Download as xlsx, pdf, or txt
Download as xlsx, pdf, or txt
You are on page 1of 5

สูตรการคำนวณและตัวอย่างการคำนวณหาค่าปริ มาณมาตรฐาน

5.1 การคำนวณหาค่าประสิ ทธิภาพเครื่ องจักร


ข้อมูลที่ใช้ประกอบในการคำนวณ
1. ปริ มาณอ้อยเข้าหี บ (Tons cane Milled)และค่าโพลในอ้อย (Pol% cane)
2. ปริ มาณน้ำตาลทุกชนิดและค่าโพลของน้ำตาลทุกชนิดที่ผลิตได้ (Ton & Pol of Actual Sugar)
3. ปริ มาณกากอ้อย (Tons Bagasse) และค่าโพลในกากอ้อย (Pol % Bagasse)
4. ปริ มาณกากตะกอน (Ton Filter Cake ) และค่าโพลในกากตะกอน (Pol % Filter Cake)
5. ปริ มาณกากน้ำตาล (Ton Final Molasses) และค่าโพลในกากน้ำตาล (Pol % Final Molasse)

สูตรที่ใช้ในการคำนวณ
1. Pol % Sugar = (Tons of Raw Sugar x Pol of Raw Sugar + Tons of White Sugar x Pol of White Sugar + Tons of Refine Sugar x Pol of Re
Total Tons of Actual Sugar
2. Tons Pol in Cane = Ton Cane Milled x Pol % Cane
100
3. Tons Pol in Sugar = Ton Sugar x Pol % Sugar
100
4. Tons Pol in Bagasse = Tons Bagasse x Pol % Bagasse
100
5. Tons Pol in Filter Cake = Tons Filter Cake x Pol % Filter Cake
100
6. Tons Pol in Final Molasses =Tons Final Molasses x Pol % Final Molasses
100
7. Tons Pol in Undetermined = Tons Pol in Cane - (Tons Pol in Sugar +Tons Pol in Bagasse + Tons Pol in Filter Cake + Tons Pol in Final Molasse
8. Bagasse Loss = Tons Pol in Bagasse x 100
Tons Pol in Cane

9. Filter Cake loss = Tons Pol in Filter Cake x 100


Tons Pol in Cane
10. Final Molasses Loss =Tons Pol in Final Molasses x 100
Tons Pol in Cane
11. Undetermined Loss = Tons Pol in Undetermined x 100
Tons Pol in Cane
12. Total Loss = (Bagasse Loss + Filter Cake Loss + Final Molasses Loss + Undetermined Loss )
13. Tons Sugar = Tons Pol in Sugar x 100
Pol % Sugar
14. Tons Sugar in Bagasse = Tons Pol in Bagasse x 100
Pol % Sugar
15. Tons Sugar in Filter Cake = Tons Pol in Filter Cake x 100
Pol % Sugar
16. Tons Sugar in Final Molasses = Tons Pol in Final Molasses x 100
Pol % Sugar
17. Tons Sugar in Undetermined = Tons Pol in Undetermined x 100
Pol % Sugar
18. Overall Recovery = 100 - Total Loss
หมายเหตุ
1. การคำนวณหาค่าประสิ ทธิภาพเครื่ องจักร จะใช้ขอ้ มูลของโรงงานที่มีการรับรองจากคณะทำงาน
ควบคุมการผลิตประจำโรงงาน โดยการคำนวณจะเป็ นหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย
2. กรณี โรงงานที่มีการละลายต่อเนื่อง ให้ใช้ขอ้ มูลน้ำตาลทรายตกค้างในกระบวนการผลิตที่คำนวณ
ได้จากเจ้าหน้าที่เจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย

3. กรณี น้ำตาลชนิดพิเศษและชนิดอื่นๆ ให้ใช้ค่าตามแหล่งที่มาในการผลิต

5.2 การคำนวณหาค่าสัมประสิ ทธิ์ ของงาน (Coefficient of Work หรื อ COW.)


ข้อมูลที่ใช้ประกอบในการคำนวณ
1. ปริ มาณอ้อยเข้าหี บ (Tons Cane Milled ) และค่าซี.ซี.เอส ในอ้อย (C.C.S. in Cane)
2. ปริ มาณน้ำตาลแต่ละชนิดที่ผลิตได้ (Tons of Actual Sugar )
3. ค่าโพล (Pol) ของน้ำตาลแต่ละชนิดที่ผลิตได้
4. ค่าเถ้า(Ash)ของน้ำตาลแต่ละชนิดที่ผลิตได้
5. ค่าน้ำตาลรี ดิวซ์ซิ่ง (Reducing Sugar (RS.)) ของน้ำตาลแต่ละชนิดที่ผลิตได้

สูตรที่ใช้ในการคำนวณ
1. Net Titre = Pol - 5 Ash - Reducing Sugar
2. Total Tons of 94 N.T. Sugar = (Tons of Actual Sugar x Actual N.T)
94
3. Tons C.C.S. in Cane at 10 C.C.S. = (Tons Cane Milled x C.C.S. in Cane )
10
4. Coefficient of Work = Total Tons of 94 N.T. Sugar x 1000
Tons C.C.S. in Cane at 10 C.C.S
หมายเหตุ
1. กรณี โรงงานที่มีการละลายน้ำตาลต่อเนื่อง ให้ใช้ขอ้ มูลน้ำตาลทรายตกค้างในกระบวนการผลิตที่คำนวณได้
จากเจ้าหน้าที่เจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย
2. กรณี น้ำตาลชนิดพิเศษและชนิดอื่นๆ ถ้าไม่มีค่า Pol, Ash และR.S. ให้ใช้ค่าคุณภาพน้ำตาลทรายดิบแทน
3. การคำนวณหาค่า COW. ที่ถูกต้องจะใช้ขอ้ มูลค่า C.C.S. และน้ำตาลทรายของสำนักบริ หารอ้อย
และน้ำตาลทราย
รวมทั้งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทรายเท่านั้น
+ Tons of Refine Sugar x Pol of Refine Sugar)

r Cake + Tons Pol in Final Molasses)

You might also like