานของ
เครื่องเป่ าผม แล้วตัง้ คำถามกระตุ้นนักเรียน ดังนี ้
- นักเรียนคิดว่า เครื่องเป่ าผมเป็ นเครื่องใช้ไฟฟ้ าประเภทที่
เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานรูปแบบใด
(แนวตอบ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานกลและพลังงาน
ไฟฟ้ า)
3. ครูอธิบายพลังงานที่สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันมีหลายรูป
แบบ เช่น
- พลังงานกล คือ พลังงานที่เกิดจากการกระทำของแรง ทำให้
วัตถุเกิดการหมุนหรือเคลื่อนที่
- พลังงานเสียง คือ พลังงานที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของสิง่
ต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดเสียงได้
- พลังงานแสง คือ พลังงานที่แผ่รังสีมาจากดวงอาทิตย์
- พลังงานไฟฟ้ า คือ พลังงานที่เปลี่ยนมาจากพลังงานอื่น
- พลังงานความร้อน คือ พลังงานที่ได้มาจากหลายแหล่ง เช่น
ดวงอาทิตย์ การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง
4. ครูตงั ้ คำถามนักเรียนในประเด็นต่อไปนี ้
- เครื่องใช้ไฟฟ้ าทำงานโดยใช้พลังงานอะไร
5. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงพลังงาน
6. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทำสมุดภาพที่เกี่ยวข้องกับการ
เปลี่ยนแปลงของพลังงาน โดยติดภาพหรือวาดภาพอุปกรณ์หรือ
กิจกรรมในชีวิตประจำวันที่เปลี่ยนแปลงพลังงานหนึ่งไปเป็ นอีก
พลังงานหนึง่
7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปจนได้ข้อสรุป ดังนี ้
- พลังงาน คือ ความสามารถที่ทำให้สิ่งต่าง ๆ ทำงานได้ เช่น
การเคลื่อนที่ของรถยนต์ หลอดไฟฟ้ าสว่าง
- พลังงานมีหลายรูปแบบ และพลังงานสามารถเปลี่ยนจาก
พลังงานหนึง่ ไปเป็ นอีกพลังงานหนึ่งได้ เช่น พัดลมเปลี่ยน
พลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานความร้อน โทรทัศน์เปลี่ยน
พลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานแสงและพลังงานเสียง
กิจกรรมที่ 2 การผลิตไฟฟ้ า (2 ชั่วโมง)
1. นักเรียนดูภาพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3
เล่ม 2 หน้า 51 แล้วช่วยกันตอบคำถามสำคัญประจำบทต่อไปนี ้
- จากภาพ มนุษย์นำแหล่งพลังงานใดมาผลิตไฟฟ้ า
- ไฟฟ้ ามีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของเราอย่างไร
2. นักนักเรียนศึกษาการผลิตไฟฟ้ าเพิ่มเติม โดยใช้โทรศัพท์มือถือ
สแกน QR Code เรื่อง การผลิตไฟฟ้ า ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีเรียน
3. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาการทำกิจกรรมที่ 1 การผลิต
ไฟฟ้ า
4. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมได้ข้อสรุปว่า
เมื่อน้ำปะทะกับกังหัน แรงดันของน้ำจะทำให้กังหันหมุน ซึ่งแกน
ของกังหันจะต่ออยู่กับแกนของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า ทำให้แกนของ
เครื่องกำเนิดไฟฟ้ าหมุนและผลิตไฟฟ้ าได้อย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมที่ 3 แหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้ า (4 ชั่วโมง)
1. ครูทบทวนถึงการผลิตพลังงานไฟฟ้ าระบบพลังน้ำที่ได้เรียนรู้
มาแล้ว โดยยกตัวอย่างเขื่อนในประเทศไทยที่ใช้ระบบพลังน้ำ
เพื่อให้ไปปะทะกับกังหันซึ่งเชื่อมต่ออยู่กับแกนของเครื่องกำเนิด
ไฟฟ้ า โดยครูใช้คำถามกระตุ้น ดังนี ้
- การผลิตพลังงานไฟฟ้ าระบบพลังน้ำมีหลักการทำงาน
อย่างไร
(แนวตอบ น้ำจากเขื่อนที่อยู่ระดับสูงตกลงมาระดับล่างและ
ทำให้กังหันผลิตพลังงานไฟฟ้ าหมุน)
นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมที่
2 แหล่งพลังงานที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้ า ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ป.3
2. นำบัตรคำแสดงแหล่งพลังงานต่าง ๆ ได้แก่ แสงอาทิตย์
น้ำมัน ลม ถ่านหิน และแก๊สธรรมชาติ ให้นักเรียนดู และ
อภิปรายถึงแหล่งพลังงานที่มีจำกัด โดยครูใช้คำถามกระตุ้น
ดังนี ้
- แหล่งพลังงานใดเป็ นแหล่งพลังงานที่เกิดจากการทับถมของ
ซากพืชซากสัตว์เป็ นเวลาหลายล้านปี
(แนวตอบ ถ่านหิน น้ำมันและแก๊สธรรมชาติ)
- แหล่งพลังงานดังกล่าวมีข้อจำกัดในเรื่องใด
3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาข้อมูลแหล่ง
พลังงานที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้ า ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 หน้า 60-65 ดังนี ้
1)ถ่านหิน
2)น้ำมันและแก๊สธรรมชาติ
3)พลังงานลม
4)พลังงานน้ำ
5)พลังงานแสงอาทิตย์
4. ครูเชื่อมโยงความรู้สู่อาเซียนโดยให้ความรู้เพิ่มเติมว่า
พลังงานจากฟอสซิล ได้แก่ น้ำมัน ถ่านหิน และแก๊สธรรมชาติ นับ
วันจะหายากและมีราคาแพง เนื่องจากเป็ นพลังงานที่ใช้แล้วหมดสิน

