คุณลักษณะของครูที่ดี

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

คุณลักษณะของครูที่ดี

คุณลักษณะของครู ที่ดีน้ นั มีผกู ้ ล่าวไว้หลายท่าน ในหลายโอกาส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิ


พลอดุลยเดชทรงมีพระราชดารัสพระราชทานแก่ครู อาวุโส ประจาปี พ.ศ. 2522 ซึ่งมี ข้อความที่แสดงถึง
คุณลักษณะที่ดีของครู ที่ดีไว้ดงั นี้
(คุรุสภา, 2524 : 3) “ ครู ที่แท้น้ นั เป็ นผูก้ ระทาแต่ความดี คือต้องขยันและอุตสาหะพากเพียร
เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ และเสี ยสละ ต้องหนักแน่น อดกลั้น และอดทน ต้องรักษาวินยั สารวมระวังความประพฤติ
และ ปฏิบตั ิตนให้อยูใ่ นระเบียบแบบแผนที่ดีงาม ต้องปลีกตัวปลีกใจจากความสะดวกสบาย และความ สนุก
รื่ นเริ งที่ไม่สมควรแก่เกียรติภูมิของตน ต้องมัน่ ใจให้มนั่ คงและแน่วแน่ ต้องซื่ อสัตย์ รักษา ความจริ งใจ ต้อง
เมตตา หวังดี ต้องวางใจเป็ นกลาง ไม่ปล่อยไปตามอานาจอคติ ต้องอบรมปั ญญา ให้เพิ่มพูนสมบูรณ์ข้ ึน ทั้ง
ในด้านวิทยาการ และความฉลาด รอบรู้ในเหตุและผล ”
พระพุทธทาสภิกขุ ( 2530 : 1-27 ) ได้บรรยายเรื่ องธรรมะสาหรับครู ระหว่าง วันที่ 4-9 กันยายน
2527 ณ สวนโมกขพลาราม จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี ซึ่ งมีความบางตอนแสดงถึง คุณลักษณะของครู ที่ดีไว้ดงั นี้
“ครู ในฐานะที่ได้รับการยกย่องว่าเป็ นปูชนียบุคคล ควรกอร์ปด้วยคุณธรรมของครู คือเปิ ด ประตูทาง
วิญญาณของโลกที่ปิดด้วยอวิชชาให้ออกมาสู่ แสงสว่าง และอิสรภาพทางจิตมีลกั ษณะ สู งส่ งในแง่
คุณธรรม มีหน้าที่พฒั นามนุษย์ให้เป็ นในทางที่ถูกทุกวิถีทาง มีจิตใจเปี่ ยมด้วยเมตตา กรุ ณาและปัญญา ทา
บุญคุณและมีประโยชน์แก่โลกอย่างมหาศาลโดยได้รับประโยชน์ตอบแทน เพียงเลี้ยวชี วติ ได้ ครู ตอ้ งสร้าง
เด็กให้มีสติปัญญา มีเหตุผล ช่วยให้เขาหลุดพ้นจากสัญชาติญาณ อย่างสัตว์ สามารถสร้างบ้านสร้างชาติและ
สังคมโลก เป็ นพุทธมามกะที่สมบูรณ์ รู ้จกั รับผิดชอบชัว่ ดี เชื่อฟังบิ ดามารดา และให้เขารู ้จกั ว่า “ไท” (อิสระ
จากกิเลส) “มัชฌิม” (ทางสายกลางอริ ยมรรค) “โชคดี” (ทาดีทางกาย วาจา ใจ) “เกียรติ” (รู ้วา่ ตนเองได้ทาดี
ถูกต้อง มี คุณค่า ควรแก่การ ภาคภูมิใจ)
พระราชนันทมุนี (2525 : 3-4) ได้นาหลักธรรมในพุทธศาสนาเกี่ยวกับพระกรุ ณาธิ คุณของ
พระพุทธเจ้า ซึ่ งแสดงถึงคุณลักษณะของผูอ้ บรมสั่งสอนที่เป็ นเลิศ ดังนี้
“พระพุทธศาสนา ถือว่าความสัมพันธ์ระหว่างผู ้ สอนและผูเ้ รี ยน นั้น อยูใ่ นฐานะเป็ นกัลยานิมิตร คือ
เป็ น ผูช้ ่วยเหลือ แนะนาผูเ้ รี ยนให้ดาเนิ นก้าวหน้าไปในมรรคแห่งการฝึ กอบรม ซึ่ งมี ลักษณะ 7 ประการดังนี้
คือ ปิ โย คือ กระทาตนให้เป็ นที่น่ารัก เป็ นที่น่าไว้วางใจ ครุ คือ น่า เคารพทาให้ศิษย์เกิดความอบอุ่น ภาวนิโย
คือ น่ายกย่อง ทรงคุณความรู ้ ภูมิปัญญาอย่างแท้จริ ง วัตตา คือ รู ้จกั ระเบียบแบบแผน ทั้งกายและวาจา
วัจนักนโม คือ อดทนต่อพฤติกรรมของศิษย์ คัมภีรันญกะถังกัตตา คือ มีความสามารถชี้แจงเรื่ องต่าง ๆ ที่
ลึกซึ้ งได้ โนจัตถาเน นิโยชะเย คือ ไม่ชกั จูงศิษย์ไปในทางที่เสื่ อมเสี ย ”
(อ้างอิงข้อมูลมาจาก : http://www.rtckorat.org/wordpress/?p=200 )
คุณลักษณะของครู ทดี ี 10 ประการ
1. ความมีระเบียบวินยั
2. ความซื่อสัตย์สุจริ ตและความยุติธรรม
3. ความขยัน ประหยัด และมียดึ มัน่ ในสัมมาอาชีพ
4. ความสานึกในหน้าที่การงานต่างๆ
5. ความเป็ นผูม้ ีความคิดริ เริ่ ม วิจารณ์และตัดสิ นอย่างมีเหตุผล
6. มีความกระตือรื อร้น
7. ความเป็ นผูพ้ ลานามัยที่สมบูรณ์
8. ความสามารถในการพึ่งพาตนเองและมีอุดมคติเป็ นที่พ่ ึง
9. ความภาคภูมิและรู้จกั ทานุบารุ งศิลปะ วัฒนธรรม และทรัพยากรของธรรมชาติ
10. ความเสี ยสละ และเมตตาอารี
(อ้างอิงข้อมูลจาก : http://www.slideshare.net/peterartdt/10-17672628)

