ข้อสอบ - PAT1 20 มีนาคม 2564

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 46

ขอสอบรหัสวิชา 71 ความถนัดวิชาคณิตศาสตร

PAT1
ประจําปการศึกษา 2563
สอบวันที่ 20 มีนาคม 2564
เวลา 13.00 – 16.00 น.
 
 
 
 
 
 
 
 
 

อาจารยรังสรรค ทองสุกนอก
โรงเรียนนาคประสิทธิ์ มูลนิธิวัดบางชางเหนือ
อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

ชื่อ ...............................................
.......................... เลขที่ ...... ม.6/......
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |1
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

ขอสอบ PAT1 : ความถนัดทางคณิตศาสตร


วันที่ 20 มีนาคม 2564 : ปการศึกษา 2563
ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบที่ถูกตองทีส่ ดุ
จํานวน 35ขอ (ขขอ 1 – 35) ขอละ 6 คะแนน  
 
1. พื้นของหองเก็บสินคาของโรงงานแห
ของโรงงานแหงหนึ่งเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาที่มีเสนทแยงมุมยาวกวาดานยาว  
2 เมตร และดานยาวยาวกวาดานกวาง 14 เมตร ถาผูจัดการโรงงานตองการปรับปรุงพื้นของหองนี้ 
  โดยชางคิดคาแรงตารางเมตรละ 120 บาท ผูจัดการโรงงานจะตองจายเงินคาแรงในการปรับปรุงพื้น 
  ของหองเก็
องเก็บสินคานี้เปนเงินกี่บาท 
1.   14,400   2.   17,280  
3.   28,800   4.   31,200 
5.   37,440
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |2
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

2.  กําหนดให n เปนจํานวนเต็มบวก 


  เซตของจํานวนจริง x ทั้งหมดที่ทําให (x  3)2  (x  3)4  (x  3)6    (x  3)2n  
  เปนอนุกรมลูเขาคือขอใด   
  1.   (–4, –2)   2.    (, 2)   
  3.   [–2, 1)     4.   (–1, 1)  
  5.   (2, 4)
 
 
   
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |3
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

3.  กําหนดให a และ b เปนจํานวนจริงบวกโดยที่ a 1 และ b  1 


x
1
  ถา f(x)    และ g(x)  b x เปนฟงกชันเอกซโพเนนเชียลที่มีลักษณะกราฟดังรูป 
a
  
  Y Y

 
  f g
 
 
 
  X X
 
  
         กราฟของฟงกชัน f                กราฟของฟงกชัน g 
 
  เงื่อนไขในขอใดที่ทําใหกราฟของ f และ g สอดคลองกับรูปขางตน   
  1.    0  a  1 และ 0  ab  1 2.    0  a 1 และ ab  1  

  3.    0  a  1 และ a 1   4.    a  1 และ ab  1 


b
  5.    a  1 และ 0  ab  1  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |4
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

4. โรคโควิด–19 เปนโรคระบาดที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 


  ซึ่งสามารถแพรเชื้อจากคนสูคน และกอใหเกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ 
  ขอมูลการระบาดของโรคโควิ
โรคโควิด–19 19 ของประเทศที่อยูในทวีปยุโรปจํานวน 9 ประเทศ 
  ในชวง 90 วันแรกหลังจากพบผูติดเชื้อรายแรกของประเทศนั้นแสดงดังตารางตอไปนี้  
 
จํานวน  จํานวน  อัตราสวนของ 
ประเทศ  ประชากร  ผูติดเชื้อสะสม  จํานวนผูติดเชื้อสะสม 
(ลลานคน)
นคน   (คน)  ตอจํานวนประชากรลานคน 
ฟนแลนด  5.54  4,695  847.36 
ฝรั่งเศส  65.27
65.27  119,151  1,825.41 
เยอรมนี  83.78  154,175  1,840.15 
อิตาลี  60.46
60.46  201,505  3,332.76 
นอรเวย  5.42  8,352  1,540.61 
โปแลนด  37.85  24,395  644.58 
โปรตุเกส  10.20  31,596  3,098.65 
สเปน 46.75  215,183  4,602.37 
สวีเดน 10.10  20,302  2,010.24 
 
 
จากขอมูลในตารางขอใดถูกตอง 
1.   ประเทศที่มีจํานวนประชากรนอยที่สุด มีจํานวนผูติดเชื้อสะสมนอยที่สุด 
2.   ประเทศที่มีจํานวนประชากรมากที่สุด มีจํานวนผูติดเชื้อสะสมมากที่สุด
3.   ประเทศที่มีจํานวนผูติดเชื้อสะสมนอยที่สุด มีอัตราสวนของจํานวนผูติดเชื้อสะสม 
ตอจํานวนประชากรลานคนนอยที่สุด  
4.   ประเทศที่มีจํานวนผูติดเชื้อสะสมมากที่สุด มีอัตราสวนของจํานวนผูติดเชื้อสะสม 
ตอจํานวนประชากรลานคนมากที่สุด
5.   ประเทศที่มีอัตราสวนของจํานวนผูติดเชื้อสะสมตอจํานวนประชากรลานคนนอยที่สุด 
มีจํานวนประชากรนอยที่สุด 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |5
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