ไป ไม่สามารถผลิตทดแทนได้
5. นักเรียนร่วมกันสรุปแหล่งพลังงานที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้ า โดย
ร่วมกันเขียนแผนผังความคิดลงในสมุดประจำตัวนักเรียน
กิจกรรมที่ 4 การรู้จักใช้ไฟฟ้ า (2 ชั่วโมง)
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คำถามกระตุ้นนักเรียนว่า
-ภายในห้องเรียนมีอะไรบ้างที่เป็ นเครื่องใช้ไฟฟ้ า
-นักเรียนรู้วิธีใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าเหล่านีห
้ รือไม่
2. นักเรียนศึกษาการทำกิจกรรมที่ 3 ประโยชน์และโทษของ
ไฟฟ้ า จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโสืบค้นข้อมูลเกี่ยว
กับประโยชน์และโทษของไฟฟ้ า
3. อภิปรายและสรุปข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ
ประโยชน์และโทษของไฟฟ้ า
นโลยี ป.3
4. ครูนำภาพเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่สำคัญต่อชีวิตประจำวันมาให้
นักเรียนร่วมกันบอกประโยชน์ของเครื่องใช้ไฟฟ้ าแต่ละชนิด
5. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ทำกิจกรรม ประโยชน์
และโทษของไฟฟ้ า ตัวแทนแต่ละกลุ่มจับสลากชื่อเครื่องใช้ไฟฟ้ า
กลุ่มละ 1 ชนิด ดังนี ้
1)เตารีด
2)พัดลม

6. นักเรียนแบ่งกลุ่ม จากนัน
้ ร่วมกันจัดทำคู่มือความปลอดภัยใน
การใช้ไฟฟ้ า โดยวาดภาพหรือติดภาพและเขียนอธิบายวิธีการ
ปฏิบัติตนในการใช้ไฟฟ้ าอย่างปลอดภัย พร้อมตกแต่งให้สวยงาม

