Sornsawan Bunnakornchai

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 105

ภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนทวีธาภิเศก

สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1

นางสาวศรสวรรค์ บุญณกรณ์ ชัย

การศึกษาค้ นคว้ าอิสระนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญา


ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยเกริก
พ.ศ. 2561
ลิขสิ ทธิ์ของมหาวิทยาลัยเกริก
Leadership Quality of Educational Adminstrator in 21st Century of
Taweethapisek School under Secondary Educational Service Area Office 1

Miss.Sornsawan Bunnakornchai

An Independent Study Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for


the Degree of Master of Educational Program
Educational Administeation
Krirk University
2018

ชื่ อการศึกษาค้นคว้ าอิสระ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21


โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 1
ผู้ศึกษา นางสาวศรสวรรค์ บุญณกรณ์ชยั
ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา
อาจารย์ ทปี่ รึกษา อาจารย์ ดร.ลือชัย แก้วสุข
ปี การศึกษา 2561

บทคัดย่ อ

การศึก ษาค้น คว้าอิ ส ระครั้งนี้ มีว ตั ถุ ประสงค์เพื่ อ 1) ศึก ษาความคิ ดเห็ นของครู ที่ มีต่อ ภาวะผูน้ าของ
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
โดยรวมและรายด้าน และ 2) เปรี ยบเทียบความคิ ดเห็ น ของครู ที่มี ต่อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห ารสถานศึก ษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเ ศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึก ษา เขต 1 จาแนกตามเพศ อายุ
ประสบการณ์การทางาน และระดับการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู ในโรงเรี ยนทวีธาภิเ ศก จานวน 80 คน
ได้มาโดยการใช้ตารางสุ่ ม ของ Krejcie & Morgan แล้ว สุ่ ม แบบแบ่ งชั้นภู มิ และจับสลาก เครื่ อ งมือ ที่ ใช้ เป็ น
แบบสอบถามแบบมาตราส่ วนประมาณค่ า (Rating Scale) 5 ระดับ และวิเคราะห์ ข ้อมูล วิธี ก ารทางสถิติ ได้แก่
ความถี่ ค่ าร้ อ ยละ และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐาน และหาค่ า t (t-test) โดยหาค่ าความแปรปรวนทางเดี ยว (One-Way
ANOVA)
ผลการวิจยั พบว่า
1.ความคิ ดเห็ นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห ารสถานศึก ษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธ าภิ เศก
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวม อยู่ในระดับมาก ( X = 3.96) เมื่อพิจารณารายด้าน
เรี ยงลาดับ ค่าเฉลี่ยสู งสุ ด รองลงมา และต่าสุ ด ดังนี้ ค่าเฉลี่ยสู งสุ ด คือ ด้านสร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้
และความส าเร็ จ อยู่ในระดับ มาก ( X = 4.05) รองลงมาคื อ ด้านพัฒ นาคนอื่ นให้ เป็ นผูน้ า อยู่ในระดับมาก
( X = 4.01) และค่าเฉลี่ยต่าสุ ด คือ ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน อยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.86)
2.ผลการเปรี ยบเทียบความคิ ดเห็ นของครู ที่มีต่อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห ารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21
โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จาแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา
และประสบการณ์การทางาน พบว่า ครู ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทางาน ต่างกัน มีความ
คิดเห็ น ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห ารสถานศึก ษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิ เศก สังกัดส านักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ทั้งโดยรวม และรายด้าน ไม่แตกต่างกัน

Abstract

The research aimed to study 1) teachers' opinions on leadership of administrators in the 21st century,
of Taweethapisek School under Secondary Educational Service Area Office 1 2) compare the teachers'
opinions on the leadership of administrators in the 21st century of Taweethapisek School under
Secondary Educational Service Area Office 1 by Gender, Age, Work Experience and Level of
Education on both overall and segmented by income The sample consisted of 80 people in the
Office of of Taweethapisek School under Secondary Educational Service Area Office 1 derived
from the random sampling scale of Krejcie & Morgan (Krejcie & Morgan, 1970) and then to
random sampling and picking. The using tools had a five-level rating scale that was used to
analyze the data. Statistical methods were frequency, percentage and standard deviation. The t-
test was used to determine one-way ANOVA. )
The research results as follows:
1.Teachers' Opinions Toward Leadership of School Administrators in the 21st century
of Taweethapisek School under Secondary Educational Service Area Office 1 was scored as high
as =3.69, and when to consider the highest,lower, and lowest mean scores respectively, the
highest mean was the networking to promote learning and Success (=4.05), followed by the
leadership development of others was at level (= 4.01) and the mean was the improvement of the
results of all students was at the level (= 3.86)
2.Comparison results of Teachers' Opinions Toward Leadership of School
Administrators in 21st century showed that Taweethapisek School under Secondary Educational
Service Area Office 1 , classified by sex, age, education showed that it was found that teachers
classified by gender, age, education had no difference on opinions on leadership of school
administrators in the 21st century of Taweethapisek School under Secondary Educational Service
Area Office 1 , both the overall and the individual aspects.

กิตติกรรมประกาศ

การค้นคว้าอิสระ เรื่ อง ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก


สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ฉบับนี้ ได้รับความกรุ ณาจากอาจารย์ ดร.ลือชัย แก้วสุ ข
อาจารย์ที่ ปรึ กษาการค้นคว้าอิ สระ ในการให้คาปรึ กษา แนะน า การดาเนิ นการวิจยั มาโดยตลอดทุ ก
ขั้นตอน รวมทั้ง คณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระ ที่ทาให้การวิจยั ครั้งนี้ มีความสมบูรณ์ มากยิง่ ขึ้น
ผูว้ จิ ยั ขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงไว้ ณ ที่น้ ี
ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่าน ที่ได้ประสิ ทธิประสาทวิชาความรู ้และประสบการณ์
อันมีคุณค่ายิง่ รวมทั้งให้กาลังใจกับผูว้ จิ ยั ด้วยดี ทาให้ผวู ้ ิจยั สามารถนาความรู ้และประสบการณ์น้ ี ไปใช้
ในการทางาน และการดาเนินชีวติ ต่อไป
ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.สุ ทธิพงษ์ ศรี วชิ ยั ที่กรุ ณาให้ความรู ้ให้ขอ้ คิดเห็น
และให้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์ในการวิจยั ทางการบริ หารการศึกษา
ขอขอบคุ ณคณะครู และผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนทรี ธาภิ เศก ที่ กรุ ณาให้ความร่ วมมื อในการศึกษา
ค้นคว้าและเก็บข้อมูลเพือ่ ประโยชน์ต่อการศึกษาวิจยั
ขอขอบคุณ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด เพื่อนนักศึกษา สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา เพื่อนร่ วมงาน
ตลอดจนครอบครัวและญาติพี่น้องที่ช่วยเหลือและเป็ นกาลังใจอย่างดียงิ่ จนทาให้การวิจยั ครั้งนี้ สาเร็ จ
ลุล่วงได้ดว้ ยดี
คุณงามความดีอนั พึงมี ขอมอบให้แด่บิดา มารดา ครู -อาจารย์ และผูม้ ีพระคุณทุกท่าน

ศรสวรรค์ บุญณกรณ์ชยั
มหาวิทยาลัยเกริ ก
2561

สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ จ
กิตติกรรมประกาศ ฉ
สารบัญตาราง ฌ
สารบัญภาพ ฐ
บทที่ 1 บทนา 1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา 1
คาถามการวิจยั 2
วัตถุประสงค์ของการวิจยั 2
ขอบเขตของการวิจยั 3
กรอบแนวคิดในการวิจยั 3
สมมติฐานในการวิจยั 4
นิยามศัพท์เฉพาะ 4
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 5
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 6
แนวคิด และทฤษฎี เกี่ยวกับผูน้ าและภาวะผูน้ า 6
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 12
แนวคิดเกี่ยวกับคุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ 21 13
แนวคิดบทบาทผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 19
บริ บทโรงเรี ยนทวีธาภิเศก 25
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 26
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจยั 37
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 37
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั 37
การเก็บรวบรวมข้อมูล 39
การวิเคราะห์ขอ้ มูล 40

สารบัญ (ต่ อ)

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 42


สัญลักษณ์ที่ใช้ในการรายงานผลการวิเคราะห์ 42
ขั้นตอนการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 42
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 43
บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 64
สรุ ปผลการวิจยั 65
อภิปรายผลการวิจยั 67
ข้อเสนอแนะในการวิจยั 70
บรรณานุกรม 72
ภาคผนวก 75
ก เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั 76
ข รายชื่อผูเ้ ชี่ยวชาญ 82
ค ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) 85
ง ผลการวิเคราะห์ค่าความเชื่อมัน่ (Reliability) ของแบบสอบถาม 90
ประวัติผศู ้ ึกษา 93

สารบัญตาราง

หน้า
ตารางที่ 4.1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม 43
ตารางที่ 4.2 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่
21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตาม
ความคิดเห็นของครู โดยรวมและรายด้าน 44
ตารางที่ 4.3 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ตามความคิดเห็นของครู ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน โดยรวม
และรายข้อ 45
ตารางที่ 4.4 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ตามความคิดเห็นของครู ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิทธิผล
โดยรวมและรายข้อ 46
ตารางที่ 4.5 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ตามความคิดเห็นของครู ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT โดยรวม
และรายข้อ 47
ตารางที่ 4.6 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ตามความคิดเห็นของครู ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้
โดยรวมและรายข้อ 48
ตารางที่ 4.7 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ตามความคิดเห็นของครู ด้านสร้างเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้
และความสาเร็จ โดยรวมและรายข้อ 49

สารบัญตาราง (ต่ อ)

หน้า
ตารางที่ 4.8 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ตามความคิดเห็นของครู พัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า โดยรวมและรายข้อ 50
ตารางที่ 4.9 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยรวม จาแนกตามเพศ 51
ตารางที่ 4.10 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 รายด้าน จาแนกตามเพศ 52
ตารางที่ 4.11 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยรวม จาแนกตามอายุ 53
ตารางที่ 4.12 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน จาแนกตามอายุ 53
ตารางที่ 4.13 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิทธิผล จาแนกตามอายุ 54
ตารางที่ 4.14 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 1 ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT จาแนกตามอายุ 54
ตารางที่ 4.15 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ จาแนกตามอายุ 55

สารบัญตาราง (ต่ อ)

หน้า
ตารางที่ 4.16 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
ในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 1 ด้านสร้างเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็จ
จาแนกตามอายุ 56
ตารางที่ 4.17 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
ในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 1พัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า จาแนกตามอายุ 56
ตารางที่ 4.18 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวม จาแนกตามระดับการศึกษา 57
ตารางที่ 4.19 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน จาแนกตามระดับการศึกษา 58
ตารางที่ 4.20 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยรวม จาแนกตามประสบการณ์ในตาแหน่งครู 59
ตารางที่ 4.21 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน จาแนกตามประสบการณ์ใน
ตาแหน่งครู 59
ตารางที่ 4.22 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิทธิผล จาแนกตามประสบการณ์
ในตาแหน่งครู 60

สารบัญตาราง (ต่ อ)

หน้า
ตารางที่ 4.23 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT จาแนกตามประสบการณ์ใน
ตาแหน่งครู 60
ตารางที่ 4.24 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ จาแนกตามประสบการณ์ใน
ตาแหน่งครู 60
ตารางที่ 4.25 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านสร้างเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็จ จาแนกตาม
ประสบการณ์ในตาแหน่งครู 62
ตารางที่ 4.26 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านพัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า จาแนกตามประสบการณ์ในตาแหน่งครู 62

สารบัญภาพ

หน้า
แผนภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจยั 3
แผนภาพที่ 2.1 แสดงความสัมพันธ์ของการเรี ยนรู ้ 4 แบบ 14
1

บทที่ 1
บทนำ

ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปัญหำ

กระทรวงศึกษาธิการมีหน้าที่หลักในการจัดการศึกษาที่จะต้องพัฒนากาลังคนให้มีขีดความ
สามารถและศักยภาพในการแข่ง ขัน บนเวที โ ลก มี แ ผนการผลิ ต และพัฒ นาก าลัง คน เพื่อ เพิ่ม
ศักยภาพการแข่งขันเตรี ยมความพร้อมประชากรวัยเรี ยนให้มีทกั ษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่
21 3 ด้าน คือ ทักษะการเรี ยนรู ้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี และทักษะ
ชีวิตและอาชีพ เพือ่ ความสาเร็ จทั้งด้านการทางานและการดาเนิ นชีวิต(กระทรวงศึกษาธิการ, 2558)
ดังนั้น ผูบ้ ริ ห ารจึ งควรมี แ นวคิ ดที่ถู กต้อ งเกี่ ยวกับความต้อ งการจาเป็ น และสอดคล้อ งกับ แนว
ทางการบริ หารของหน่วยงานต้นสังกัด รวมทั้งมีแนวทางในการกาหนดนโยบายการจัดการศึกษา
ของโรงเรี ยนอย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิ ดประโยชน์สูงสุ ดต่อ ผูเ้ รี ยนและผูเ้ กี่ ยวข้อ งหรื อผูม้ ีส่วนได้
ส่วนเสียทั้งหมด (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2558)
ในศตวรรษที่ 21 เป็ นโลกแห่ งการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง คือ ความเป็ นจริ งของ
สังคมใหม่ที่มีปัญหาท้าทายสาหรับผูบ้ ริ หาร (วิโรจน์ สารรัตนะ,2556 : 70-75) กล่าวถึง โมเดลภาวะ
ผูน้ าทางการศึ ก ษา (Educational Leadership Model) ซึ่ งเป็ นโมเดลที่ ก ล่ า วถึ ง เรื่ อ งของ คุ ณ ภาพ
(qualities) ความรู ้ (knowledge) และทักษะ (skills) ของผูน้ าทางการศึกษา พอสรุ ปได้ว่า ผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษาจาเป็ นต้องนาสถานศึกษาของตนเองเข้าสู่ ศตวรรษที่ 21 และรับผิดชอบต่อผลการจัด
การศึกษาในสถานศึ กษาของตนเองในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ปรับปรุ งผลลัพ ธ์ของนักเรี ยนทุกคน
2. ริ เ ริ่ ม การจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล 3. ส ารวจและสนับ สนุ น การใช้ ICT และ
E – Learning 4. พัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ 5. สร้างเครื อ ข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้
และความสาเร็ จ และ6. พัฒนาคนอื่ นให้เป็ นผูน้ า ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาที่ไ ด้รับการพัฒนาทักษะ
ภาวะผูน้ าที่เหมาะสมส่ งผลให้ก ารปฏิบตั ิงานของโรงเรี ยนในด้านการบริ หารงานวิชาการ งาน
บริ หารบุคคล งานงบประมาณ และงานบริ หารทัว่ ไป ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพตามหลักการกระจาย
อานาจ และยังส่ งผลต่อความสามารถในการสร้างความร่ วมมือในการพัฒนาการจัดการเรี ยนการ
สอน การสร้างภาคีเครื อข่ายความร่ วมมือและการสนับสนุนงานวิชาการแก่ชุมชน (สพฐ.,2560)
โรงเรี ย นทวีธ าภิ เ ศก เป็ นโรงเรี ย นมัธ ยมศึ ก ษา สัง กัด ส านั ก งานเขตพื้น ที่ ก ารศึ ก ษา
มัธยมศึกษา เขต 1 มี นโยบายในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21
ดัง นั้ น จึ ง เป็ นสิ่ ง จ าเป็ นที่ ผู ้บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในยุ ค ใหม่ ใ นศตวรรษที่ 21 ต้อ งมี ค วามรู ้
2

ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ทางการบริ หารการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้ทนั สมัย


เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของโลกต้องอาศัยทักษะภาวะผูน้ าในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคล มี ความคิ ดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มี ความสามารถในการแก้ไ ขปั ญหาที่ซับซ้อ น มองเห็ นภาพ
อนาคต และสามารถสร้างแรงจูงใจให้ผรู ้ ่ วมงานทุกคนปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผลอย่างสูงสุด (ธีระ รุ ญเจริ ญ, 2559)
ด้ว ยเหตุ ผ ลดัง กล่ า วข้า งต้น ผูว้ ิ จ ัย จึ ง มี ค วามต้อ งการจะศึ ก ษาภาวะผู ้น าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเ ศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยศึกษาตามความคิดเห็นของครู และเปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าใน
ศตวรรษที่ 21 เพือ่ นาไปสู่การพัฒนาองค์ความรู ้ทางการวิจยั ทางการบริ หารการศึกษาต่อไป

คำถำมกำรวิจัย
1. ครู มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธา
ภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ในระดับใด
2. ครู ที่มีเพศ อายุ ประสบการณ์การทางาน และระดับการศึกษา ต่างกัน จะมีความคิดเห็น
ต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเ ศก สังกัดสานักงานเขต
พืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 แตกต่างกันหรื อไม่

วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
1. เพือ่ ศึกษาความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21
โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมและรายด้าน
2. เพื่อ เปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห ารสถานศึ ก ษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเ ศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จาแนก
ตามเพศ อายุ ประสบการณ์การทางาน และระดับการศึกษา ทั้งโดยรวมและรายด้าน

ขอบเขตในกำรวิจัย
การวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดขอบเขตการวิจยั ดังนี้
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
ประชากร ได้แก่ ครู ในโรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ปี การศึกษา 2561 จานวน 103 คน
3

กลุ่มตัวอย่าง ครู ในโรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต


1 ปี การศึกษา 2561 จานวน 80 คน ได้มาโดยการใช้ตารางสุ่มของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie &
Morgan,1970) แล้วสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ และจับสลาก

กรอบแนวคิดในกำรวิจัย
การวิจยั เรื่ องการบริ หารสถานศึกษาภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธา
ภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดกรอบแนวคิดการวิจยั
ตามตัวแปรที่ศึกษา ดังแผนภาพที่ 1.1 ดังนี้

ตัวแปรต้ น ตัวแปรตำม

ข้อมูลทัว่ ไปของครู จาแนกตาม ความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หาร


1.เพศชาย -หญิง สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก
2.อายุ ไม่เกิน35-60 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
3.ประสบการณ์การทางาน เขต 1 ใน 6 ด้าน
4.ระดับการศึกษาปริ ญญาตรี - 1. ปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน
ปริ ญญาโท 2. ริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มี
ประสิทธิผล
3. ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT
4. ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการ
เรี ยนรู ้
5. ด้านสร้างเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้
และความสาเร็จ
6. พัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า

แผนภำพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจยั


4

สมมุติฐำนในกำรวิจัย

ครู ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทางานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อ


ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเ ศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 1 แตกต่างกัน

นิยำมศัพท์เฉพำะ

ภำวะผู้ นำในศตวรรษที่ 21 หมายถึ ง การใช้ความสามารถของผูบ้ ริ หารในการบริ หาร


จัดการสถานศึกษาตามโมเดลของผูบ้ ริ หารในศตวรรษที่ 21 6 ด้าน1. ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของ
นักเรี ยน 2. ริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิผล 3.ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT
4. ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุ มชนการเรี ยนรู ้ 5.ด้านสร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และ
ความสาเร็จ 6.พัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า(วิโรจน์ สารรัตนะ, 2560)
ด้ ำนปรั บปรุ งผลลัพ ธ์ ของนั กเรี ยน หมายถึง การดาเนิ นการดังนี้ การจัดทาแผนงาน/
โครงการเพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 การประชุมครู เพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่
21 การแต่งตั้งคณะกรรมการและมอบหมายงานอย่างชัดเจน การพัฒนาครู การพัฒนาผูเ้ รี ยนใน
ศตวรรษที่ 21 และการจัดสรรงบประมาณจัดทาโครงการ

ด้ ำ นริ เริ่ มกำรจัด กิ จกรรมกำรเรี ย นรู้ ที่มี ป ระสิ ทธิ ผล หมายถึ ง การอบรม การจัด หา
หลั ก สู ต รกิ จ กรรมพัฒ นาครู ก ารพัฒ นาครู เ พื่ อ การจัด การเรี ย นรู ้ ใ นศตวรรษที่ 21 การจัด
สภาพแวดล้อมและบรรยากาศ การส่งเสริ มสนับสนุนการดาเนินงานและอานวยความสะดวกต่าง ๆ
ความร่ วมมือในการดาเนินการ และกาหนดเป้าหมายและระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมพัฒนาครู

ด้ ำนสำรวจและสนับสนุนกำรใช้ ICT หมายถึง การสารวจสภาพปั ญหา วางแผนพัฒนา


ปรับปรุ งการใช้ ICT แต่งตั้งคณะทางานด้านปรับปรุ งและพัฒนาระบบ ICT จัดสรรงบประมาณ
ดาเนิ นการพัฒนาด้าน ICT . ส่งเสริ มสนับสนุ นให้ครู พฒั นาหรื อเข้ารับการอบรมการใช้ ICT และ
การติดตามประเมินผล เป็ นต้น
ด้ ำนพัฒนำโรงเรี ยนให้ เป็ นชุ มชนกำรเรี ยนรู้ หมายถึง การศึกษาวิเคราะห์สภาพปั ญหา
ชุมชนเพือ่ การวางแผนพัฒนา จัดทาแผนพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ การประสานความ
ร่ วมมือ จัดอบรมพัฒนาครู ติดตามประเมินผลและปรับปรุ งแก้ไข เป็ นต้น
5

ด้ ำ นสร้ ำงเครื อข่ ำ ยเพื่ อ ส่ งเสริ ม กำรเรี ยนรู้ และควำมส ำเร็ จ หมายถึ ง วางแผนสร้ า ง
เครื อ ข่ายเพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ส่ ง เสริ มการเรี ยนรู ้ จัดทาแผนพัฒนาเครื อ ข่าย ใช้
เครื อ ข่ายส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ ปรับปรุ งพัฒนาเครื อข่าย ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ให้แก่ โรงเรี ยนในกลุ่ ม
เป็ นต้น

พัฒนำคนอื่นให้ เป็ นผู้นำ หมำยถึง การพัฒนาครู ให้มีภาวะผูน้ าทางวิชาการ ส่งเสริ มให้ครู


ในโรงเรี ยนคิดและตัดสินใจ พัฒนาครู ให้สามารถเป็ นผูน้ าได้อย่างเหมาะสม เป็ นต้น

ครู หมายถึ ง ครู และบุคลากรโรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา


มัธยมศึกษา เขต 1 ที่ปฏิบตั ิหน้าที่ ในปี พ.ศ. 2561

ผู้บริ หำร หมายถึ ง ผูอ้ านวยการโรงเรี ยน รองผูอ้ านวยการโรงเรี ยน หัวหน้ากลุ่ มงาน


หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ในโรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ที่ปฏิบตั ิหน้าที่ ในปี พ.ศ. 2561

ประโยชน์ ที่จะได้ รับจำกกำรวิจัย


1. ได้แนวทางข้อมูลเกี่ยวกับภาวะผูน้ าในศตวรรษที่ 21 ของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา เพือ่ เป็ น
องค์ความรู ้ในการพัฒนางานวิจยั ในระดับที่สูงขึ้น
2. ได้ข ้อ มู ล ปรั บปรุ ง พัฒ นาการใช้ภ าวะผูน้ าในศตวรรษที่ 21 ทั้ง ครู และผูบ้ ริ ห ารที่
เหมาะสมในการบริ หารจัดการศึกษา เพือ่ พัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
3. ผูบ้ ริ หารค้นพบจากการศึกษาค้นคว้าอิสระมาพัฒนาต่อยอดในงานวิจยั ที่เกิดประโยชน์
ต่อการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 หรื อใช้เป็ นแนวทางส่งเสริ มคุณภาพ
งานวิชาการและงานวิจยั ของครู ในโรงเรี ยนนี้หรื อโรงเรี ยนอื่น ๆได้
6

บทที่ 2
เอกสาร และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง

การค้นคว้าอิสระ เรื่ อง การศึกษาภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยน


ทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาเอกสาร และงานวิจยั ที่
เกี่ยวข้อง นาเสนอตามลาดับ ดังนี้
1. แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับผูน้ าและภาวะผูน้ า
2. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21
3. แนวคิดเกี่ยวกับคุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ 21
4. แนวคิดบทบาทผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21
5. บริ บทโรงเรี ยนทวีธาภิเศก
6. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับผู้นาและภาวะผู้นา
ความหมายของผู้นาและภาวะผู้นา
คาว่า ผูน้ า (Leader) และภาวะผูน้ า (Leadership) เป็ นคาที่มีความสัมพันธ์กนั เมื่อมีผนู ้ าก็ตอ้ ง
มีภาวะผูน้ าของคนนั้น ซึ่ งเป็ นคุ ณสมบัติของความเป็ นผูน้ าที่อยูใ่ นตนเองที่ทาให้ผอู ้ ื่นรู ้สึกสัม ผัสได้
การนาเป็ นทั้งศาสตร์และศิลป์ ผูน้ าจึงต้องเป็ นผูท้ ี่มีท้งั ศาสตร์และศิลป์ อยูใ่ นตนเอง ที่สร้างความโดด
เด่ น ในกลุ่ ม ท าให้เ ป็ นที่ ย อมรั บของกลุ่ ม ที่ จ ะให้ค วามไว้ว างใจและเชื่ อ ใจว่า สามารถนาพาไปสู่
ความสาเร็ จ ทาให้ไ ด้รับความร่ วมมื อ และที่นอกเหนื อ ไปจากนั้น คือ การได้รับความเคารพนับถื อ
ซึ่งนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายไว้ ดังนี้
Fiedler and Garcia (1987) กล่ าวว่า ผูน้ า หมายถึ ง บุคคลในกลุ่ มที่ไ ด้รับมอบหมายให้กากับ
และประสานงานให้กิจกรรมของกลุ่มมี ความสัมพันธ์กนั ซึ่ งผูน้ า อาจเป็ นผูท้ ี่อาจได้รับการเลือกตั้ง
หรื อแต่งตั้งหรื อเป็ นผูท้ ี่แสดงตัวเป็ นผูท้ ี่มีอิทธิพลในกลุ่มเพื่อที่จะกากับและประสานงานที่จะนาไปสู่
เป้าหมายด้วยพลังของกลุ่ม
สาหรับความหมายของผูน้ าที่ ดูบริ น (Dubrin 1995) ได้รวบรวมผลงานทั้งที่ เป็ นบทความ
7

ข้อเขียนในนิ ตยสาร หนังสื อ ตารา และงานวิจยั กว่า 30,000 ชิ้น ที่ผา่ นมา พบว่า มีความหมายที่
หลากหลาย ซึ่ งสรุ ปความสาคัญ ได้ว่า 1. อิทธิพลของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal) ที่
เป็ นผลมาจากการสื่ อสารโดยตรงสู่เป้าหมายและการบรรลุผลที่จะได้มา 2. อานาจชักจูง (Influence) ที่
สูงขึ้นและอยูเ่ หนือความคล้อยตามไปตามกลไก โดยมีทิศทางและระเบียบการกระทาที่ทาให้ผอู ้ ื่นต้อง
ทาหรื อตอบสนองในทิศทางร่ วมกัน ศิลปะของอานาจในการชักจูงบุคคลโดยการชักชวนให้เชื่อหรื อ
เป็ นตัวอย่างให้ดาเนินตามแนวทางของการกระทา และ 3. เป้าหมาย (Goal) เป็ นแรงขับเคลื่อนที่ยงิ่ ใหญ่
ที่เป็ นแรงจูงใจและการประสานงานขององค์การให้ทางานมุ่งไปสู่ เป้ าหมายได้สาเร็ จตามจุดประสงค์
ที่ต้งั ไว้
Carter (1976) กล่าวว่า ผูน้ า หมายถึง ผูท้ ี่มีลกั ษณะอย่างใดอย่างหนึ่งใน 5 ประการ ต่อไปนี้
เป็ นศูนย์รวมของพฤติกรรมกลุ่ม
เป็ นผูท้ ี่สามารถนากลุ่มไปสู่จุดมุ่งหมายที่ตอ้ งการได้
เป็ นผูท้ ี่ได้รับการเลือกจากสมาชิกของกลุ่มโดยใช้สงั คมมิติ
เป็ นผูท้ ี่มีอิทธิพลเหนือบุคคลอื่นในกลุ่ม และสามารถทาให้กลุ่มเกิดการเปลี่ยนแปลง
เป็ นผูท้ ี่มีคุณลักษณะหรื อมีพฤติกรรมของความเป็ นผูน้ า
Sears, Freedman and Peplau (1985) กล่าวว่า ผูน้ า หมายถึง บุคคลที่มีผลกระทบมากที่สุดต่อ
พฤติกรรมและความเชื่อของกลุ่ม และยังมีลกั ษณะดังต่อไปนี้
เป็ นผูท้ ี่ริเริ่ มกระทาสิ่งใหม่ๆ
เป็ นผูอ้ อกคาสัง่
เป็ นผูต้ ดั สินใจ
เป็ นผูข้ จัดปั ญหาการโต้แย้งภายในกลุ่ม
เป็ นผูใ้ ห้การสนับสนุน
เป็ นหัวหน้าในการทากิจกรรมกลุ่ม
คนที่เป็ นผูน้ ามีอะไรแตกต่างกับคนที่ไม่เป็ นผูน้ า โดยพบว่าคุณลักษณะสาคัญของคนเป็ นผูน้ า
มีอยู่ 6 ประการ ได้แก่
1. ความมีพลังและความทะเยอทะยาน (Energy and ambition)
2. ความปรารถนาที่จะนาผูอ้ ื่น (The desire to lead)
3. ความซื่อสัตย์มีจริ ยธรรมยึดมัน่ หลักการ (Honesty and integrity)
4. ความเชื่อมัน่ ตนเอง (Self-confidence)
8

5. ความเฉลียวฉลาด (Intelligence)
6. ความรอบรู ้ในงาน (Job-relevant knowledge)

ความหมายของภาวะผู้นา
สาหรับความหมายของคาว่า ภาวะผูน้ า นั้น มีนกั วิชาการหลายท่านกล่าวไว้ดงั นี้
Tead (1935) กล่ าวว่า ภาวะผูน้ า เป็ นพฤติกรรมการนาของผูน้ าที่ทาให้เกิดการปฏิบตั ิการที่
สร้างความเคลื่อนไหวให้เกิดขึ้นในองค์กรตามทิศทางที่กาหนดไว้ ภาวะผูน้ า จึงเป็ นศิลปะในการทา
ให้เกิดอิทธิพลในการจูงใจผูอ้ ื่นให้ร่วมปฏิบตั ิงานเพือ่ ให้สาเร็จตามความมุ่งหมาย
Fiedler (1971) กล่าวว่า ภาวะผูน้ า หมายถึ ง การปฏิบตั ิงานของผูน้ าเพื่อ ทาให้กลุ่มประสบ
ความสาเร็จในการบรรลุเป้าหมาย ความสาเร็จของกลุ่มเป็ นเครื่ องบ่งชี้ประสิทธิภาพของการเป็ นผูน้ า
Katz and Kahn (1978) กล่ าวว่า ภาวะผูน้ า หมายถึ ง อ านาจการนาที่เหนื อ กว่าผูอ้ ื่ นและอยู่
เหนือกว่าการคล้อยตามที่เป็ นไปตามกลไกด้วยทิศทางที่ถูกกาหนดไว้ประจาองค์การ
Hollander (1978) กล่ าวว่า ภาวะผูน้ า หมายถึ ง กระบวนการของการมี Richards & Engle
(1986) กล่าวว่า ภาวะผูน้ า เป็ นความสามารถผูน้ าที่จะสามารถสื่ อสารวิสยั ทัศน์ได้อย่างชัดเจนแจ่มแจ้ง
ให้ความหมายที่แสดงออกถึงคุณค่าและสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อ มภายในองค์การเพื่อให้สามารถบรรลุ
เป้าหมายได้
Cherrington (1989) กล่าวว่า ภาวะผูน้ า เป็ นรู ปแบบหนึ่งของพฤติกรรมของบุคคลซึ่งมีอิทธิพล
เหนือผูอ้ ื่น และมีอิทธิพลระหว่างผูน้ าและกลุ่มผูท้ ี่เป็ นผูต้ ามนากลุ่มไปสู่เป้าหมาย
Jacobs & Jaques (1990) กล่าวว่า ภาวะผูน้ า หมายถึง กระบวนการที่ผนู ้ ากาหนดเป้ าหมายที่มี
ความหมายต่อ การชี้ ทิศทางอย่างชัดเจนที่ทาให้เกิ ดความพยามยามของกลุ่ มโดยรวมและพร้อ มที่จะ
พยายามผลักดันให้เกิดผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมาย
Schein (1999) กล่าวว่า ภาวะผูน้ า หมายถึง ความสามารถของผูน้ าที่จะก้าวออกมานอกกรอบ
วัฒนธรรม เพือ่ ที่จะเริ่ มกระบวนการเปลี่ยนแปลงวิวฒั นาการขององค์การให้เกิดการปรับตัวได้มากขึ้น
Drath & Palus (1994) กล่ าวว่า ภาวะผูน้ า หมายถึ งกระบวนการที่ผนู ้ าทาให้ผคู ้ นในองค์การ
ตระหนัก ถึ ง สิ่ งที่ จะต้อ งกระทาร่ วมกัน เพื่อ ให้เกิ ด ความเข้าใจและความมุ่ ง มั่นที่ จะท างานให้กับ
องค์การ
9

Kellerman (1999) กล่ าวว่า ภาวะผูน้ าเป็ นความพยายามของผูน้ าที่จะต้องอยูใ่ นตาแหน่ งที่มี
อานาจสัง่ การหรื อไม่ก็ได้เพือ่ ที่จะกระตุน้ ให้ผตู ้ ามที่จะเข้ามาร่ วมมือกันเพือ่ ให้ไปสู่เป้ าหมาย เป้ าหมาย
นี้จะต้องมีนยั สาคัญไม่ใช่แค่การทาให้มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเท่านั้น
Lambert (2004) กล่าวว่า ความหมายของ ภาวะผูน้ ามีนยั อยู่ 3 ประการ คือ
1. ผูน้ าต้องทาอะไร
2. เพือ่ ให้เกิดกิจกรรมใด หรื อทากิจกรรมกับใคร
3. เพือ่ นากิจกรรมนั้นไปไปสู่เป้าหมายอะไร
จากความหมายของคาว่า ผูน้ า และ ภาวะผูน้ า ดังกล่าว อาจสรุ ปได้วา่ ผูน้ า หมายถึง บุคคลที่
ดารงตาแหน่ ง ส่ วนภาวะผูน้ าเป็ นเรื่ องของความสามารถ ทักษะและกระบวนการที่ผนู ้ าใช้ในการนา
กลุ่มให้ไปสู่จุดมุ่งหมาย

การใช้ ภาวะผู้นาของผู้บริหาร
ในการใช้ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หาร พิจารณาจากความแตกต่างระหว่างภาวะผูน้ ากับการบริ หาร
ภาวะผูน้ า กับการบริ หาร มีความแตกต่างกันในด้านกระบวนการอยูภ่ ายใต้บริ บทเดียวกัน คือ
การทางานให้สาเร็จตามเป้ าหมาย ดังคากล่าวของ โควี ที่กล่าวว่า การบริ หาร คือ ประสิ ทธิภาพที่จะไต่
บันไดของความสาเร็ จ ภาวะผูน้ าจะพิจารณาว่าบันไดนั้นได้วางพาดอยูก่ บั กาแพงที่ถูกต้อง ซึ่ งพิจารณา
ได้วา่ ผูน้ า คือ ตัวบุคคล(ตัวผูบ้ ริ หาร) ส่วนภาวะผูน้ า มุ่งเฉพาะพฤติกรรมของผูน้ า ภาวะผูน้ าเป็ นเสมือน
หนึ่ งเครื่ องมือในการบริ หารของผูน้ าเป็ นสิ่ งที่สร้างพัฒนาขึ้นได้ในทุกตัวคน นัน่ ก็คือการสร้างศรัทรา
บารมีให้เกิดขึ้นในตัวเอง โดยบทบาทหน้าที่แล้ว ผูบ้ ริ หารจะต้อ งเป็ นผูน้ าในขณะที่ผนู ้ าอาจจะไม่ใช่
ผูบ้ ริ ห าร เพราะฉะนั้น ผู ้บ ริ ห ารที่ จ ะประสบความส าเร็ จ สู ง สุ ด จะต้อ งเป็ นผูบ้ ริ ห ารที่ มี ภ าวะผูน้ า
ผูบ้ ริ หารที่ขาดภาวะผูน้ า จะบริ หารงานโดยอาศัยอานาจตามขอบเขตหน้าที่ที่ระบุตามกฎหมายและ
ขอบเขตเท่านั้น ผูบ้ ริ หารที่มีภาวะผูน้ า จะพยายามหลีกเลี่ยงการใช้อานาจที่มีอยู่ แต่จะสร้างศรัทราบารมี
โน้มน้าวจิตใจให้ลูกน้องปฏิบตั ิงานให้บรรลุเป็ นหมาย โดยความเต็มใจและสุดความสามารถสอดคล้อง
กับคากล่าวที่วา่ นักบริ หารที่มีความสุขที่สุด คือ ผูท้ ี่มีลูกน้องมือเยีย่ มช่วยทางานให้กบั เขา

คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษายุคใหม่
ผูท้ ี่จะเป็ นผูน้ าได้น้ นั จะต้องมีคุณลักษณะ บุคลิกภาพพิเศษกว่าคนทัว่ ๆไป ได้แก่ มีความเฉลียว
ฉลาด มีความกล้าหาญ มีความกระตือรื อร้น มีลกั ษณะท่าทางดี สง่าน่าเลื่อมใส มีความยุติธรรม ฯลฯ
10

ได้มีผศู ้ ึกษาว่า ผูน้ าที่ดีน้ นั จะต้องมีลกั ษณะบางอย่าง ผูน้ าไม่ใช่คนที่ต่างไปจากคนธรรมดาอื่นๆ อย่าง


น้อยผูน้ าจะต้องมีลกั ษณะพื้นฐานเช่นเดียวกับมนุษย์
จากการสังเคราะห์ แนวคิดเกี่ ยวกับผูบ้ ริ หารสถานศึกษายุคใหม่ของ Maxine (2015) Gerald
Aungus (2012) และGeorge Couros (2010) ได้เขียนบทความเรื่ อง Top 10 Characteristics of Successful
21st Century School Leaders:21st Century Administrators: New Roles, New Responsibilities และThe
21st Century Principal ตามลาดับ สามารถสรุ ปได้ว่า ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาที่มีประสิ ทธิผลในศตวรรษที่
21 ควรมีคุณลักษณะ ดังนี้
1. นักสร้างสรรค์ (Ceative) ผูบ้ ริ หารที่มีประสิ ทธิ ภาพ มีกระบวนการผลักดันให้ บุคลากรใน
โรงเรี ยนที่มีความสามารถสร้างสรรค์งานให้มีคุณภาพและมาตรฐานมากขึ้น ต้องผลักดันเพื่อประโยชน์
ของนักเรี ยน และจะต้องหาวิธีจดั การอย่างต่อเนื่องเหมือน"ทฤษฎีน้ าไหล (flow theory)"
2. นักการสื่ อสาร (Communicator) ผูบ้ ริ หารที่มีประสิ ทธิ ภาพไม่ เพียงแต่การสื่ อ สารโดยการ
แบ่งปั นข้อมูลผ่านหลายสื่ อเท่านั้น แต่ยงั เป็ นผูฟ้ ั งที่มีประสิทธิภาพซึ่งเป็ นสิ่ งจาเป็ นที่กลุ่มผูบ้ ริ หารต้อง
เป็ นผูส้ ื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด
3. นัก คิ ด วิเ คราะห์ (Critical Thinker) ผูบ้ ริ ห ารจึ ง ต้อ งให้ค วามสนใจในความคิ ด ที่ ค รู หรื อ
บุคลากรแสดงออกเป็ นสิ่งที่สาคัญยิง่ โดยเฉพาะด้านผลกระทบที่มีต่อโรงเรี ยนและนักเรี ยนในระยะยาว
และจะได้รับประโยชน์เหล่านั้นมากที่สุดได้อย่างไร ถือว่าเป็ นสิ่ งสาคัญสาหรับผูบ้ ริ หาร ที่จะต้องนาเอา
ข้อมูลและความคิดต่าง ๆ มาใช้ในการตัดสินใจทั้งหมด
4. สร้ า งชุ มชน (Builds Community) ในที่ น้ ี หมายถึ ง การประสานเชื่ อ มโยงต่ อ กลุ่ ม คนที่
เหมาะสม ตัวอย่างเช่น วิธีที่จะสร้างโอกาสให้กบั บุคลากรเพือ่ เชื่อมโยงต่อกับคนอื่น ๆ ที่จะช่วยส่งเสริ ม
การเรี ยนรู ้มากขึ้นมันเป็ นสิ่งสาคัญที่ไม่เพียงแต่พฒั นา ผูน้ าในโรงเรี ยนเท่านั้น แต่เป็ นการเปิ ดโอกาสให้
คนอื่นเห็นความเป็ นผูน้ าด้วย
5. การมีวิสัยทัศน์ (Visionary) ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนที่มีประสิ ทธิผล ต้องมีวิสยั ทัศน์ในการที่จะทา
ให้โรงเรี ยนเตรี ยมพร้อมที่ดีที่สุดสาหรับนักเรี ยนไปสู่ อนาคต ที่ตอ้ งการ และสามารถแบ่งปั นวิสัยทัศน์
ไปพัฒนาชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพร่ วมกันได้ดว้ ย
6. การสร้างความร่ วมมือ และการติดต่อ (Collaboration and Connection) ผูบ้ ริ หารต้องแสวงหา
แบ่งปั นข้อมูล และความรู ้อย่างเปิ ดเผยชัดเจน มีการค้นหาความเข้าใจและปฏิบตั ิอย่างเข้าใจกับคนอื่น มี
การติดต่อกับโลกภายนอกผ่านทางบล็อกและสื่อทางสังคม และต้องสร้างการร่ วมมือกับผูอ้ ื่น
11

7. สร้างพลังเชิงบวก (Positive Energy) ผูบ้ ริ หารต้องสร้างหลักการทั้ง เชิงบวก เชิงรุ กและ


วิธีการดูแลเอาใจใส่ ต้องให้เวลาในการพบปะพูดคุยกับนักเรี ยน ครู และผูป้ กครองรับรู ้และคุณค่าของ
พวกเขาโดยการพัฒนาความสัมพันธ์ที่แท้จริ งให้เกิดขึ้น นอกจากนี้ ผูบ้ ริ หารต้อ งสร้างสุ ขภาพตนเอง
สวัสดิการและระดับพลังงานให้พร้อมเสมอ
8. ความเชื่ อ มั่น (Confidence) ผูบ้ ริ หารต้อ งมี ลกั ษณะความมั่นใจ (confidence) เข้าถึ งได้ง่าย
(approachable) มี ค วามโดดเด่ น (be visible) ในฐานะที่ เ ป็ นผูน้ าต้อ งมี ค วามกล้า ที่ จ ะต้อ งเผชิ ญ กับ
สถานการณ์ที่ยากลาบาก ซึ่ งสถานการณ์เหล่านี้ มักจะอยูใ่ นความสงบเสมอ และมี ความมัน่ ใจในการ
รักษาขวัญกาลังใจและความเชื่อมัน่ ในชุมชนโรงเรี ยน
9. ความมุ่ งมั่น และความพากเพียร (Commitment and Persistence) ผูบ้ ริ หารต้อ งแสดงความ
มุ่งมัน่ และความทุ่มเท (dedication) อย่างจริ งจัง เพื่อผลักดันให้กบั ครู และนักเรี ยนเกิดความมุ่งมัน่ ทุ่มเท
ในงาน และอย่ายอมแพ้ (Never give up) เพือ่ ให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายการพัฒนาที่กาหนดไว้
10. ความเต็มใจที่จะเรี ยนรู ้ (Willingness to Learn) ผูบ้ ริ หารต้องเรี ยนรู ้อ ย่างสม่ าเสมอ เพราะ
การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 เป็ นที่น่าตื่นเต้นและนามาใช้เสริ มสร้างศักยภาพผูบ้ ริ หาร และสังคม
โรงเรี ยนผูบ้ ริ หารจึงต้องเป็ นผูเ้ รี ยนรู ้ตลอดชีวติ (Be a Lifelong Learner)
11. ต้อ งเป็ นนัก ประกอบการ คิด สร้า งสรรค์แ ละนวัตกรรม (Entrepreneurial, Creative and
Innovative) ความสามารถในการคิดนอกกรอบเป็ นพลังที่มีอานาจของผูบ้ ริ หาร การคิดสร้างสรรค์ และ
นวัตกรรมเป็ นวิธีที่ดีที่สุดในการบริ หารจัดการกับความซับซ้อนทางสังคมในศตวรรษที่ 21 และต้อ ง
พัฒนาโรงเรี ยนเป็ นองค์การประกอบการ (entrepreneurial organization) ได้ดว้ ย
12.นักริ เริ่ มงาน (Intuitive) ผูบ้ ริ หารต้องเรี ยนรู ้ถึงความเชื่อมัน่ ในสัญชาตญาณ (instincts) ของ
ตนเอง ความสามารถการเป็ นนักคิด นักริ เริ่ มสร้างสรรค์ผบู ้ ริ หารสามารถการแก้ปัญหาให้สาเร็จอย่างไม่
คาดฝันหรื อจากการสังหรณ์ใจ (intuitively) ซึ่งเป็ นการเกิดขึ้นจากความชาญฉลาด
13. ความสามารถในการสร้า งแรงบัน ดาลใจ (Ability to Inspire) ผูบ้ ริ ห ารควรสร้า งความ
กระตือรื อร้นและความคิดเชิงบวกต่อบุคลากรในการร่ วมกันกาหนดทิศทางในอนาคต สิ่งทั้งหมดนี้ตอ้ ง
เน้นให้เกิดขึ้นในขณะที่ยงั ดารงตาแหน่งผูบ้ ริ หาร
14. การเจียมเนื้ อเจียมตัว (Be Humble) ผูบ้ ริ หารมี ความสาคัญต่อการทาหน้าที่ในโรงเรี ยนซึ่ ง
งานผูบ้ ริ หารไม่ใช่เป็ นรู ปปั้ นแต่เป็ นงานที่เอื้อต่อทุกคนในโรงเรี ยน นัน่ คือ ต้องมีสัมมาคารวะ การรู ้จกั
บุคคลในชุมชน การเปิ ดโอกาสกับครู และชุมชนเข้ามามีส่วนร่ วม
12