คุณลักษณะของครู ทดี่ ีในยุคโลกาภิวฒ ั น์


ปัจจุบนั เป็ นยุคโลกาภิวฒั น์หรื อยุคที่โลกไร้พรมแดน เป็ นยุคของข้อมูลข่าวสารที่มนุษย์สามารถ
ติดต่อถึงกันได้อย่างรวดเร็ วและทัว่ ถึง ครู จาเป็ นจะต้องศึกษาหาความรู ้จากแหล่งอื่นๆ เพิ่มเติมอยู่
เสมอ เพื่อให้มีความรอบรู ้ในสถานการณ์ต่างๆที่มีผลกระทบต่อการดารงชีวิตในสังคมปั จจุบนั ดังนั้นหาก
พิจารณาถึง “คุณลักษณะที่สาคัญๆของครู ที่ดีในยุคโลกาภิวฒั น์ ” จะได้แก่คุณลักษณะดังต่อไปนี้
1. รู้ ดี คุณลักษณะประการแรกของบุคคลที่เป็ นครู ทุกคน คือ ต้องมีความรู้ดี การมีความรู้
ดี ได้แก่ ความรู ้ในเนื้ อหาที่จะสอน ,ความรู้ในจิตวิทยาการเรี ยนการสอน , ความรู้ในหลักการสอน , ความรู้
เรื่ องการบ้านการเมือง ฯลฯ
2. สอนดี ความสามารถในการสอนจะบังเกิดมีข้ ึนได้จะต้องอาศัยองค์ประกอบหลายอย่างๆ ที่
สาคัญ เช่น รู้หลักการสอน , รู้จกั สภาพแวดล้อมทางบ้านของเด็ก , บุคลิกภาพเหมาะสม ฯลฯ สาหรับการ
สอนดีมีลกั ษณะอย่างไรนั้นขึ้นอยูก่ บั ความพอใจของผูร้ ับ คือ นักเรี ยน กล่าวคือ นักเรี ยนบางกลุ่ม บางคน
อาจจะชอบครู ที่พดู สนุก โดยไม่คานึงถึงสาระที่จะได้รับ ตรงกันข้าม นักเรี ยนบางกลุ่มอาจจะชอบครู ที่เอา
จริ งเอาจังกับการทางาน หรื อบางคนชอบครู ที่สนุกแต่ได้สาระ อย่างไรก็ตามตามหลักคาสอนของ
พระพุทธศาสนาครู ที่ดีน้ นั จะต้องมีลีลาการสอน 4 ประการ ดังนี้
* สันทัสสนา คือ ชี้แจงได้ชดั เจน
* สมาทปนา คือ สอนแล้วนักเรี ยนอยากปฏิบตั ิตาม
* สมุตเตชนา คือ สอนแล้วนักเรี ยนเกิดความกล้าที่จะกระทา
* สัมปหังสนา คือ นักเรี ยนเกิดความร่ าเริ งกับการได้เรี ยน
3. มีวสิ ั ยทัศน์ ครู ในยุคโลกาภิวฒั น์น้ นั จะต้องเป็ นผูม้ ีวสิ ัยทัศน์ กล่าวคือ จะต้อง มองการณ์ไกลใช้
ปัญญา หรื อในทางพระพุทธศาสนาเรี ยกว่า “ จักขุมา ” นั้นคือ ความสามารถในการมองเหตุการณ์ต่างๆที่
อาจเกิดขึ้นในอนาคต
4. เจนจัดฝึ กฝนศิษย์ การมีความรู้ดี สอนดี มีวสิ ัยทัศน์ แต่ไม่เจนจัดการฝึ กฝนศิษย์แล้วยังไม่
สามารถที่จะเป็ นครู ที่ดีได้ ทั้งนี้เพราะการสอนให้คนมีความรู ้ในศิลปวิทยาการต่างๆ นั้นเป็ นงานที่ไม่ยาก
เกินกาลังของผูส้ อนทัว่ ไป
5. ดวงจิตใฝ่ คุณธรรม ความเจนจัดในการฝึ กอบรมศิษย์ให้เป็ นคนดีมีคุณธรรมจะไร้ผลถ้าหากผูท้ ี่ทา
หน้าที่ในการฝึ กฝนอบรม คือ ครู เป็ นผูท้ ี่ไร้คุณธรรม ทั้งนี้เพราะการจะสั่งสอนให้ผใู ้ ดเป็ นอย่างนั้น ผูท้ ี่ทา
หน้าที่ในการอบรมสั่งสอนจะต้องกระทาตนให้เป็ นตัวอย่างเสี ยก่อน ดังพุทธศาสนสาภาษิตกล่าวไว้วา่ “อต
ตานญเจ ตถา กยิรา ยถญญมนุสาสติ” แปลว่า ถ้าพร่ าสอนผูอ้ ื่นฉันใด ก็ควรทาตนฉันนั้น
6. งามเลิศลา้ ด้ วยจรรยา จรรยา แปลว่า ความประพฤติหรื อกิริยาอาการที่ควรประพฤติปฏิบตั ิ ครู ที่