5.  เอกตองการฝากเงิน 200 บาทเข


บาท าบัญชีธนาคารทุกวันที่ 1 ของเดือน ติดตอกันเปนเวลา 6 เดือน 
โดยธนาคารใหอัตราดอกเบี้ยรอยละ 6 ตอป และคิดดอกเบี้ยแบบทบตนทุกเดือน   
  ถาเอกเปดบัญชีเงินฝากและเริ่มฝากเงินครั้งแรกในวันที่ 1 เมษายน 2563  
แลวในวันที่ 31 มีนาคม 2564 เอกจะมีเงินในบัญชีธนาคารรวมทั้งหมดกี่บาท    
  โดยที่ไมมีการถอนเงินในระหวางนี้    
 13 7  13 
200  1.005   1.005   200  1.005   1.005 
  1.        2.      
1.005  1 1.005  1
 7   13 7
200  1.005   1.005  200   1.06   1.06  
  3.        4.      
1.005  1 1.06  1
 13 
200  1.06   1.06 
  5.      
1.06  1
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |6
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

6.   รานคาแหงหนึ่งมีพนักงานในแผนกขายและแผนกบัญชีรวม 12 คน 


  โดยรานคาจายเงินโบนัสใหทั้งสองแผนกเทากันแผนกละ 35,000 บาท 
  และในแตละแผนกพนักงานแตละคนไดเงินโบนัสคนละเทา ๆ กัน 
  ถาพนักงานแผนกขายไดเงินโบนัสมากกวาพนักงานแผนกบัญชีคนละ 2,000 บาท 
  แลวพนักงานของแผนกขายมีจํานวนนอยกวาพนักงานของแผนกบัญชีกี่คน  
  1.   2     2.   4 
  3.   6     4.   8  
  5.   10 
 
 
   
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |7
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

7. ในการจัดการแขงขันวิ่งการกุศลประกอบดวยการวิ่ง 3 ประเภท ตามระยะทางคือ 


  มินิมาราธอน (10.5 กิโลเมตร)
ลเมตร ฮาลฟมาราธอน (21 กิโลเมตร) และ มาราธอน (42 กิโลเมตร)   
  โดยมีคาสมัครดังนี้ 
มินิมาราธอน คาสมัครคนละ 400 บาท 
ฮาลฟมาราธอน คาสมัครคนละ 600 บาท 
มาราธอน คาสมัครคนละ 800 บาท 
  ถามีผูเขารวมการแขงขันทั้งหมด 1,500 คน โดยแตละคนสามารถสมัครไดเพียงประเภทเดียวเทานั้น
  รายไดจากคาสมัครประเภทฮาลฟมาราธอนเท
มาราธอนเทากับสองเทาของรายไดจากคาสมัครมินิมาราธอน 
  และผูจัดงานไดรายไดจากคาสมัครทั้งหมด 800,000 บาท 
  ขอใดเปนเมทริกซแตงเติมที่ใชในการหาจํานวนผูสมัครแตละประเภท  
 
 1 1 1 1, 500   1 1 1 1, 500 
   
  1.     800 600 0 0    2.     400 0 1, 600 0  
   
 400 600 800 800, 000   400 600 800 800, 000 
   
 
 1 1 1 1, 500   1 1 1 1, 500 
   
  3.     800 600 0 0  4.     400 1, 200 0 0  
   
 800 600 400 800, 000   400 600 800 800, 000 
   
 
 1 1 1 1, 500 
 
  5.     800 600 0 0  
 
 400 600 800 800, 000 
 
 
   
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |8
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

8.  ชมรมหมากรุกในโรงเรียนแหงหนึ่งมีสมาชิกจํานวน 9 คน ที่มีความสูงน้ําหนักและอายุดังตารางตอไปนี้ 


 
ความสูง   น้ําหนัก   อายุ 
นักเรียน 
(เซนติเมตร)  (กิโลกรัม)  (ปป) 
A  182  65  17
17 
B  180  70  16
16 
C  175  64  16 
D  171  69  15
15 
E  167  58  16 
F  163  54  17 
G  160  50  17 
H  158  46  16 
I  155  48  15 
 
  พิจารณาขอความตอไปนี้ 
    (ก) นักเรียนคนที่มีความสูงเทากับมัธยฐานของความสูงมีน้ําหนักเทากับมัธยฐานของน้ําหนัก 
    (ข) นักเรียนคนที่มีความสูงนอยกวาเปอรเซ็นไทลที่ 20 ของความสูงมีน้ําหนักมากกวา 
น้ําหนักของนักเรียนคนที่มีความสูงเทากับเปอรเซ็นไทลที่ 20 ของความสูง 
    (ค) นักเรียนทุกคนที่มีน้ําหนักมากกวาควอรไทลที่ 3 ของน้ําหนักมีอายุมากกวา 15 ป 
  จากขอความ (ก) (ข) และ (ค) ขางตนขอใดถูกตอง 
  1.   ขอความ (ก) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น   2.   ขอความ (ข) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น 
  3.   ขอความ (ก) และ (ข) ถูกตองเทานั้น 4.   ขอความ (ข) และ (ค) ถูกตองเทานั้น 
  5.   ขอความ (ก) (ข) และ (ค) ถูกตอง 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |9
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

9.  กําหนดพาราโบลามีโฟกัสอยูที่จุด (8, 1) และ  x = 10 เปนเสนไดเรกตริกซ 


  ให P1 และ P2 เปนจุดตัดของพาราโบลากับแกน Y 
  ถา E เปนวงรีที่ผานจุด (8, 1) และมีโฟกัสอยูที่จุด P1 และ P2  
  แลวความยาวแกนเอกของวงรี E เทากับเทาใด 
  1.   10   2.   12 
  3.   16   4.   20 
  5.   22
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |10
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