15. ตัวแบบที่ดี (good Model) หากคุณกาลังส่ งเสริ มทักษะในศตวรรษที่ 21 ต้องรู ้ และฝึ กพวก
เขาให้มีความคิดสร้างสรรค์ การทางานร่ วมกัน ฝึ กการสื่อสารที่ดี และคิดวิเคราะห์เป็ นการใช้เทคโนโลยี
อย่างมีประสิ ทธิภาพ และการปลู กฝังสร้างสรรค์นวัตกรรม จัดสภาพแวดล้อ มที่ปลอดภัยสาหรับการ
เรี ยนรู ้และความเสี่ยง
ดุษฎี รัตน์ โกสุ มภ์ศิริ (2560) กล่ าวถึง “ผูน้ า” เป็ นบุคคลที่สาคัญในองค์การ มีบทบาทที่ตอ้ ง
ด าเนิ น ไป ภายใต้เ งื่ อ นไขปั จ จัย ของสภาวะโดยรอบ โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง โลกในทุ ก วัน นี้ มี ก าร
เปลี่ ย นแปลงไปอย่า งรวดเร็ ว ความรู ้ ใ นเรื่ อ ง “ภาวะผู ้น า” นั้น จึ ง มี ค วามส าคัญ อย่า งยิ่ง ส าหรั บ
ทุกองค์การ ในกระแสโลกยุคโลกาภิวตั น์ที่ความเจริ ญทางเทคโนโลยี ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของ
สังคมจากอดีตสู่ ปัจจุบนั อย่างรวดเร็ วมาก เราจึงต้องปรับตัวและเปลี่ยนแปลงให้ทนั กับเหตุการณ์ของ
โลกปั จจุบนั ตลอดเวลา ผูน้ า (Leader) และ “ภาวะผูน้ า (Leadership)” จึงเป็ นปั จจัยคู่สาคัญที่ควรมีการ
พัฒนาบนพื้นฐานของ ทางสายกลาง และ การรักษาสมดุ ล ขององค์ประกอบต่างๆ และการจัดลาดับ
ความสาคัญ (Priority) ซึ่ งเป็ นสิ่งที่สาคัญมาก สาหรับการดาเนินชีวติ ทั้งในระดับปั จเจกบุคคล และใน
ระดับผูน้ า ดังนั้น “ภาวะผูน้ าแบบดุลยภาพ” จึงเป็ นภาวะผูน้ าแนวใหม่ที่ได้ถูกสังเคราะห์ข้ นึ จาก ทฤษฎี
ภาวะผูน้ าพื้นฐาน 5 รู ปแบบ เพือ่ ให้มีคุณลักษณะอันสอดคล้องกับยุคโลกาภิวตั น์ และโลกในศตวรรษที่
21 ที่สาคัญในสองส่วนหลักๆ คือ ทักษะของการจัดลาดับความสาคัญ และการรักษาดุลยภาพ ของปั จจัย
ต่างๆ ในขณะนั้นๆ ได้เป็ นอย่างดี
สรุ ปว่า คุณลักษณะของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย การมีวิสัยทัศน์
ความสามารถทางวิชาการ การสื่ อสาร และเทคโนโลยี การเป็ นนักริ เริ่ มสร้างสรรค์และประกอบการ
นักสร้างพลังและแรงบันดาลใจเชิงบวก ตัวแบบที่ดี และการสร้างชุมชนแห่งการเรี ยนรู ้

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21
การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (21st Century Student Outcomes) มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยน มีความรู ้
ทัก ษะ ความเชี่ ย วชาญ (The Partnership for 21st Century Skills, 2009) 4 กลุ่ ม ใหญ่ ๆ (ส านัก งาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,2560) คื อ 1. ความรู ้ใ นวิชาหลักและเนื้ อ หาประเด็นที่สาคัญ
สาหรับศตวรรษที่ 21 (Core Subjects and 21st Century Themes) ได้แก่ ภาษาอังกฤษ การอ่าน ศิลปะใน
การใช้ภาษาภาษาต่างประเทศ คณิ ตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง และการปกครอง ซึ่ งควรครอบคลุมเนื้ อหาในสาขาใหม่ๆ ที่มีความสาคัญต่อการทางาน
และชุมชนแต่สถาบันการศึกษาไม่ได้ให้ความสาคัญ ได้แก่ จิตสานึก ต่อโลก ความรู ้พ้นื ฐานด้านการเงิน
13

เศรษฐกิจ ธุรกิจ และการเป็ นผูป้ ระกอบการ ความรู ้พ้นื ฐานด้านพลเมือง และความตระหนักในสุขภาพ


และสวัสดิ ภาพ 2. ทักษะการเรี ยนรู ้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ได้แก่ ความคิด
สร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ซึ่งครอบคลุมไปถึง การคิดแบบสร้างสรรค์ การ
ทางานอย่างสร้างสรรค์ร่วมกับผูอ้ ื่น และการนาความคิด การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา (Critical
Thinking and Problem Solving) หมายความรวมถึ ง การคิ ด อย่า งมี เ หตุ ผ ล การคิ ด เชิ ง ระบบ การคิ ด
ตัดสินใจและการคิดแก้ปัญหา การสื่อสารและการร่ วมมือ (Communication and Collaboration) ซึ่งเน้น
การสื่ อ สารโดยใช้สื่ อ รู ปแบบต่ าง ๆ ที่มี ประสิ ท ธิ ภ าพ ชัด เจน และการทางานร่ ว มกับผูอ้ ื่ นอย่า งมี
ประสิ ท ธิ ภ าพ 3. ทัก ษะด้า นสารสนเทศ สื่ อ และเทคโนโลยี (Information, Media and Technology
Skills) ซึ่งในศตวรรษที่ 21 นี้ นับได้ว่ามีความเจริ ญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมาก ดังนั้น ผูเ้ รี ยนจึง ควรมี
ทักษะดังต่อไปนี้ คือ การรู ้เท่าทันสารสนเทศ (Information Literacy) การรู ้เท่าทันสื่ อ (Media Literacy)
การรู ้ เ ท่ า ทัน เทคโนโลยีส ารสนเทศ (ICT : Information, Communications & Technology Literacy)
4. ทักษะชีวิตและการทางาน (Life and Career Skills) ในการดารงชีวิตและในการทางานนั้นไม่ เพียง
ต้องการคนที่มีความรู ้ ความสามารถในเนื้ อหาความรู ้ หรื อทักษะการคิดเท่านั้น หากแต่ยงั ต้องการผูท้ ี่
สามารถทางานในบริ บทที่มีความซับซ้อ นมากขึ้นอี กด้ว ย ทักษะที่ จาเป็ น ได้แก่ ความยืดหยุ่นและ
ความสามารถในการปรับตัว (Flexibility and Adaptability) ความคิดริ เริ่ มและการชี้นาตนเอง (Initiative
and Self Direction) ทักษะทางสังคมและการเรี ยนรู ้ขา้ มวัฒนธรรม (Social and Cross-cultural Skills)
การเพิ่ม ผลผลิ ต และความรั บ ผิด ชอบ (Productivity and Accountability) ความเป็ นผู ้น าและความ
รับผิดชอบ (Leadership and Responsibility) (พรทิพย์ ศิริภทั ราชัย,2556)

แนวคิดเกี่ยวกับคุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ 21
คุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ 21 มีมาก่อนจะถึงยุคศตวรรษ ที่ 21 ดังจะเห็นได้จากองค์การ
การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ งสหประชาชาติหรื อ ยูเนสโก (Unesco) ได้ศึกษาแนวทางการ
จัดการศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21 โดยจัดให้มีการประชุม นานาชาติเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ
ประสบการณ์ของกลุ่ มคนต่างๆ ทัว่ โลก หลังจากนั้น คณะกรรมาธิการนานาชาติว่าด้วยการศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 แห่ งยูเนสโก จานวน 15 คน ได้สรุ ปแนว ทางการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เป็ น
รายงานและตั้งชื่อรายงานว่า “Learning : The Treasure Within” แปลว่า “การเรี ยนรู ้ : ขุมทรัพย์ในตน”
ในรายงานดังกล่าวมีสาระสาคัญตอนหนึ่ งที่กล่าวถึง “สี่ เสาหลักทางการศึกษา” ซึ่ งเป็ นหลักในการจัด
การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วยการเรี ยนรู ้ 4 แบบ ได้แก่ การเรี ยนรู ้เพื่อรู ้ (Learning to know)
14

การเรี ยนรู ้เพื่อปฏิบตั ิได้ (Learning to do) การเรี ยนรู ้ที่จะอยูร่ ่ วมกัน (Learning to live together) และ
การเรี ยนรู ้เพื่อชี วิต (Learning to be) (คณะกรรมาธิ การนานาชาติว่าด้วยการศึกษาในศตวรรษที่ 21,
2540) ซึ่ง วิชยั วงศ์ใหญ่ (2557 : 1-2) ได้ขยายความการเรี ยนรู ้แต่ละแบบมีรายละเอียดดังนี้ 1. การเรี ยนรู ้
เพื่อรู ้ หมายถึง การเรี ยนรู ้ที่มุ่งพัฒนากระบวนการคิด การแสวงหาความรู ้และ วิธีการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน
เพือ่ ให้สามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวติ กระบวนการเรี ยนรู ้เน้น การฝึ กสติ สมาธิ ความจา
ความคิด ผสมผสานกับสภาพจริ งและประสบการณ์ในการปฏิบตั ิ 2. การเรี ยนรู ้เพื่อปฏิบตั ิได้ หมายถึง
การเรี ย นรู ้ที่ มุ่ งพัฒนาความสามารถและความชานาญ รวมทั้งสมรรถนะทางด้านวิชาชี พ สามารถ
ปฏิบตั ิงานเป็ นหมู่ คณะสามารถประยุกต์องค์ความรู ้ไ ปสู่ การปฏิบตั ิงานและอาชีพได้อ ย่างเหมาะสม
กระบวนการเรี ย นรู ้ จ ะเป็ นการบู ร ณาการระหว่ า งความรู ้ ภาคทฤษฎี แ ละการฝึ กปฏิ บ ัติ ที่ เ ป็ น
ประสบการณ์ต่างๆ ทางสังคม 3. การเรี ยนรู ้ที่จะอยูร่ ่ วมกัน หมายถึง การเรี ยนรู ้ที่มุ่งให้ผเู ้ รี ยนสามารถ
ดารงชีวิตอยูร่ ่ วมกับ ผูอ้ ื่นในสังคมพหุ วฒั นธรรมได้อย่างมีความสุ ข มีความตระหนักในการพึ่งพาอาศัย
ซึ่ งกันและกัน การแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี มีความเคารพสิ ทธิและศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุ ษย์
และเข้าใจความ หลากหลายทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ของแต่ละบุคคลในสังคม 4. การ
เรี ย นรู ้ เ พื่อ ชี วิต หมายถึ ง การเรี ย นรู ้ ที่ มุ่ ง พัฒ นาผู ้เ รี ย นทั้ง ด้า นจิ ต ใจ ร่ า งกาย และ สติ ปั ญ ญาให้
ความสาคัญกับจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ภาษา และวัฒนธรรม เพือ่ พัฒนาความ เป็ นมนุ ษย์ที่
สมบูรณ์ มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม ศีลธรรม สามารถปรับตัวและปรับปรุ ง บุคลิกภาพ
ของตน เข้าใจตนเองและผูอ้ ื่น จากการเรี ยนรู ้ 4 แบบ ซึ่ง 4 เสาหลักของการศึกษาที่กล่าวมาอาจพิจารณา
ได้วา่ การเรี ยนรู ้ เพื่อรู ้เป็ นการเรี ยนรู ้ที่เน้นการพัฒนาสติปัญญา การเรี ยนรู ้เพื่อปฏิบตั ิได้เป็ นการเรี ยนรู ้ที่
เน้นการพัฒนา ทักษะ การเรี ยนรู ้ที่จะอยูร่ ่ วมกันเป็ นการเรี ยนรู ้ที่เน้นมนุษยสัมพันธ์ ส่ วนการเรี ยนรู ้เพื่อ
ชีวติ เป็ น การเรี ยนรู ้ที่เป็ นพัฒนาความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ผูเ้ ขียนมีความเห็นว่าการเรี ยนรู ้ 3 แบบแรก
ร่ วมกัน ก่อ ให้เกิ ดการเรี ยนรู ้แบบที่ 4 และการเรี ยนรู ้ท้ งั 4 แบบ ต่างมีความสัมพันธ์กัน ดังแผนภาพ
ที่ 2.1
15

การเรี ยนรู ้เพื่อรู ้

การเรี ยนรู ้
การเรี ยนรู ้เพื่อปฏิบตั ิได้ เพื่อชีวิต การเรี ยนรู ้ที่จะอยูร่ ่ วมกัน

แผนภาพที่ 2.1 แสดงความสัมพันธ์ของการเรี ยนรู ้ 4 แบบ ตามสี่เสาหลักของการศึกษา

สี่เสาหลักทางการศึกษาของคณะกรรมาธิการนานาชาติวา่ ด้วยการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของ


ยูเนสโกสะท้อนให้เห็ นถึ งคุณลักษณะหรื อ ทักษะสาคัญของคนในศตวรรษที่ 21 ว่าจะต้อ งสามารถ
เรี ยนรู ้ 4 แบบ ได้ดงั ที่ได้กล่าวมาข้างต้น ปั จจุบนั องค์กรต่างๆ ได้กาหนดกรอบความคิดเกี่ยวกับทักษะ
ของคนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ภาคีเพื่อทักษะแห่ งศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st century skills,
2011) ห้อ งวิจยั การศึ กษา ของภาคกลางตอนเหนื อ (NCREL) และกลุ่ ม เมทิ รี (Metiri Group) (Gina
Burkhardt and others, 2003) องค์ก ารเพื่อ ความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ และการพัฒ นา (OECD) (The
National commission on Teaching and America’s Future, 2003) สภาผูน้ าแห่ ง ชาติ เ พื่อ การศึ ก ษาเสรี
และสัญญา ของอเมริ กา (LEAP) (R.J.Marzano, 2003) สมาคมเทคโนโลยีการศึ กษานานานาชาติ
(ISTE) (www.iste.org, 2014) ศู นย์บริ การทดสอบทางการศึ กษา (ETS) ได้ก าหนดมาตรฐานความรู ้
พื้นฐาน ทางดิจิทลั (Educational testing service, 2002) แต่ละองค์กรที่เสนอกรอบความคิดมานั้นเนื้อหา
สาระค่อนข้างมีความสอดคล้องกัน อย่างไรก็ตามภาคีเพื่อทักษะแห่ งศตวรรษที่ 21 เป็ นองค์กรที่เสนอ
กรอบความคิดที่มีความครอบคลุมมากกว่าองค์กรอื่นๆ ดังนั้นในที่น้ ี จึงขอกล่าวถึงรายละเอี ยดกรอบ
ความคิดขององค์กรดังกล่าวเพือ่ เป็ นแนวทางในการศึกษาต่อไป ภาคีเครื อข่ายเพื่อทักษะศตวรรษที่ 21
(Partnership for 21st century skills, 2011) เรี ยกย่อ ๆ ว่า หน้า 21 เป็ นองค์กรในสหรัฐอเมริ กาที่เกิดจาก
16

การรวมตัวกันของนักคิด นักการศึกษา เอกชน และหน่ วยงานของรัฐร่ วมกันพัฒนากรอบงานเพื่อการ


เรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 (Framework for 21st century learning) เพือ่ เตรี ยมความพร้อมให้กบั นักเรี ยนใน
ระบบการศึกษาของสหรัฐอเมริ กาสาหรับ ศตวรรษที่ 21 และรัฐต่างๆ มีความเคลื่อนไหวเพือ่ ดาเนินการ
เตรี ย มความพร้ อ มให้ แ ก่ นั ก เรี ย นของเขา เพื่ อ ให้ เ ป็ นบุ ค คลที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะในศตวรรษที่ 21
ซึ่งจะต้องมีคุณลักษณะดังนี้
1. มีความรอบรู ้ (Mastery) ในวิชาแกนต่อไปนี้ 1) ภาษาอังกฤษ, การอ่านศิลปะภาษา (English,
Reading or language art) 2) ภาษาของโลก (World language) 3) ศิ ล ปะ (Arts) 4) คณิ ตศาสตร์
(Mathematics) 5) เศรษฐศาสตร์ (Economics) 6) วิทยาศาสตร์ (Science) 7) ภูมิศาสตร์ (Geography) 8)
ประวัติศาสตร์ (History) 9) การปกครองและความเป็ นพลเมือง (Government and civics)
2. มีความรู ้ในขอบข่ายของศตวรรษที่ 21 (Themes of 21st century) ต่อไปนี้ 1) ความ ตระหนัก
เรื่ องโลก (Global awareness) 2) พื้นฐานความรู ้เกี่ยวกับการเงิน, เศรษฐกิจ, และการเป็ น ผูป้ ระกอบการ
(Financial, Economic, Business and entrepreneurial literacy) 3) พื้นฐานด้า น การเป็ นพลเมื อ ง (Civic
literacy) 4) พื้นฐานด้านสุขภาพ (Health literacy) 5) พื้นฐานด้าน สิ่งแวดล้อม (Environmental literacy)
3. มี ทกั ษะการเรี ยนรู ้และนวัตกรรม (Learning and innovation) ประกอบด้วย 1) ทักษะ การ
สร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and innovation) 2) ทักษะความคิดเชิงวิพากษ์และการ แก้ปัญหา
(Critical thinking and problem solving) 3) การสื่ อสารและความรวมกลุ่ ม (Communication and
collection) 4) ความร่ วมมือ (Collaboration)
4. มีทกั ษะสารสนเทศ สื่ อ และเทคโนโลยี (Information media and technology skills) ต่อไปนี้
1) พื้นฐานเกี่ ยวกับ สารสนเทศ (Information technology) 2) พื้นฐานเกี่ ยวกับ สื่ อ (Media literacy) 3)
พื้นฐานเกี่ยวกับ ICT (ICT literacy)
5. มีทกั ษะชีวติ และอาชีพ (Life and career skill) ประกอบด้วย 1) ความยืดหยุน่ และการ ปรับตัว
(Flexibility and adaptability) 2) ริ เริ่ มและชี้นาตนเอง (Initiative and self-direction) 3) ทักษะทางสังคม
และข้ามวัฒนธรรม (Social and cross-cultural skills) 4) ความสามารถในการ ผลิตและพันธะรับผิดชอบ
(Productivity and accountability) 5) ภาวะผู ้น าและความรั บ ผิด ชอบ (Leadership and responsibility)
นอกจากทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิดสี่ เสาหลักของการศึกษาของยูเนสโกและ ผลลัพธ์
นักเรี ยนศตวรรษที่ 21 ของภาคีเพือ่ ทักษะศตวรรษที่ 21 (หน้า21) ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว
โฮวาร์ ด การ์ ด เนอร์ (Howard Gardner, 2010 : 9-23) เจ้า ของทฤษฎี พ หุ ปั ญ ญา (Multiple
intelligence) ได้เสนอสิ่ งที่คนในอนาคตต้อ งมี ซ่ ึ งเขาเรี ยกว่า “จิตห้าลักษณะส าหรับอนาคต” (Five
17

minds for the future) การ์ดเนอร์ได้เขียนเรื่ องดังกล่าวไว้ในหนังสือ “21 st century skills rethinking how
student learn” โดยมี เจมส์ เบลลันกา และ รอน แบรนด์ (James Bellanca and Ron Brandt, 2010) เป็ น
บรรณาธิการจิตห้าลักษณะสาหรับอนาคตมีรายละเอียดพอสรุ ปได้ดงั นี้
1. จิต เชี่ ย วชาญ (Disciplined mind) หมายถึ ง มี ค วามรู ้ และทัก ษะในวิชาในระดับที่ เ รี ย กว่า
เชี่ยวชาญสามารถพัฒนาตนเองในการเรี ยนรู ้อยูต่ ลอดเวลา
2. จิตรู ้สงั เคราะห์ (Synthesizing mind) หมายถึง ความความรู ้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องนามา กลัน่ กรอง
คิดเลือกเอาเฉพาะศึกษาที่สาคัญ และจัดระบบนาเสนอใหม่อย่างมีความหมาย
3. จิตสร้างสรรค์ (Creative mind) หมายถึง การทาเกิดสิ่งใหม่ๆ โดยอาศัยการจินตนาการ แหวก
แนวออกไปจากขอบเขตหรื อวิธีการเดิมๆ
4. จิตรู ้เคารพ (Respectful mind) หมายถึ ง การให้เกี ยรติและยอมรับในความเป็ นตัวตน ของ
ผูอ้ ื่น
5. จิตรู ้จริ ยธรรม (Ethical mind) หมายถึ ง การยึดแนวทางของจริ ยธรรมเป็ นแนวทางปฏิบตั ิ
นอกจากนี้การ์ดเนอร์ยงั ได้สรุ ปว่า จิตเชี่ยวชาญ จิตรู ้สงั เคราะห์ และจิตสร้างสรรค์ เป็ นจิตที่เกี่ยวข้อง กับ
การรู ้คิด ส่วนจิตรู ้เคารพและจิตรู ้จริ ยธรรมเป็ นจิตที่เกี่ยวข้องกับความเป็ นมนุษย์
ส านั ก งานเลขาธิ ก ารสภาการศึ ก ษากระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร (2552) ได้ก าหนดเป้ า หมาย
คุณลักษณะของคนไทยที่จะต้องพัฒนาในช่ วงของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552 –
2561) ไว้ดงั นี้
1. คนไทยและการศึกษาไทยมีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล
2. คนไทยมีความสามารถทางภาษาอังกฤษเพิม่ ขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี
3. คนไทยมีทกั ษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพิม่ ขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี
4. ผูส้ าเร็ จอาชี วศึกษาและอุ ดมศึกษามี คุณภาพระดับสากลและเป็ นไปตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิ
5. คนไทยใฝ่ รู้ สามารถเรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง รักการอ่านและแสวงหาความรู ้อย่างต่อเนื่อง
6. คนไทยใฝ่ ดี มี คุณธรรมพื้นฐาน มี จิต สานึ กและค่านิ ย มที่พึง ประสงค์ เห็ นแก่ ประโยชน์
ส่ วนรวม มี จิตสาธารณะ มีวฒั นธรรมประชาธิ ปไตยผูเ้ รี ยนทุกระดับการศึกษาไม่ ต่ากว่า ร้อ ยละ 75 มี
คุณธรรม จริ ยธรรม และความเป็ นพลเมือง
7. คนไทยคิดเป็ น ทาเป็ น แก้ปัญหาได้ มีทกั ษะในการคิดและปฏิบตั ิ มี ความสามารถในการ
แก้ปัญหา มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร
18

