Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 66

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4

เล่ม ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์

จัดทาโดย
นางวรรณพร ทสะสังคินทร์
โรงเรียนกาแพงเพชรพิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จัดทาขึ้น
เพื่อใช้เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม รหัสวิชา ค31201
เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดยเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติด้วยตนเองจนเกิดทักษะ
และความชานาญในเนื้อหา สามารถยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น และเป็นการกระตุ้น
ให้ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ประกอบด้วย
คาชี้แจงเกี่ยวกับแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ คาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับครู
และนักเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน สาระ มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จุดประสงค์การเรียนรู้
ใบความรู้ แบบฝึกทักษะพร้อมเฉลย และแบบทดสอบก่อนเรียนพร้อมเฉลย ซึ่งนักเรียนสามารถใช้
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ในชั้นเรียนและใช้สาหรับศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเองได้
ในการจัดทาแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์เล่มนี้สาเร็จลุล่วงได้ โดยได้รับการสนับสนุน
จากผู้อานวยการโรงเรียนกาแพงเพชรพิทยาคม คณะผู้บริหาร คณะครูโรงเรียนกาแพงเพชรพิทยาคม
และผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่กรุณาให้คาปรึกษา เสนอแนะแนวทางการแก้ไขข้อบกพร่อง ตลอดจน
ให้กาลังใจด้วยดีเสมอมา ผู้จัดทาขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียน
การสอนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน ครูผู้สอน และผู้ที่สนใจเป็นอย่างมาก ตลอดจนสามารถ
ยกระดับคุณภาพการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น

วรรณพร ทสะสังคินทร์

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ ก ก
เรื่อง หน้า
คานา…………………………………………………………………………………………………………………………… ก
สารบัญ........................................................................................................................................ ข
คาชี้แจงเกี่ยวกับแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.. ง
คาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับครู................................................................ จ
คาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียน..........…………………………………...…. ฉ
ขั้นตอนการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียน........................................................... ช
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และตัวชี้วัด.......................................................... ซ
จุดประสงค์การเรียนรู้และสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน............................................................... ฌ
แบบทดสอบก่อนเรียน................................................................................................................ 1
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน...................................................................................... 3
ใบความรู้ที่ 1.1 ประพจน์......................................................................................................... 4
แบบฝึกทักษะที่ 1.1 ประพจน์……………………………................................................................ 6
ใบความรู้ที่ 1.2 การเชื่อมประพจน์............................................................................................. 8
แบบฝึกทักษะที่ 1.2 การเชื่อมประพจน์..................................................................................... 11
ใบความรู้ที่ 1.3 ค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมประพจน์................................................ 13
แบบฝึกทักษะที่ 1. 3 ค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมประพจน์........................................ 19
ใบความรู้ที่ 1.4 การหาค่าความจริงของประพจน์โดยใช้แผนภาพ........................................... 21
แบบฝึกทักษะที่ 1. 4 การหาค่าความจริงของประพจน์โดยใช้แผนภาพ..................................... 26
ใบความรู้ที่ 1.5 การสร้างตารางค่าความจริง.............................................................................. 29
แบบฝึกทักษะที่ 1.5 การสร้างตารางค่าความจริง...................................................................... 31
แบบทดสอบหลังเรียน …………………………………………………………………………………….……………. 34
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน....................................................................................... 36
แบบบันทึกคะแนน................................................................................................................. 37
บรรณานุกรม …………………………………………………………………………….……………….................... 38

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ ข ข
เรื่อง หน้า
ภาคผนวก .................................................................................................................................. 39
ภาคผนวก ก เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน............................................................................ 40
ภาคผนวก ข เฉลยแบบฝึกทักษะ........................................................................................ 42
ภาคผนวก ค เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน............................................................................ 55

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ ค ค
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จัดทาขึ้น
เพื่อให้ครูผู้สอนใช้เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม รหัสวิชา ค31201
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 28 ชั่วโมง มีรายละเอียดดังนี้
1. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ได้จัดลาดับเนื้อหาจากง่าย
ไปหายากเป็นลาดับขั้นตอนโดยแบ่งออกเป็น 5 เล่ม ดังนี้
เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์
เล่ม 2 รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน
เล่ม 3 สัจนิรันดร์
เล่ม 4 การอ้างเหตุผล
เล่ม 5 ประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ
2. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้เป็นแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์
เบื้องต้น เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ ประกอบด้วย
2.1 คาชี้แจงเกี่ยวกับแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
2.2 คาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับครู
2.3 คาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียน
2.4 ลาดับขั้นตอนการใช้แบบฝึกทักษะสาหรับนักเรียน
2.5 แบบทดสอบก่อนเรียน
2.6 ใบความรู้
2.7 แบบฝึกทักษะ
2.8 แบบทดสอบหลังเรียน
2.9 แบบบันทึกคะแนน
2.9 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
2.10 เฉลยแบบฝึกทักษะ
2.11 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
3. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 – 6
เวลาเรียน 5 ชั่วโมง

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ ง ง
การใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ครูควรเตรียมความพร้อมและปฏิบัติตามคาแนะนา ดังต่อไปนี้
1. ครูควรศึกษาเนื้อหาสาระและทาความเข้าใจแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ทุกเล่ม
อย่างละเอียด
2. ครูจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 5 เล่ม ควบคู่กับแผนการจัดการเรียนรู้
3. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนลงในกระดาษคาตอบ
4. ครูชี้แจงขั้นตอนการศึกษาและวิธีการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์แก่นักเรียนให้เข้าใจ
และควรเน้นเรื่องความซื่อสัตย์
5. ให้นักเรียนศึกษาคาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียน
แล้วฝึกปฏิบัติตามคาแนะนา
6. ครูคอยดูแลให้ความช่วยเหลือและให้คาแนะนานักเรียนเมื่อมีปัญหาในการฝึกปฏิบัติ
7. เมื่อนักเรียนฝึกปฏิบัติตามขั้นตอนในแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์แล้ว ให้นักเรียน
ทาแบบทดสอบหลังเรียนลงในกระดาษคาตอบ

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ จ จ
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ที่นักเรียนกาลังศึกษานี้เป็นแบบฝึกทักษะที่จัดเนื้อหาไว้
เป็นลาดับขั้นตอน เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างถูกต้อง เริ่มจากเนื้อหาที่ง่ายไปหาเนื้อหาที่ยาก
สามารถเรียนรู้และฝึกปฏิบัติได้ด้วยตนเอง การใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ควรปฏิบัติตามคาแนะนา
ในการใช้อย่างเคร่งครัดจึงจะได้ผลดี สาหรับข้อปฏิบัติในการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์มีดังนี้
1. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์แต่ละเล่มประกอบด้วย
1.1 คาชี้แจงเกี่ยวกับแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
1.2 คาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับครู
1.3 คาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียน
1.4 ลาดับขั้นตอนการใช้แบบฝึกทักษะสาหรับนักเรียน
1.5 แบบทดสอบก่อนเรียน
1.6 ใบความรู้
1.7 แบบฝึกทักษะ
1.8 แบบทดสอบหลังเรียน
1.9 แบบบันทึกคะแนน
1.10 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
1.11 เฉลยแบบฝึกทักษะ
1.10 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
2. ให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์การเรียนให้พร้อม
3. ให้นักเรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
และตรวจคาตอบจากเฉลยท้ายเล่ม แล้วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน
4. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ ทาแบบฝึกทักษะด้วยตนเอง และตรวจคาตอบ
จากเฉลยท้ายเล่ม แล้วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน
5. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
และตรวจคาตอบจากเฉลยท้ายเล่ม แล้วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน
6. ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติด้วยความซื่อสัตย์

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ ฉ ฉ
ศึกษาคาชี้แจงและคาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
สาหรับนักเรียน

ทาแบบทดสอบก่อนเรียน

ศึกษาใบความรู้

ทาแบบฝึกทักษะ

ทาแบบทดสอบหลังเรียน

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ ช ช
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และตัวชี้วัดของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ มีดังนี้

สาระที่ 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์
(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้
แก้ปัญหา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
หาค่าความจริงของประพจน์

สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์
และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ม. 4 – 6/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ ซ ซ
จุดประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริง
ของประพจน์ มีดังนี้

จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) นักเรียนสามารถ


1 จาแนกข้อความที่เป็นประพจน์หรือไม่เป็นประพจน์ได้
2. เปลี่ยนประพจน์ในรูปข้อความให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ได้
3. หาค่าความจริงของประพจน์ที่กาหนดให้ได้
4. สร้างตารางค่าความจริงหาค่าความจริงของประพจน์ที่กาหนดให้ได้
ด้านทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ (P)
นักเรียนสามารถใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
นักเรียนทางานเป็นระบบ รอบคอบ

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ ฌ ฌ
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่ม 1
แบบทดสอบก่อนเรียน
ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์

คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อ 10 คะแนน
ใช้เวลำในกำรทำแบบทดสอบ 10 นำที
2. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว โดยทำ เครื่องหมำย
กำกบำท (×) ลงในกระดำษคำตอบให้ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือก

1. ข้อใด ไม่ เป็นประพจน์


1. ประเทศไทยมี 70 จังหวัด 2. 2x + 3 = 8
3. ดวงอำทิตย์ขึ้นทำงทิศตะวันออก 4. 2  10  10  2
2. ข้อควำม “ถ้ำแดงไปโรงเรียนและดำไปตลำดแล้วทอมไม่ไปดูหนัง” เขียนเป็นสัญลักษณ์
ตรงกับข้อใด
เมื่อกำหนดให้ p แทน แดงไปตลำด
q แทน ดำไปโรงเรียน
r แทน ทอมไปดูหนัง
1. (p  q)  r 2. (p  q)  r
3. (p  q)  r 4. (p  q)  r
3. ประพจน์ในข้อใดมีค่ำควำมจริง เป็นเท็จ
1. 1 + 1 = 2 ก็ต่อเมื่อ 1 + 3 = 5
2. 4 เป็นเลขคู่ หรือ 2 เป็นเลขคี่
3. 5 มำกกว่ำ 2 หรือน้อยกว่ำ 2 แต่ไม่เท่ำกับ 2
4. ถ้ำ 1 + 1 = 2 และ 1 + 3 = 5 แล้ว 1 + 3 = 6
4. ให้ประพจน์ p และ q มีค่ำควำมจริงเป็นจริง และ r มีค่ำควำมจริงเป็นเท็จ ตำมลำดับ ประพจน์
ในข้อใดมีค่ำควำมจริง เป็นเท็จ
1. p  (p  q) 2. (p  q)  r
3. (p  q)  r 4. [(p  q)  r]  (p  q)
5. กำหนดให้ p เป็นประพจน์ที่มีค่ำควำมจริงเป็นจริง q และ r เป็นประพจน์ที่มีค่ำควำมจริง
เป็นเท็จตำมลำดับ ประพจน์ในข้อใดมีค่ำควำมจริงเหมือนประพจน์ (p  q)  (r  p)
1. (r  p)  (q  r) 2. (q  r)  (p  q)
3. (p  r)  (q  r) 4. (p  q)  (r  q)

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 1 1
6. ให้ p, q และ r เป็นประพจน์ ถ้ำ (p  q)  (q  r) มีค่ำควำมจริงเป็นเท็จ แล้วประพจน์
ในข้อใดมีค่ำควำมจริงเป็นจริง
1. p  q 2. p  r
3. p  q 4. q  r
7. ให้ p, q, r และ s เป็นประพจน์ ถ้ำ [p  (q  r)]  (s  r) มีค่ำควำมจริงเป็นจริง
และ p  s มีค่ำควำมจริงเป็นเท็จ แล้วข้อใดถูก
1. p  q มีค่ำควำมจริงเป็นจริง 2. q  r มีค่ำควำมจริงเป็นจริง
3. s  p มีค่ำควำมจริงเป็นเท็จ 4. r  s มีค่ำควำมจริงเป็นเท็จ
8. กำหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์
ถ้ำประพจน์ p  (q  r) มีค่ำควำมจริงเป็นเท็จ
และ (p  q)  r มีค่ำควำมจริงเป็นจริง
พิจำรณำค่ำควำมจริงของประพจน์ต่อไปนี้
ก. (p  q)  r ข. p  (q  r)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ข้อ ก และ ข เป็นจริง 2. ข้อ ก เป็นจริง แต่ ข้อ ข เป็นเท็จ
3. ข้อ ก เป็นเท็จ แต่ ข้อ ข เป็นจริง 4. ข้อ ก และ ข เป็นเท็จ
9. ถ้ำ p และ q มีค่ำควำมจริงเป็นจริง และ p  r มีค่ำควำมจริงเป็นเท็จ แล้วประพจน์ในข้อใด
มีค่ำควำมจริงเป็นจริง
1. (p  q) 2. p  (q  r)
3. (p  r) 4. (p  r)  q
10. ให้ p และ q เป็นประพจน์ ถ้ำ p * q เป็นประพจน์ที่มีค่ำควำมจริงดังตำรำงที่กำหนด
แล้วประพจน์ในข้อใดมีค่ำควำมจริงเหมือนกับประพจน์ p * q
p q p*q
T T F
T F F
F T F
F F T
1. (p  q) 2. p  q
3. (q  p) 4. q  p

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 2 2
กระดาษคาตอบ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่ม 1
แบบทดสอบก่อนเรียน ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์

ชื่อ......................................................................... ชั้น ............ เลขที่ .........

คาชี้แจง
ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมำยกำกบำท (×)
ลงในกระดำษคำตอบให้ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือก

ข้อ 1 2 3 4 คะแนนเต็ม 10
1 คะแนนที่ได้
2 คิดเป็นร้อยละ
3
4 ผลการประเมิน
 ดีมำก
5
 ดี
6
 พอใช้
7
 ปรับปรุง
8
9
ลงชื่อ .............................................. ผู้ตรวจ
10 ( ............................................ )

เกณฑ์การประเมิน
คะแนนร้อยละ 80 – 100 ผลกำรประเมินอยู่ในเกณฑ์ ดีมำก
คะแนนร้อยละ 60 – 79 ผลกำรประเมินอยู่ในเกณฑ์ ดี
คะแนนร้อยละ 40 – 59 ผลกำรประเมินอยู่ในเกณฑ์ พอใช้
คะแนนร้อยละ 0 – 39 ผลกำรประเมินอยู่ในเกณฑ์ ปรับปรุง

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 3 3
ใบความรู้ที่ 1.1 ประพจน์
ในกำรศึ ก ษำวิ ช ำคณิ ต ศำสตร์จ ะพบว่ ำ กำรใช้ถ้ อ ยคำถื อ เป็ น เรื่อ งส ำคั ญ ที่ ต้อ งเลือ กใช้
อย่ำงชัดเจนและรัดกุม
จำกคำอนิยำม บทนิยำม และสัจพจน์ สำมำรถพิสูจน์ ทฤษฎีบท โดยอำศัยตรรกศำสตร์
เรียกสิ่งซึ่งประกอบด้วย คำอนิยำม บทนิยำม สัจพจน์ และทฤษฎีบทว่ำ โครงสร้างของระบบ
คณิตศาสตร์ ดังนั้นในกำรศึกษำและสร้ำงสรรค์คณิตศำสตร์จึงต้องอำศัยควำมรู้ในวิชำตรรกศำสตร์
เป็นพื้นฐำน
สำหรับกำรเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษำตอนปลำยจะศึกษำเกี่ยวกับตรรกศำสตร์เบื้องต้น
ซึ่งเป็นพื้นฐำนสำคัญที่จะช่วยในกำรศึกษำวิชำคณิตศำสตร์ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น
ประพจน์ (Proposition หรือ Statements) คือ ประโยคหรือข้อความที่เป็นจริง
หรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านัน้ ประโยคหรือข้อควำมที่มีลักษณะดังกล่ำวจะอยู่ในรูปบอกเล่ำ
หรือปฏิเสธก็ได้
ในตรรกศำสตร์กำรเป็น จริง หรือ เท็จ ของแต่ละประพจน์ เรียกว่ำ ค่าความจริง (truth –
value) ของประพจน์ โดยค่ำควำมจริงของประพจน์มี 2 ชนิด ดังนี้
1. ค่ำควำมจริงที่มีค่ำ เป็นจริง เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ T (True)
2. ค่ำควำมจริงที่มีค่ำ เป็นเท็จ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ F (False)

ประโยคหรือข้อควำมที่เป็นประพจน์

ค่าความจริงของประโยค
ประโยคหรือข้อความ
หรือข้อความ
1. 2(4 + 3) = 14 เป็นจริง
2. {1, 3, {1, 2, 3, …}} เป็นเซตอนันต์ เป็นเท็จ
3. 2  10  10 เป็นจริง
4. 1 เป็นคำตอบของสมกำร x2 + 1 = 0 เป็นเท็จ
5. √2 ไม่เป็นจำนวนตรรกยะ เป็นจริง
6. 10 เป็นตัวประกอบของ 15 เป็นเท็จ
7. 18 + 9 > 50 เป็นเท็จ
8. x เป็นตัวประกอบของ x2 – x เป็นจริง
9. วันที่ 25 ธันวำคมของทุกปีเป็นวันขึ้นปีใหม่ เป็นเท็จ
10. 9 ไม่เท่ำกับ 10 เป็นจริง

ประโยคหรือข้อควำมที่อยู่ในรูปบอกเล่ำหรือปฏิเสธนั้นเป็นประพจน์ เนื่องจำก
สำมำรถบอกค่าความจริงได้

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 4 4
ประโยคหรือข้อควำมที่ ไม่เป็นประพจน์

ลักษณะของประโยค
ประโยคหรือข้อความ
หรือข้อความ
1. 4 + (-10) มีค่ำเท่ำไร คำถำม
2. เขำเป็นนักคณิตศำสตร์ใช่ไหม คำถำม
3. กรุณำถอดรองเท้ำก่อนเข้ำห้องเรียน ขอร้อง
4. 2x + 3 = 8 ประโยคที่มีตัวแปร
5. ว้ำย  ช่วยด้วย อุทำน
6. ใครมำโรงเรียนสำย คำถำม
7. ห้ำมส่งเสียงดัง คำสั่ง
8. กรุณำฟังที่ฉันพูด ขอร้อง
9. คุณพระช่วย อุทำน
10. รักดีหำมจั่ว รักชั่วหำมเสำ สุภำษิต

- ประโยคคำสั่ง คำถำม ขอร้อง อุทำน วลี สุภำษิต คำพังเพย หรือประโยค


ที่ไม่มีค่ำควำมจริง ไม่เป็นประพจน์
- ประโยคที่มีตัวแปร เมื่อแทนด้วยสมำชิกในเอกภพสัมพัทธ์แล้วทำให้ประโยค
เป็นจริงบ้ำงเท็จบ้ำง ไม่เป็นประพจน์ เช่น เขำเป็นนักเรียน หรือ x + 3 > 5

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 5 5
แบบฝึกทักษะที่ 1.1 ประพจน์ 15 คะแนน

ชื่อ .................................................................................... ชั้น .......... เลขที่ ................