10.  เทศบาลแหงหนึ่งออกแบบสะพานขามแมน้ําใหมีราวเหล็กโคงเปนรูปพาราโบลา 
  เชื่อมตอระหวางเสาของสะพานสองต
งเสาของสะพ นดังรูป 
 
  เสาของสะพาน  เสาของสะพาน 
 
   
12 เมตร  12 เมตร 
 
6 เมตร  
  พื้นของสะพาน 
50 เมตร 
 
100 เมตร 
 
  ระยะหางที่นอยที่สุดของราวเหล็กกับพื้นของสะพานเทากับกี่เมตร  
  1.   1.5     2.   2 
  3.   2.4     4.   3 
  5.   4 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |11
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

11.  พิจารณาขอความตอไปนี้ 
    (ก) นิเสธของขอความ“สํ
ความ าหรับจํานวนจริง x ทุกจํานวน ถา x เขียนไดในรูปทศนิยมไมซ้ํา 
แลว x เปนจํานวนอตรรกยะ”
นวนอตรรกยะ คือ“มีจํานวนจริง x ที่ x เขียนไดในรูปทศนิยมไมซ้ํา 
และ x เปนจํานวนอตรรกยะ”
นวนอตรรกยะ  
    (ข) กําหนดให p, q และ r เปนประพจน    p  r     r  q     p  q   
เปนสัจนิรันดร 
(ค) กําหนดเอกภพสัมพัทธคือเซตของจํานวนจริง x  x2  x   x  x2  x   
มีคาความจริงเปนจริง 
จากขอความ (ก)  (ข) และ (ค) ขางตนขอใดถูกตอง  
  1.   ขอความ (ก) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น   2.   ขอความ (ข) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น 
  3.   ขอความ (ก) และ (ข) ถูกตองเทานั้น 4.   ขอความ (ข) และ (ค) ถูกตองเทานั้น 
  5.   ขอความ (ก) (ข) และ (ค) ถูกตอง 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |12
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

12.   กําหนดให แทนเซตของจํานวนจริง  



    p  แทนประพจนที่มีคาความจริงเปนจริง  
  และ  q  แทนประพจน “ผลบวกของสมาชิ
ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเรนจของความสัมพันธ  
 x, y      x2  (y2  9)2  0 เทากับ 3”  
  ประพจนในขอใดมีคาความจริงเปนเท็จ 
  1.   (p  q)   (p  q)     2.    (q   p)  (q  p)   
  3.   (p  q)  (q  q)     4.    (p  q)  (q   p)    
  5.   (q   p)  (p  q)    
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |13
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

13. บัตรสีแดงจํานวน 5 ใบ ไดแก บัตรหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5  


  และบัตรสีน้ําเงินจํานวน 7 ใบ ไดแก บัตรหมายเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 
  เอมสุมเลือกบัตรสองใบจากบัตรสีแดงหนึ่งใบและบัตรสีน้ําเงินหนึ่งใบ เพื่อนํามาสรางเปนจํานวนที่มี 
สองหลัก  ความนาจะเปนที่เอมจะไดจํานวนที่มีสองหลักเปนจํานวนคูเทากับเทาใด 
3 29
  1.     2.     
7 70
2 6
  3.      4.     
5 35
3
  5.     
70
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |14
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

14.  กําหนดรู
นดรูปสิบเหลี่ยมดานเทาแนบในวงกลม   
  ถาสรางสวนของเสนตรงเชื่อมระหวางจุดยอด 2 จุดใดๆ ของรูปสิบเหลี่ยมนี้  
แลวจํานวนของสวนของเสนตรงที่ไมเปนดานของรูปสิบเหลี่ยมและไมผานจุ
นจุดศูนยกลางของวงกลม 
มีทั้งหมดกี่เสน  
  1.   30     2.   35 
  3.   40     4.   75 
  5.   80 
 
 
 
 
 
   
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |15
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

15.  รานเบเกอรีแหงหนึ่งขายคุกกี้บรรจุเปนกลองขนาดเดียวกัน พบวา 


  กําไรตอกลองเปนฟงกชันพหุนามกําลังสองของจํานวนกลองที่ขายไดตอวันโดยที่ 
     ในวันที่รานขายคุกกี้ได 20 กลอง รานจะไดกําไร 20 บาทตอกลอง 
     ในวันที่รานขายคุกกี
กกี้ได 10 กลอง รานจะมีรายไดจากการขายคุกกี้เทากับตนทุน 
     ในวันที่รานขายคุกกี้ไมไดเลยรานจะขาดทุน 40 บาทตอกลอง 
  รานเบเกอรีจะขายคุกกี้ไดวันละกี่กลองจึงจะมีกําไรตอกลองมากที่สุด 
  1.   15     2.   20 
  3.   25     4.   30 
  5.   35 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |16
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

1  πx 
16.  กําหนดให f(x)  cos   และ g(x)  2sin(2x)  
2  2 
  พิจารณาขอความตอไปนี้ 
g
    (ก) ฟงกชัน เปนฟงกชันตอเนื่องบนชวง [0, 2]  
f
(ข) แอมพลิจูดของฟงกชัน g  เปน 4 เทาของแอมพลิจูดของฟงกชัน f 
    (ค) คาบของฟงกชัน f เปน 2 เทาของคาบของฟงกชัน g 
จากขอความ (ก)  (ข) และ (ค) ขางตนขอใดถูกตอง  
  1.   ขอความ (ก) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น   2.   ขอความ (ข) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น 
  3.   ขอความ (ก) และ (ข) ถูกตองเทานั้น 4.   ขอความ (ข) และ (ค) ถูกตองเทานั้น 
  5.   ขอความ (ก) (ข) และ (ค) ถูกตอง 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |17
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