8. ผูเ้ รี ยนทุกระดับการศึกษาไม่ต่ากว่าร้อยละ 75 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์


มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ 9. ผูส้ าเร็ จอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา มีสมรรถนะเป็ นที่พึงพอใจ
ของผูใ้ ช้ และมีงานท า ภายใน 1 ปี รวมทั้งประกอบอาชีพอิสระเพิม่ มากขึ้น
ส่ วนพิมพ์พนั ธ์ เดชะคุ ปต์ และ พเยาว์ ยินดี สุข (2557 : 1) เห็ นว่า ทักษะศตวรรษที่ 21 ของ
เด็กไทย คือ E (4R + 7C) โดยที่ E หมายถึง Ethical Person (ผูม้ ีคุณธรรม จริ ยธรรม) 4R หมายถึง Read
(อ่าน), Write (เขียน), Arithmatics (เลข), Resoning (เหตุผล) 7C หมายถึง Creative Problem Solving
Skills (ทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ Critical Thinking Skills (ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ)
Collaborative Skills (ทัก ษะการท างานอย่า งร่ ว มพลัง ) Communicative Skills (ทัก ษะการสื่ อ สาร)
Commuting Skills (ทัก ษะการใช้คอมพิว เตอร์ ) Career and life Skills (ทัก ษะอาชี พ และทัก ษะชี วิต )
Cross- Cultural Skills (ทักษะการใช้ชีวิตในวัฒนธรรมข้ามชาติ) คณะรักษาความสงบแห่ งชาติ (2557)
ได้ก าหนดค่ า นิ ย มหลัก ของคนไทย 12 ประการ ซึ่ งอาจ พิจ ารณาได้ว่า เป็ นอุ ด มการณ์ ข องชาติ
ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์
2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพือ่ ส่วนรวม
3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผูป้ กครอง ครู บาอาจารย์
4. ใฝ่ หาความรู ้ หมัน่ ศึกษาเล่าเรี ยนทั้งทางตรง และทางอ้อม
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณี ไทยอันงดงาม
6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผูอ้ ื่น เผือ่ แผ่และแบ่งปั น
7. เข้าใจเรี ยนรู ้การเป็ นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุขที่ถูกต้อง
8. มีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผูน้ อ้ ยรู ้จกั การเคารพผูใ้ หญ่
9. มีสติรู้ตวั รู ้คิด รู ้ทา รู ้ปฏิบตั ิตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
10. รู ้จกั ดารงตนอยูโ่ ดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รู ้จกั อดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็ น มีไว้พอกินพอใช้ถา้ เหลือ ก็แจกจ่าย
จาหน่าย และพร้อมที่จะขยายกิจการเมื่อมีความพร้อมเมื่อมีภมู ิคุม้ กันที่ดี
11. มีความเข้มแข็งทั้งร่ างกาย และจิตใจ ไม่ ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ ายต่า หรื อกิเลสมีความละอาย
เกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา
12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
19

จากที่กล่าวมาอาจสรุ ปได้ว่าคนไทยในศตวรรษที่ 21 ควรมีคุณลักษณะสาคัญ 4 ประการ คือ


มีความรู ้พ้นื ฐาน คิดเป็ น ทาได้ และมีจิตใจดีงาม

แนวคิดบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21
สังคมมี การเปลี่ ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาและในยุค ปั จ จุบ ันสังคมมี อ ัตราการเปลี่ ย นแปลงที่
รวดเร็ วมาก นักคิดในแวดวงต่าง ๆ ของโลกและไทยต่างให้ความสนใจกับสภาพสังคมเป็ นอย่างยิง่ นัก
คิด ทั้งหลายเรี ยกสังคมของมนุษยชาติในอนาคตในชื่อที่แตกต่างกัน อัลวิน ทอฟฟเลอร์ (Alvin Toffler,
2538) เรี ยกว่า ยุคคลื่นลูกที่สาม (The third wave) โดยมองว่าการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกจะเป็ น
การเปลี่ยนแปลงที่มีลกั ษณะ “ทั้งโลก” (Global) ไม่วา่ จะเป็ นด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ฯลฯ โดยมี
เทคโนโลยีที่ทนั สมัยเป็ นตัวขับเคลื่ อ น ในขณะที่ อี ริค ชมิ ดท์ และ เจเรด โคเฮน (Eric Schmidt and
Jared Cohen, 2014) เรี ยกโลกยุคนี้วา่ ยุคดิจิทลั เปลี่ยนโลก (The New Digital Age) นอกจากนี้แล้ว ยังถูก
เรี ยกในชื่ อ อื่ นๆอี กว่า เป็ น “ยุคโลกไร้พรมแดน” (Borderless world) ยุคโลกาภิวตั น์ (Globalization)
หรื อ เรี ยกว่าเป็ นยุค “หลังสัง คมฐานความรู ้ ” (Post knowledge – based society) (จินตนา สุ จจานันท์,
2556 : 2
โลกในศตวรรษที่ 21 เป็ นโลกแห่ งการเปลี่ ยนแปลง การเปลี่ ยนแปลง คือ ความเป็ นจริ งของ
สังคมใหม่ที่มีปัญหาท้าทายสาหรับผูบ้ ริ หาร (วิโรจน์ สารรัตนะ.2556 : 70-75) กล่าวถึง โมเดลภาวะผูน้ า
ทางการศึกษา (Educational Leadership Model) ซึ่ งเป็ นโมเดลที่กล่ าวถึ งเรื่ อ งของ คุ ณภาพ (qualities)
ความรู ้ (knowledge) และทัก ษะ (skills) ของผูน้ าทางการศึก ษา พอสรุ ป ได้ว่า ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
จาเป็ นต้อ งนาสถานศึกษาของตนเองเข้าสู่ ศตวรรษที่ 21 และรับ ผิดชอบต่อ ผลการจัดการศึ กษาใน
สถานศึกษาของตนเองในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน
2. ริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิทธิผล
3. สารวจและสนับสนุนการใช้ ICT และ E – Learning
4. พัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้
5. สร้างเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็จ
6. พัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า
20

วิโ รจน์ สารรั ต นะ (2556) ได้เ ขี ย นเรื่ อ งกระบวนทัศ น์ ใ หม่ ข องการศึ ก ษากรณี ท ัศ นะต่ อ
การศึกษาศตวรรษที่ 21 ซึ่ งกล่าวถึงภาวะผูน้ า ทักษะ และทัศนคติของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ
ที่ 21 ว่าผูน้ าสถานศึกษาเป็ นบุคคลที่ถูกคาดหวังให้ปฏิบตั ิตามคาสั่งของหน่ วยงานระดับ จังหวัดหรื อ
ระดับแผนกงานเกี่ยวกับงานบุคลากร การจัดซื้ อจัดจ้าง การงบประมาณ การจัดทางเดิน และสนามเด็ก
เล่นที่ปลอดภัย ความสัมพันธ์กบั สาธารณะและอื่ นๆ ที่จะทาให้การบริ หารสถานศึกษา เป็ นไปอย่าง
ราบรื่ น รวมทั้ง บทบาทส าคัญ ในการพัฒ นาการสอนและการเรี ย นรู ้ แต่ ใ นระยะต่ อ ไป ผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษา (Principals) จะต้องทางานเพือ่ ให้มีความมัน่ ใจได้ว่า ตนเองได้ทาหน้าที่เป็ นเช่น ผูน้ า (As
leader) เพื่อการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน (Student learning) เพราะการเรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นไมได้ หากขาดการใช้
ภาวะผูน้ า (Leadership) โดยภาวะผูน้ าสถานศึกษา (School leadership) หมายถึ ง แต่ล ะบุค คลต้อ งมี
ความเข้าใจในเนื้ อหาวิชาการ การประเมินผล และเทคนิ คการสอน มีการท างานเพื่อ เสริ มสร้างทักษะ
ร่ วมกับครู การรวบรวม วิเคราะห์ และการใช้ขอ้ มู ลเพื่อ ประกอบการตัดสิ นใจ ผูน้ าถู ก คาดหวังให้
ทางานร่ วมกับครู นักเรี ยน ผูป้ กครอง สมาชิกในชุมชน และหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้มีความ มัน่ ใจได้ว่า
ความต้องการในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนทุกคนได้รับการตอบสนอง และนั่นหมายความว่า สมาชิกใน
โรงเรี ยนจะต้องมีภาวะผูน้ าร่ วม (Shared leadership) เพือ่ ให้แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผูน้ ามาจากสมาชิกทุก
คนร่ วมกัน แต่ก็มิได้หมายความว่า ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาจะปลีกตัวจากความรับผิดชอบนี้ ออกไป แต่
กลับจะต้อ งสนับสนุ นให้มีความรับผิดชอบร่ วม (Shared responsibility) ในการระบุปัญหา การสร้าง
ทางเลือก และการนาไปปฏิบตั ิ สาหรับผูน้ าในศตวรรษที่ 21 บางทักษะมีความสาคัญยิง่ เช่น ทักษะการ
สร้างทีมงาน (Team building) ทักษะการจัดการความขัดแย้ง (Conflict management) เพื่อให้เกิ ดความ
มัน่ ใจได้ถึง สภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้ที่เป็ นสากล (Universal learning environments) ที่เกิดขึ้นในทุกๆ
ห้องเรี ยน ซึ่ งผูน้ าสถานศึกษาโดยตาแหน่ ง (Designed leader) เพียงลาพังไม่สามารถทาให้บรรลุผลใน
ภารกิจงานที่มากมายนี้ได้ ส่วนครอเฟิ ร์ด (Crawford) (อ้างถึงในวิโรจน์ สารรัตนะ, 2556) ได้มีความเห็น
ที่ ส อดคล้อ งกัน ของผู ้ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ นโยบายทางการศึ ก ษาว่า คุ ณ ภาพภาวะผูน้ าของผู ้บ ริ ห าร
สถานศึกษาเป็ นปั จจัย สาคัญต่อความสาเร็ จหรื อความล้มเหลวของสถานศึกษา แต่ดงั ที่ Linda Darling-
Hammond นักการศึกษาแห่ ง Stanford University ได้กล่าวว่า “ผูบ้ ริ หารที่มีความสามารถไม่ได้มีมาแต่
เกิ ดแต่สามารถพัฒนาขึ้นได้” (High-performing principals are not just born, but can be made) ซึ่ งต้อ ง
อาศัย การฝึ กอบรมหรื อการพัฒ นาในทักษะที่ส าคัญๆ เช่ น 1) คาดหวัง สู ง (High expectations) ผูน้ า
สถานศึกษาที่มีวสิ ัยทัศน์จะมุ่งความสาเร็ จของ นักเรี ยนทุกคนและจะใช้ความพยายามเพื่อให้บรรลุผล
ในความเชื่อมัน่ นักเรี ยนจะถูกท้าทายด้วย หลักสู ตรที่มีลกั ษณะเข้มงวด (Rigorous curriculum) ได้รับ
21

การสนับสนุนอย่างเต็มที่เพื่อความก้าวหน้า หรื อกับรายวิชาที่ไม่คุน้ เคย การมุ่งศึกษาในระดับวิทยาลัย


และการศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ งอย่ า งจริ งจัง 2) ให้ ค วามส าคัญ กั บ จุ ด มุ่ ง หมายพื้ น ฐาน (A focus on the
fundamentals) สถานศึกษา เป็ นแหล่งการเรี ยนรู ้ (Learning) การเรี ยนรู ้จึงเป็ นจุดมุ่งหมายพื้นฐาน เป็ น
จุดมุ่งหมายที่สาคัญยิง่ กว่า สิ่ งอื่ นใด ทุกสิ่ งทุกอย่างจึงมุ่ งการบรรลุ จุดมุ่ งหมายนั้น 3) ความสามารถ
พิเศษในการแก้ปัญหาแบบร่ วมมื อ (A talent for collaborative problem solving) ความร่ วมมื อ นาไปสู่
การสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ และความสาเร็จผูน้ าสถานศึกษาที่ ฉลาดจะสร้างความเป็ นหุน้ ส่วนให้เกิดขึ้น
ในทุก ระดับของโรงเรี ย นเพื่อ ร่ ว มมื อ กัน แก้ปั ญหาและแสวงหา ทางเลื อ กใหม่ ๆ มาใช้ 4) มี จิต มุ่ ง
สร้างสรรค์ (An inventive mind) ให้ความสาคัญกับเทคโนโลยีและนาเอา เทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ท้ งั ใน
การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน การพัฒนาหลักสู ตร การประเมินผล การงบประมาณและอื่นๆ จนกล่าวได้ว่า
เป็ นผูน้ าในแถวหน้าในเรื่ องเทคโนโลยี 5) ความสามารถในการแปลความข้อมู ล (The ability to read
data’s story) ผูน้ า สถานศึกษาต้อ งรู ้คุณค่าของข้อมู ลที่ดีและนามาใช้เพื่อ พัฒนาสถานศึกษาสามารถ
วิเคราะห์ขอ้ มูลได้ รวดเร็ ว นาสู่ การปฏิบตั ิ และประเมินผลเพื่อ วัดผลสาเร็ จ 6) ความสามารถในการ
บริ หารเวลาและความใส่ใจ (A gift for directing time and attention) ผูน้ าสถานศึกษาในปั จจุบนั และใน
อนาคตจาเป็ นต้องมีการบริ หารเวลา (Time management) และการมอบอานาจ (Delegation) เนื่ อ งจาก
โรงเรี ยนมีภารกิจมากมายทั้งงบประมาณ บุคลากร นักเรี ยนและครอบครัว การพัฒนาวิชาชีพ เทคโนโลยี
และอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งทุกกรณี ตอ้ ง ทาด้วยใจรัก (With heart) ที่มุ่งสู่ความสาเร็จของผูเ้ รี ยน นอกจากนี้
วิคเตอร์ (Victor) (อ้างถึงในวิโรจน์ สารรัตนะ, 2556) ได้กล่าวถึ งทัศนคติ 10 ประการ สาหรับผูน้ าใน
ศตวรรษที่ 21 ว่าศตวรรษที่ 21 ต้องการภาวะผูน้ าแบบร่ วมมือ (Corporate leadership) มากกว่าแบบใช้อา
นาจหรื อการบังคับ ผูน้ าจะต้องให้การศึกษาและสร้างแรงบันดาลใจ ให้กับผูต้ ามและเนื่ อ งจากการ
เปลี่ ยนแปลงอย่างรวดเร็ วทางเทคโนโลยี และการสื่ อสาร ผูน้ าในปั จจุบนั และอนาคตจะต้อ งพัฒนา
ทัศนคติใหม่ ๆ ให้เกิ ดขึ้น ดังนี้ ด้วย 1) ทันสมัย (Modernization) – มองอนาคตอย่างมี วิสัยทัศน์ 2) มี
สั ม พัน ธภาพ (Relationships) – สร้ า งมิ ต รภาพที่ เ ข้ม แข็ ง และยั่ง ยื น 3) ปรั บ ตัว (Adaptability) –
ตอบสนองความไม่แน่ นอนได้รวดเร็ว 4) มุ่งมัน่ (Assertiveness) - เข้าใจความขัดแย้ง จัดการด้วยสมอง
5) สร้ า งแรงบัน ดาลใจ (Inspiration) – ไม่ บ ัง คับ แต่ จู ง ใจสร้ า งแรงบัน ดาลใจ 6) ทะเยอทะยาน
(Aspiration) – มุ่งสร้างความสาเร็จ 7) โปร่ งใส (Transparency) - สร้างความไว้วางใจให้เกิดขึ้น 8) เป็ น
พีเ่ ลี้ยง (Mentoring) – เป็ นพี่เลี้ยงมากกว่าเป็ นผูส้ อน 9) ซื่ อสัตย์ จริ งใจ (Honesty) - ไม่โกหกหลอกลวง
10) มีพนั ธะรับผิดชอบ (Accountability) – คานึงถึงคามัน่ สัญญาคานึงถึงความหรื อล้มเหลว ปรับทิศทาง
หากไม่ถูกต้องหรื อไม่บรรลุผล
22

บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21
บทบาทเป็ นแบบแผนพฤติกรรมที่แสดงออกตามตาแหน่งหน้าที่ ซึ่ งเป็ นไปตามความคาดหวัง
ของสังคม บทบาทของบุคคลจึงมีความแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรม สาหรับบทบาทของผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษา เป็ นหน้าที่ในการบริ หารสถานศึกษาให้บรรลุเป้ าหมายตามตาแหน่งที่ดารงอยู่ มีนกั วิชาการ
ให้ทศั นะด้านบทบาทยุคใหม่ที่ผบู ้ ริ หารสถานศึกษาควรนาไปใช้ประโยชน์ มีรายละเอียด ดังนี้
The Wallace Foundation (2012) เป็ นมูลนิ ธิให้ทุนสนับสนุ นโครงการส่ งเสริ มความเป็ นผูน้ าการศึกษา
ใน 24 รัฐของประเทศสหรัฐอเมริ กา เสนอแนวทางสาหรับผูบ้ ริ หารสถานศึกษาที่มีประสิ ทธิผล ควร
นาไปใช้ มี 5 ประการ ดังนี้
1. การสร้ า งวิ สั ย ทัศ น์ เ พื่ อ ความส าเร็ จ ทางวิ ช าการส าหรั บ นั ก เรี ย น ( Shaping a vision of
academic success for all students) การนาวิสัยทัศน์สู่การปฏิบตั ิเพื่อ ให้เกิดความเข้าใจ และมีส่วนร่ วม
ของบุคลากรในการมุ่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยนให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
2. สร้างบรรยากาศที่อบอุ่นเพื่อการศึกษา (Creating a climate hospitable to education) ผูบ้ ริ หาร
ต้องจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะกับผูเ้ รี ยน และบุคคลภายนอก เพราะโรงเรี ยนเป็ นศูนย์กลางทางการ
เรี ยนและกิจกรรม บรรยากาศมีความสาคัญที่เอื้อต่อการเรี ยนการสอน และการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน
3. การปลูกฝังภาวะผูน้ าให้กบั บุคคลอื่น (Cultivating leadership in others) ทั้งครู ในโรงเรี ยนถือ
ว่า ทรัพยากรสาคัญในการบริ หาร การสร้างให้ครู เป็ นผูน้ าทางวิชาการจะส่งผลให้โรงเรี ยนมีการพัฒนา
ไปสู่คุณภาพและมีมาตรฐานทางการศึกษา
4. การปรั บ ปรุ ง การเรี ย นการสอน (Improving instruction) ผูบ้ ริ ห ารที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลจะมุ่ ง
ทางานด้วยความเอาใจใส่ ในการปรับปรุ งผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน โดยมุ่งถึงคุณภาพการสอน และให้
บรรลุผลสาเร็จตามความคาดหวังของผูเ้ รี ยน และผูป้ กครอง
5. การบริ หารจัดการกับคน ข้อ มู ล และกระบวนการ (Managing people, data and processes)
ผูบ้ ริ หารที่มีประสิทธิผลต้องให้ความสาคัญกับบุคลากรทั้งครู บุคลากร และผูเ้ รี ยน รวมทั้งการนาข้อมูล
มาใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาสารสนเทศเพือ่ การบริ หารและกระบวนการบริ หาร
DerickMeado (2016) ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการสอน ได้เขียนบทความเรื่ อง The Role of the Principal
in Schools ได้สรุ ปบทบาทหน้าที่ในโรงเรี ยนของผูบ้ ริ หารสถานศึกษายุคใหม่ที่สาคัญ 9 บทบาท ดังนี้
1. บทบาทในฐานะผูน้ า (Role as school leader) ประกอบด้วย การเป็ นผูน้ าที่มีประสิ ทธิภาพ
(Being an effective leader) โครงการจัดหาทุนอุปถัมภ์โรงเรี ยนการพัฒนาการประเมินผลครู ผสู ้ อน และ
นโยบายการพัฒนาโรงเรี ยน เป็ นต้น
23

