Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 35

การวัดตาแหน่งที่ของข้อมูล

อรุณศรี เตชะเรืองรอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียนอุตรดิตถ์
M H

การวัดตาแหน่งทีข่ องข้อมูล

การกระจายสัมบูรณ์

การกระจายสัมพัทธ์
M H

ควอไทล์ เดไซล์ และ เปอร์เซ็นไทล์


ควอไทล์ (Quartiles) เป็นการวัดตาแหน่งของข้อมูลที่แบ่งข้อมูลทั้งหมด
ออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆกัน เมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก ค่าที่แบ่ง
ข้อมูลออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆกัน มี 3 ค่า คือควอไทล์ที่ 1 (Q1) ควอไทล์ที่
2 (Q2 ) ควอไทล์ที่ 3 (Q3 ) ตามลาดับ
1
M H
M H

ควอไทล์ เดไซล์ และ เปอร์เซ็นไทล์


เดไซล์ (Deciles) เป็นการวัดตาแหน่งของข้อมูลที่แบ่งข้อมูลทั้งหมด
ออกเป็น 10 ส่วนเท่าๆกัน เมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก ค่าที่แบ่ง
ข้อมูลออกเป็น 10 ส่วนเท่าๆกัน มี 9 ค่า คือเดไซล์ที่ 1 (D1) เดไซล์ที่ 2
(D2 ) ควอไทล์ที่ 3 (D3 ) จนถึง เดไซล์ที่ 9 (D9 )ตามลาดับ
M H

ควอไทล์ เดไซล์ และ เปอร์เซ็นไทล์


เปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentiles) เป็นการวัดตาแหน่งของข้อมูลที่แบ่งข้อมูลทั้งหมด
ออกเป็น 100 ส่วน เท่าๆกัน เมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก ค่าที่แบ่งข้อมูล
ออกเป็น 100 ส่วนเท่าๆกัน มี 99 ค่า คือเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 1 (P1) เปอร์เซนต์ไทล์ที่ 2
(P2 ) เปอร์เซนต์ไทล์ที่ 3 (P3 ) จนถึง เปอร์เซนต์ไทล์ที่ 99 (P99 )ตามลาดับ
M H
M H

ตัวอย่าง เด็กกลุ่มหนึ่งจานวน 7 คน มีอายุดังนี้ 14, 13, 19, 12,


17, 14 และ 16 ปี จงหา Q1,Q3 ,D5
ขั้นที่ 1 เรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปหามากได้ดังนี้
12 13 14 14 16 17 19
ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งที่ต้องการ จากสูตร
M H

ขั้นที่ 3 คำนวณค่ำในตำแหน่ง ที่ต้องกำร


• ค่ำที่อยู่ในตำแหน่งที่ 2 ตรงกับ 13 พอดี ดังนั้น Q1 =13 ปี
• ค่ำที่อยู่ในตำแหน่งที่ 6 ตรงกับ 17 พอดี ดังนั้น Q3 =17 ปี
• ค่ำที่อยู่ในตำแหน่งที่ 4 ตรงกับ 14 พอดี ดังนั้น D5 =14 ปี
ตัวอย่ำง ผลการชั่งการน้าหนัก (หน่วยเป็นกิโลกรัม) ของนักศึกษาจุลชีววิทยา จ้านวน 31 คน เป็น
ดังนี 42 53 68 49 68 56 44 38 60 51 48 45 44 58 62 45 50 66 54 62 43 57 65 70
52 57 69 65 64 48 62
1. จงหาว่าน้าหนักจะต้องตรงกับกี่กิโลกรัมจึงจะท้าให้นักศึกษาประมาณสามในสี่ของห้องมี
น้าหนักมากกว่า
2. จงหาว่าน้าหนักจะต้องตรงกับกี่กิโลกรัมจึงจะท้าให้นักศึกษาประมาณหกในสิบของห้องมี
น้าหนักมากกว่า
M H