17.  เครื่องเลนชิ้นหนึ่งประกอบดวยอุปกรณหลัก 2 สวนคือกระดานลื่น และตาขายสําหรับปนปาย 


  โดยกระดานลื่น (AB) ยาว 1.5 เมตร และทํามุม 45 องศา กับพื้นราบดังรูป 
 
C
 
 
 
 
 
  B D
  1.5 เมตร
  15
พื้นราบ
  A
  
  เมื่อขึงลวดจากจุด C ไปยังจุ
งจุด A จะไดแนวของเสนลวดทํามุม 45 องศา กับดาน CD 
  และขึงลวดจากจุด C ไปยังจุด B จะไดแนวของเสนลวดทํามุม 15 องศา กับดาน CD 
  จุดสูงสุดของเครื่องเลน (จุด C) 
  อยูสูงจากพื้นราบกี่เมตร  
  (กําหนดให จุด A จุด B จุด C และ จุด D อยูในระนาบเดียวกัน) 

6 3 2
1.          2.       
4 4
3 6 3 3
3.        4.      
2 2
3 6
5.      
4
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |18
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

18.  วันที่ 1 มีนาคม 2554 อลินซื้อหองในคอนโดมิเนียมแหงหนึ่งราคา 600,000 บาท 


  โดยจายเงินดาวน
นดาวนจํานวนหนึ่ง และผอนชําระคาหอองส
งสวนที่เหลือเปนจํานวนเงินเดือนละ 10,000 บาท 
  เปนเวลา 48 เดือนโดยผอนชําระทุกสิ้นเดือน ถาผูขายกําหนดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 12 ตอป โดยคิด
ดอกเบี้ยแบบทบตนทุกเดือน แลวอลินจายเงินดาวนจํานวนกี่บาท  
 48 
10, 000  1  1.01 
  1.         
1
1  1.01
 1 49 
10, 000  1.01  1.01 
  2.      
1
1  1.01
 48 
10, 000  1  1.01 
  3.    600, 000       
1
1  1.01
 1 49 
10, 000  1.01  1.01 
  4.    600, 000    
1
1  1.01
 1 49 
10, 000  1.12   1.12  
  5.    600, 000    
1
1  1.12 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |19
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

19.   รานแหงหนึ่งขายไอศกรีมแทง 2 รส คือ รสกะทิ และรสลม โดยกําไรจากการขายไอศกรีมรสสม 


  แตละแทงมากกว
งมากกวากําไรจากการขายไอศกรีมรสกะทิแตละแทงอยู 1 บาท 
  ถาในวันที่ 14 มีนาคม 2564 รานนี้ขายไอศกรีมทั้งสองรสรวมกันได 26 แทง 
  และไดกําไรจากการขายไอศกรีมทั้งหมด 120 บาท   
  โดยกําไรจากการขายไอศกรีมรสสมเปน 2 เทาของกําไรจากการขายไอศกรีมรสกะทิ 
  แลวในวันดังกลลาวรานนี้ขายไอศกรี
ายไอ มรสกะทิไดจํานวนกี่แทง 
  1.    5   2.   8 
  3.   10   4.   13 
  5.   16 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |20
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

20.  สถาบันแหงหนึ่งทําการศึศึกษาการขยายพันธุของแบคทีเรีย 2 ชนิด 


  คือแบคทีเรีย A และแบคทีเรีย B โดย 
    ทําการตรวจนับจํานวนแบคทีเรีย A ทุกวันเวลา 12.00 น. พบวา 
จํานวนแบคทีเรียจะเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาของจํานวนแบคทีเรียที่ตรวจนับในครั้งกอนหนา 
       ทําการตรวจนับจํานวนแบคทีเรีย B ทุก ๆ 2 วันเวลา 12.00 น. พบวา 
จํานวนแบคทีเรียจะเพิ่มขึ้นเปน 5 เทาของจํานวนแบคทีเรียที่ตรวจนับในครั้งกอนหนา 
  ถาเริ่มตรวจนับจํานวนแบคทีเรีย A ครั้งแรกในวันที่ 1 พฤษภาคม 2563  พบแบคทีเรีย A จํานวน  
  1,000 เซลล และเริ่มตรวจนับจํานวนแบคทีเรีย B ครั้งแรก ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2563 พบ
แบคทีเรีย B จํานวน 1,000 เซลล แลวจํานวนแบคทีเรีย B มากกวาจํานวนแบคทีเรีย A ครั้งแรกที่มี
การตรวจนับในวันใด  (กํกําหนดให log 2  0.3 )  
  1.   วันที่ 9 พฤษภาคม 2563     2.   วันที่ 29 พฤษภาคม 2563 
  3.   วันที่ 31 พฤษภาคม 2563 4.   วันที่ 2 มิถุนายน 2563
2563 
  5.   วันที่ 6 มิถุนายน 2563 
2563
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |21
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

21.  กําหนดใหรูปสามเหลี่ยม ABC มีมุม B เปนมุมฉากและ BD ตั้งฉากกับ AC ดังรูป 


 
 
A
  D
 
 
 