6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน
2) บัตรคำ
3) มอเตอร์ไดนาโม
4) ใบงาน
5) อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง ดวงอาทิตย์และปรากฏการณ์บนโลก
รหัสวิชา ว 13101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
เวลา 10 ชั่วโมง
….
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ
กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์
และระบบสุริยะ รวมทัง้ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิง่
มีชีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
ตัวชีว้ ัด ป.3/1 อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึน
้ และตกของดวง
อาทิตย์ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ตัวชีว้ ัด ป.3/2 อธิบายสาเหตุการเกิดปรากฏการณ์การขึน
้ และ
ตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน และการกำหนดทิศ
โดยใช้แบบจำลอง
ตัวชีว้ ัด ป.3/3 ตระหนักถึงความสำคัญของดวงอาทิตย์ โดย
บรรยายประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต
2. สาระสำคัญ
ดวงอาทิตย์เป็ นดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ที่มีแสงสว่างในตัวเองเป็ น
แหล่งพลังงานที่มีความสำคัญต่อโลก เพราะดวงอาทิตย์ ให้
พลังงานความร้อนและพลังงานแสงแก่โลก ทำให้สิ่งมีชีวิตนำ
พลังงานไปใช้ประโยชน์ได้
การหมุนรอบตัวเองของโลกทำให้เห็นดวงอาทิตย์ปรากฏขึน
้ บน
ท้องฟ้ าในเวลากลางวันจากขอบฟ้ าด้านหนึ่งและตกลับขอบฟ้ าอีก
ด้านหนึ่ง ทำให้โลกเข้าสู่ช่วงเวลากลางคืน
การที่โลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตย์ ทำให้เกิด
ปรากฏการณ์การขึน
้ และตกของดวงอาทิตย์ และ ในขณะเดียวกันก็
ทำให้เกิดช่วงเวลาของวันด้วย
3. สาระความรู้
ความรู้
1) คนบนโลกมองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏขึน
้ ทางด้านหนึ่ง
หรือตกทางอีกด้านหนึ่งทุกวัน หมุนเวียนเป็ นแบบรูปซ้ำ ๆ
2) โลกกลมและหมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบดวงอาทิตย์
ทำให้บริเวณของโลกได้รับแสงอาทิตย์ไม่พร้อมกัน โลกด้านที่ได้
รับแสงจากดวงอาทิตย์จะเป็ นกลางวัน ส่วนด้านตรงข้ามที่ไม่ได้
รับแสงจะเป็ นกลางคืน นอกจากนีค
้ นบนโลกจะมองเห็นดวง
อาทิตย์ปรากฏขึน
้ ทางด้านหนึ่ง ซึ่งกำหนดให้เป็ นทิศตะวันออก
และมองเห็นดวงอาทิตย์ตกทางอีกด้านหนึ่ง ซึง่ กำหนดให้เป็ น
ทิศตะวันตก และเมื่อให้ด้านขวามืออยู่ทางทิศตะวันออก ด้าน
ซ้ายมืออยู่ทางทิศตะวันตก ด้านหน้าจะเป็ นทิศเหนือ และด้าน
หลังจะเป็ นทิศใต้
3) ในเวลากลางวันโลกจะได้รับพลังงานแสงและพลังงาน
ความร้อนจากดวงอาทิตย์ ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงอยู่ได้
ทักษะ/กระบวนการ
1) ทดลอง
2) สำรวจ
3) สืบค้นข้อมูล
4) กระบวนการกลุ่ม
5) การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
คุณลักษณะ
1) ใฝ่ หาความรู้
2) มุ่งมั่นในการทำงาน
3) มีเหตุผล
4) ยอมรับฟั งความคิดเห็นของผู้อ่ น

5) มีความเมตตา ระมัดระวังต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
6) ทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้อย่างสร้างสรรค์
4. การประเมินผลรวบยอด
ชิน
้ งาน
วาดภาพประกอบการอธิบายการขึน
้ -ตกของดวงอาทิตย์
การประเมินผล
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน
ประเด็น 1 0.5 0
การ
ประเมิน
1. ผล ผลงานสอดคล้อง ผลงาน ผลงานไม่
งานตรง กับจุดประสงค์ทุก สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ
กับจุด ประเด็น จุดประสงค์เป็ น จุดประสงค์
ประสงค์ ส่วนใหญ่
2. ผล เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ
งานมี ผลงานถูกต้องครบ ของผลงานถูก ของผลงานไม่
ความถูก ถ้วน ต้องเป็ นส่วน ถูกต้องเป็ น
ต้อง ใหญ่ ส่วนใหญ่
สมบูรณ์
3. ผล ผลงานแสดงออก ผลงานมีแนว ผลงานไม่แสดง
งานมี ถึงความคิด ความคิดแปลก แนวคิดใหม่
ความคิด สร้างสรรค์แปลก ใหม่แต่ยังไม่
สร้างสรร ใหม่เป็ นระบบ เป็ นระบบ
ค์
4. ผล ผลงานมีความเป็ น ผลงานมีความ ผลงานส่วน
งานมี ระเบียบ ประณีต เป็ นระเบียบ ใหญ่ไม่เป็ น
ความ สวยงาม แต่มีข้อ ระเบียบมีข้อ
เป็ น บกพร่องบาง บกพร่องมาก
ระเบียบ ส่วน
5. ความ ส่งงานตามกำหนด ส่งงานช้ากว่า ส่งงานช้ากว่า
รับผิด เวลา กำหนด เวลา กำหนดเวลา
ชอบ 1-3 วัน เกิน 3 วัน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4-5 ดีมาก
2-3 ดี
0-1 พอใช้

5. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมที่ 1 ความสำคัญของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต (4 ชั่วโมง)
1. ครูถามคำถามกระตุ้นนักเรียน ดังนี ้
- เด็ก ๆ เคยเห็นดวงอาทิตย์และดวงจันทร์เวลาใดบ้าง
- เด็ก ๆ ตื่นนอนเวลาใด มีดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ขน
ึ ้ อยู่บน
ท้องฟ้ า
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้การสังเกตพฤติกรรม
การทำงานรายบุคคล)
2. ครูพานักเรียนไปสำรวจนอกห้องเรียน โดยให้นักเรียนสังเกต
ลักษณะอากาศและท้องฟ้ าในเวลากลางวันวันนี ้ ครูให้คำแนะนำ
เรื่องการสังเกตดวงอาทิตย์ โดยเน้นย้ำไม่ให้นักเรียนจ้องมองดวง
อาทิตย์ในแนวตรง เพื่อความปลอดภัยของดวงตา
3. นักเรียนสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับเวลากลางวันและลักษณะ
ท้องฟ้ าที่สำรวจในวันนีว้ ่า มีลักษณะอย่างไร และนักเรียนพบอะไร
บ้าง ให้นักเรียนช่วยกันตอบพร้อมกับยกตัวอย่างประกอบ
4. ครูตงั ้ คำถามสำคัญประจำบทว่า ดวงอาทิตย์มีความสำคัญต่อสิ่ง
มีชีวิตบนโลกอย่างไร แล้วให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมที่
1 ความสำคัญของอาทิตย์ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ป.3
5. ครูตงั ้ คำถาม เพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียน ดังนี ้
- แสงสว่างจากดวงอาทิตย์มีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไร
- ในชีวิตประจำวันของนักเรียนมีกิจกรรมใดบ้างที่ต้องใช้
ประโยชน์จากแสงสว่างของดวงอาทิตย์

6. นักเรียนแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับดวง
อาทิตย์ เพื่อเชื่อมโยงไปสูก
่ ารเรียนรู้ เรื่องพลังงานความร้อนและ
พลังงานแสงจากดวงอาทิตย์
กิจกรรมที่ 2 ปรากฏการณ์ของดวงอาทิตย์บนโลก (6 ชั่วโมง)
1. ครูตงั ้ คำถามเพื่อกระตุ้นนักเรียน โดยใช้คำถาม ดังนี ้
-นักเรียนเห็นดวงอาทิตย์ขน
ึ ้ เมื่อใด
(แนวตอบ ตอนเช้า)
2. ครูนำแผนภาพระบบสุริยะและการเคลื่อนที่ของโลกรอบดวง
อาทิตย์มาให้นักเรียนดู แล้วตัง้ คำถามดังนี ้
- การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์มีความสัมพันธ์กับเรื่องใด
บ้าง
(แนวตอบ กลางวัน กลางคืน และฤดูกาล)
นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาการทำกิจกรรมที่ 2 แบบ
รูปการขึน
้ และตกของดวงอาทิตย์
3. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า เวลากลางวัน กลางคืนเกิดขึน
้ จาก
การที่โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ภายในเวลา 24 ชั่วโมง
4. นักเรีนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทำกิจกรรมที่ 3 กลางวัน กลาง
คืน และการกำหนทิศ เพื่อสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุการเกิด
ปรากฏการณ์บนโลกที่กำหนดให้ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกลนักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการกำหนดทิศ
โดยกำหนดจากการขึน
้ และตกของดวงอาทิตย์จากแหล่งข้อมูลต่าง
ๆ แล้วบันทึกข้อมูลลงในสมุดประจำตัวนักเรียน
5. สังเกตและวาดภาพการขึน
้ และตกของดวงอาทิตย์ในบริเวณ
โรงเรียน พร้อมกำหนดทิศลงในภาพ
6. ใช้เข็มทิศสังเกตทิศภายในโรงเรียน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
ของการกำหนดทิศจากการสังเกตการขึน
้ และตกของดวงอาทิตย์
7. สำรวจและวาดภาพตำแหน่งของสถานที่ต่าง ๆ ภายในโรงเรียน
ลงในกระดาษ A4 โดยใช้ความรู้ เรื่อง ทิศ จากการขึน
้ และตกของ
ดวงอาทิตย์
8. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม สังเกตทิศที่เกิดจากดวงอาทิตย์ โดย
ปฏิบัติกิจกรรมตามขัน
้ ตอนที่วางแผนไว้ ดังนี ้
9. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหา

6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน
2) บัตรคำ
3) ใบงาน
4) อินเตอร์เน็ต

You might also like