วิธีทำ เรียงข้อมูลจำกน้อยไปหำมำกก่อน ดังนี้


38 42 43 44 44 45 45 48 48 49 50 51 52 53 54 56 57 57 58 60 62
62 62 64 65 65 66 68 68 69 70
1. น้าหนักที่มีนักศึกษาประมาณสามในสี่ของห้องที่มีน้าหนักมากกว่าแสดงว่าต้องการ
หาน้าหนักที่มีนักศึกษาประมาณหนึ่งในสี่ของห้องที่มีน้าหนักน้อยกว่า นั่นคือ ต้องการหา
น้าหนักที่ตรงกับ P25
M H

2. น้าหนักที่มีนักศึกษาประมาณหกในสิบของห้องที่มีน้าหนักน้อยกว่า มีความหมาย
เช่นเดียวกับ น้าหนักที่มีนักศึกษาประมาณ 60 ใน 100 ของห้องที่มีน้าหนักน้อยกว่า ซึ่ง
ตรงกับน้าหนักที่ P60

น้ำหนักในลำดับที่ 19 และ 20 คือ 58 และ 60 ตำมลำดับ


ตำแหน่งต่ำงกัน 20 - 19 = 1 น้ำหนักต่ำงกัน 60 - 58 = 2 กิโลกรัม
ตำแหน่งต่ำงกัน 19.2 - 19 = 0.2 น้ำหนักต่ำงกัน 2 x0.2=0.4 กิโลกรัม
ดังนั้น P60 = 58 +0.4 = 58.4 กิโลกรัม
M H
M H

ตัวอย่ำง จากข้อมูลที่ก้าหนดให้ จงหาควอร์ไทล์ที่ 3


ช่วง 21−30 31−40 41−50 51−60
จ้านวน 1 3 4 2
ความถี่สะสม 1 4 8 10
M H
M H

หลัก
เป็นการวิเคราะห์ว่าข้อมูลมีลักษณะเป็นอย่างไร
การวัดการกระจายของข้อมูลแบ่งเป็น 2 แบบ คือ
1. การวัดการกระจายสัมบูรณ์
2. การวัดการกระจายสัมพัทธ์

15
M H

เป็นการวัดการกระจายของข้อมูลชุดใดชุดหนึ่งที่ไม่น้าไปเปรียบเทียบกับข้อมูลชุดอื่น
และผลลัพธ์ที่ได้จะมีหน่วยเดียวกันกับหน่วยของข้อมูลที่ก้าหนด
• พิสัย (R)
•ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ (Q.D)
•ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย(M.D)
•ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D, S)

16
M H

1. กรณีข้อมูลไม่ได้แจกแจงความถี่
พิสัย = ค่าสูงสุด - ค่าต่่าสุด
2. กรณีข้อมูลแจกแจงความถี่
พิสัย = ขอบบนของอันตรภาคชั้นค่ามากสุด
- ขอบล่างของอันตรภาคชั้นน้อยสุด
17
M H

ตัวอย่าง จากข้อมูลต่อไปนีจงหาค่า ตัวอย่ำง จำกข้อมูลควำมสูงของนิสิต จงหำค่ำพิสัย


พิสัย ความสูง (cm) จ้านวน
1 5 10 5 12 135 – 144 5
9 3 4 2 5 145 – 154 18
155 – 164 42
พิสัย = Xmax- Xmin 165 – 174 27
= 12 – 1 = 11 175 - 184 8
รวม 100
พิสัย ผลต่ำงค่ำขอบเขตบนของชั้นที่มีข้อมูลสูงสุดกับค่ำขอบเขต
ของชั้นที่มีข้อมูลต่ำสุด
พิสัย = 184.5 – 134.5 = 50