2. บทบาทในฐานะผูร้ ักษาระเบียบวินัยของผูเ้ รี ยน (Role in Student Discipline) งานส่ วนใหญ่


ของผูบ้ ริ หาร การรักษาระเบียบวินัยของนักเรี ยน ที่ผบู ้ ริ หารต้องสร้างความเข้าใจให้แก่ครู ทุกคน และ
ต้องเป้าหมายของการนาไปใช้กบั ผูเ้ รี ยน จะทาให้งานง่ายขึ้น
3. บทบาทในฐานะผูป้ ระเมิ น (Role as a Teacher Evaluator) ผูบ้ ริ ห ารส่ วนใหญ่ต ้อ งมี ความ
รับผิดชอบในการประเมินผลงานของครู โรงเรี ยนที่มีประสิ ทธิภาพจะต้องมีครู ผสู ้ อนที่มีประสิทธิภาพ
ผูบ้ ริ หารต้อ งจัดให้มีก ารประเมิ น ตามกระบวนการด้านคุ ณภาพครู อ ย่างมี ความเป็ นธรรม และต้อ ง
ชี้ให้เห็นทั้งจุดแข็งและจุดอ่อนของการปฏิบตั ิหน้าที่ของครู
4. บทบาทในการพัฒ นา การด าเนิ น งาน และการประเมิ น โครงการ (Role in Developing,
Implementing, and Evaluating Programs) เป็ นหนึ่ งบทบาทที่ผบู ้ ริ หารโรงเรี ยนจะต้องหาวิธีการพัฒนา
ประสบการณ์ของผูเ้ รี ยนเพิ่มขึ้น โครงการพัฒนาที่มีประสิ ทธิภาพต้องครอบคลุมพื้นเพื่อเป็ นแนวทาง
เดียวกันและต้องมีการประเมินทุกปี และพัฒนาเสมอถือว่าเป็ นสิ่งจาเป็ น
5. บทบาทในการทบทวนนโยบายและกระบวนการภายใน (role in Reviewing Policies and
Procedures) เอกสารสาคัญอย่างหนึ่ งของการบริ หาร (governing) โรงเรี ยน คือ คู่มือนักเรี ยน (Student
Handbook) ถือเป็ นตัวชี้วดั การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรี ยนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ นอกจากนี้
ยังสามารถทาให้งานของผูบ้ ริ หารง่ายขึ้น ให้นักเรี ยน ครู และผูป้ กครองได้รู้นโยบายและขั้นตอนการ
ทางานประสบผลสาเร็จได้
6. บทบาทในการกาหนดตาราง (Role in Schedule Setting) การสร้างตารางต้องทาทุก ๆ ปี ซึ่ ง
จะเป็ นภาระงานที่ผบู ้ ริ หารต้อ งการสร้างขึ้นมาเอง ได้แก่ ตารางการตีระฆังการเข้าเรี ยน ตารางการ
ปฏิบตั ิงาน ตารางการใช้หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ตารางการใช้หอ้ งสมุด ฯลฯ ตรงข้ามผูบ้ ริ ห ารต้อง
ตรวจสอบแต่ละตารางเหล่านั้นว่า ไม่ทาให้บุคลากรแต่ละคนต้องมีตารางมากเกินในแต่ละปี
7. บทบาทในการจ้างครู ใหม่ (Role in Hiring New Teachers) เป็ นหน้าที่สาคัญของผูบ้ ริ หาร
โรงเรี ยน ต้อ งจ้างหรื อรับครู และเจ้าหน้าที่เข้ามาใหม่ในการทางานได้อย่างถูกต้อง ด้วยกระบวนการ
สัมภาษณ์หรื ออบรมจึงเป็ นสิ่งสาคัญ อย่างยิง่
8. บทบาทในการปกครองและชุ มชนสัมพันธ์ มี ความสัมพันธ์ที่ดีกับพ่อ แม่ และสมาชิ กใน
ชุมชนสามารถเป็ นประโยชน์กบั คุ ณในความหลากหลายของพื้นที่ การสร้างความสัมพันธ์กบั บุคคล
และธุรกิจในชุมชนสามารถช่วยให้โรงเรี ยนอย่างมาก รวมถึงประโยชน์ที่ได้รับบริ จาคเวลาส่วนตัวและ
การสนับสนุนในเชิงบวกโดยรวม
24

9. บทบาทในการมอบหมายงาน (Delegating) ผูน้ าหลายคนโดยธรรมชาติ มีงานหนักอยูใ่ นมือ


ที่ตอ้ งสั่งการลงไป ผูบ้ ริ หารต้องมีการมอบหมายงานบางอย่างซึ่ งเป็ นสิ่ งจาเป็ น โดยมอบหมายให้กับ
บุคคลที่มี ความรู ้และไว้ว างใจผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนที่มีประสิ ทธิ ภาพไม่ มีเวลามากพอที่จะทาทุกอย่างที่
ต้องการทาด้วยตัวเอง จึงต้องพึ่งพาคนอื่น ๆ มาช่วยทา เพือ่ ให้ผลงานบรรลุผลสาเร็จ
Grossman (2011) กล่ าวว่า เพื่อ เป็ นการตอบสนองต่ อ ความรั บผิด ชอบใหม่ เ หล่ า นี้ สมาคม
โรงเรี ยนภาวะผูน้ าระหว่างรัฐ (ISLLC) สร้างชุดมาตรฐานการพัฒนาสาหรับผูบ้ ริ หาร โดยกลุ่มองค์กรที่
เป็ นผูน้ าการศึกษาแห่ งชาติ ได้แก่ สมาคมผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนประถมศึกษาแห่ งชาติ สมาคมผูบ้ ริ หาร
โรงเรี ยนมัธยมศึกษาแห่ งชาติและสภาหัวหน้าเจ้าหน้าที่โรงเรี ยนของรัฐ ได้พฒั นาชุดมาตรฐานการ
พัฒนาผูบ้ ริ หารซึ่งได้นามาใช้ในการพัฒนาในปี 2008 มีแนวทางที่ผบู ้ ริ หารต้องรับผิดชอบตามบทบาท
ดังนี้
1. บทบาทในการจัดการเรี ยนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
2. บทบาทในการออกแบบหลักสูตร การใช้หลักสูตร การวัดผล และการประเมินผล
3. หลักความสัมพันธ์กบั การดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์
4. บทบาทในการบริ หารสารสนเทศ การรวบรวมข้อมูล และกลยุทธ์การวิเคราะห์ขอ้ มูล
5. วิธีสร้างแรงบันดาลใจบุคคลด้วยวิสยั ทัศน์ที่ให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้ในระดับสูงขึ้น
DoDEA 21 (2014) ได้น าเสนอเครื่ อ งมื อ การประเมิ น เรื่ อ ง Instructional Leadership: Self-
Assessment and Reflection Continuum เป็ นเครื่ องมือประเมินความเป็ นผูน้ าทางการศึกษาของผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 การกาหนดตัวชี้วดั ด้านสมรรถนะและความเป็ นผูน้ าที่มีประสิ ทธิผลใน
ศตวรรษที่ 21 มี บทบาท 4 ด้านหลักดังนี้
1. ผูน้ าโรงเรี ยนในศตวรรษที่ 21 กาหนดให้มีการกากับดูแลด้านการบูรณาการการเรี ยนการ
สอนต่อการประยุกต์นวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ และการประเมินผล ได้แก่ การให้คาแนะนาแนวคิดใหม่ ๆ
สาหรับครู ผสู ้ อนเกี่ยวกับการใช้หอ้ งเรี ยนที่มีประสิทธิผล การสนับสนุนให้การเรี ยนการสอนสอดคล้อง
กับปั จจัยภายในและภายนอกโรงเรี ยน
2. มีการนารู ปแบบทางดิจิตอลมาสนับสนุ นการเรี ยนการสอนของครู เพือ่ การเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน
ได้แก่ นาไปใช้ในห้องเรี ยน ส่ งเสริ มให้ครู นักเรี ยนใช้เครื่ องมือทางดิจิตอลอย่างมีประสิทธิผล และใช้
อย่างต่อเนื่องรวมทั้งการประเมินประเมินความพร้อมของโรงเรี ยนที่จะนาทักษะทางดิจิตอลมาใช้
3. ให้โอกาสแก่ครู ได้พจิ ารณาไตร่ ตรอง กาหนดจุดมุ่งหมาย และการร่ วมมือกันเพือ่ ให้เกิดการ
เรี ยนรู ้อย่างมืออาชีพในสภาพแวดล้อมที่มีความเสี่ ยงแล้วสามารถนามาเป็ นโอกาส ได้แก่ ให้ครู กาหนด
25

ยุทธศาสตร์การวิจยั ด้านหลักสูตร ด้านการเรี ยนการสอน และด้านการประเมินผล และให้นาผลการวิจยั


มาใช้ประโยชน์ รวมทั้งเปิ ดโอกาสให้ครู ได้เรี ยนรู ้อย่างมืออาชีพได้อย่างแท้จริ ง
4. ต้อ งจัด สภาพแวดล้อ มบนพื้ น ฐานยึด การเรี ย นรู ้ ข องผูเ้ รี ย นเป็ นศู น ย์ก ลางการส่ ง เสริ ม
ปฏิสัมพันธ์และความรู ้สึกที่ดีต่อของชุมชน ได้แก่ การสร้างสภาพแวดล้อมของโรงเรี ยนเพื่อสนับสนุ น
การสอน และการเรี ยนรู ้ดา้ นทักษะในศตวรรษที่ 21 กาหนดให้จดั สภาพแวดล้อ มเพื่อ การเรี ยนรู ้ที่มี
ประสิ ทธิ ภาพและความน่ าเชื่ อถื อ ยืดหยุ่นภายในโรงเรี ยนและชุ มชน นอกจากนี้ ควรเพิ่มโอกาสการ
เรี ยนรู ้ดา้ นโลกมากขึ้น และออกแบบทางสิ่ งแวดล้อมที่เพิ่มโอกาสการพัฒนาทักษะการคิด ทักษะชีวิต
และทักษะทางอาชีพและเตรี ยมผูเ้ รี ยนสาหรับการทางานในอนาคต
สรุ ปได้ว่า บทบาทหน้าที่ของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในยุคใหม่ ประกอบด้วย บทบาทในฐานะ
ผูน้ าทางวิชาการบทบาทในฐานะผูร้ ักษาระเบียบวินัย บทบาทในฐานะผูป้ ระเมิน บทบาทในการทบทวน
นโยบาย บทบาทในการการบริ หารหลักสู ตรและการสอน บทบาทในการกาหนดตารางการปฏิบตั ิงาน
บทบาทในการสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรี ยนรู ้ บทบาทในการส่ งเสริ มการพัฒนาครู และ
บุคลากร บทบาทในการประชาสัมพันธ์ บาทบาทในการประสานสัมพันธ์กบั ชุมชน และบทบาทในการ
ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดี

บริบทโรงเรียนทวีธาภิเศก
โรงเรี ยนทวีธาภิเศกเป็ นโรงเรี ย นชายล้วนประจ าจังหวัดธนบุ รี( โรงเรี ยนหญิ งล้วนประจ า
จังหวัดธนบุรีคือ โรงเรี ยนศึกษานารี ) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้พระราชทาน เนื่อง
ในวโรกาสที่ทรงครองราชสมบัตินานเป็ นสองเท่าของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาล
ที่ 2 ซึ่งเป็ นสมเด็จพระอัยกา
อาคารโรงเรี ยนหลังแรก
โดยเมื่อปี พ.ศ. 2438 (ร.ศ. 114) ปี มะแม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัวได้ทรงพระ
กรุ ณาโปรดเกล้าให้กระทรวงธรรมการ (ปั จจุบนั คือ กระทรวงศึกษาธิการ) ขยายตัวทางด้านการศึกษา
จัดให้มีโรงเรี ยนมากขึ้น โดยเห็นว่าสถานที่ กระทรวงธรรมการบริ เวณศาลาต้นจันทร์ วัดอรุ ณราชวรา
ราม เปิ ดสอนชั้น 1 ถึงชั้น 4 มีนกั เรี ยน 162 คน ครู 6 คน มีพระครู ธรรมรักขิต (สัมฤทธิ์ ลอยเพ็ชร) เป็ น
ครู ใหญ่ และได้ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าให้ กรมหมื่นปราบปรปั กษ์เป็ นแม่กองปฏิสงั ขรณ์พระอุโบสถ
วัดอรุ ณราชวราราม เมื่ อ ปฏิสังขรณ์ แ ล้ว เสร็ จ ประจวบกับ เวลาที่ พระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกล้า
เจ้า อยู่หัว ได้ทรงดารงสิ ริ ร าชสมบัติ มาเป็ นสองเท่ าของพระบาทสมเด็ จพระพุท ธเลิ ศ หล้า นภาลัย
26

จึงทรงบาเพ็ญพระราชกุศลทวีธาภิเษก ถวายพระอัยกาธิ ราช ณ พระที่นั่งอมริ นทรวินิจฉัยมไหยสู รย


พิมาน และสมโภชสิริราชสมบัติ ณ พระที่นงั่ จักรี มหาปราสาท ในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2441
ระบบการเรี ยน
แบบห้องเรี ยนประจา
ชั้นม.ปลาย เรี ยนแบบเดินเรี ยนบางห้อง
ปั จจุบนั มีนกั เรี ยน จานวน 2,563 คน 63 ห้องเรี ยน
จานวน ครู ชาย 41 คน ครู หญิง 62 คน รวมทั้งหมด 103 คน

งานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง

งานวิจัยในประเทศ

มัลลิกา วิเชียรดี (2556) ได้ศึกษาสภาพปั ญหาและแนวทางพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยน


เป็ นสาคัญ ของโรงเรี ยนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 ในด้านการ
บริ หารจัดการการเรี ยนการสอน ด้านการจัดการเรี ยนรู ้ และด้านการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนผลการศึกษา
พบว่า 1) สภาพปั ญหาการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของโรงเรี ยนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) เปรี ยบเทียบสภาพปั ญหาการ
จัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของโรงเรี ยนใน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ชัยภู มิ เขต 1 จ าแนกตามขนาดโรงเรี ย นและประสบการณ์ ส อนของครู พบว่า ขนาดโรงเรี ยนและ
ประสบการณ์การสอนของครู แตกต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน (p > .05)
สุวจั น์ ศรี สวัสดิ์ (2556) ได้ศึกษาสภาพปั ญหาและแนวทางการพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอน
ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของครู ในสังกัดองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกาฬสิ นธุ์ ในด้านการวางแผนการ
สอน ด้านการเตรี ยมการสอน ด้านการจัดการเรี ยนรู ้ และด้านการวัดผลและประเมินผลผลการวิจยั พบว่า
1) ครู เห็ นว่าปั ญหาการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของโรงเรี ยนในสังกัดองค์การ
บริ หารส่ วนจังหวัดกาฬสิ นธุ์ โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง 2) ครู ที่มีเพศ วุฒิการศึกษา
และการสอนในกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ต่างกันเห็ นว่าปั ญหาการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้น ผูเ้ รี ยนเป็ น
สาคัญไม่ แตกต่างกัน 3) ข้อ เสนอแนะการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ด้านการวาง
แผนการสอน เห็นว่าสถานศึกษาควรมีการกาหนดนโยบายและการประชุมวางแผนงานที่ ชัดเจนในการ
27

บริ หารจัดการสถานศึกษา ศึ กษาสภาพปั จ จุบนั ศึกษาปั ญ หาและแต่งตั้งคณะกรรมการ ทางานเพื่อ


รับผิดชอบในการบริ หารการศึกษาให้มีคุณภาพ และส่ งเสริ มในด้านการประเมินผลการ เรี ยนรู ้เพื่อหา
แนวทางที่เหมาะสมมาปรั บปรุ งแก้ไ ขการเรี ย นของนัก เรี ย นให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ ด้วยตนเอง ด้านการ
เตรี ยมการสอน ควรมีการจัดประชุมผูบ้ ริ หารและบุคลากรเพือ่ ร่ วมกันคิดวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ ทางการ
เรี ยนของนักเรี ยนทุกชั้นและเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์กับเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่า จัดทาหลักสู ตร ที่เปิ ด
โอกาสให้อ งค์การท้องถิ่ นเข้ามามี ส่วนร่ วมในการกาหนดหลักสู ตร ที่ยดึ ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ด้านการ
จัดการเรี ยนรู ้ ควรมีการส่ งเสริ มการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนโดยส่ งเสริ มกิจกรรมในด้านวิชาการ
ทักษะความรู ้ การประกวดโครงงาน เป็ นต้น เพือ่ ส่ งเสริ มคุณภาพด้านวิชาการอยูเ่ สมอ สถานศึกษา ควร
มีการส่ งเสริ มด้านแหล่ งเรี ยนรู ้ ให้ผเู ้ รี ยนได้รับรู ้ภูมิปัญญาท้องถิ่นอันสาคัญ และด้านการวัดผลและ
ประเมิ น ผล ควรเน้ น การวัด ที่ ก ารปฏิ บ ัติ จ ริ งมากกว่ า ทดสอบเนื้ อหาวิ ช าสามารถตรวจสอบ
ความก้าวหน้าในการเรี ยนของนักเรี ยนแต่ล ะคนได้ การกาหนดระบบการประเมินควรมีชดั เจน และ
ครอบคลุมวัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้สามารถนาไปบูรณาการใช้ได้กบั ทุกรายวิชา และควรประเมินผูเ้ รี ยน
จากความก้าวหน้าเป็ นรายบุคคลซึ่ งจะสามารถทราบถึงพัฒนาการของนักเรี ยนสามารถแก้ไ ขปั ญหา
นักเรี ยนได้ตามรายบุคคล โดยสรุ ป ครู เห็นว่า ปั ญหาการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
ของโรงเรี ยนอยูใ่ นระดับปานกลาง ดังนั้น ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาและผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ าย ควรให้
การสนับสนุ น ส่ งเสริ มให้สถานศึกษาให้มีการดาเนิ นการเพื่อก่ อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้นในทุก ๆ
ด้าน เพือ่ พัฒนา กระบวนการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาให้ดาเนินไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ และบุคลากรทุก
คนมี ความ เกี่ ยวข้อ งและเชื่ อ มโยงกับการพัฒนากระบวนการเรี ย นรู ้และเป็ นตัวกลางสาคัญในการ
ส่งเสริ มสนับสนุน การจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญต่อไป
พิชนันท์ ขันอาสา ( 2556) ได้ศึกษาสภาพปั ญหาและแนวทางพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนที่
เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของโรงเรี ยนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3
ในด้านคุณลักษณะของผูเ้ รี ยนด้านคุณลักษณะของครู ด้านวิธีการ และสื่ อการเรี ยนการสอน และด้าน
การประเมินผลตามสภาพจริ ง ผลการวิจยั พบว่า 1) สภาพขององค์ประกอบการจัดการเรี ยนการสอนที่
เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ โดยภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก 2) ปั ญหาขององค์ประกอบการจัดการเรี ยนการ
สอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ โดยภาพรวม อยูใ่ นระดับน้อย 3) ครู ที่มีวฒ ุ ิการศึกษาและประสบการณ์ใน
การสอนต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพ และปั ญหาขององค์ประกอบในการจัดการเรี ยนการสอน
ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญโดยภาพรวมแตกต่างกัน 4) แนวทางพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยน
เป็ นสาคัญนั้น เป็ นรู ปแบบการจัดการศึกษาที่ผบู ้ ริ หารสถานศึกษา ครู และนักเรี ยนต้องทาความเข้าใจ
28

ร่ วมกัน ตลอดทั้ง โรงเรี ย น วัด และชุ มชน ต้อ งมี ส่วนร่ วมในการส่ งเสริ มและสนับสนุ นในการจัด
การศึกษา การให้คาปรึ กษาในการ จัดการเรี ยนรู ้
พิชญา ดานิ ล (2559) ได้ศึกษาเรื่ อง “ภาวะผูน้ าในศตวรรษที่ 21 ของผูบ้ ริ หารคณะศิลปศึกษา
และห้อ งเรี ยนเครื อ ข่ ายสถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นศิล ป์ ” โดยมี ว ตั ถุ ประสงค์เ พื่อ 1) ศึก ษาภาวะผูน้ าใน
ศตวรรษที่ 21 ของผูบ้ ริ หารคณะศิลปศึกษาและห้องเรี ยนเครื อข่าย 2) เปรี ยบเทียบภาวะผูน้ าในศตวรรษ
ที่ 21 ของผูบ้ ริ หารคณะศิลปศึกษาและห้องเรี ยนเครื อข่าย และ 3) เสนอแนวทางการพัฒนาภาวะผูน้ าใน
ศตวรรษที่ 21ของผูบ้ ริ หารคณะศิลปศึกษาและห้องเรี ยนเครื อข่าย พบว่า 1) ภาวะผูน้ าในศตวรรษที่ 21
ของผูบ้ ริ หารภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ผูบ้ ริ หาร
ให้ความสาคัญต่อการวางแผน กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย เป้าหมาย วัตถุประสงค์และกลยุทธ์
การบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษา รองลงมาคือ เปิ ดโอกาสให้ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาเข้าพบได้เสมอ
เพื่อให้คาปรึ กษา และผูบ้ ริ หารมีความซื่ อสัตย์ จงรักภักดีต่อ หน่ วยงาน และหน้าที่ที่รับผิดชอบ 2) ผล
การเปรี ยบเทียบภาวะผูน้ าในศตวรรษที่ 21 ของผูบ้ ริ หาร พบว่า ภาพรวมผูบ้ ริ หารและผูส้ อนมี ความ
คิดเห็นแตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการพัฒนาภาวะผูน้ าในศตวรรษที่
21 ของผูบ้ ริ หารคณะศิลปศึกษาและห้องเรี ยนเครื อข่ายพบว่า มีแนวทางทั้งหมด 15 แนวทาง
พัทธนันท์ รชตะไพโรจน์ (2559) ได้ศึกษา การพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 ของครู
โรงเรี ยนเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน ผลการวิจยั พบว่า การพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่
21 ของโรงเรี ยนเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน โดยรวมและรายด้าน ผูต้ อบแบบสอบถามมีความ
คิดเห็นว่า มีการแสดงความคิดเห็นระดับมาก โดยเรี ยงลาดับตามค่าเฉลี่ย ดังนี้ ด้านทักษะการเรี ยนรู ้ใน
ศตวรรษที่ 21 ด้าน การออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 ด้านกระบวนการการจัดการเรี ยนรู ้
ในศตวรรษที่ 21 และสภาพปั ญหาและแนวทางการพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 ที่ผตู ้ อบ
แบบสอบถามมีความคิดเห็น พบว่า ครู ยงั ขาดความตระหนักและกระตือรื อร้นในการพัฒนาทักษะการ
เรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 เนื่ องมาจากขาดความรู ้ความเข้าใจในหลักการแนวคิดรวมไปถึง การออกแบบ
หลักสูตร วิธีการสอน และวิธีการวัดผลตามแนวคิดทักษะในศตวรรษที่ 21 อีกทั้งยังขาดแรงจูงใจให้ครู
เปลี่ ยนรู ปแบบการสอน จากการสัมภาษณ์ ผูบ้ ริ หาร เพื่อ หาแนวทางการพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ใ น
ศตวรรษที่ 21 ของครู ในโรงเรี ยน เอกชน อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน พบว่า (1) ควรมีการปรับทัศนคติ
กระบวนทัศน์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอนของครู ไม่ให้ยดึ ติดกับรู ปแบบเดิม (2) สร้างให้ครู มี
ความรู ้ ความเข้าใจในทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 โดยการจัดให้มีการอบรมในเรื่ อง ทักษะการ
เรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 (3) ผูม้ ีส่วนได้เสี ยร่ วมวิเคราะห์หลักสู ตรสถานศึกษา เพื่อ วิเคราะห์จุดเด่น จุด
29