1. ให้พิจำรณำประโยคหรือข้อควำมต่อไปนี้ว่ำเป็นประพจน์หรือไม่ ถ้ำเป็นประพจน์ให้บอก
ค่ำควำมจริงของประพจน์ แต่ถ้ำไม่เป็นประพจน์ให้อธิบำยเหตุผล (5 คะแนน)
เป็นประพจน์
ข้อ ประโยคหรือข้อความ หรือไม่ ค่าความจริง/ เหตุผล
เป็น ไม่เป็น
ตัวอย่างที่ 1 51 เป็นจำนวนเฉพำะ  เป็นเท็จ
ตัวอย่างที่ 2 กรุณำรับบัตรคิว  เป็นประโยคขอร้อง
1. 2 + 3 = 7

2. 2x2 + 4 = 5

3. 2 เป็นจำนวนคู่ใช่หรือไม่

4. 2 เป็นคำตอบหนึ่งของสมกำร
x2 + x = 6
5. 11  {1, 3, 5, … , 99}

6. โธ่  น่ำสงสำร

7. 8 < – 13 + 25 อยู่เท่ำไร

8. 12 – 3 = 3 – 12

9. ประโยคทุกประโยค
มีค่ำควำมจริงเป็นจริงเสมอ
10. x < 2x

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 6 6
2. ให้ยกตัวอย่ำงประโยคหรือข้อควำมที่เป็นประพจน์มำ 5 ประพจน์ พร้อมบอกค่ำควำมจริง
ของประพจน์นนั้ ๆ (5 คะแนน)
ข้อ ประโยคหรือข้อความ ค่าความจริงของประพจน์
ตัวอย่าง เดือนธันวำคมมี 30 วัน เป็นเท็จ
1.

2.

3.

4.

5.

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 7 7
ใบความรู้ที่ 1.2 การเชื่อมประพจน์

สัญลักษณ์แทนประพจน์
ในกำรศึกษำเกี่ยวกับกำรเชื่อมประพจน์ จะใช้อักษรภำษำอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก เช่น p, q, r,
s, … แทนประพจน์

เรียกประพจน์ที่นำมำเชื่อมกันด้วยตัวเชื่อมต่ำง ๆ หรือ p, q, r, s, … ว่ำประพจน์ย่อย


(atomic statement)

จงเขียนประโยคหรือข้อควำมที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์

ประพจน์ “3 + 9 = 12” เขียนแทนด้วย p


ประพจน์ “5.132 เป็นจำนวนตรรกยะ” เขียนแทนด้วย q
ประพจน์ “แมวเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ” เขียนแทนด้วย r

การเชื่อมประพจน์
ในวิชำคณิตศำสตร์หรือในชีวิตประจำวัน จะพบประโยคที่ได้จำกกำรเชื่อมประโยค
หรือข้อควำมด้วยคำว่ำ “และ” “หรือ” “ถ้ำ...แล้ว...” “ก็ต่อเมื่อ” หรือพบประโยคซึง่ เปลี่ยนแปลง
มำจำกประโยคเดิมโดยเติมคำว่ำ “ไม่” คำเหล่ำนี้เรียกว่ำ ตัวเชื่อม (connectives) ซึ่งตัวเชื่อม
ทำงตรรกศำสตร์มี 4 ตัวเชื่อม ดังนี้

ตัวเชื่อม สัญลักษณ์
1. “และ” “แต่” (conjunction) 
2. หรือ (disjunction) 
3. ถ้ำ...แล้ว... (conditional) 
4. ก็ต่อเมื่อ (biconditional) 

นอกจำกนี้สำหรับประโยคหรือข้อควำมที่มีค่ำควำมจริงตรงข้ำมกับประโยคหรือข้อควำม
เดิม จะแทนด้วย “นิเสธ” หรือคำว่ำ “ไม่” “ไม่ใช่” ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 8 8
การเปลี่ยนประพจน์ที่เป็นประโยคหรือข้อความให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์
กำรเปลี่ยนประพจน์ที่เป็นประโยคหรือข้อควำมให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ จะทำให้
กำรพิจำรณำค่ำควำมจริงทำได้ง่ำยขึ้น โดยสำมำรถใช้สัญลักษณ์แทนประพจน์และตัวเชื่อม
ในกำรเปลี่ยนประโยคหรือข้อควำมให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ สำหรับประพจน์ที่เกิดจำกกำรเชื่อม
ประพจน์ย่อยตั้งแต่สองประพจน์ย่อยขึ้นไปเรียกว่ำ รูปแบบของประพจน์ (statement pattern)
โดยมีตัวอย่ำงกำรเชื่อมประพจน์ ดังนี้

1 เป็นจานวนเต็มบวก และ –1 เป็นจานวนเต็มลบ รูปแบบของประพจน์


p  q

ประพจน์ย่อย ตัวเชื่อม ประพจน์ย่อย

จงเชื่อมประพจน์ 1 + 1 = 2 กับประพจน์ 3 + 4 = 8 ด้วยตัวเชื่อม “และ”


“หรือ” “ถ้ำ...แล้ว” และ “ก็ต่อเมื่อ” โดยเขียนให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์
วิธีทา ให้ p แทน 1 + 1 = 2
q แทน 3 + 4 = 8
เขียนในรูปประโยค
ตัวเชื่อม เขียนในรูปสัญลักษณ์
หรือข้อความ
1. และ 1 + 1 = 2 และ 3 + 4 = 8 pq
2. หรือ 1 + 1 = 2 หรือ 3 + 4 = 8 pq
3. ถ้ำ...แล้ว ถ้ำ 1 + 1 = 2 แล้ว 3 + 4 = 8 pq
4. ก็ต่อเมื่อ 1 + 1 = 2 ก็ต่อเมื่อ 3 + 4 = 8 pq

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 9 9
จงเปลี่ยนข้อความต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ เมื่อกาหนด p, q และ r
แทนประพจน์ใด ๆ
วิธีทา
สัญลักษณ์
ข้อความ
แทนประพจน์
1. 7 + 3 < 10 แต่ 10 > –15 pq
2. ถ้า 7 เป็นคาตอบของสมการ x2 – 49 = 0 แล้ว 7 เป็นจานวนเต็ม pq
3. 3 = 5 หรือ 3 เป็นจานวนคู่ ก็ต่อเมื่อ 5 เป็นจานวนคู่ (p  q)  r
4. 2 หรือ –3 เป็นคาตอบของสมการ x2 – 5x – 14 = 0 pq
5. 12 เป็นจานวนคู่ก็ต่อเมื่อ 2 หาร 12 ลงตัว pq

กรณีที่โจทย์ไม่มีวงเล็บแยกประพจน์ให้ เมื่อจะใส่วงเล็บให้ใส่วงเล็บให้ครอบคลุม
ประพจน์ที่ตัวเชื่อมมีความสาคัญน้อยก่อนตัวเชื่อมที่มีความสาคัญมากกว่า คือ พิจารณา
ตัวเชื่อม  ก่อนจึงพิจารณาตัวเชื่อม  กับ  จากนั้นจึงพิจารณาตัวเชื่อม  และพิจารณา
ตัวเชื่อม 

จงเปลี่ยนสัญลักษณ์ต่อไปนี้ให้เป็นข้อความ

เมื่อกาหนดให้ p แทน 1 + 2 = 4
q แทน 5 + 5 = 10
r แทน 2 เป็นจานวนคู่
1. (p  q)  r
เปลี่ยนเป็นข้อความ “ถ้า 1 + 2 = 4 หรือ 5 + 5 = 10 แล้ว 2 เป็นจานวนคู่”
2. (p  q)  r
เปลี่ยนเป็นข้อความ “ถ้า 1 + 2  4 และ 5 + 5  10 แล้ว 2 ไม่เป็นจานวนคู่”
3. p  (q  r)
เปลี่ยนเป็นข้อความ “1 + 2 = 4 ก็ต่อเมื่อ 5 + 5 = 10 และ 2 ไม่เป็นจานวนคู่”

จงเปลี่ยนข้อความ “ ไม่เป็นจานวนตรรกยะ” ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์

วิธีทา ให้ p แทน  เป็นจานวนตรรกยะ


เปลี่ยนเป็นข้อความ “ ไม่เป็นจานวนตรรกยะ” ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ได้เป็น p

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 10 10
แบบฝึกทักษะที่ 1.2 การเชื่อมประพจน์ 15 คะแนน

ชื่อ .................................................................................... ชั้น .......... เลขที่ ................