18
M H

ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (Q.D)
1. กรณีข้อมูลไม่ได้แจกแจงความถี่
Q.D = ค่าข้อมูลต่าแหน่ง Q3 - ค่าข้อมูลต่าแหน่ง Q1
2
2. กรณีข้อมูลแจกแจงความถี่หาค่าของข้อมูลในต่าแหน่งที่ k โดยใช้
สูตร

19
M H

ตัวอย่าง จากข้อมูลต่อไปนีจงหาค่าส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
1 5 10 5 12 9 3 4 2 5
เรียงข้อมูล 1 2 3 4 5 5 5 9 10 12 Q.D = ข้อมูลต้าแหน่งทีQ่ 3 – ข้อมูลต้าแหน่งทีQ่ 1
2

ข้อมูลต้าแหน่งที่ 2 คือ 2 ข้อมูลตำแหน่งที่ 8.25


0.75
ข้อมูลต้าแหน่งที่ 2.75 1 0.75 1 คือ 9 + 0.25 = 9.25
ข้อมูลต้าแหน่งที่ 3 คือ 3
ข้อมูลตำแหน่งที่ 2.75
คือ 2 + 0.75 = 2.75
20
M H

ตัวอย่ำง จำกข้อมูลควำมสูงของนิสิต จงหำ Q.D


ความสูง จ้านวน ความถี่สะสม
(cm)
135 – 144 5 5 (1-5)
145 – 154 18 23(6-23)
155 – 164 42 65(24-65)
165 – 174 27 92(66-92)
175 - 184 8 100(93-100)
รวม 100

Q.D = ข้อมูลต้าแหน่งที่Q3 – ข้อมูลต้าแหน่งที่Q1


2

Q.D = 168.20 – 154.97 = 6.61


2 21
M H

ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย(MD)

1. กรณีข้อมูลไม่ถูกจัดเป็นอันตรภาคชัน
ให้ X1,X2,…,Xn เป็นข้อมูลมีค่าเฉลี่ยเป็น X

X  X  X  X  ...  X  X
M .D.  1 2 N
N
N
 Xi  X
 i 1
N
22
M H

จำกข้อมูลยอดขำยรำยเดือนของร้ำน D_Shop จำนวน 10 เดือนจงหำค่ำเบี่ยงเบนเฉลี่ย


(หน่วย : 1000 บำท)
66 59 106 50 63 89 75 82 71 50 39
M H

K
 fi Xi  
M.D. = i 1
N
f iXi Xi   fi X i  
(cm) (fi) (Xi)
135 – 144 5 139.5 697.5 21.5 107.5
145 – 154 18 149.5 2691 11.5 207
155 – 164 42 159.5 6699 1.5 63
165 – 174 27 169.5 4576.5 8.5 229.5
175 - 184 8 179.5 1436 18.5 148
100 16,100 61.5 755
ดังนัน ค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยของความสูงของนิสิต เท่ากับ 7.55 เซนติเมตร
M H

ฐ (S.D ,S)

ณ ไ ป็ ภ ณ ป็ ภ

 X 
N

 f X 
k
2
i X i i X
i 1
S S i 1
n 1 n 1


 
X2
nX 2
 fX 2
nX 2
n 1 n 1  
n 1 n 1

25
M H

แป ป (S)2
กรณีข้อมูลไม่ได้จัดเป็นอันตรภำคชั้น ณ ป็ ภ

S 2

 X

2
nX 2
S 2

 fX

nX
2 2

n 1 n 1 n 1 n 1


 X - X  2


 f X-X
 2

n 1 n 1

26
M H
D_Shop 10
แป ป แ ฐ ( : 100 )
660 590 1060 500 630 890 745 820 710
10
N
 X i   
2 
 iX  660. 5 2
i 1
2 = i 1
=
N 10
 660  660.5  2   590  660.5  2     710  660.5  2
= 10
278,962.25
= 10 = 27896.225
แ  = 2