  C B
  
  ถา AC มีความยาวเปน n เทาของความยาวของ BD เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวก 
  แลว n cos(A  C) เทากับเทาใด  
  1.   4       2.   2 
  3.   1   4.   0 
  5.   –2 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |22
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

22.   ตึกหนึ่งและตึกสองตั
กสองตั้งอยูบนพื้นราบในแนวเสนตรงเดียวกัน 
  โดยตึกสองสูงกวาตึกหนึ
กหนึ่งและมีแนวรั้วกั้นระหวางตึกทั้งสอง 
  ซึ่งระยะหางจากแนวรั้วถึงตึกสองเทากับ 12 เมตร 
  ชาลียืนอยูบนดาดฟ
าดฟาของตึกหนึ่ง (จุด P) มองเห็นยอดตึกสอง (จุด Q) เปนมุมเงย 45 องศา 
  มองเห็นฐานตึกสอง (จุด R)  ) เปนมุมกม 30 องศา 
  และมองเห็นฐานของแนวรั้ว (จุด S) เปนมุมกม 60 องศา ดังรูป 
 
Q
 
 
 
 
 
 
ตึกสอง
45
  แนวเสนระดับสายตา
 
60 30
P
 
  ตึกหนึ่ง
พื้นราบ S
  R
12 เมตร
 
  ถาชาลีสูง 180 เซนติเมตร และจุด P จุด Q จุด R และจุด S อยูในระนาบเดี
เดียวกัน 
  แลวตึกสองสูงกวาตึกหนึ่งประมาณกี่เมตร  
  1.   18   2.   19.8 
  3.    13.8  6 3       4.   25.8 

  5.    13.8  8 3   
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |23
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

π π
23.  ถา z1  cos    i sin   เปนรากที่สิบของจํานวนเชิงซอนจํานวนหนึ่ง 
5 5
  ขอใดตอไปนีไ้ มใชรากที
รากที่สิบของจํานวนเชิงซอนจํานวนนี้  
 4π   4π  π π
  1.    cos    i sin     2.    cos    i sin    
 5   5  2 2
   
3.    cos π  i sin π      
4.    cos 0  i sin 0   
 7π   7π 
  5.    cos    i sin    
 5   5 
 
 
 
 
   
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |24
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

24.  กําหนดให f เปนฟ


นฟงกชันตอเนื่องบนชวงเปด (0, 6) และ กราฟของ f  เปนดังรูป 
 
  Y
  
  2
  1
  X
0 1 2 3 4 5 6
 
1
 
2
 
 
  
  ขอใดไมถูกตอง 
  1.   f มีจุดวิกฤตที่ x = 1  
  2.   f มีคาต่ําสุดสัมพัทธที่ x = 1 และ x = 4  
  3.   f มีคาสูงสุดสัมบูรณและคาต่ําสุดสมบูรณบนชวง [2, 5]  
  4.   f เปนฟงกชันเพิ่มบนชวง (1, 3)  
  5.   f เปนฟงกชันคาคงตัวบนชวง (0, 1) 
   
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |25
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

1
25.   กําหนดให f(x) x(x2  49) เมื่อ x เปนจํานวนจริง 
60
  และให A, B และ C เปนพื้นที่ของบริเวณที่แรเงาดังรูป 
  
  Y 
 
  f
 
 
(p, 1) A (q,1)
  y 1
B
  X
0
  C y  1
  (r, 1) (s, 1)

 
 
 
  ขอใดไมถูกตอง  
0 7 q
  1.     f  x  dx    f  x  dx     
2.    A   f  x   1 dx   
7 0 p
0 7
  3.    B   
 1  f  x  dx      4.    A  B    f  x  dx   
7 0
s 7
  5.    C    f  x   1 dx   f  x  dx   
r 0
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |26
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

สถานการณตอไปนี้ใชในการตอบคําถามขอ 26  27
การวายน้ําแบบผลัดผสมเปนการแข
ก งขันวายน้ําที่แตละทีมประกอบดวยนักวายน้ํา
จํานวน 4 คน โดยนักวายน้ําในทีมแตละคนจะตองวายน้ําคนละหนึ่งทาดังนี้
คนที่ 1 วายทากรรเชียง  คนที่ 2 วายทากบ   
คนที่ 3 วายทาผีเสื้อ คนที่ 4 วายทาฟรีสไตล 
  ชมรมวายน้ํา“เงืเงือกสยามฉลามไทย”
กสยามฉลามไทย มีสมาชิกจํานวน 6 คนคือแกมขาวคิมเงาะเจตและฉัตร  
 
26.  ถาชมรมวายน้ํา“เงืเงือกสยามฉลามไทย”
กสยามฉล ตองการจัดสมาชิกของชมรม 4 คน 
  เพื่อเปนทีมเขารวมแขงขันวายน้ําแบบผลัดผสม 
  โดยที่สมาชิกในชมรมทุกคนสามารถวายน้ําไดทุกทาของการวายน้ํา 
  แลวชมรมจะมีวิธีในการจัดสมาชิกเพื่อแขงขันวายน้ําแบบผลัดผสมที่แตกตางกันทั้งหมดกี่วิธี    
  1.    15     2.    32  
  3.    36     4.    360  
  5.    720  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |27
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

27.  ถึงแมวาสมาชิกในชมรมจะสามารถวายน้ําไดทุกทาของการวายน้ํา  
  แตสมาชิกแตละคนมีทาวายน้ําที่ตนเองถนัดดังขอมูลในตารางตอไปนี้ 
 