1. ให้เขียนประพจน์ต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ (10 คะแนน)
ข้อ ประพจน์ กาหนดให้ สัญลักษณ์แทนประพจน์
ตัวอย่าง 2  –2 หรือ 3 + 4 = 10 p แทน 2  –2 Pq
q แทน 3 + 4 = 10
1. ถ้า 8 เป็นจานวนคู่ แล้ว √8
เป็นจานวนเต็ม
2. 24 = 42 แต่ 2  4

3. 5 + 6  6 + 5 หรือ 2 < 5
ก็ต่อเมื่อ 52 = 10

4. ถ้า a เป็นจานวนคี่
แล้ว b ไม่เป็นจานวนคี่
5. 1 + 3 = 5 และ 2 + 2  4

6. 3 = 5 และ 3 เป็นจานวนคี่

7. ถ้า 3 > 4 แล้ว 3 – 4 < 4 – 3

8. –23 < 0 ก็ต่อเมื่อ –23


หรือ 0 เป็นจานวนเฉพาะ

9. –10 = 10 และ 10 < –10


ก็ต่อเมื่อ 2 หรือ –2
เป็นตัวประกอบของ 10

10. 7 ไม่ใช่จานวนนับ
ก็ต่อเมื่อ 7 > 2 แล้ว –3 > 3

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 11 11
2. กาหนดให้ p แทน 1 เป็นจานวนคู่
q แทน 2 เป็นจานวนคี่
r แทน  เป็นจานวนตรรกยะ
จงเปลี่ยนสัญลักษณ์ที่กาหนดให้เป็นข้อความ (5 คะแนน)
ตัวอย่าง r  q
เปลี่ยนเป็นข้อความ ถ้า  เป็นจานวนตรรกยะ แล้ว 2 ไม่เป็นจานวนคี่

2.1 p  r
เปลี่ยนเป็นข้อความ ...............................................................................................................................
2.2 r  (p  q)
เปลี่ยนเป็นข้อความ ...............................................................................................................................
2.3 (p  q)  r
เปลี่ยนเป็นข้อความ ...............................................................................................................................
2.4 (p  r)  q
เปลี่ยนเป็นข้อความ ...............................................................................................................................
2.5 (p  r)  q
เปลี่ยนเป็นข้อความ ...............................................................................................................................

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 12 12
ใบความรู้ที่ 1.3 ค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมประพจน์
การพิจารณาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม ค่าความจริงย่อมขึ้นอยู่กับ
จานวนประพจน์ที่นามาเชื่อมกันซึ่งสามารถพิจารณาค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด โดยใช้
T แทนจริงและ F แทนเท็จ ได้ดังนี้
1. ถ้ามีประพจน์เดียว คือ p จะมีกรณีเกี่ยวกับค่าความจริงที่จะเกิดขึ้นได้ 2 กรณี
คือ T กับ F
p p
T T
F F
2. ถ้ามีสองประพจน์ คือ p และ q จะมีกรณีเกี่ยวกับค่าความจริงที่จะเกิดขึ้นได้ทั้งหมด
4 กรณี ซึ่ง T และ F ของ p ต่างก็จะจับคู่กับกรณี T และ F ของ q ได้ดังนี้
p q
p q
T
T T T
F
T F
T F T
F F F
F

การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “และ” (conjunction)


ถ้า p และ q เป็นประพจน์ รูปแบบของประพจน์ที่ได้จากการเชื่อม p กับ q ด้วย “และ”
คือ “p และ q” เขียนแทนด้วย p  q และเขียนตารางค่าความจริงได้ดังนี้

p q pq
T T T
T F F
F T F
F F F

- p  q เป็นจริงเพียงกรณีเดียวเท่านั้น คือ p มีค่าความจริงเป็นจริง และ q


มีค่าความจริงเป็นจริง กรณีอื่น ๆ จะได้ p  q เป็นเท็จทุกกรณี
- ตัวเชื่อม “และ” สามารถใช้แทนในประโยคภาษาด้วยคาว่า “แต่” “ที่” “ซึ่ง” ได้

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 13 13
จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้

ประพจน์ ค่าความจริง

1. 3 = 6 และ 3 เป็นจานวนคู่ F
F F
2. 2 น้อยกว่า 5 แต่ 3 ไม่น้อยกว่า –5 T
T T
3. 4 กับ 1  {1, 2} F
จะได้ 4  {1, 2} กับ 1  {1, 2}
F T
4. 2 และ 5 เป็นตัวประกอบของ 30 T
จะได้ 2 เป็นตัวประกอบของ 30 และ 5 เป็นตัวประกอบของ 30
T T
5. 1 + 3 = 8 แต่ 2 – 7 = 5 F
F F

การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “หรือ” (disjunction)

ถ้า p และ q เป็นประพจน์ ประพจน์ใหม่ที่ได้จากการเชื่อม p กับ q ด้วย “หรือ”


คือ “p หรือ q” เขียนแทนด้วย p  q และเขียนตารางค่าความจริงได้ดังนี้

p q pq
T T T
T F T
F T T
F F F

- p  q เป็นเท็จเพียงกรณีเดียวเท่านั้น คือ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ q


มีค่าความจริงเป็นเท็จ กรณีอื่น ๆ จะได้ p  q เป็นจริงทุกกรณี
- การใช้ตัวเชื่อม “หรือ” ในความหมายทั่วไปมีความหมายว่าเป็นการเลือกอย่างใด
อย่างหนึ่ง และอาจมีความหมายว่าเป็นการเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างได้
ซึ่งในทางตรรกศาสตร์ การใช้ตัวเชื่อม “หรือ” มีความหมายว่าเป็นการเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
หรือทั้งสองอย่าง

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 14 14
จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้

ประพจน์ ค่าความจริง

1. 2 เป็นจานวนเฉพาะ หรือ 4 เป็นจานวนเฉพาะ T


T F
2. 34 = 43 หรือ 3 = 4 F
F F
22
3.  = 7 หรือ  เป็นจานวนอตรรกยะ T
F T
4. 2 + 5 = 7 หรือ 2 + 9 = 1 T
T F
5. 2 เป็นตัวประกอบของ 22 หรือ 25 T
จะได้ 2 เป็นตัวประกอบของ 22 หรือ 2 เป็นตัวประกอบของ 25
T F

การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ถ้า...แล้ว...” (conditional)

ถ้า p และ q เป็นประพจน์ ประพจน์ใหม่ที่ได้จากการเชื่อม p กับ q ด้วย “ถ้า… แล้ว…”


คือ “ถ้า p แล้ว q” เขียนแทนด้วย p  q และเขียนตารางค่าความจริงได้ดังนี้

p q pq
T T T
T F F
F T T
F F T

- p  q เป็นเท็จเพียงกรณีเดียวเท่านั้น คือ p มีค่าความจริงเป็นจริง และ q


มีค่าความจริงเป็นเท็จ กรณีอื่น ๆ จะได้ p  q เป็นจริงทุกกรณี
- ตัวเชื่อม “ถ้า...แล้ว...” สามารถใช้แทนในประโยคภาษาด้วยคาว่า “ถ้า...ดังนั้น...”
หรือ “ถ้า...” โดยละคาว่า “แล้ว” ไว้ก็ได้

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 15 15
จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้

ประพจน์ ค่าความจริง

1. ถ้า 2 = 3 แล้ว 32 = 9 T
F T
2. ถ้า √3 เป็นจานวนอตรรกยะ แล้ว (√3)2  3 F
T F
3. 3 – 2 = 1 – 3 ดังนั้น 3 – 2  1 – 3 T
F T
4. ถ้า 2 + 5 = 7 แล้ว 2 + 9 = 1 F
T F
5. ถ้า 2 < 4 แล้ว 2 + 5 < 4 + 5 T
T T

การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ก็ต่อเมื่อ” (biconditional)

ถ้า p และ q เป็นประพจน์ ประพจน์ใหม่ที่ได้จากการเชื่อม p กับ q ด้วย “ก็ต่อเมื่อ”


คือ “ถ้า p แล้ว q” เขียนแทนด้วย p  q และเขียนตารางค่าความจริงได้ดังนี้

p q pq
T T T
T F F
F T T
F F T

p  q เป็นจริง เมื่อประพจน์ย่อยมีค่าความจริงเหมือนกัน

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 16 16
จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้