ดีตอ้ งามด้วยความประพฤติหรื องามด้วยกิริยาของความเป็ นครู สาหรับจรรยามารยาทที่ครู ไทยควรตระหนัก
และใส่ ใจฝึ กฝนมี 2 นัย คือ
- จรรยามารยาทแบบไทยๆ ซึ่ งได้แก่การปฏิบตั ิตามารยาทไทยให้ถูกต้องเหมาะสม
- จรรยาวิชาชีพ(จรรยาบรรณ)ซึ่ งถือว่าเป็ นเกณฑ์มาตรฐานประการหนึ่งของอาชีพขั้นสู งหรื อวิชาชีพ
7. มีศรั ทธาความเป็ นครู การมีศรัทธาในความเป็ นครู เป็ นอีกคุณลักษณะหนึ่งที่ช่วยค้ าจุนให้ผู ้
ประกอบวิชาชีพครู มีความเป็ นครู ที่สมบูรณ์ข้ ึน ครู ที่มีศรัทธาในความเป็ นครู จะมีพฤติกรรมหลัก คือ เห็น
ความสาคัญของวิชาชีพครู และรักษาชื่อเสี ยงของวิชาชีพครู อยูเ่ สมอ ตั้งใจปฏิบตั ิหน้าที่การงาน รักษาความ
สามัคคี ช่วยเหลือกิจการของเพื่อนร่ วมวิชาชีพเดียวกัน รักในการสอนมากกว่าการทางานอย่างอื่น ฯ
8. ดารงอยู่ด้วย ศีล สมาธิ ปัญญา เป็ นหลักการในพระพุทธศาสนาที่ตอ้ งศึกษาสาม
อย่าง เรี ยกว่า “ไตรสิ กขา ”
- ศีล คือ การประพฤติชอบด้วยกายและวาจา การมีระเบียบและการอยูร่ ่ วมกันในสังคม
- สมาธิ แปลว่า ความตั้งมัน่ ของจิตหรื อภาวะที่จิตแน่วแน่ต่อสิ่ งที่กาหนดเป็ นภาวะที่จิตใจมีอารมณ์
เป็ นหนึ่ง กาหนดอยูก่ บั สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ไม่ฟุ้งซ่านหรื อส่ ายไป จิตที่ได้รับการฝึ กฝนพัฒนาจะมีคุณลักษณะ
สามประการคือ
- ประการแรก เป็ นจิตที่มีคุณภาพหรื อมีคุณธรรม เช่นมีเมตตา กรุ ณา มุทิตา อุเบกขา
- ประการที่ 2 เป็ นจิตที่มีสมรรถภาพ หมายถึง มีความเข้มแข็ง มีความสามารถ มีความ
อดทน เพียรพยายาม
- ประการที่ 3 เป็ นจิตที่มีสุขภาพดี เป็ นจิตที่สบาย มีปราโมทย์ มีความปี ติ
สาหรับวิธีการฝึ กฝนพัฒนาตนให้เป็ นผูม้ ีสมาธิ อย่างง่ายๆ คือ “ ต้องพัฒนาตนให้มีศีลอยูเ่ นืองนิ ตย์ ยึดติด
หลักอิทธิบาทสี่ ในการทางาน ฝึ กให้เชี่ยวชาญในกระบวนการเจริ ญสมาธิ ”
- ปัญญา คือ ความรอบรู้ ความรู ้ทวั่ ความรู ้เท่าทัน รู้คุณโทษ รู้ประโยชน์ รู้องค์ประกอบ รู้เหตุ
ปัจจัย รู้ที่จะแจง รู้คิดพิจารณา
ปัญญามีหลายระดับ ระดับเริ่ มต้ น คือ การเข้าใจสิ่ งที่ได้ศึกษา ปั ญญาที่สูงขึน้ อีกระดับ คือ การพินิจ
พิจารณาและคิดการต่างๆได้ถูกต้อง สาหรับปั ญญาสู งสุ ด คือ ความรู ้เท่าทันความจริ งของโลกและชีวติ
สาหรับวิธีการฝึ กฝนพัฒนาตนให้เป็ นผูม้ ีสมาธิ อย่างง่ายๆ คือ “ ต้องพัฒนาตนให้มีศีลอยูเ่ นืองนิ ตย์ ยึดติด
หลักอิทธิบาทสี่ ในการทางาน ฝึ กให้เชี่ยวชาญในกระบวนการเจริ ญสมาธิ ”
ปัญญาคือ ความรอบรู้ ความรู ้ทวั่ ความรู ้เท่าทัน รู้คุณโทษ รู้ประโยชน์ รู้องค์ประกอบ รู้เหตุปัจจัย รู้ที่จะ
แจง รู้คิดพิจารณา
ปัญญามีหลายระดับ ระดับเริ่ มต้ น คือ การเข้าใจสิ่ งที่ได้ศึกษา ปั ญญาที่สูงขึน้ อีกระดับ คือ การพินิจ
(อ้างอิงข้อมูลจาก : https://sites.google.com/site/khrukhonmai/k8)