ทาการวายน้ําในการแขงขัน  รายชื่อสมาชิกที่มีความถนัดในการวายน้ําแตละทา 
ทากรรเชียง  แกม
ทากบ ขาวคิม 
ทาผีเสื้อ  เงาะเจต 
ทาฟรีสไตล  แกมเงาะเจตฉัตร 
   
ถาชมรมวายน้ํานี้ตองการจัดสมาชิกของชมรม 4 คนเพื่อเปนทีมเขารวมแขขงขันวายน้ําแบบผลัดผสม 
  โดยที่แตละคนไดวายน้ําในทาที่ตนเองถนัดแลวจะมีวิธีในการจัดสมาชิกเพื่อแขงขันวายน้ําแบบผลัดผสม 
  ที่แตกตางกันทั้งหมดกี่วิธ ี
  1.    4     2.    8  
  3.  9     4.    15  
  5.    16  
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |28
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

สถานการณตอไปนี้เปนการตอบคําถามขอ 28 – 29
วิธีการตรวจโควิด–19 ที่ใชในประเทศไทยมีหลายวิธี แตละวิธีใชเวลาและมีคาใชจายที่แตกตางกัน 
นักวิจัยไทยกลุ
ยไทยกลุมหนึ่งพัฒนาชุดตรวจโควิด–19  ขึน้ มาสองชุด คือชุด A และชุด B  โดยไดนําไปใช
ทดลองกักับผูที่เดินทางเขามาในประเทศไทยจํานวน 50 คน
ผูที่เดินทางเขามาในประเทศไทยกลุมที่ 1 จํานวน 20 คนไดรับการตรวจโควิด–19
ดวยชุดตรวจ A พบวามีผูปวยโควิด–19 จํานวน 3 คน
ผูที่เดินทางเขามาในประเทศไทยกลุมที่ 2 จํานวน 30 คนไดรับการตรวจโควิด–19 19
ดวยชุดตรวจ B พบวามีผูปวยโควิด–19 จํานวน 12 คน
หลังจากนั้นผูปวยโควิด–19 ทั้ง 15 คนไดเขารับการรักษาที่โรงพยาบาล
 
28.  ถาตองการเลือกผูปวยโควิด–19 ที่ไดรับการตรวจดวยชุดตรวจ A  จํานวน 2 คน 
  และตองการเลือกผูปปว ยโควิด–19 ที่ไดรับการตรวจดวยชุดตรวจ B จํานวน 7 คน 
  แลวนักวิจัยจะมีวิธีเลือกผูปวยทั้งหมดกี่วิธี 
 3   12   3   12 
  1.             2.          
2  7  2  7 
       
 20   30   20   30 
  3.             4.          
2 7 2 7
       
 15 
  5.       
9
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |29
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

29.  ชุดตรวจ A ที่นักวิจัยพัฒนาขึ้นมา พบวามีความคลาดเคลื่อนในการทดสอบ 


  โดยชุดตรวจ A ใชชตรวจกับผูปวยโควิด–19 ทุก ๆ 100 คน 
  ผลการตรวจจะผิดพลาดจํานวน 1 คน (ตรวจไมพบเชื้อโควิด–19)  
  ถานักวิจัยไดใชชุดตรวจ A ตรวจผูปวยโควิด–19 จํานวน 15 คน ดังกลาวอีกครั้ง 
  แลวความนาจะเปนที่ผลการตรวจนี้จะเกิดความผิดดพลาดเพี
พลาดเพียงคนเดียวเทากับเทาใด   
14 1
  1.        2.     
225 15
14 14
  3.    15  0.9   0.1   4.  15  0.99  0.01  
14
  5.    15  0.99   0.01
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |30
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

สถานการณตอไปนี้ใชในการตอบคําถามขอ 30–31
  รานขายขนมปงแหงหนึ่งสามารถผลิตขนมปงไดไมเกินวันละ 60 กอน 
  โดยมีตนทุนการผลิตขนมปงกอนละ 20 บาท และมีคาใชจายประจําคงที่ เชน คาจาง คนงาน คาแก็ส 
  คาไฟฟาเทากับ 1,600 บาทตอวัน รานแหงนี้ตั้งราคาขายขนมปงกอนละ 140 –– 2x บาท 
  เมื่อ x  แทนจํานวนขนมปงที่ผลิตในแตละวัน (กอน)  
 
30.  รานขายขนมปงแหงนี้ตองผลิตขนมปงจํานวนนอยที่สุดวันละกี่กอน จึงจะไดกําไร หากรานแหงนี้ 
ขายขนมปงที่ผลิตไดหมดทุกวัน  
  1.   20     2.   21 
  3.   30 4.   39 
  5.   40
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |31
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

31.  วันที่หนึ่ง  รานขายขนมปงแหงนี้ไดผลิตขนมปง 25 กอน และขายหมดในวันเดียว 


      โดยมีตตน ทุนการผลิตและคาใชจายประจําคงที
ค ่เทาเดิม 
 
  วันที่สอง  รานขายขนมปงแหงนี้จางคนงานเพิ่ม 1 คน และผลิตขนมปงได 30 กอน 
  ทําใหคาใชจายประจําคงที่เพิ่มขึน้ จากเดิมอีก 100 บาท และขายหมดในวันเดียว 
 