ประพจน์ ค่าความจริง

1. 3 ไม่น้อยกว่า 4 ก็ต่อเมื่อ 0 ไม่น้อยกว่า –3 F


F T
2. 2 < 3 ก็ต่อเมื่อ 3 < 2 F
T F
3. 7 + 5 เป็นจานวนคู่ ก็ต่อเมื่อ 7 เป็นจานวนคี่ T
T T
4. 5  {1, 2, 3} ก็ต่อเมื่อ {5}  {1, 2, 3} T
F F
5. 2 < 4 ก็ต่อเมื่อ 2 + 5 < 4 + 5 F
F T

นิเสธ (negation) ของประพจน์

นิเสธของประพจน์ p คือ ประพจน์ที่มีค่าความจริงตรงข้ามกับประพจน์ p


เขียนแทนนิเสธของประพจน์ p ด้วย p และเขียนตารางค่าความจริงได้ดังนี้
p q
T F
F T
จงเขียนนิเสธของประพจน์ต่อไปนี้และหาค่าความจริง

ค่าความจริง ค่าความจริงของนิเสธ
ประพจน์ นิเสธของประพจน์
ของประพจน์ ของประพจน์
1. 2=3 F 23 T
2. 3 + 8 > 16 F 3 + 8  16 T
3. 7 + 5 เป็นจานวนคู่ T 7 + 5 ไม่เป็นจานวนคู่ F
4. 5  {1, 2, 3} F 5  {1, 2, 3} T
5. 22 เป็นจานวนเต็ม T 22 ไม่เป็นจานวนเต็ม F

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 17 17
กาหนดให้ประพจน์ p มีค่าความจริงเป็นจริง และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้

ค่าความจริง
ประพจน์
ของประพจน์
1. p  q T
T T
2. p  q T
T T
3. p  q T
F T
4. p  q) T
F F
5. p  q T
F T

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 18 18
แบบฝึกทักษะที่ 1.3 ค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมประพจน์ 15 คะแนน

ชื่อ .................................................................................... ชั้น .......... เลขที่ ................


1. จงหาค่าความจริงของประพจน์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ (10 คะแนน)
ข้อ ประพจน์ ค่าความจริงของประพจน์
ตัวอย่าง 2  –2 หรือ 3 + 4 = 10 T
T F
1. ถ้า 8 เป็นจานวนคู่ แล้ว √8 เป็นจานวนเต็ม
T F
4 2
2. 2 = 4 แต่ 2  4

3. 5 + 6  6 + 5 ก็ต่อเมื่อ 52 = 10

4. ถ้า 3 เป็นจานวนคี่ แล้ว 9 ไม่เป็นจานวนคี่

5. 1 + 3 = 5 และ 2 + 2  4

6. 3 = 5 และ 3 เป็นจานวนคี่

7. ถ้า 3 > 4 แล้ว 3 – 4 < 4 – 3

8. 23 < 0 ก็ต่อเมื่อ 23 เป็นจานวนเฉพาะ

9. –10 = 10 ก็ต่อเมื่อ 2 เป็นตัวประกอบของ 10

10. ถ้า 7 ไม่ใช่จานวนนับ แล้ว –3 > 3

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 19 19
2. กาหนดให้ประพจน์ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ q มีค่าความจริงเป็นจริง จงหาค่าความจริง
ของประพจน์ต่อไปนี้ (5 คะแนน)
ข้อ ประพจน์ ค่าความจริงของประพจน์
ตัวอย่าง p  q T
F F
1. p  q
T T
2. p  q

3. pq

4. q  p

5. p  p

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 20 20
ใบความรู้ที่ 1.4 การหาค่าความจริงของประพจน์โดยใช้แผนภาพ

ทบทวน
ชวนคิด ตารางค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมแบบต่าง ๆ มีเพื่อช่วยในการหา
ค่าความจริงของประพจน์ว่ามีค่าความจริงเป็นจริงหรือเท็จ
เมื่อ p และ q เป็นประพจน์ใด ๆ สามารถนามาเชื่อมด้วยตัวเชื่อม “และ” () “หรือ ()
“ถ้า...แล้ว...” () และ “ก็ต่อเมื่อ” () โดยมีข้อตกลงเกี่ยวกับค่าความจริงของประพจน์ที่ได้
จากการเชื่อมประพจน์ p และ q โดยให้ T และ F แทนจริงและเท็จ ตามลาดับ ดังนี้
p q pq pq pq pq
T T T T T T
T F F T F F
F T F T T F
F F F F T T
สาหรับนิเสธของประพจน์ p คือ ประพจน์ที่มีค่าความจริงตรงข้ามกับค่าความจริง
ของประพจน์ p เสมอ แทนด้วยสัญลักษณ์ p โดยมีข้อตกลงเกี่ยวกับค่าความจริง ดังนี้
p p
T F
T T

ในการหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมนั้น อาจทาได้เร็วขึ้นโดยใช้แผนภาพ
ดังตัวอย่างต่อไปนี้

กาหนดให้ p และ q เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง และ r เป็นประพจน์


ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
1. p  (q  r)
วิธีทา จาก p และ q เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง และ r เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริง
เป็นเท็จ
จะไพ้ว่า p  (q  r)
T T F

F
ดังนั้น ประพจน์ p  (q  r) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 21 21
การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมตั้งแต่สองตัวขึ้นไป จะหา
ค่าความจริงของประพจน์ในวงเล็บก่อน โดยหาจากวงเล็บในสุดไปยังวงเล็บนอกสุด
แต่หากไม่ได้ใส่วงเล็บให้หาค่าความจริงของตัวเชื่อมตามลาดับจากก่อนไปหลัง ดังนี้
ลาดับที่ ตัวเชื่อมหรือนิเสธ
1 
2  กับ 
3 
4 

กาหนดให้ p และ q เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง และ r เป็นประพจน์


ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์ p  q  r

วิธีทา จาก p และ q เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง และ r เป็นพจน์ที่มีค่าความจริง


จะได้ว่า p  q  r
T T F p  q  r
มีความหมายเช่นเดียวกับ
F T p  (q  r)

ดังนั้น ประพจน์ p  q  r มีค่าความจริงเป็นเท็จ

จะเห็นได้ว่าค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์จะมีค่าความจริงเป็นจริงหรือเป็นเท็จนั้น
ขึ้นอยู่กับค่าความจริงของประพจน์ย่อยและตัวเชื่อม นักเรียนสามารถศึกษาการหาค่าความจริง
ของรูปแบบของประพจน์จากตัวอย่างดังต่อไปนี้

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 22 22
กาหนดให้ p และ q เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง r และ s เป็นประพจน์
ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
1. (p  q)  (r  p)
วิธีทา พิจารณา (p  q)  (r  p)
T T F T

T F

F T

T0

ดังนั้น ประพจน์ (p  q)  (r  p) มีค่าความจริงเป็นจริง

2. [(p  r)  q]  (p  s)


วิธีทา พิจารณา [(p  r)  q]  (p  s)
T F T T F

F F F

F F

ดังนั้น ประพจน์ [(p  r)  q]  (p  s) มีค่าความจริงเป็นจริง

กาหนดให้ p  q เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง จงหาค่าความจริง


ของประพจน์ (p  q)  (p  q)
วิธีทา ขั้นที่ 1 จาก p  q มีค่าความจริงเป็นจริง
จะได้ว่า pq
T

T T
นั่นคือ p และ q เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 23 23
ขั้นที่ 2 พิจารณา (p  q)  (p  q)
T T T T

F T

T F

F
ดังนั้น ประพจน์ (p  q)  (p  q) มีค่าความจริงเป็นเท็จ

กาหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์ ถ้า (p  q)  (q  r) มีค่าความจริง


เป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์ p, q และ r
วิธีทา จาก (p  q)  (q  r) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
จะได้ว่า (p  q)  (q  r)
F

T F

T T F F

ดังนั้น p เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง q และ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ

จงหาค่าความจริงของประพจน์ p, q r และ s เมื่อประพจน์ (p  q)  (r  s)


มีค่าความจริงเป็นจริง และประพจน์ q  s มีค่าความจริงเป็นเท็จ
วิธีทา ขั้นที่ 1 จาก q  s มีค่าความจริงเป็นเท็จ
จะได้ว่า qs
F

F F
นั่นคือ q และ s เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 24 24
ขั้นที่ 2 จากประพจน์ (p  q)  (r  s) มีค่าความจริงเป็นจริง
และประพจน์ q และ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ (จากขั้นที่ 1)
จะได้ว่า (p  q)  (r  s)
T

T T

F F T F

ดังนั้น p, q และ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ r มีค่าความจริงเป็นจริง

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 25 25
แบบฝึกทักษะที่ 1.4 การหาค่าความจริงของประพจน์โดยใช้แผนภาพ 15 คะแนน

ชื่อ .................................................................................... ชั้น .......... เลขที่ ................