= 27896.225 = 167.02
แป ป แ ฐ
D_Shop 2,789,622.5 2 แ 16,702
M H

แป ป แ

R
f 
i i X   2
i 1
2 
N
(cm) (fi) (Xi) fiXi Xi   2 fi Xi   2
135 – 144 5 139.5 697.5 462.25 2311.25
145 – 154 18 149.5 2691 132.25 2380.5
155 – 164 42 159.5 6699 2.25 94.5
165 – 174 27 169.5 4576.5 72.25 1950.75
175 – 184 8 179.5 1436 342.25 2738
100 16,100 9475
M H

ป แ ไป พ
ถ ไ ณ์ แ ป ไ พ
ถแ แ
ณ์ ไป ซ ปป ไ ถ
พ ป ป็ ไป ถ แ ไ
“ ณ์ ๆ” ป็
ซ “ ป ์ ”
วิธีการ
1. สปส.ของพิสัย (C.R) 2. สปส.ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ (C.Q)
3. สปส.ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ (C.MD)
4. สปส.ของการแปรผัน(C.V) 29
M H

ป็ ป ๋ แ 2 ป็ ไป
X max  X min
1. ป . พ 
X max  X min
Q3  Q1
2. ป . ์ไ ์ 
Q3  Q1
MD
3. ป . 
X
s
4. ป . แป 
X
M H

2 .6 โ ถ์
ปี ศ ษ 2560
(. .) 52 , 54 , 57 , 58 , 64
(. .) 54 , 62 , 64 , 60 , 68 , 58 , 54
ป .6 โ
1) ป ์ พ 2) ป ์ ไ ์
3) ป ์ 4) ป ์ แป
X max  X min
1) ป ์ พ
X max  X min

สัมประสิทธิ์พิสัยของห้อง1 เท่ากับ 64 -52 สัมประสิทธิ์พิสัยของห้อง 2 เท่ากับ 68 - 54


64+52 68 + 54
เท่ากับ 0.1034 หรือ 10.34 % เท่ากับ 0.1147 หรือ 11.47 %
M H

Q3  Q1
2) ป ์ ไ ์ 
Q3  Q1

ป ์ ไ ์ 1 52 , 54 , 57 , 58 , 64
แ Q3 แ 4.5 59 + 2.5 = 61.5
แ Q1 แ 1.5 52 + 2 = 54
61.5 – 54
CQD1 = = 0.0649 หรือ เท่ำกับ 6.49 %
61.5 + 54
ป ์ ไ ์ 2 54 , 62 , 64 , 60 , 68 , 58 , 54
แ Q3 แ 6 68
แ Q1 แ 2 60
68 – 60
CQD2 = = 0.0625 หรือ เท่ำกับ 6.25 %
68 + 60
M H

MD
ป ์ 
X

ป ์ 1 52 , 54 , 57 , 58 , 64
57 MD1 3.20
3.2
CMD1 = = 0.0561 หรือ เท่ำกับ 5.61 %
57

ป ์ 2 54 , 62 , 64 , 60 , 68 , 58 , 54
60 MD2 4
4
CMD2 = = 0.0666 หรือ เท่ำกับ 6.66 %
60
M H

s
ป ์ แป 
X

ป ์ แป 1 52 , 54 , 57 , 58 , 64
57 SD1 4.58
4.58
CV1 = = 0.0803 หรือ เท่ำกับ 8.03 %
57

ป ์ 2 54 , 62 , 64 , 60 , 68 , 58 , 54
60 SD2 5.40
5.40
CMD2 = = 0.09 หรือ เท่ำกับ 9.00 %
60
M H

ถ แ ป ภ ภษ ษ ป็ 78
ฐ 8 แ ณ ศ ์ ป็ 73
ฐ 7.6 แ ไ

(8)(100)
C.V. ภษ ษ = = 10.26%
78
( 7.6)(100)
C.V. ณ ศ ์ = = 10.41%
73
แ ณ ศ ์ ภษ ษ
แ ภษ ษ แ ณ ศ ์

You might also like