  กําไรที่ไดจากการขายขนมปงในวันที่สองเปลี่ยนแปลงจากกําไรที่ไดจากการขายขนมปงในวันที่หนึ่ง 
  ตรงกับขอใด 
  1.   กําไรเพิ่มขึ้น 50 บาท 2.   กําไรเพิ่มขึ้น 100 บาท 
  3.   กําไรเพิ่มขึ้น 150 บาท 4.   กําไรลดลง 50 บาท 
  5.   กําไรลดลง 150 บาท
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |32
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

สถานการณตอไปนี้ใชในการตอบคําถามขอ 32  33
ทรงกลมคือเซตของจุดทั้งหมดในระบบพิกัดฉากสามมิติที่หางจากจุด ๆ หนึ่ง ที่ตรึงอยูกับที่เปน
ระยะทางคงตัว จุดที่ตรึงอยูกับที่นี้เรียกวาจุดศูนยกลางของทรงกลม และสวนข
นของเสนตรงที่มีจุด
ศูนยกลางและจุดบนทรงกลมเปนจุดปลายเรียกวารัศมีของทรงกลม

กําหนดทรงกลมรัศมียาว 9 หนวยมีจุดศูนยกลางอยูที่ จุด O  0, 0, 0    


  จุด P1 , P2 และ P3 อยูบนทรงกลม โดยที่  
 6   6   7 
        
OP1 =  6   , OP2 =  3  และ OP3 =  4   
 3   6   4 
     
 
 0 
   
32.  ถา k1 และ k2 เปนจํานวนจริงที่ทําใหเวกเตอร   k1OP1 +k2 OP2 =  1  
 3 
 
  แลวผลคูณของ k1 และ k2 เท
เ ากับเทาใด 
1
  1.     1     2.      
9
1
  3.        4.    1  
9
  5.    9
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |33
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

  


33.  กําหนดให θ เปนมุมระหวาง OP1 และ OP2  OP3 ขอใดถูกตอง 
  1.    0  θ  45  2.    45  θ  90  
  3.    θ  90   4.    90
  θ   1
  80  
  5.    θ  180  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |34
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

สถานการณตอไปนี้ใชในการตอบคํ
ในการตอบคําถามขอ 34  35  
ในการวางแผนระบบการเดินรถไฟระหวางสถานีสองสถานี คือ สถานี ก และสถานี ข
ซึ่งอยูหางกันเปนระยะทาง S เมตรในแนวเสนตรงโดยรถไฟเริ่มตนเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งที่สถานี ก
ไปจนหยุดนิ่งอีกครั้งที่ สถานี ข รถไฟมีความเรงสูงสุดเทากับ A เมตรตอวินาที 2  
  โดยรถไฟจะเคลื่อนทีแบบระบบขับเคลื่อนโดยอัตโนมัติเปน 3 ชวงดังนี ้
      ชวงแรกช
ชวงเวลา T วินาทีแรกรถไฟมีความเรงเพิ่มขึ้นในอัตราสม่ําเสมอ 
จาก 0 ถึง A เมตรตอวินาที 2    
      ชวงกลางรถไฟจะเคลื
รถไฟจะเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว 
      ชวงทายช
ชวงเวลา T วินาทีกอนรถไฟถึ
ไฟถึงสถานีขรถไฟจะชะลอตัวในลักษณะที่ 
ความเรงลดลงในอัตราสม่ําเสมอจาก A ถึง 0 เมตรตอวินาที 2  
  กราฟแสดงความสัมพันธระหวางเวลาและความเรงของรถไฟนี้ที่เคลื่อนที่จากสถานี ก 
  ไปยังสถานี ข เปนดังนี้ 
 
  ความเรง (เมตรต
เมตรตอวินาที )
2

 
 
A
 
 
  เวลา(วินาที)
0
  T T
  สถานี ก สถานี ข
  
34.  ในชวงเวลาที่รถไฟเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัวนั้น 
  รถไฟวิ่งดวยความเร็วคงตัวกี่เมตรตอวินาที
  1.    A     2.    AT  
AT
  3.        4.    AT 2  
2
AT3
  5.   
2
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |35
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

35.  รถไฟเคลื่อนที่จาก สถานี ก ถึง สถานี ข ใชเวลากี่วินาที  


S S
  1.    T 2.     T 
A AT
S 2S 4T
  3.    T 4.      
AT2 AT 3
3S 5T
  5.      
AT3 3
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |36
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

ตอนที่ 2 แบบระบายตัวเลขที่เปนคําตอบ
จํานวน 10 ขอ ( ขอ 36  45) ขอละ 9 คะแนน
 

36.  โรงเรียนแหงหนึนึ่งสํารวจความชอบของนักเรียนที่เขารวมกิจกรรมคาย 
  ซึ่งประกอบดวยฐานวิทยาศาสตรและฐานคณิตศาสตรพบวา 
มีนักเรียนรอยละ 9 ไมชอบกิจกรรมทั้งสองฐาน 
มีนักเรียนรอยละ 61 ชอบกิจกรรมฐานวิทยาศาสตร 
มีนักเรียนรอยละ 35 ชอบกิจกรรมทั้งสองฐาน 
  ถาสุมนั
มนักเรียนที่เขารวมกิจกรรมคายนี้มา 1 คน 
  แลวความนาจะเปนที่นักเรียนคนนี้ชอบกิจกรรมฐานคณิตศาสตรเทากับเทาใด 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |37
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