ด้อย และทิศทางการจัดการศึกษาของโรงเรี ยน ท้องถิ่น โดยบูรณาการทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21


เข้าไปในหลักสู ตร (4) จัดให้มี การประชุ มครู เพื่อ นาหลักสู ตรสถานศึกษานาไปสู่ ภาคปฏิบตั ิ โดยครู
จะต้องมีการศึกษาเอกสารหลักสูตรสถานศึกษา วิธีการและสื่อการสอน แผนการสอน และส่ งเสริ มให้มี
การใช้ห้องปฏิบตั ิการ แหล่งเรี ยนรู ้ให้มากขึ้น (5) สร้างองค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ (Learning Organization)
ในสถานศึกษา เพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้และสร้างองค์ความรู ้ ในการเพิม่ พูนสมรรถนะที่จะก่อให้เกิดการ
เปลี่ ยนแปลงในการพัฒนาการเรี ยนการสอนในเรื่ อ ง ทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 โดยนาการ
จัดการความรู ้ (Knowledge Management : KM) โดยมีการรวบรวมองค์ความรู ้ที่มีอยู่ ซึ่งกระจัดกระจาย
อยูใ่ นตัวบุคคลหรื อเอกสาร มาพัฒนาให้เป็ นระบบ เพื่อให้ทุกคนในสถานศึกษาสามารถเข้าถึงความรู ้
และพัฒนาตนเองให้เป็ นผูร้ ู ้ นาความรู ้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิงาน ให้เกิดประสิ ทธิภาพ และ
ประสิทธิผล และ (6) นิเทศ ติดตามและประเมินผล
กรรณิ กา กันทา (2560) ได้วิจยั พัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ ทกั ษะภาวะ
ผูน้ าในศตวรรษที่ 21 สาหรับผูบ้ ริ หารสถานศึ กษาขั้น พื้นฐาน มี วตั ถุ ประสงค์ดัง นี้ (1) ศึกษาความ
เหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล (2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พฒั นาขึ้นจาก
ทฤษฎี แ ละผลงานวิจ ัย กับ ข้อ มู ล เชิ ง ประจัก ษ์ (3) ตรวจสอบค่ า น้ า หนัก ขององค์ป ระกอบหลัก
องค์ประกอบย่อยและตัวบ่งชี้ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็ นผูบ้ ริ หารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
สา นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 680 คน ปี การศึกษา 2558 ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่ ม
แบบหลายขั้นตอน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั เป็ นแบบสอบถาม มาตรวัดแบบประเมินค่า 5 ระดับ จาแนก
เนื้อหาตามองค์ประกอบหลักและองค์ประกอบย่อย มีขอ้ คา ถาม จานวน 72 ข้อ วิเคราะห์ขอ้ มูลเป็ นสถิติ
พรรณนาและสถิติอา้ งอิงโดยโปรแกรมสาเร็จรู ปทางสถิติและโปรแกรมเอมอส ผลการวิจยั เป็ นไปตาม
สมมุ ติฐานการวิจยั ที่กาหนดไว้ ดังนี้ (1) ตัวบ่งชี้ ที่ใช้ในการวิจยั 72 ตัวบ่งชี้ ได้รับการคัดสรรไว้ใน
โมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างทุกตัวโดยมีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กาหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
หรื อสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรื อต่า กว่าร้อยละ 20 (2) โมเดลความสัมพันธ์
เชิ งโครงสร้า งตัวบ่งชี้ ทกั ษะภาวะผูน้ า ในศตวรรษที่ 21 สาหรับผูบ้ ริ หารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่
พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจยั มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์ (X2)
เท่ากับ 34.88 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 25 ค่านัยสาคัญทางสถิติ (P-value) เท่ากับ 0.09 ค่าดัชนีวดั ระดับ
ความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.99 ค่าดัชนีวดั ระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.97
และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.03 ซึ่ งเป็ นไปตามเกณฑ์ที่
กาหนด (3) ค่าน้ า หนักองค์ประกอบหลักมี ค่าระหว่าง 0.84 – 0.95 ซึ่ งสู งกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ าหนัก
30

องค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.70 – 0.92 และค่าน้ า หนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.46 – 0.90 ซึ่ งสู งกว่า
เกณฑ์ 0.30
กฤติยา ใจหลัก (2560) ได้ศึกษาภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของข้าราชการ
ครู ในสถานศึ กษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาพังงา และเปรี ยบเทียบภาวะผูน้ าของ
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของข้าราชการครู ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาพังงา พบว่า 1. ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามความคิดเห็นของข้าราชการครู ใน
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพังงา โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก 2. เปรี ยบเทียบ
ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาตามความคิ ดเห็ นของข้าราชการครู ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพังงา เมื่อจาแนกตาม วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทางาน โดยภาพรวม
ไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อจาแนกตามขนาดโรงเรี ยน มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
บุญญา ทรัพย์โสม (2560) ได้ศึกษาภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาหญิงในทรรศนะของ
ครู ผูส้ อนสังกัดส านักงานเขตพื้น ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 เพื่อ ศึกษาระดับ
พฤติกรรมภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารหญิงตามความคิดเห็นของครู ในโรงเรี ยนจังหวัดนครศรี ธรรมราช เขต
4 ตามแนวทฤษฎี 3 มิติของ William J. Reddin และเปรี ยบเทียบพฤติกรรมภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารหญิง
ตามความคิดเห็ นของครู ในโรงเรี ยนจังหวัดนครศรี ธรรมราช เขต 4จาแนกตามตัวแปรเพศ อายุ วุฒิ
การศึกษา และวิทยฐานะ เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะเกี่ยวกับพฤติกรรมภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารหญิงตาม
ความคิดเห็นของครู ในโรงเรี ยนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4
พบว่า ครู ในโรงเรี ยนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 มีความ
คิดเห็นต่อพฤติกรรมภาวะผูน้ าแบบที่มีประสิทธิผลต่าของผูบ้ ริ หารหญิงอยูใ่ นระดับบ่อยครั้งคือแบบนัก
ประนี ประนอมและแบบนัก บุญ ส่ วนแบบเผด็ จการและแบบหนี งานอยู่ใ นระดับเป็ นบางครั้ง และ
พฤติกรรมภาวะผูน้ าแบบที่มีประสิ ทธิผลสู งอยู่ในระดับบ่อยครั้ง คือแบบนักพัฒนา แบบนักบริ หาร
แบบเผด็ จ การแบบมี ศิ ล ป์ และแบบผูท้ าตามระเบี ย บ ในด้า นครู ที่ มี เ พศต่ า งกัน มี ค วามคิ ด เห็ น ต่ อ
พฤติกรรมภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห ารหญิ งแบบเผด็จ การและแบบผูท้ าตามระเบียบแตกต่ างกัน ครู ที่ มี
ประสบการณ์ในตาแหน่ งต่างกันมีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารหญิงแบบหนี งาน
แตกต่างกัน สาหรับครู ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารหญิง
แบบเผด็จการแบบมีศิลป์ แตกต่างกัน และครู ที่วิทยฐานะต่าง กันมีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมภาวะผูน้ า
ของผู ้บ ริ ห ารหญิ ง แบบเผด็ จ การแบบมี ศิ ล ป์ และแบบผู ้ท าตามระเบี ย บไม่ แ ตกต่ า งกัน ส าหรั บ
31

ข้อเสนอแนะพฤติกรรมภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารหญิง คือผูบ้ ริ หารควรมีทกั ษะการประสานงานที่ดีและไม่


ควรนาความรู ้สึกและอารมณ์ส่วนตัวในการบริ หารงาน

งานวิจัยต่ างประเทศ
งานวิจยั ที่เกี่ยวกับทักษะของผูบ้ ริ หาร มีงานวิจยั ต่างประเทศที่พอสรุ ปได้จากการศึกษาค้นคว้า
ซึ่งเป็ นงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องดังนี้
Waston (2000) ได้ศึกษาวิจยั เรื่ องภาวะผูน้ าในศตวรรษที่ 21 ตามการรับรู ้ของผูน้ าในภาคเอกชน
ประเทศแคนนาดา โดยใช้แบบสอบถามและการโทรศัพท์สัมภาษณ์ ผลการศึก ษาพบว่า ผูน้ า ใน
ภาคเอกชน รับรู ้ถึงความสาคัญอย่างมากเกี่ยวกับกระแสโลกาภิวตั น์ การมีวิสัยทัศน์ การทางานเป็ นทีม
ความสามารถในการเรี ยนรู ้ ทักษะการสอน การเจรจาต่อรอง ทักษะระหว่างบุคคลจริ ยธรรม ทักษะของ
การเป็ นผูป้ ระกอบการ การแก้ปัญหา ความคิดริ เริ่ ม ความอดทน การใช้เทคโนโลยีและการตื่นตัวกับ
กระแสโลกาภิวตั น์ เป็ นความสามารถที่สาคัญของผูน้ า การปรับวิธีการลดขนาดกาลังคนในการทางาน
และยอมรับในความหลากหลายของสังคมที่มีความสาคัญด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ ผูน้ าให้ความสาคัญ
ในการที่ จ ะผลักดัน ให้วิสัยทัศ น์ มีก ารน าไปปฏิ บตั ิ ข ยายแนวคิ ด สู่ บ ริ บทโลกอย่างมี ป ระสิ ทธิ ภ าพ
โดยพิจารณาเห็นความสาคัญของโปรแกรมการพัฒนาภาวะผูน้ า ควรเน้นการพัฒนาศักยภาพผูน้ าที่มุ่ง
สอนอนาคตอย่างมี วิสัยทัศน์ในโลกาภิวตั น์และความสามารถในด้าน อื่ น ๆ เช่น การติดต่อ สื่ อ สาร
การทางานเป็ นทีม เพือ่ การก้าวเข้าสู่ภาวะผูน้ าในศตวรรษที่ 21
Mccollum (2000) ได้ศึกษาวิจยั เรื่ อ งการพัฒนาภาวะผูน้ าโดยวิธีพฒั นาตนเองกับการแสดง
พฤติกรรมภาวะผูน้ าอย่างเป็ นธรรมชาติ ซึ่ งเป็ นการพัฒนาภาวะผูน้ าที่เน้นการพัฒนาภายในตนเองใน
ส่วนจิตสานึกและพัฒนาความตระหนักพื้นฐานของผูน้ า เครื่ องมือที่ใช้วดั พฤติกรรมภาวะผูน้ าของกลุ่ม
ตัวอย่างเป็ นแบบวัดภาวะผูน้ า 5 ประการ คือ พฤติกรรม ท้าทายกระบวนการ ดลบันดาลภาพฝัน ขยัน
ถามไถ่ ให้กาลังใจเป็ นนิ จ พูดทาเป็ นแบบอย่าง กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยฝ่ ายบริ หาร และพนักงานใน
บริ ษ ัท แห่ ง หนึ่ ง ที่เ ข้า ร่ ว มโครงการพัฒ นาตนเอง ที่ เ รี ยกว่า maharishi transcendental meditation ผล
การศึกษา พบว่า พฤติกรรมภาวะผูน้ าจะแสดงออกอย่างเป็ นธรรมชาติไ ด้โดยง่ายในแต่ละบุคคลและ
เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ ว โครงการพัฒนาตนเองและเป็ นที่ยอมรับในทกระดับของพนักงานอันเนื่ องจาก
โครงการดังกล่าว ใช้วิธีการ มีผลให้สามารถพัฒนาภาวะผูน้ าองค์การได้ดีและพัฒนาง่ายกว่าการพัฒนา
เพือ่ เปลี่ยนแปลงประสบการณ์ที่เคยรับรู ้
32

Willeto (2001) ได้ศึกษาวิจยั เรื่ องการพัฒนาภาวะผูน้ าเพือ่ ประสิทธิผลขององค์การโดยศึกษาผล


จากการดาเนิ นกิจกรรมการพัฒนาภาวะผูน้ า 4 กิจกรรมในกลุ่มผูบ้ ริ หารวิทยาลัยระดับวิทยาเขตในฐานะ
ที่เป็ นกลยุทธ์หนึ่ งในการบริ หารงานเพื่อบรรลุพนั ธกิจของวิทยาลัย โดยมีกลุ่มผูใ้ ห้ขอ้ มูลประกอบใน
การศึกษา คือ คณบดี เจ้าหน้าที่วิทยาเขต ผูใ้ ห้ขอ้ มูล เพื่อการประเมินและผูเ้ กี่ ยวข้อง เพื่อสรุ ปผลการ
วิเคราะห์ขอ้ มูลในเนื้อหาลงใน leadership educational plan (LEAP II) ซึ่ งเป็ นส่วนหนึ่งของการวิจยั ผล
การศึกษาพบว่า การพัฒนาภาวะผูน้ าเป็ นแนวทางในการนาไปสู่ความมีประสิทธิผลของสถาบัน
Confer (2003) ได้ศึกษาเพื่ออธิบายความเข้าใจของ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน
42 คน และครู จานวน 6 คน เกี่ยวกับการสอนที่เน้นนักเรี ยนเป็ นสาคัญ ครู ผรู ้ ่ วมวิจยั ได้พยายามทาให้
ชั้นเรี ยนของตนเป็ นชั้นเรี ยนที่เน้นนักเรี ยน เป็ นสาคัญมากขึ้นข้อมูลเบื้องต้นที่นามาวิเคราะห์ได้จากการ
สัม ภาษณ์ และการสังเกตชั้นเรี ยน ผลการศึกษา เบื้องต้นพบว่า ครู ยงั ไม่เข้าใจแนวคิดและการปฏิบตั ิ
ชัดเจนเกี่ยวกับสิ่งที่ครู ต้งั ใจจะให้ช้ นั เน้นนักเรี ยน เป็ นสาคัญ ผลจากการใช้ขอ้ มูลเบื้องต้นเหล่านี้ได้ระบุ
ตัวบ่ งชี้ ร ะดับ ความเข้าใจเกี่ ยวแนวคิดและทาง ปฏิ บตั ิข องครู พ บว่า ประการแรก เมื่ อ ครู ไ ม่ พ ฒ ั นา
พื้นฐานแนวคิดที่เหมาะสมเพื่อแนะแนวปฏิบตั ิใหม่ ครู มกั สร้างแนวคิดที่ผิด ๆ บ่อย ๆ ซึ่ งนาไปสู่ การ
แสดงออกที่ไม่เหมาะสมเกี่ยวกับกลยุทธ์ได้ ประการที่สอง เมื่อครู เป็ นทั้งผูส้ อนและผูป้ ฏิบตั ิดว้ ย ความ
เข้าใจเกี่ ยวกับแนวคิดของครุ จึงเหมาะสมมากขึ้นและประการที่สาม พบว่า ครู บางคนมีความเข้าใจ
เกี่ยวกับแนวคิดเกิดขึ้นก่ อนการปฏิบตั ิการสอนที่ เหมาะสม ส่ วนครู คนอื่น ๆ แสดงให้เห็นกลยุทธ์ที่
เหมาะสมซึ่งบ่องบอกว่าเข้าใจในแนวคิดแล้ว
Kho (2001) ได้ศึ ก ษาวิจ ัย เรื่ อ งการประเมิ น ผลโครงการภาวะผูน้ าระดับ โลกของประเทศ
สหรัฐอเมริ กาเพื่อประกอบการพิจารณาการลงทุนสร้างเทคนิ คการพัฒนาภาวะผูน้ าไปสู่การสร้างภาวะ
ผูน้ าที่ มี ค วามสามารถในเชิ ง แข่ งขันระดับ โลก การวิจยั ครั้ง นี้ เป็ นการศึ กษากรณี โ ครงการพัฒ นา
ผูบ้ ริ หารและผูน้ าของ GAP (บริ ษทั ขายปลีกข้ามชาติ) โดยมี กิจกรรมการพัฒนา คือการมอบหมายให้
ศึกษาดูงานต่างประเทศเป็ นระยะเวลา 6 เดือน เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ดา้ นธุรกิจและนวัตกรรม
พบว่า การมอบหมายให้ศึกษาดู งานต่างประเทศเป็ นวิธีที่ดีที่สุดในการพัฒนาภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หาร
นอกจากเป็ นการพัฒนาศักยภาพแล้วยังได้เรี ยนรู ้วฒั นธรรม การปรับตัวความเชื่อ มัน่ ในตนเอง ความ
อดทน ความใฝ่ รู ้ ความคิดในเชิงบริ บทโลก การเข้าใจในเชิ งลึ ก ถึงการแลกเปลี่ ยนประสบการณ์ ใน
การศึกษาดู งานต่างประเทศ โดยมุ่ งจุดเน้นของความเข้าใจและการประเมิ น กระบวนการตั้งแต่การ
คัดเลือกคนเข้าอบรม การสร้างทีมงาน การมอบหมาย การศึกษาดูงานต่างประเทศ การพัฒนาภาวะผูน้ า
เชิงระบบและครอบคลุมพัฒนาอย่างมีกลยุทธ์ในมุมมองขององค์กรในระยะยาว
33

Kaplan & Owings (2002) ได้ทาการวิจยั พบว่า ผูบ้ ริ หารมีบทบาทสาคัญยิง่ ต่อครู และคุณภาพ
การสอนของครู ความสัมพันธ์ระหว่างครู กับผูบ้ ริ หารมี ส่วนเกี่ ยวเนื่ อ งอย่างมากต่อความสาเร็ จของ
นัก เรี ย น การเยี่ย มชั้น เรี ย นอย่า งสม่ า เสมอ อย่า งน้อ ยครั้ ง คะ 10 นาที เพื่อ สังเกตการสอนและให้
คาแนะนาแก่ ครู จะทาให้ครู มี แรงเสริ มทางบวกในสิ่ งที่ตนได้รับการนิ เทศ นอกจากนี้ ผูบ้ ริ หารต้อ ง
ดาเนินการทุกทางที่จะเป็ นไปได้ การบารุ งรักษาครู ที่ดี มีคุณภาพสูง เพือ่ ให้มีคุณภาพในการสอนเพิม่ ขึ้น
เรื่ อย ๆ และเหนือสิ่งอื่นใดผูบ้ ริ หารที่มีความเข้าใจในการเรี ยนการสอน จะมีบทบาทสาคัญในการพัฒนา
ประสิทธิภาพการสอนของครู
Crawford. (2004) ได้ศึกษาวิจยั เรื่ องภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนมัธยมศึกษาการฝึ กปฏิบตั ิ
และความเชื่อในองค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ เพือ่ สารวจการฝึ กปฏิบตั ิและความเชื่อด้านภาวะผูน้ าที่ผบู ้ ริ หาร
โรงเรี ย นมัธ ยมศึ ก ษาใช้ เพื่ อ สร้ า งโรงเรี ย นให้ เ ป็ นสั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู ้ (prosfessional learning
organization) ตามกรอบพฤติกรรมการบริ หารและความเชื่อของคูซส์และโพเนอร์ (Kouzes & Posner.
1993) การศึกษาสร้างกอบแนวคิดวัฒนธรรมสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้พ้ืนฐานด้านภาวะผูน้ า 5 ประการ
ได้แก่การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมการใช้แบบจาลองการทางานการเพิม่ อานาจ กระบวนการท้าทาย การกระ
ต้นการตัดสิ นใจ การวิจยั พบว่า ผูบ้ ริ หารมีความเชื่อในหลักการฝึ กปฏิบตั ิ 5 ข้อ ซึ่ งฝึ กภาวะผูน้ าทาให้
เกิ ดการพัฒนาและความยัง่ ยืน ขององค์ก รแห่ งการเรี ย นรู ้น้ ัน การใช้ขอ้ มู ล แข็ง (hard data) นาไปสู่
กระบวนการเปลี่ยนแปลง ความต้องการทีมภาวะผูน้ าของโรงเรี ยนสนับสนุนให้เกิดการปฏิรูปครู และ
วิสัยทัศน์ร่วมเป็ นจุดรวมของการเปลี่ ยนแปลงการเผชิญหน้ากับปั ญหาและอุปสรรค ได้แก่ การขาด
แคลนเวลา ขนาดของ การควบคุม และความสามารถด้านสติปัญญาไม่เป็ นไปตามกรอบแนวคิดของ
องค์กรแห่งการเรี ยนรู ้
Chien (2004) ได้ศึก ษาวิจ ัยเรื่ อ ง ปั จ จัย ที่ส่ ง ผลให้โ รงเรี ย นประถมศึก ษาในชุ ม ชนประสบ
ความสาเร็จ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ การศึกษาโรงเรี ยนในชุมชนเมืองส่วนใหญ่ในประเทศสหรัฐอเมริ กา
มักพบว่า นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนอยูใ่ นระดับกลาง แต่อย่างไรก็ตามมีบางโรงเรี ยน
ที่ประสบความสาเร็ จ ในการทาให้ผลสัมฤทธิ์ ในการเรี ยนของเด็กอยูใ่ นระดับดี งานวิจยั ส่ วนใหญ่ที่
ศึกษาในด้านนี้ พบว่า มีหลายปั จจัยที่มีส่วนทาให้โรงเรี ยนประสบความสาเร็ จ แต่ยงั ไม่มีการศึกษาลึก
ซึ่ งลงไปในด้านต่อไปนี้ การจัดทาโครงการต่าง ๆ ในโรงเรี ยน ผลการวิจยั พบว่า ผูม้ ีส่วนได้เสี ยของ
โรงเรี ยน มีความคาดหวังสู งที่จะให้นักเรี ยนมี ผลสัมฤทธิ์ ในการเรี ยนอยูใ่ นระดับดี รวมถึ งเป็ นความ
รับผิดชอบของทุกคนในชุมชน ที่จะต้องส่ งเสริ มด้วยการเรี ยนการสอนของโรงเรี ยน ให้มีประสิทธิภาพ
นอกจากนี้ ผูท้ ี่มีส่วนได้เสี ย ยังสนับสนุ นให้โรงเรี ยนจัดทาโครงการสอนภาษา สาหรับนักเรี ยน เพราะ
34