สรุป
จากความรู ้ที่อา้ งอิงมานั้น ทาให้เรารู ้แล้วว่าการจะเป็ นครู ที่ดีควรมีลกั ษณะอย่างไร ปฏิบตั ิตนอย่างไร
เพื่อพัฒนาคนหรื อทาให้คนมีความรู้ รู้จกั สานึกในตนเอง มีความกล้าแสดงออก ตลอดจนถึงการสอนให้คน
เป็ นคนดี มีคุณธรรม จริ ยธรรม ซื่อสัตย์ สุ จริ ต และมีอนาคตที่ดี

บทสั มภาษณ์
- ตั้งใจสัง่ สอนศิษย์ดว้ ยความเต็มใจ เต็มเวลา และเต็มความสามารถ
- รักดูแล เอาใจใส่ ลูกศิษย์เสมือนลูกตน
- เป็ นที่ปรึ กษา แก้ปัญหาต่างๆให้แก่ลูกศิษย์
- ส่ งเสริ ม สนับสนุนให้นาความรู ้ไปประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์
- พลอยยินดี ภูมิใจ เมื่อศิษย์ประสบความสาเร็ จ
(สัมภาษณ์นางวิลาสิ นี ภัทรวรานนท์ วันที่ 18/08/2557 โดยตัวต่อตัว)

นางสาวกัญธิ ดา ภัทรวรานนท์ เลขที่ 1 B.Ed 1.4 P 19

You might also like