37.  นิดซื้อน้ําดื่มขาวสารและปลากระปองไปบริจาคเพื่อชวยเหลืออผูผูประสบอุทกภัยดังนี้ 
ครั้งที่ 1 ซื้อน้ําดื่ม 2 แพ็คขาวสาร 2 กิโลกรัมและปลากระปอง 5 แพ็คคิดเปนเงิน 800 บาท 
ครั้งที่ 2 ซื้อน้ําดื่ม 4 แพ็คขาวสาร 10 กิโลกรัมและปลากระปอง 3 แพ็คคิดเปนเงิน 1, 000 บาท 
ครั้งที่ 3 ซื้อน้ําดื่ม 7 แพ็คข
คขาวสาร 3 กิโลกรัมและปลากระปอง 1 แพ็คคิดเปนเงิน 660 บาท 
  ถาครั้งที่ 4 ซื้อน้ําดื่ม 5 แพ็คขาวสาร 5 กิโลกรัมและปลากระปอง 7 แพ็ค 
  โดยราคาของน้ําดื่มขาวสารและปลากระปองไมเปลี่ยนแปลง 
  แลวในการซื้อครั้งที่ 4 นิดจะตองจายเงินกี่บาท 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |38
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

38.  กําหนดให   f (x)  loga x  


      g(x)    loga (x  b)  
      h(x)   loga x   c  
  เมื่อ a , b และ c เปนจํานวนจริงโดยที่ a  1 และ b  1  
  ถา f(2)  1 ,  g(1)  2 และ h(1)  5  แลว คาของ h(13a  2b) เทากับเทาใด 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |39
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

39.  กําหนดให P(8, –7) เปนจุดบนเสนตรง L1 ซึ่งมีสมการเปน  x + y = 1  


  L2 เปนเสนตรงซึ่งมีสมการเปน –x + y = 1   และ R เปนจุดตัดของเสนตรง L1 กับ L2  

5 2
  ถา Q เปนจุดบนเสนตรง L2 โดยที่ RQ ยาว หนวย  
2
แลวรูปสามเหลี่ยมที่ปดลอมดวย L1 , L2  และ PQ มีพื้นที่กตี่ ารางหนวย 
 
 
   
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |40
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

40.  จากการสํารวจความสูงของนักเรียน 1, 000 คนพบวา 


  ความสูงของนักเรียนมีการแจกแจงปกติที่มีคาเฉลี่ยเทากับ 160 เซนติเมตร 
  และความแปรปรวนเทากับ 25 เซนติเมตร 2  
  กําหนดตารางแสดงพื้นที่ใตเส
เสนโคงปกติมาตรฐานดังนี้  
 
   

z 0 z
0  
 
z 2.60   1.40   0.28   0.00   0.28   1.40   2.60  
พื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐาน 0.005   0.081   0.390   0.5   0.610   0.919   0.995  
 
  จากขอมูลดังกลาวคาดวาจะมีนักเรียนที่มีความสูงมากกวา 167 เซนติเมตร อยูจํานวนกี่คน 
 
 
 
 
   
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |41
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

41.  ในชวงเทศกาลวันปใหมรรา นเบเกอรีแหงหนึ่งผลิตเคกสูตรพิเศษที่มีขอจํากัดในการผลิต  


จึงจะผลิตตามสั่งได ไมเกิน 12 กอน  โดยมีกําไรจากการขายเคก n กอนเทากับ
300n  45n2     2n 3 บาท   รานเบเกอรีแแหหงนี้จะไดกําไรมากที่สุดเมื่อขายเคกกี่กอน 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |42
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

42.  กําหนดให xi แทนคะแนนของนักเรียนคนที่ i เมื่อ 


i  1 , 2 , 3 ,  , 46   
46 2
  ครูคํานวณคาเฉลี่ยเลขคณิตไดเทากับ 55 คะแนนจากนั้นจึงคํานวณ   xi  55   
i 1
  แลวจึงนํามาคํานวณความแปรปรวนไดเทากับ 30 คะแนน 2  
  ตอมาครูพบวาคาเฉลี่ยเลขคณิตเดิมไมถูกตองเนื่องจากเกิดจากการหารที่ผิดพลาด 
  โดยคาเฉลี่ยเลขคณิตที่ถูกตองเทากับ 60 คะแนน   
  คะแนนสอบของวิชานี้มีความแปรปรวนที่ถูกตองเทากับเทาใด 
 
 
 
 
 
 
 
   
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |43
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

43.  กําหนดให a และ b เปนจํานวนเต็มที่ทําให  


  พหุนาม x 3  ax 2  x  6 เปนตัวประกอบของพหุนาม x 4  10x 3  25x2  b  
  คาของ |ab| เทากับเทาใด 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |44
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

44.  กําหนดให A เปนเซตของจํานวนเชิงซอนทั้งหมดที่สอดคลองกับ z  2  i  3  4i  

  และ B  z  8  7i 
z  A  คามากทีส่ ุดของสมาชิกในเซต B เทากับเทาใด 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร  หนา |45
วันเสารที่ 20 มีนาคม 2564                                                 
                                                            เวลา 13.0
13.00 – 16.00 น. 

45.  กําหนดให f เปนฟงกชัน โดยที่  


   
x  5
 เมื่อ xa
f(x)   และ a > 0 
 x  1 เมื่อ xa
 
และให g เปนฟงกชันโดยที่ g(x)  x2 สําหรับทุกจํานวนจริง x  
  ถา lim  g  f  (x)
x)  lim f  g( x))   2   แลวคาของ a เทากับเทาใด 
x
x a x a
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

You might also like