ต้อ งการให้นักเรี ย นมี ค วามสามรถ ในด้า นภาษามากกว่าหนึ่ งภาษา นอกจากนี้ ผูม้ ี ส่ว นได้เ สี ย ของ
โรงเรี ยนยังเข้ามามีส่วนร่ วม ในด้านต่าง ๆ เพือ่ ให้โรงเรี ยนทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การเลือก
จ้างครู เป็ นต้น งานวิจยั นี้ ยงั ได้คน้ พบอี กว่า ถึ งแม้โรงเรี ยนจะมีขนาดใหญ่ ประกอบขึ้นด้วยครู และ
นักเรี ยนจานวนมาก แต่ทุกคนในโรงเรี ยนต่างก็มีความสามัคคีและทางานร่ วมกันได้
Sharman (2005) ได้ศึ ก ษาวิจ ัย เรื่ อ ง ภาวะผูน้ าและองค์ก รแห่ ง การเรี ย นรู ้ เ ป็ นการส ารวจ
ธรรมชาติและคุณลักษณะขององค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ที่ส่งผลในการสร้างสรรค์ประสิ ทธิผลขององค์กร
โดยการให้นิยามความหมายขององค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ การศึกษาวรรณกรรมร่ วมสมัยและการสารวจ
การเปลี่ยนแปลงด้านภาวะผูน้ าขององค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ ผลการศึกษา พบว่า มีความแตกต่างอย่างมี
นัยสาคัญจากภาวะผูน้ าแบบดั้งเดิมในประเด็นความเป็ นครู และผูฝ้ ึ กสอนและความเป็ นศูนย์กลางของ
ผูน้ า สิ่ งที่เป็ นจุดเด่นเฉพาะ คือ ตามต้องการแบบแผนความคิดใหม่สาหรับภาวะผูน้ าภายใต้องค์กรแห่ ง
การเรี ยนรู ้ การสารวจคาจากัดความของผูน้ าแบบดั้งเดิม พบว่าปั จจัยที่ช่วยเกื้อหนุนให้เกิดองค์กรแห่ ง
การเรี ยนรู ้ สามารถค้นหาได้เหมือนกับขั้นตอนซึ่งใช้เพือ่ สร้างองค์กรแห่งการเรี ยนรู ้
Coleman (2008) ได้ศึกษาวิจยั เรื่ อ งบทบาทผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนเกี่ ยวกับการจัดการความรู ้และ
กระบวนการปรับปรุ งโรงเรี ยน ความสามรถในการสร้างองค์กรมีความสาคัญต่อผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนที่อยู่
ในความท้าทายของการปรับปรุ งโรงเรี ยน เป้ าหมายของการปรับปรุ ง คือ การปรับปรุ งการเรี ยนการ
สอนและเพิ่มผลสัมฤทธิ์ของนักเรี ยน การใช้ประโยชน์จากข้อมูลและความรู ้ที่ใช้ร่วมกันผ่านการจัดการ
ความรู ้และกลายเป็ นเครื่ อ งมือ ในการจัดการประสิ ทธิภาพการทางาน ผลการศึกษา พบว่า ผูบ้ ริ หาร
โรงเรี ยนที่ได้รับการพัฒนาวิชาชีพที่เหมาะสมและทัว่ ถึง ในการจัดการความรู ้และกลยุทธ์จะตระหนัก
ถึ ง การเปลี่ ย นแปลงที่ ลึ ก ซึ้ งมี ค วามสามารถที่ ดี ที่ สุ ด ในการปรั บ ปรุ ง ข้อ มู ล โรงเรี ย น การปฏิ รู ป
กระบวนการ และผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนที่ใช้กลยุทธ์การจัดการความรู ้ในการตัดสิ นใจ ทาให้ผลสัมฤทธิ์ของ
นักเรี ยนเพิม่ ขึ้น
Ejimofor (2008) การวิจ ัยครั้ง นี้ ท าการศึก ษาความสัม พัน ธ์ร ะหว่า งทัศนคติ ของครู ใ นเรื่ อ ง
เกี่ยวกับทักษะด้านภาวะผูน้ าแบบเปลี่ยนแปลงของอาจารย์ใหญ่ และความพึงพอใจในการทางานของครู
รวมทั้งทาการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยด้านคุณลักษณะพื้นฐานของอาจารย์ใหญ่ และทัศนคติ
ของพวกเขาในเรื่ อ งเกี่ ย วกับระดับ ความสามารถของพวกเขาในการแสดงลักษณะภาวะผูน้ าแบบ
เปลี่ยนแปลงด้วย กลุ่มตัวอย่างของผูเ้ ข้าร่ วมการวิจยั ในครั้งนี้ ครู จากโรงเรี ยนมัธยมศึกษา 518 คน และ
อาจารย์ใหญ่ 48 คน จากเขตพื้นที่ขนาดใหญ่ 2 แห่ง ของ local government areas ในภาคตะวันออกเฉียง
ใต้ในประเทศไนจีเรี ย วิธีการที่ใช้ในการวิเคราะห์ ขอ้ มู ล คือ การวิเคราะห์หาค่าความถดถอยเชิงเส้น
35

แบบหลายทาง ผลการวิจยั พบว่า ทักษะด้านภาวะผูน้ าแบบเปลี่ยนแปลงของอาจารย์ใหญ่มีผลกระทบ


อย่า งมี นัย สาคัญ ต่อ ระดับความพึงพอใจในการทางานของครู ดัง นั้น จึ งมี ก ารศึก ษาความสัม พัน ธ์
ระหว่างตัวแปรด้านคุณลักษณะพื้นฐานของครู กับความพึงพอใจในการทางานด้วยผลการวิจยั พบว่า
อาจารย์ใหญ่ที่ปฏิบตั ิงานอยูใ่ นโรงเรี ยนเดิมด้วยจานวนปี ที่มากกว่า สามารถรับรู ้ถึงลักษณะภาวะผูน้ า
แบบเปลี่ยนแปลงได้มากกว่าในขณะที่พบว่ากลุ่มของอาจารย์ใหญ่ที่ปฏิบตั ิงานอยูใ่ นโรงเรี ยนเดิมด้วย
จานวนปี ที่มากกว่า สามารถรับรู ้ถึงลักษณะภาวะผูน้ าแบบเปลี่ยนแปลงได้มากกว่า ในขณะที่พบว่ากลุ่ม
ของอาจารย์ใหญ่ที่ปฏิบตั ิงานอยูใ่ นโรงเรี ยนเดิมด้วยจานวนน้อยกว่า กับไม่รู้ถึงลักษณะภาวะผูน้ าแบบ
เปลี่ยนแปลงได้ จึงกล่าวว่า จานวนปี ในการมีประสบการณ์ทางด้านวิชาชีพของอาจารย์และปั จจัยทาง
เพศยังไม่นับว่าเป็ นตัวแปรที่มีนัยสาคัญ ในทัศนคติของพวกเขาในเรื่ องเกี่ยวกับความสามารถของพวก
เขาในการแสดงลักษณะภาวะผูน้ าแบบเปลี่ยนแปลง ข้อเสนอแนะจากการวิจยั คือ กระทรวงศึกษาธิการ
และคณะกรรมการการศึกษาควรประกาศจัดตั้ง และส่งเสริ มการใช้โปรแกรมการฝึ กอบรมซึ่งจะช่วยใน
การส่ งเสริ มการพัฒนาทักษะด้านภาวะผูน้ าแบบเปลี่ยนแปลงของอาจารย์ใหญ่ รู ปแบบโปรแกรมการ
ฝึ กอบรมที่น่า จะมี ป ระโยชน์ในการส่ งเสริ มการพัฒนาทักษะด้านภาวะผูน้ าแบบเปลี่ ยนแปลงของ
อาจารย์ใหญ่ เช่น การสัมมนา การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ และการฝึ กทักษะด้านการบริ หารงานโรงเรี ยน
ที่ทนั สมัยนอกจากนี้ มีขอ้ เสนอแนะว่า อาจารย์ใหญ่โรงเรี ยนมัธยมศึกษาควรเข้าใจคุณลักษณะพื้นฐานที่
จะส่งเสริ มด้านระดับสติปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจ ความรู ้และความก้าวหน้าของครู ให้
เพิ่มขึ้น และความสามารถพัฒนาทักษะที่จะส่ งเสริ มการสร้างและดารงรักษามิตรภาพ ระหว่างเพื่อ น
ร่ วมงานของตนเองได้อีก ในส่ วนท้ายผูว้ ิจยั ยังทาการเสนอแนะเพิ่มเติมว่า กระทรวงศึกษาธิ การและ
คณะกรรมการการศึกษาควรทาการประเมินปั จจัยด้านลักษณะพื้นฐานของอาจารย์ในโรงเรี ยนร่ วมกับ
การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของบุคลากรในโรงเรี ยนไปอย่างต่อเนื่อง
จากการศึกษาค้นคว้างานวิจยั ทั้งในประเทศและต่างประเทศ สรุ ปได้วา่ การบริ หารสถานศึกษา
ในศตวรรษที่ 21 ผูบ้ ริ หารสถานศึ กษามี ความสาคัญ อย่างยิ่งในการพัฒนาสถานศึ กษา ต้อ งเป็ นผูม้ ี
วิสัยทัศน์ใหม่ในการบริ หารจัดการบูรณาการ เน้นการใช้ทกั ษะชีวิตและการทางาน คือ ความยืดหยุ่น
และการปรับตัว การริ เริ่ มสร้างสรรค์และเป็ นตัวของตัวเอง ทักษะด้านสังคมและทักษะข้ามวัฒนธรรม
การเป็ นผูส้ ร้างหรื อผลิ ตและรับผิดชอบเชื่ อ ถื อ ได้ และภาวะผูน้ าและความรับผิดชอบ มาใช้ในการ
แก้ปัญหาและดาเนิ นการพัฒนาที่ผสมผสานชัดเจนทั้งเชิงนโยบายและภาคปฏิบตั ิ มีพฤติกรรมบริ หาร
เชิงรุ ก เน้นผลงานหรื อผลสาเร็ จตามเป้ าหมายและคุณภาพที่ได้วางไว้ รู ้จกั ประสานงานและดึงศักยภาพ
บุคลากรทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องให้มีส่วนร่ วม สถานศึกษาคือหน่วยงานที่จดั การศึกษาให้กบั ผูเ้ รี ยน ผูบ้ ริ หาร
36

สถานศึกษาเป็ นผูม้ ี บทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อ ความสาเร็ จของการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาให้มีความ


พร้อมที่จะอยูใ่ นสังคมแห่งศตวรรษที่ 21 ที่เป็ นสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
เป็ นการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ กล่าวคือ แนวการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นให้ผูเ้ รี ยน
สร้ า งความรู ้ ใ หม่ แ ละสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ใ หม่ โ ดยการใช้ก ระบวนการทางปั ญ ญา (กระบวนการคิ ด )
กระบวนการทางสังคม (กระบวนการกลุ่ ม) และให้ผูเ้ รี ยนมี ปฏิสัมพันธ์และมี ส่วนร่ วมในการเรี ยน
สามารถนาความรู ้ไปประยุกต์ใช้ได้โดยผูส้ อน มีบทบาทเป็ นผูอ้ านวยความสะดวก จัดประสบการณ์การ
เรี ยนรู ้ให้ผเู ้ รี ยน
37

บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรวิจยั

การค้นคว้าอิสระ เรื่ อง ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21โรงเรี ยนทวีธา


ภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้ดาเนินการวิจยั ตามลาดับ ดังต่อไปนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล

ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ ำง
ประชำกร
ประชากรที่ ใช้ในการวิจยั ได้แก่ ครู ใ นโรงเรี ย นทวีธ าภิ เ ศก สัง กัด ส านัก งานเขตพื้น ที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ปี การศึกษา 2561 จานวน 103 คน
กลุ่มตัวอย่ ำง
กลุ่ มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ ครู ในโรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ปี การศึกษา 2561 จานวน 80 คน ได้มาโดยการใช้ตารางสุ่มของเครจซี่
และมอร์แกน (Krejcie & Morgan,1970) แล้วสุ่มแบบชั้นภูมิ และจับสลาก

เครื่ องมือที่ใช้ ในกำรวิจัย


เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นแบบสอบถามความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของ
ผูบ้ ริ หารสถานศึก ษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ย นทวีธ าภิ เศก สังกัดส านัก งานเขตพื้นที่ การศึ กษา
มัธยมศึกษา เขต 1 ซึ่งแบ่งเป็ น 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 สอบถามข้อ มู ล ทั่ว ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม เป็ นแบบตรวจสอบรายการ
(Checklist)
ตอนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ
ที่ 21 ใน 6 ด้าน คือ 1) ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน 2) ด้านริ เริ่ มการจัดกิ จกรรมการ
เรี ยนรู ้ที่มีประสิทธิผล 3) ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT 4) ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชน
38

การเรี ยนรู ้ 5) ด้านสร้างเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็จ และ 6) ด้านพัฒนาคนอื่นให้
เป็ นผูน้ า ลักษณะแบบสอบถาม เป็ นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ

ขั้นตอนในกำรสร้ ำงเครื่ องมือ


ขั้นตอนในการสร้างเครื่ องมือ ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1. ศึก ษาเอกสาร ต ารา แนวคิด ทฤษฎี แ ละงานวิจ ัย ที่ เ กี่ ยวกับ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 เพือ่ ใช้เป็ นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม
2. ร่ างข้อ คาถามที่ เกี่ ยวกับ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห ารในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ใน 6 ด้าน ดังนี้
2.1 ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน
2.2 ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิทธิผล
2.3 ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT
2.4 ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้
2.5 ด้านสร้างเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็จ
2.6 ด้านพัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า
3. นาร่ างข้อคาถามที่สร้างขึ้นไปเสนออาจารย์ที่ปรึ กษา เพื่อพิจารณาตรวจสอบข้อบกพร่ อง
ต่าง ๆ ให้ครอบคลุมประเด็นของคาถามตามนิยามศัพท์เฉพาะ พร้อมทั้งตรวจภาษาที่ใช้
4. นาร่ างข้อ คาถามที่ผ่านการปรับ ปรุ งแก้ไ ขแล้วไปให้ผูเ้ ชี่ ยวชาญ จานวน 3 ท่าน เพื่อ
ตรวจสอบคุ ณ ภาพของเครื่ อ งมื อ ด้า นความเที่ ย งตรงตามเนื้ อ หา (Content Validity) แล้ว น าไป
คานวณหาดัชนี ความสอดคล้องของข้อ คาถาม (Item Objective Congruence : IOC) ซึ่ งพิจารณาค่า
IOC ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป พบว่าได้ค่าดัชนีความสอดคล้องรายข้ออยูร่ ะหว่าง 0.67 – 1.00
5. แบบสอบถามที่ ป รั บ ปรุ ง แก้ไ ขแล้ ว ไปทดลองใช้ (Try Out) กั บ ครู ของโรงเรี ย น
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 คน เพื่อหาค่า
ความเชื่ อ มั่น (Reliability) ของแบบสอบถามด้ว ยวิธี ก ารของครอนบาค (Cronbach) โดยใช้ค่ า
สัมประสิทธิ์แอลฟา โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรู ปทางสถิติ ได้ค่าความเชื่อมัน่ ของแบบสอบถาม เท่ากับ
0.95
6. นาแบบสอบถามที่ปรับปรุ งแก้ไขสมบูรณ์ แล้วไปใช้เป็ นเครื่ องมือ สาหรับเก็บรวบรวม
ข้อมูลต่อไป
39

กำรเก็บรวบรวมข้ อมูล
การวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการเก็บรวบรวมโดยมีข้นั ตอน ดังต่อไปนี้
1. ขอหนั ง สื อ จากมหาวิท ยาลัย เกริ ก เพื่อ แจ้ง ขอความร่ ว มมื อ ในการเก็ บ ข้อ มู ล ไปยัง
ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน เพือ่ แจ้งขอเก็บข้อมูล
2. ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยแจกแบบสอบถามให้ครู ตอบ
3. รั บแบบสอบถามกลับคื นและตรวจสอบความสมบู รณ์ ของแบบสอบถาม ซึ่ งได้รั บ
กลับคืน จานวน 80 ฉบับ คิดเป็ นร้อยละ 100
4. นาแบบสอบถามมาตรวจให้คะแนน ตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั
ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และ
ประสบการณ์การทางาน ของผูต้ อบแบบสอบถาม ลักษณะแบบสอบถามเป็ นแบบตรวจสอบรายการ
(Checklist)
ตอนที่ 2 ข้อ มู ล เกี่ ย วกับคิ ดเห็ น ของครู ที่ มีต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึ กษาใน
ศตวรรษที่ 21 ใน 6 ด้าน ดังนี้
1) ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน
2) ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิทธิผล
3) ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT
4) ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้
5) ด้านสร้างเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็จ
6) ด้านพัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า
ลักษณะของแบบสอบถามเป็ นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยเรี ยงจากระดับมาก
ที่สุดไปหาน้อยที่สุด
เกณฑ์การให้คะแนนมีดงั นี้
5 หมายถึง เห็นด้วยมากที่สุด
4 หมายถึง เห็นด้วยมาก
3 หมายถึง เห็นด้วยปานกลาง
2 หมายถึง เห็นด้วยน้อย
1 หมายถึง เห็นด้วยน้อยที่สุด
40

กำรวิเครำะห์ ข้อมูล
ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังนี้
1. วิเคราะห์ขอ้ มูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา
และประสบการณ์ในตาแหน่งครู ของผูต้ อบแบบสอบถามโดยใช้ความถี่และค่าร้อยละ
2. วิเคราะห์ระดับ ความคิ ดเห็ น ของครู ที่มี ต่อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึก ษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ใน 6 ด้าน
คื อ 1) ด้า นปรั บ ปรุ ง ผลลัพ ธ์ ข องนั ก เรี ย นทุ ก คน 2) ด้า นริ เ ริ่ ม การจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ที่ มี
ประสิทธิผล 3) ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT 4) ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้
5) ด้านสร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็ จ และ 6) ด้านพัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า
โดยการหา ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยรวมและรายด้าน
3. นาผลที่ได้จากการวิเคราะห์ทางสถิติ แปลผล ดังนี้
ค่าเฉลี่ย 4.50- 5.00 แปลความหมายว่า มีความเห็นด้วย อยูใ่ นระดับมากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 3.50 - 4.49 แปลความหมายว่า มีความเห็นด้วย อยูใ่ นระดับมาก
ค่าเฉลี่ย 2.50 - 3.49 แปลความหมายว่า มีความเห็นด้วย อยูใ่ นระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.50 - 2.49 แปลความหมายว่า มีความเห็นด้วย อยูใ่ นระดับน้อย
ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.49 แปลความหมายว่า มีความเห็นด้วย อยูใ่ นระดับน้อยที่สุด
4. วิเคราะห์เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
ในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จาแนก
ตามเพศ และระดับการศึกษา วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยหาค่า t (t-test) จาแนกตามอายุ และประสบการณ์
ในตาแหน่งครู โดยหาค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
5. ตรวจสอบสมมติฐานของการวิจยั โดยวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนของความคิดเห็น
ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิ เ ศก สัง กัด
สานัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษามัธ ยมศึก ษา เขต 1 ตามความแตกต่ างกัน ในด้า น เพศ อายุ ระดับ
การศึกษา และประสบการณ์ในตาแหน่งครู วิเคราะห์แตกต่างกันที่ p < 0.05

สถิติที่ใช้ ในกำรวิเครำะห์ ข้อมูล


การวิเ คราะห์ ข ้อ มู ล ในการวิจ ัย ครั้ ง นี้ ผูว้ ิจ ัยได้ท าการวิเ คราะห์ ขอ้ มู ล โดยใช้โ ปรแกรม
สาเร็จรู ปโดยใช้สถิติดงั นี้
1. สถิติพน้ื ฐาน ได้แก่
1.1 ค่าความถี่
41

1.2 ค่าร้อยละ
1.3 ค่าเฉลี่ย
1.4 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2. สถิติหาคุณภาพของเครื่ องมือ ได้แก่
หาค่าความเชื่อมัน่ (Reliability) ใช้สูตรสัมประสิ ทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s
Alpha Coefficient)
3. ทดสอบสมมติฐานการวิจยั โดยใช้ค่าที (t-test) และ F - test
42

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

ผลการวิ เ คราะห์ ข้อ มู ล การศึ ก ษาภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในศตวรรษที่ 21


โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ผูศ้ ึกษาได้นาเสนอข้อมูล
ตามลาดับ ดังนี้
1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการรายงานผลการวิเคราะห์
2. ขั้นตอนการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
3. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

สั ญลักษณ์ ที่ใช้ ในการรายงานผลการวิเคราะห์


เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันในการสื่ อความหมาย ผูว้ ิจยั ได้กาหนดสัญลักษณ์ที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ขอ้ มูลไว้ ดังนี้
n แทน จานวนกลุ่มตัวอย่าง
X แทน ค่าเฉลี่ย
S.D. แทน ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
t แทน ค่าสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน t – test
F แทน ค่าสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน F – test
df แทน ขั้นของความเป็ นอิสระ (Degree of Freedom)
SS แทน ผลรวมของคะแนนแตกต่างยกกาลังสอง (Sum of Square)
MS แทน ค่าเฉลี่ยผลรวมของคะแนนความแตกต่างยกกาลังสอง (Mean Square)
P แทน ระดับนัยสาคัญทางสถิติ (Probability)
* แทน มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ขั้นตอนการเสนอผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ผูว้ ิจยั ได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลแบ่งออกเป็ น 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
43