1. จงหาค่าความจริงของประพจน์ที่กาหนดค่าความจริงหรือไม่กาหนดค่าความจริงของประพจน์ย่อย
ต่อไปนี้ (3 คะแนน)
ตัวอย่าง p  (q  r)
T T F

F
ดังนั้น ประพจน์ p  (q  r) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1) p  (p  q) 2) (p  q)  p
T T F F T F

ดังนั้น ........................................................... ดังนั้น ......................................................

3) (p  p)  r 4) (p  p)  r
T T F

ดังนั้น ........................................................... ดังนั้น ...........................................................

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 26 26
5) (p  p)  q 6) (p  p)  (q  r)
F

ดังนั้น ........................................................... ดังนั้น ...........................................................

2. จงหาค่าความจริงของประพจน์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้โดยการใช้แผนภาพ เมื่อกาหนดประพจน์ p
และ q มีค่าความจริงเป็นจริง และประพจน์ r และ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ (10 คะแนน)
ตัวอย่าง (p  s)  r
วิธีทา (p  s)  r
T F F

F T

T
ดังนั้น ประพจน์ (p  s)  r มีค่าความจริงเป็นจริง

1) (p  r)  (q  s) 2) (r  s)  (p  s)

วิธีทา (p  r)  (q  s)
T F T F

ดังนั้น ........................................................... ดังนั้น ...........................................................

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 27 27
3) (p  r)  (q  s) 4) (p  q)  [(p  (r  q)]

ดังนั้น ........................................................... ดังนั้น ...........................................................


5) [(p  q)  r]  (q  r)  p

ดังนั้น ...........................................................

3. จงหาค่าความจริงของประพจน์ m, n, r และ s เมื่อกาหนดให้ (m  n)  (r  s)


มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ m  r มีค่าความจริงเป็นจริง (2 คะแนน)
วิธีทา …………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 28 28
ใบความรู้ที่ 1.5 การสร้างตารางค่าความจริง
การพิจารณาค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์ซึ่งยังไม่ได้กาหนดค่าความจริง
ของประพจน์ย่อย นิยมใช้การสร้างตารางค่าความจริงเพื่อแสดงค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด
จากประพจน์ย่อย โดยมีแนวทางการกาหนดค่าความจริงของประพจน์ย่อยทุกกรณีที่เป็นไปได้ ดังนี้
1. ถ้ามีประพจน์เดียว คือ p จะมีกรณีเกี่ยวกับค่าความจริงที่จะเกิดขึ้นได้ 2 กรณี
คือ T กับ F
p p
T T
F F
2. ถ้ามีสองประพจน์ คือ p และ q จะมีกรณีเกี่ยวกับค่าความจริงที่จะเกิดขึ้นได้ทั้งหมด
4 กรณี ซึ่ง T และ F ของ p ต่างก็จะจับคู่กับกรณี T และ F ของ q ได้ดังนี้
p q
p q
T
T T T
F
T F
T F T
F F F
F
3. ถ้ามีสามประพจน์ คือ p, q และ r จะมีกรณีเกี่ยวกับค่าความจริงที่จะเกิดขึ้นได้ทั้งหมด
8 กรณี ดังนี้

p q r p q r
T T T T
T
F T T F
T
T T F T
F
F T F F
T T
T F T
F
F F T F
T
F F F T
F
F F F

ถ้ามี n ประพจน์ คือ p, q, r, …, n จะมีกรณีเกี่ยวกับค่าความจริงที่จะเกิดขึ้น


ได้ทั้งหมด 2n กรณี

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 29 29
จงหาสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1. p  (q  p)
วิธีทา ประพจน์ p  (q  p) มีประพจน์ย่อย 2 ประพจน์ ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด
4 กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
p q p q  p p  (q  p)
T T F T T
T F F F F
F T T T T
F F T T T

2. (p  q)   (r  q)
วิธีทา ประพจน์ (p  q)   (r  q) มีประพจน์ยอ่ ย 3 ประพจน์ ค่าความจริงที่เป็นไปได้
ทั้งหมด 8 กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
p q r q p  q r  q  (r  q) (p  q)   (r  q)
T T T F T T F F
T T F F T F T T
T F T T T F T T
T F F T T F T T
F T T F F T F T
F T F F F F T F
F F T T T F T F
F F F T T F T T

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 30 30
แบบฝึกทักษะที่ 1.5 การสร้างตารางค่าความจริง 15 คะแนน

ชื่อ .................................................................................... ชั้น .......... เลขที่ ................

จงสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้ (15 คะแนน


ตัวอย่าง (p  q)  (q  p)
วิธีทา ประพจน์ (p  q)  (q  p) มีประพจน์ย่อย 2 ประพจน์ ค่าความจริงที่เป็นไปได้
ทั้งหมด 4 กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
p q p  q ( p  q) q  p (p  q)  (q  p)
T T T F T T
T F F T F F
F T F T F F
F F F T F F

1. (q  r)  [(r  q)  r]


วิธีทา ประพจน์ (q  r)  [(r  q)  r] มีประพจน์ย่อย ....... ประพจน์ ค่าความจริง
ที่เป็นไปได้ทั้งหมด ....... กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
q r q r q  r r  q (r  q)  r (q  r)  [(r  q)  r]
T T
T F
F T
F F

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 31 31
2. [(p  q)  r]  [p  (q  r)]
วิธีทา ประพจน์ [(p  q)  r]  [p  (q  r)] มีประพจน์ย่อย ....... ประพจน์
ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด ....... กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
p q r pq (p  q)  r qr p  (q  r) [(p  q)  r]  [p  (q  r)]
T T T
T T F
T F T
T F F
F T T
F T F
F F T
F F F

3. (p  q)  (q  p)]
วิธีทา ประพจน์ (p  q)  (q  p)] มีประพจน์ย่อย ....... ประพจน์
ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด ....... กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
q r

4. [(p  q)  r]  [p  (q  r)]
วิธีทา ประพจน์ [(p  q)  r]  [p  (q  r)] มีประพจน์ย่อย ....... ประพจน์
ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด ....... กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
p q r

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 32 32
5. [(r  s)  s]  (s  r)]
วิธีทา ประพจน์ [(r  s)  s]  (s  r)] มีประพจน์ย่อย ....... ประพจน์
ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด ....... กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 33 33
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่ม 1
แบบทดสอบหลังเรียน
ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์

คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน
ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว โดยทา เครื่องหมาย
กากบาท (×) ลงในกระดาษคาตอบให้ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือก

1. ข้อใด ไม่ เป็นประพจน์


1. 7 เป็นคาตอบของสมการ x + 1 = 5 2. 2 เป็นจานวนอตรรกยะ
3. จริงหรือไม่ที่ 11 เป็นจานวนเฉพาะ 4. 1 วันมี 24 ชั่วโมง
2. ข้อความ “มีนซื้อหนังสือหรือมดซื้อสมุดก็ต่อเมื่อใหม่ซื้อดินสอ” เขียนเป็นสัญลักษณ์ตรงกับ
ข้อใด เมื่อกาหนดให้ p แทน มีนซื้อหนังสือ
q แทน มดซื้อสมุด
r แทน ใหม่ซื้อดินสอ
1. (p  q)  r
2. (p  q)  r
3. (p  q)  r
4. (p  q)  r
3. ประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็น เท็จ
1. 1 เป็นไม่เป็นจานวนเฉพาะ และ 2 เป็นจานวนเต็มลบ
2. 1 + 1 > 3 ก็ต่อเมื่อ 3 > 5
3.  = 3.14 หรือ 4 เป็นจานวนคู่ แต่ 4 เป็นตัวประกอบของ 36
4. ถ้า 2  4 = 4  2 และ 2 > 7 แล้ว 5 เป็นตัวประกอบของ 22
4. ให้ประพจน์ p, q และ r มีค่าความจริงเป็นจริง ประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริง เป็นเท็จ
1. (p  q)  r 2. p  (q  r)
3. (p  q)  r 4. (p  q)  r
5. กาหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์ ถ้า p  q เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ
แล้วประพจน์ q  (p  r) มีค่าความจริงตรงกับประพจน์ในข้อใด
1. (q  r)  p 2. (q  r)  p
3. (p  q)  r 4. (q  p)  r

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 34 34
6. ให้ p, q และ r เป็นประพจน์ ถ้า (p  q)  r มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้วประพจน์ในข้อใด
มีค่าความจริงเป็นจริง
1. p  r 2. q  r
3. p  q 4. p  r
7. ให้ p, q, r และ s เป็นประพจน์ ถ้า (p  q)  (r  s) มีค่าความจริงเป็นเท็จ และประพจน์
p  r มีค่าความจริงเป็นจริง ประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็นจริง
1. (q  p)  (q  r) 2. q  [p  (q  r)]
3. (p  s)  (r  q) 4. (r  s)  [q  (p  r)]
8. กาหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์ และประพจน์ p  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
พิจารณาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
ก. (p  r)  [(p  r)  q] มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ข. (p  r)  (q  p) มีค่าความจริงเป็นจริง
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ข้อ ก และ ข ถูก 2. ข้อ ก ถูก แต่ ข้อ ข ผิด
3. ข้อ ก ผิด แต่ ข้อ ข ถูก 4. ข้อ ก และ ข ผิด
9. กาหนด p, q และ r แทนประพจน์ และ p  q มีค่าความจริงเป็นจริง และ q  r มีค่า
ความจริงเป็นเท็จ แล้วประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. (p  q)  r 2. (p  q)  r
3. (p  q)  r 4. p  (q  r)
10. ให้ p และ q เป็นประพจน์ ถ้า p * q เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงดังตารางที่กาหนด
แล้วประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเหมือนกับประพจน์ p * q
p q p*q
T T F
T F T
F T T
F F T
1. p  q 2. p  q
3. q  p 4. q  p

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 35 35
กระดาษคาตอบ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่ม 1
แบบทดสอบหลังเรียน ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์

ชื่อ......................................................................... ชั้น ............ เลขที่ .........

คาชี้แจง
ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว โดยทาเครื่องหมายกากบาท (×)
ลงในกระดาษคาตอบให้ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือก

ข้อ 1 2 3 4 คะแนนเต็ม 10
1 คะแนนที่ได้
2 คิดเป็นร้อยละ
3
4 ผลการประเมิน
 ดีมาก
5
 ดี
6
 พอใช้
7
 ปรับปรุง
8
9
ลงชื่อ .............................................. ผู้ตรวจ
10 ( ............................................ )

เกณฑ์การประเมิน
คะแนนร้อยละ 80 – 100 ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก
คะแนนร้อยละ 60 – 79 ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ ดี
คะแนนร้อยละ 40 – 59 ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ พอใช้
คะแนนร้อยละ 0 – 39 ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ ปรับปรุง

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 36 36
แบบบันทึกคะแนน
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์

ชื่อ ................................................................................ ชั้น ......... เลขที่ ........

1. คะแนนแบบทดสอบ
แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ ผลการประเมิน
แบบทดสอบก่อนเรียน 10
แบบทดสอบหลังเรียน 10

2. คะแนนแบบฝึกทักษะและคะแนนแบบทดสอบหลังเรียน
รายการ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
แบบฝึกทักษะที่ 1.1 15
แบบฝึกทักษะที่ 1.2 15
แบบฝึกทักษะที่ 1.3 15
แบบฝึกทักษะที่ 1.4 15
แบบฝึกทักษะที่ 1.5 15
แบบทดสอบหลังเรียน 10
รวม 85
คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมิน

เกณฑ์การประเมิน
คะแนนร้อยละ 80 – 100 ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก
คะแนนร้อยละ 60 – 79 ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ ดี
คะแนนร้อยละ 40 – 59 ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ พอใช้
คะแนนร้อยละ 0 – 39 ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ ปรับปรุง

ลงชื่อ ................................................................... ผู้บันทึก


วันที่.............เดือน....................... พ. ศ. ...............

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 37 37
บรรณานุกรม
กนกวลี อุษณกรกุล, รณชัย มาเจริญทรัพย์, ปาจรีย์ กวิยา เนาวประทีป. (2556). เทคนิคการเรียน
คณิตศาสตร์ : ตรรกศาสตร์. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ฟิสิกส์เซนเตอร์.
ณรงค์ ปั้นนิ่ม และรณชัย มาเจริญทรัพย์. (2554). คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม. 4 เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 4
ม. 4 – 6. กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิตการพิมพ์.
เทพฤทธิ์ ยอดใส และอุดมศักดิ์ ลูกเสือ. (2552). เก็งข้อสอบ PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์.
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา.
นรพนธ์ อุสาใจ. (2557). เฉลยข้อสอบโควตา ม. เชียงใหม่ ฉบับรวม 21 พ.ศ. 2537 – 2557
คณิตศาสตร์ (สายวิทย์). กรุงเทพฯ : ศิวา โกลด์ มีเดีย.
เลิศ สิทธิโกศล. (2554). Math Review คณิตศาสตร์ ม. 4 – 6 เล่ม 1 เพิ่มเติม. กรุงเทพฯ :
ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จากัด.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
สกสค. ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สมัย เหล่าวานิชย์ และพัวพรรณ เหล่าวานิชย์. (2554). Hi – ED’ s Mathematics ม. 4 – 6
เล่ม 1 (รายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 38 38
ภาคผนวก

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 39 39
ภาคผนวก ก
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 40 40
เฉลย แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่ม 1
แบบทดสอบก่อนเรียน ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์

ข้อ 1 2 3 4
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 41 41
ภาคผนวก ข
เฉลยแบบฝึกทักษะ

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 42 42
เฉลย
ประพจน์ 15 คะแนน
แบบฝึกทักษะที่ 1.1

1. ให้พิจารณาประโยคหรือข้อความต่อไปนี้ว่าเป็นประพจน์หรือไม่ ถ้าเป็นประพจน์ให้บอก
ค่าความจริงของประพจน์ แต่ถ้าไม่เป็นประพจน์ให้อธิบายเหตุผล (5 คะแนน)
เป็นประพจน์
ค่าความจริง/ เหตุผล
ข้อ ประโยคหรือข้อความ หรือไม่
(แนวการตอบ)
เป็น ไม่เป็น
1. 2 + 3 = 7  เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ

2. 2x2 + 4 = 5  เป็นสมการซึ่งมีตัวแปร
และไม่สามารถบอกค่าความจริงได้
3. 2 เป็นจานวนคู่ใช่หรือไม่  เป็นประโยคคาถาม

4. 2 เป็นคาตอบหนึ่งของสมการ  เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ
x2 + x = 6
5. 11  {1, 3, 5, … , 99}  เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง

6. โธ่  น่าสงสาร  เป็นคาอุทาน

7. 8 < – 13 + 25 อยู่เท่าไร  เป็นประโยคคาถาม

8. 12 – 3 = 3 – 12  เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็น

9. ประโยคทุกประโยค  เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ
มีค่าความจริงเป็นจริงเสมอ
10. x < 2x  เป็นอสมการซึ่งมีตัวแปร
และไม่สามารถบอกค่าความจริงได้

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 43 43
2. ให้ยกตัวอย่างประโยคหรือข้อความที่เป็นประพจน์มา 5 ประพจน์ พร้อมบอกค่าความจริง
ของประพจน์นนั้ ๆ (5 คะแนน)
ข้อ ประโยคหรือข้อความ ค่าความจริงของประพจน์
(แนวการตอบ) (แนวการตอบ)
1. 1 ชั่วโมงมี 60 วินาที เป็นเท็จ

2. 2+3=6–1 เป็นจริง

3. 17 เป็นจานวนเฉพาะ เป็นจริง

4. 3 เป็นตัวประกอบของ 9 เป็นจริง

5. 15 หาร 30 ไม่ลงตัว เป็นเท็จ

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 44 44
เฉลย
การเชื่อมประพจน์ 15 คะแนน
แบบฝึกทักษะที่ 1.2

1. ให้เขียนประพจน์ต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ (10 คะแนน)


สัญลักษณ์
ข้อ ประพจน์ กาหนดให้
แทนประพจน์
1. ถ้า 8 เป็นจานวนคู่ แล้ว √8 p แทน 8 เป็นจานวนคู่ pq
เป็นจานวนเต็ม q แทน √8 เป็นจานวนเต็ม
2. 24 = 42 แต่ 2  4 p แทน 24 = 42 p  q
q แทน 2 = 4
3. 5 + 6  6 + 5 หรือ 2 < 5 p แทน 5 + 6  6 + 5 (p  q)  r
ก็ต่อเมื่อ 52 = 10 q แทน 2 < 5
r แทน 52 = 10
4. ถ้า a เป็นจานวนคี่ p แทน a เป็นจานวนคี่ p  q
แล้ว b ไม่เป็นจานวนคี่ q แทน b เป็นจานวนคี่
5. 1 + 3 = 5 และ 2 + 2  4 p แทน 1 + 3 = 5 p  q
q แทน 2 + 2 = 4
6. 3 = 5 และ 3 เป็นจานวนคี่ p แทน 3 = 5 pq
q แทน 3 เป็นจานวนคี่
7. ถ้า 3 > 4 แล้ว 3 – 4 < 4 – 3 p แทน 3 > 4 pq
q แทน 3 – 4 < 4 – 3
8. –23 < 0 ก็ต่อเมื่อ –23 p แทน –23 < 0 p  (q  r)
หรือ 0 เป็นจานวนเฉพาะ q แทน –23 เป็นจานวนเฉพาะ
r แทน 0 เป็นจานวนเฉพาะ
9. –10 = 10 และ 10 < –10 p แทน –10 = 10 (p  q)  (r  s)
ก็ต่อเมื่อ 2 หรือ –2 q แทน 10 < –10
เป็นตัวประกอบของ 10 r แทน –2 เป็นตัวประกอบของ 10
s แทน –2 เป็นตัวประกอบของ 10
10. 7 ไม่ใช่จานวนนับ p แทน 7 เป็นจานวนนับ p  (q  r)
ก็ต่อเมื่อ 7 > 2 แล้ว –3 > 3 q แทน 7 > 2
r แทน –3 > 3

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 45 45
2. กาหนดให้ p แทน 1 เป็นจานวนคู่
q แทน 2 เป็นจานวนคี่
r แทน  เป็นจานวนตรรกยะ
จงเปลี่ยนสัญลักษณ์ที่กาหนดให้เป็นข้อความ (5 คะแนน)
2.1 p  r
เปลี่ยนเป็นข้อความ 1 เป็นจานวนคู่ หรือ  ไม่เป็นจานวนตรรกยะ
2.2 r  (p  q)
เปลี่ยนเป็นข้อความ ถ้า  เป็นจานวนตรรกยะแล้ว 1 เป็นจานวนคู่แต่ 2 เป็นจานวนคี่
2.3 (p  q)  r
เปลี่ยนเป็นข้อความ 1 ไม่เป็นจานวนคู่ หรือ 2 ไม่เป็นจานวนคี่ ก็ต่อเมื่อ  ไม่เป็นจานวนตรรกยะ
2.4 (p  r)  q
เปลี่ยนเป็นข้อความ ถ้า 1 เป็นจานวนคู่และ  ไม่เป็นจานวนตรรกยะ แล้ว 2 ไม่เป็นจานวนคี่
2.5 (p  r)  q
เปลี่ยนเป็นข้อความ ถ้า 1 เป็นจานวนคู่หรือ  ไม่เป็นจานวนตรรกยะ แล้ว 2 เป็นจานวนคี่

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 46 46
เฉลย
ค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมประพจน์ 15 คะแนน
แบบฝึกทักษะที่ 1.3

1. จงหาค่าความจริงของประพจน์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ (10 คะแนน)


ข้อ ประพจน์ ค่าความจริงของประพจน์
1. ถ้า 8 เป็นจานวนคู่ แล้ว √8 เป็นจานวนเต็ม เป็นเท็จ
T F
4 2
2. 2 = 4 แต่ 2  4 เป็นจริง
T T
3. 5 + 6  6 + 5 ก็ต่อเมื่อ 52 = 10 เป็นจริง
F F
4. ถ้า 3 เป็นจานวนคี่ แล้ว 9 ไม่เป็นจานวนคี่ เป็นเท็จ
T F
5. 1 + 3 = 5 และ 2 + 2  4 เป็นเท็จ
F F
6. 3 = 5 และ 3 เป็นจานวนคี่ เป็นเท็จ
F T
7. ถ้า 3 > 4 แล้ว 3 – 4 < 4 – 3 เป็นจริง
F T
8. 23 < 0 ก็ต่อเมื่อ 23 เป็นจานวนเฉพาะ เป็นเท็จ
F T
9. –10 = 10 ก็ต่อเมื่อ 2 เป็นตัวประกอบของ 10 เป็นจริง
T T
10. ถ้า 7 ไม่ใช่จานวนนับ แล้ว –3 > 3 เป็นจริง
F F

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 47 47
2. กาหนดให้ประพจน์ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ q มีค่าความจริงเป็นจริง จงหาค่าความจริง
ของประพจน์ต่อไปนี้ (5 คะแนน)
ข้อ ประพจน์ ค่าความจริงของประพจน์
1. p  q เป็นจริง
T T
2. p  q เป็นจริง
T T
3. pq เป็นจริง
F T
4. q  p เป็นจริง
F F
5. p  p เป็นเท็จ
F T

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 48 48
เฉลย
การหาค่าความจริงของประพจน์โดยใช้แผนภาพ 15 คะแนน
แบบฝึกทักษะที่ 1.4

1. จงหาค่าความจริงของประพจน์ที่กาหนดค่าความจริงหรือไม่กาหนดค่าความจริงของประพจน์ย่อย
ต่อไปนี้ (3 คะแนน)
1) p  (p  q)
T T F

T
T
ดังนั้น p  (p  q) เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง

2) (p  q)  p
F T F

F
T
ดังนั้น (p  q)  p เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง

3) (p  p)  r
T T F

T
ดังนั้น (p  p)  r เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 49 49
4) (p  p)  r
แนวคิดที่ 1 (p  p)  r แนวคิดที่ 2 (p  p)  r
T T F F

F T

F T หรือ F F T หรือ F

T T

ดังนั้น (p  p)  r เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง

5) (p  p)  q
แนวคิดที่ 1 (p  p)  q แนวคิดที่ 2 (p  p)  q
T T F F

F T

F T หรือ F F T หรือ F

T T
ดังนั้น (p  p)  q เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง

6) (p  p)  (q  r)
F
แนวคิดที่ 1 (p  p)  (q  r) แนวคิดที่ 2 (p  p)  (q  r)
T T F F F F

F T

T T

F F
ดังนั้น (p  p)  (q  r) เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 50 50
2. จงหาค่าความจริงของประพจน์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้โดยการใช้แผนภาพ เมื่อกาหนดประพจน์ p
และ q มีค่าความจริงเป็นจริง และประพจน์ r และ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ (10 คะแนน)
1) (p  r)  (q  s) 2) (r  s)  (p  s)
วิธีทา (p  r)  (q  s) วิธีทา (r  s)  (p  s)
T F T F F F T F

T F T

T F
F
F
ดังนั้น (p  r)  (q  s) เป็นประพจน์ ดังนั้น (r  s)  (p  s) เป็นประพจน์
ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ
3) (p  r)  (q  s) 4) (p  q)  [(p  (r  q)]
วิธีทา (p  r)  (q  s) วิธีทา (p  q)  [(p  (r  q)]
T F T F T T T F T

T F T F F

F F T F

T F
ดังนั้น (p  r)  (q  s) เป็นประพจน์ ดังนั้น (p  q)  [(p  (r  q)]
ที่มีค่าความจริงเป็นจริง เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ

5) [(p  q)  r]  (q  r)  p
วิธีทา [(p  q)  r]  (q  r)  p
T F F F F T

F T F

F F

T
ดังนั้น [(p  q)  r]  (q  r)  p
เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 51 51
3. จงหาค่าความจริงของประพจน์ m, n, r และ s เมื่อกาหนดให้ (m  n)  (r  s)
มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ m  r มีค่าความจริงเป็นจริง (2 คะแนน)
วิธีทา จาก (m  n)  (r  s) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
จะได้ว่า (m  n)  (r  s) และ mr
F T

T F F F

F T F F

ดังนั้น ประพจน์ m, r และ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ และประพจน์ n มีค่าความจริงเป็นจริง

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 52 52
เฉลย
การสร้างตารางค่าความจริง 15 คะแนน
แบบฝึกทักษะที่ 1.5

จงสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้ (15 คะแนน


1. (q  r)  [(r  q)  r]
วิธีทา ประพจน์ (q  r)  [(r  q)  r] มีประพจน์ย่อย 2 ประพจน์ ค่าความจริง
ที่เป็นไปได้ทั้งหมด 4 กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
q r q r q  r r  q (r  q)  r (q  r)  [(r  q)  r]
T T F F T T F F
T F F T F F T F
F T T F T T F F
F F T T T T T T

2. [(p  q)  r]  [p  (q  r)]
วิธีทา ประพจน์ [(p  q)  r]  [p  (q  r)] มีประพจน์ย่อย 3 ประพจน์
ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด 8 กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
p q r pq (p  q)  r qr p  (q  r) [(p  q)  r]  [p  (q  r)]
T T T T T T T T
T T F T F F F F
T F T F F T T T
T F F F T T T T
F T T F F T T T
F T F F T F T T
F F T F F T T T
F F F F T T T T

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 53 53
3. (p  q)  (q  p)]
วิธีทา ประพจน์ (p  q)  (q  p)] มีประพจน์ย่อย 2 ประพจน์
ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด 4 กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
p q p q p  q q  p (p  q) (q  p)]
T T F F F F T
T F F T T T T
F T T F T T T
F F T T T F F

4. [(p  q)  r]  [p  (q  r)]
วิธีทา ประพจน์ [(p  q)  r]  [p  (q  r)] มีประพจน์ย่อย 3 ประพจน์
ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด 8 กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
p q r (p  q) (p  q)  r (q  r) p  (q  r) [(p  q)  r]  [p  (q  r)]
T T T T T T T T
T T F T F F F T
T F T F T T T T
T F F F F T T F
F T T T T T T T
F T F T F F T F
F F T T T T T T
F F F T F T T F

5. [(r  s)  s]  (s  r)]


วิธีทา ประพจน์ [(r  s)  s]  (s  r)] มีประพจน์ย่อย 2 ประพจน์
ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด 4 กรณี สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้
r s r s rs (r  s)  s s  r (s  r) [(r  s)  s]  (s  r)]
T T F F T F F T T
T F F T F T T F T
F T T F F T T F T
F F T T T T F T T

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 54 54
ภาคผนวก ค
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 55 55
เฉลย แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่ม 1
แบบทดสอบหลังเรียน ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์

ข้อ 1 2 3 4
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น


เล่ม 1 ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ 56 56

You might also like