ตอนที่ 2 ผลการวิ เ คราะห์ ร ะดับ ความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผู ้น าของผู ้บ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1
ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 จาแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในตาแหน่งครู

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 4.1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม

ข้ อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน ร้ อยละ


เพศ
ชาย 39 48.75
หญิง 41 51.25
รวม 80 100.00
อายุ
ไม่เกิน 35 ปี 14 17.50
36 – 45 ปี 43 53.75
มากกว่า 46 ปี ขึ้นไป 23 28.75
รวม 80 100.00
ระดับการศึกษา
ปริ ญญาตรี 51 63.75
ปริ ญญาโท 29 36.25
ปริ ญญาตรี เอก - -
รวม 80 100.00
44

ตารางที่ 4.1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม (ต่อ)

ข้ อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน ร้ อยละ


ประสบการณ์ ในตาแหน่ งครู
ไม่เกิน 10 ปี 30 37.50
11 – 15 ปี 31 38.75
16 ปี ขึ้นไป 19 23.75
รวม 80 100.00

จากตารางที่ 4.1 พบว่า ครู ที่ตอบแบบสอบถาม จานวนมากที่สุด เป็ นดังนี้ เป็ นเพศหญิง
คิดเป็ นร้อยละ 59.29 มีอายุ 36-45 ปี คิดเป็ นร้อยละ 53.75 มีการศึกษาระดับปริ ญญาตรี คิดเป็ นร้อย
ละ 63.75 และมีประสบการณ์ในตาแหน่งครู 11-15 ปี คิดเป็ นร้อยละ 38.75

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ ระดับความคิดเห็ นของครู ที่ มี ต่ อภาวะผู้ น าของผู้ บริ หารสถานศึ กษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรียนทวีธาภิเศก สั งกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1

ตารางที่ 4.2 ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่


21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความ
คิดเห็นของครู โดยรวมและรายด้าน

ภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 X S.D. แปลผล


ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน 3.86 0.34 มาก
ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิผล 3.89 0.34 มาก
ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT 3.99 0.40 มาก
ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ 3.98 0.35 มาก
ด้านสร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็ จ 4.05 0.47 มาก
ด้านพัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า 4.01 0.56 มาก
โดยรวม 3.96 0.29 มาก
45

จากตารางที่ 4.2 พบว่า ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธา


ภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความคิดเห็นของครู โดยรวมอยูใ่ น
ระดับมาก ( X = 3.96) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก เรี ยงลาดับค่าเฉลี่ยจาก
มากไปหาน้อ ย ดัง นี้ ด้า นที่ มี ค่าเฉลี่ ยสู งสุ ด คื อ ด้า นสร้ า งเครื อ ข่ า ยเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ แ ละ
ความสาเร็ จ ( X = 4.05) รองลงมาคือ ด้านพัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า ( X = 4.01) ส่ วนด้านที่มีค่าเฉลี่ย
ต่าสุ ด คือ ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน ( X = 3.86)

ตารางที่ 4.3 ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่


21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ตามความคิดเห็นของครู ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคนโดยรวมและรายข้อ

ด้ านปรับปรุงผลลัพธ์ ของนักเรียนทุกคน X S.D. ระดับ


1. มีการจัดทาแผนงาน/โครงการเพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ใน 3.75 0.58 มาก
ศตวรรษที่ 21
2. มีการประชุมครู เพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 3.70 0.68 มาก
3. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการด้านการปรับปรุ งผลสัมฤทธิ์ 3.64 0.60 มาก
ทางการเรี ยน และมอบหมายงานอย่างชัดเจน
4. มีการจัดทาแผนพัฒนาครู เพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษ 4.00 0.60 มาก
ที่ 21
5. มีการสารวจสภาพปัญหาการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 3.91 0.66 มาก
21 เพื่อนาข้อมูลมาพิจารณาจัดอบรมครู
6. มีการวิเคราะห์จุดแข็งอ่อน โอกาส และอุปสรรคเพื่อเตรี ยม 4.06 0.66 มาก
ความพร้อมในการดาเนินการพัฒนาผูเ้ รี ยนในศตวรรษที่
21
7. มีการจัดสรรงบประมาณจัดทาโครงการพัฒนาครู เพื่อการ 3.96 0.68 มาก
จัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 อย่างเพียงพอ
โดยรวม 3.86 0.34 มาก
46

จากตารางที่ 4.3 พบว่า ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึ กษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยน


ทวี ธ าภิ เ ศก สั ง กัด ส านัก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามัธ ยมศึ ก ษา เขต 1 ตามความคิ ด เห็ น ของครู
ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.86) เมื่อพิจารณารายข้อ
พบว่า ทุกข้ออยู่ในระดับมาก เรี ยงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสู งสุ ด คือ
มีการวิเคราะห์จุดแข็งอ่อน โอกาส และอุปสรรคเพื่อเตรี ยมความพร้อมในการดาเนิ นการพัฒนา
ผูเ้ รี ยนในศตวรรษที่ 21 ( X = 4.06) รองลงมาคือ มีการจัดทาแผนพัฒนาครู เพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ใน
ศตวรรษที่ 21 ( X = 4.00) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุ ด คือ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการด้านการปรับปรุ ง
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน และมอบหมายงานอย่างชัดเจน ( X = 3.64)

ตารางที่ 4.4 ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่


21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความ
คิดเห็นของครู ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิผล โดยรวมและรายข้อ

ด้ านริเริ่มการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิ ทธิผล X S.D. ระดับ


1. จัดหาหลักสู ตรการพัฒนาครู เพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ใน 3.79 0.72 มาก
ศตวรรษที่ 21
2. มีการจัดกิจกรรมพัฒนาครู เพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ใน 3.58 0.65 มาก
ศตวรรษที่ 21อย่างเหมาะสม
3. มีการเชิญวิทยากรจากภายนอกหรื อหน่วยงานทาง 3.89 0.76 มาก
การศึกษา มาให้ความรู ้
4. มีการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการอบรมพัฒนา 3.81 0.75 มาก
ครู อย่างเหมาะสม
5. มีครู เข้ารับการอบรมพัฒนาตามเป้าหมายที่วางไว้ 3.98 0.64 มาก
6. ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนส่ งเสริ มสนับสนุนการดาเนินงานและ 3.86 0.67 มาก
อานวยความสะดวกต่าง ๆ
7. ครู และบุคลากรทุกฝ่ ายให้ความร่ วมมือในการดาเนินการ 4.10 0.65 มาก
8. กาหนดเป้าหมายและระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมพัฒนาครู 4.11 0.73 มาก
อย่างเหมาะสม
โดยรวม 3.89 0.34 มาก
47

จากตารางที่ 4.4 พบว่า ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธา


ภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความคิดเห็นของครู ด้านริ เริ่ มการ
จัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ที่มีประสิ ทธิ ผล โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.89) เมื่อพิจารณารายข้อ
พบว่า ทุกข้ออยู่ในระดับมาก เรี ยงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสู งสุ ด คือ
กาหนดเป้าหมายและระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมพัฒนาครู อย่างเหมาะสม ( X = 4.11) รองลงมาคือ
ครู และบุคลากรทุกฝ่ ายให้ความร่ วมมือในการดาเนิ นการ ( X = 4.10) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุ ด คือ
มีการจัดกิจกรรมพัฒนาครู เพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21อย่างเหมาะสม ( X = 3.58)

ตารางที่ 4.5 ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่


21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความ
คิดเห็นของครู ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT โดยรวมและรายข้อ

ด้ านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT X S.D. ระดับ


1. มีการสารวจสภาพปัญหาและระบบ ICT ของโรงเรี ยน 3.94 0.64 มาก
2. วางแผนพัฒนาปรับปรุ งการใช้ ICT ในโรงเรี ยนให้มี 4.08 0.63 มาก
ประสิ ทธิภาพ
3. แต่งตั้งคณะทางานด้านปรับปรุ งและพัฒนาระบบ ICT ของ 3.99 0.75 มาก
โรงเรี ยนและมอบหมายผูร้ ับผิดชอบ
4. จัดสรรงบประมาณดาเนินการพัฒนาด้าน ICT 4.15 0.64 มาก
5. ประชุมชี้แจงครู ดา้ น การใช้ ICT เพื่อพัฒนาทักษะการ 3.93 0.61 มาก
จัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
6. ส่ งเสริ มสนับสนุนให้ครู พฒั นาหรื อเข้ารับการอบรมการใช้ 4.00 0.60 มาก
ICT
7. มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาระบบ ICT 4.05 0.69 มาก
8. มีการนาข้อมูลการติดตามประเมินการพัฒนาระบบ ICT 3.78 0.80 มาก
มาใช้ปรับปรุ งการดาเนินงานเพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ใน
ศตวรรษที่ 21
โดยรวม 3.99 0.40 มาก
48

จากตารางที่ 4.5 พบว่า ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธา


ภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความคิดเห็นของครู ด้านสารวจและ
สนับสนุนการใช้ ICT โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.99) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้ออยูใ่ น
ระดับมาก เรี ยงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสู งสุ ด คือ จัดสรรงบประมาณ
ดาเนินการพัฒนาด้าน ICT ( X = 4.15) รองลงมาคือ วางแผนพัฒนาปรับปรุ งการใช้ ICT ในโรงเรี ยน
ให้มีประสิ ทธิ ภาพ ( X = 4.08) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุ ด คือ มีการนาข้อมูลการติดตามประเมินการ
พัฒนาระบบ ICT มาใช้ปรับปรุ งการดาเนินงานเพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 ( X = 3.78)

ตารางที่ 4.6 ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่


21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความ
คิดเห็นของครู ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ โดยรวมและรายข้อ

ด้ านพัฒนาโรงเรียนให้ เป็ นชุมชนการเรียนรู้ X S.D. ระดับ


1. มีการสารวจสภาพปัญหาชุมชน 3.88 0.68 มาก
2. มีการศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาชุมชนเพื่อการวางแผน 4.25 0.72 มาก
พัฒนา
3. จัดทาแผนพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ 4.08 0.57 มาก
4. การประสานความร่ วมมือจากวิทยากรและหน่วยงาน 3.78 0.62 มาก
ทางการศึกษาเพื่อหาแนวทางการพัฒนาครู อย่างเหมาะสม
5. จัดอบรมพัฒนาครู เพื่อด้านการจัดการเรี ยนการสอนให้มี 4.13 0.62 มาก
ประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น
6. ประสานความร่ วมมือของครู และนักเรี ยนในด้านการ 4.10 0.79 มาก
พัฒนาชุมชน
7. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์เพื่อปรับปรุ งแก้ไขการ 3.64 0.83 มาก
ดาเนินการพัฒนาครู ในครั้งต่อไป
โดยรวม 3.98 0.35 มาก

จากตารางที่ 4.6 พบว่า ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธา


ภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความคิดเห็นของครู ด้านพัฒนา
49

โรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.98) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า


ทุ ก ข้อ อยู่ ใ นระดับ มาก เรี ย งล าดับ ค่ า เฉลี่ ย จากมากไปหาน้อ ย ดัง นี้ ข้อ ที่ มี ค่ าเฉลี่ ยสู งสุ ด คื อ
มีการศึกษาวิเคราะห์สภาพปั ญหาชุมชนเพื่อการวางแผนพัฒนา ( X = 4.25) รองลงมาคือ จัดอบรม
พัฒนาครู เพื่อด้านการจัดการเรี ยนการสอนให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิ่งขึ้น ( X = 4.13) ส่ วนข้อที่มี
ค่าเฉลี่ยต่าสุ ด คือ มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์เพื่อปรับปรุ งแก้ไขการดาเนินการพัฒนาครู ใน
ครั้งต่อไป ( X = 3.64)

ตารางที่ 4.7 ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่


21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความ
คิดเห็นของครู ด้านสร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็ จ โดยรวมและ
รายข้อ

ด้ านสร้ างเครื อข่ ายเพื่อส่ งเสริมการเรียนรู้และความสาเร็จ X S.D. ระดับ


1. ประชุมคณะครู และผูเ้ กี่ยวข้องเพื่อวางแผนสร้างเครื อข่าย 4.15 0.68 มาก
ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้
2. จัดทาแผนพัฒนาเครื อข่ายเพือ่ ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ 3.85 0.53 มาก
3. สามารถใช้เครื อข่ายกลุ่มโรงเรี ยนส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ 4.19 0.70 มาก
4. ปรับปรุ งพัฒนาเครื อข่ายส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ให้มี 4.13 0.62 มาก
ประสิ ทธิภาพ
5. ผูบ้ ริ หารสามารถทาให้โรงเรี ยนเป็ นเครื อข่ายส่ งเสริ มการ 3.93 0.65 มาก
เรี ยนรู ้ให้แก่โรงเรี ยนในกลุม่
6. นักเรี ยนใช้เครื อข่ายการเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ 4.04 0.60 มาก
ทางการเรี ยน
โดยรวม 4.05 0.47 มาก

จากตารางที่ 4.7 พบว่า ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธา


ภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความคิดเห็ นของครู ด้านสร้ าง
เครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็ จ โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.05) เมื่อพิจารณา
รายข้อ พบว่า ทุกข้ออยูใ่ นระดับมาก เรี ยงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสู งสุ ด
50

คือ สามารถใช้เครื อข่ายกลุ่มโรงเรี ยนส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ ( X = 4.19) รองลงมาคือ ประชุมคณะครู
และผูเ้ กี่ยวข้องเพื่อวางแผนสร้างเครื อข่ายส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ ( X = 4.15) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุ ด คือ
จัดทาแผนพัฒนาเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ ( X = 3.85)

ตารางที่ 4.8 ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่


21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความ
คิดเห็นของครู พัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า โดยรวมและรายข้อ

พัฒนาคนอื่นให้ เป็ นผู้นา X S.D. ระดับ


1. มีการพัฒนาครู ให้มีภาวะผูน้ าทางวิชาการ 4.00 0.69 มาก
2. ส่ งเสริ มให้ครู ในโรงเรี ยนคิดและตัดสิ นใจทางานในหน้าที่ 3.89 0.69 มาก
ได้อย่างคล่องตัว
3. ครู สามารถจัดตั้งทีมงานเลือกผูน้ าและเป็ นผูต้ ามได้อย่าง 4.10 0.65 มาก
เหมาะสม
4. พัฒนาครู ให้สามารถเป็ นผูน้ าได้อย่างเหมาะสม 4.05 0.65 มาก
โดยรวม 4.01 0.56 มาก

จากตารางที่ 4.8 พบว่า ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธา


ภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความคิดเห็นของครู พัฒนาคนอื่น
ให้เป็ นผูน้ า โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.01) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้ออยูใ่ นระดับมาก
เรี ยงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสู งสุ ด คือ ครู สามารถจัดตั้งทีมงานเลือก
ผูน้ าและเป็ นผูต้ ามได้อย่างเหมาะสม ( X = 4.10) รองลงมาคือ พัฒนาครู ให้สามารถเป็ นผูน้ าได้อย่าง
เหมาะสม ( X = 4.05) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุ ด คือ ส่ งเสริ มให้ครู ในโรงเรี ยนคิดและตัดสิ นใจทางาน
ในหน้าที่ได้อย่างคล่องตัว ( X = 3.89)
51

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ เปรียบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษาใน


ศตวรรษที่ 21 โรงเรียนทวีธาภิเศก สั งกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จาแนกตาม
เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ ในตาแหน่ งครู

ตารางที่ 4.9 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่


21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวม
จาแนกตามเพศ

เพศ n X S.D. t P
ชาย 39 3.90 0.30 -1.80 0.33
หญิง 41 4.02 0.26
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.9 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผู ้น าของผู ้บ ริ หาร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยรวม จาแนกตามเพศ พบว่า ครู ที่มีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยรวมไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05
52

ตารางที่ 4.10 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ราย
ด้าน จาแนกตามเพศ

ภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษา
เพศ n X S.D. t P
ในศตวรรษที่ 21
ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยน ชาย 39 3.82 0.31 -1.04 0.36
ทุกคน หญิง 41 3.90 0.37
ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ชาย 39 3.86 0.35 -0.78 0.87
ที่มีประสิ ทธิผล หญิง 41 3.92 0.32
ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ชาย 39 3.96 0.39 -0.71 0.78
ICT หญิง 41 4.02 0.40
ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชน ชาย 39 3.92 0.34 -1.53 0.56
การเรี ยนรู ้ หญิง 41 4.03 0.36
ด้านสร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการ ชาย 39 3.96 0.47 -1.66 0.85
เรี ยนรู ้และความสาเร็ จ หญิง 41 4.13 0.46
พัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า ชาย 39 3.91 0.55 -1.56 0.90
หญิง 41 4.10 0.56
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.10 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่มี ต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 รายด้าน จาแนกตามเพศ พบว่า ครู ที่มีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 รายด้านทุกด้านไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05
53

ตารางที่ 4.11 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่


21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวม
จาแนกตามอายุ

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.15 0.07 0.88 0.42
ภายในกลุ่ม 77 6.38 0.08
รวม 79 6.52
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.11 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยรวม จาแนกตามอายุ พบว่า ครู ที่มีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยรวมไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05

ตารางที่ 4.12 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน จาแนกตามอายุ

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.04 0.02 0.16 0.85
ภายในกลุ่ม 77 9.02 0.12
รวม 79 9.06
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.12 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน จาแนกตามอายุ พบว่า ครู ที่มีอายุต่างกัน มีความ
คิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงาน
54

เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคนไม่แตกต่างกัน อย่างมี


นัยสาคัญที่ระดับ 0.05

ตารางที่ 4.13 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิผล จาแนกตามอายุ

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.05 0.03 0.22 0.80
ภายในกลุ่ม 77 8.82 0.11
รวม 79 8.87
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.13 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิ ผล จาแนกตามอายุ พบว่า ครู ที่มีอายุต่างกัน
มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิ ผล
ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05

ตารางที่ 4.14 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT จาแนกตามอายุ

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.47 0.23 1.51 0.23
ภายในกลุ่ม 77 11.93 0.15
รวม 79 12.39
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
55

จากตารางที่ 4.14 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT จาแนกตามอายุ พบว่า ครู ที่มีอายุต่างกัน มีความคิดเห็น
ต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขต
พื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ด้านสารวจและสนับสนุ นการใช้ ICT ไม่แตกต่างกัน อย่างมี
นัยสาคัญที่ระดับ 0.05

ตารางที่ 4.15 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ จาแนกตามอายุ

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.47 0.23 1.95 0.15
ภายในกลุ่ม 77 9.26 0.12
รวม 79 9.73
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.15 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ จาแนกตามอายุ พบว่า ครู ที่มีอายุต่างกัน มีความ
คิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ ไม่แตกต่างกัน
อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05
56

ตารางที่ 4.16 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ด้านสร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็ จ จาแนกตามอายุ

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.59 0.29 1.34 0.27
ภายในกลุ่ม 77 16.85 0.22
รวม 79 17.44
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.16 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านสร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็ จ จาแนกตามอายุ พบว่า ครู ที่มีอายุ
ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ด้านสร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และ
ความสาเร็ จ ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05

ตารางที่ 4.17 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
พัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า จาแนกตามอายุ

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.89 0.45 1.44 0.24
ภายในกลุ่ม 77 23.79 0.31
รวม 79 24.68
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.17 การเปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หาร


สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 พัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า จาแนกตามอายุ พบว่า ครู ที่มีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ า
57

ของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา


มัธยมศึกษา เขต 1 พัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05

ตารางที่ 4.18 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่


21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1โดยรวม
จาแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา n X S.D. t P
ปริ ญญาตรี 51 3.95 0.30 -0.29 0.54
ปริ ญญาโท 29 3.97 0.28
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.18 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยรวม จาแนกตามระดับการศึกษา พบว่า ครู ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อ
ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05
58

ตารางที่ 4.19 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน จาแนกตามระดับการศึกษา

ภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับ
n X S.D. t P
ในศตวรรษที่ 21 การศึกษา
ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยน ปริ ญญาตรี 51 3.86 0.33 0.07 0.96
ทุกคน ปริ ญญาโท 29 3.86 0.35
ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ปริ ญญาตรี 51 3.85 0.36 -1.46 0.13
ที่มีประสิ ทธิผล ปริ ญญาโท 29 3.96 0.28
ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ปริ ญญาตรี 51 3.94 0.41 -1.40 0.55
ICT ปริ ญญาโท 29 4.07 0.37
ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชน ปริ ญญาตรี 51 3.99 0.35 0.40 0.63
การเรี ยนรู ้ ปริ ญญาโท 29 3.96 0.37
ด้านสร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการ ปริ ญญาตรี 51 4.06 0.45 0.41 0.47
เรี ยนรู ้และความสาเร็ จ ปริ ญญาโท 29 4.02 0.51
พัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า ปริ ญญาตรี 51 4.02 0.55 0.32 0.96
ปริ ญญาโท 29 3.98 0.58
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.19 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 รายด้าน จาแนกตามระดับการศึกษา พบว่า ครู ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อ
ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 รายด้านทุกด้านไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05
59

ตารางที่ 4.20 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
โดยรวม จาแนกตามประสบการณ์ในตาแหน่งครู

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.18 0.09 1.08 0.34
ภายในกลุ่ม 77 6.34 0.08
รวม 79 6.52
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.20 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยรวม จาแนกตามประสบการณ์ในตาแหน่งครู พบว่า ครู ที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีความ
คิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวม ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05

ตารางที่ 4.21 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน จาแนกตามประสบการณ์ในตาแหน่งครู

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.08 0.04 0.34 0.71
ภายในกลุ่ม 77 8.98 0.12
รวม 79 9.06
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.21 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน จาแนกตามประสบการณ์ในตาแหน่งครู พบว่า ครู ที่
มี ป ระสบการณ์ ต่า งกัน มี ค วามคิ ดเห็ น ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห ารสถานศึ กษาในศตวรรษที่ 21
60

โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของ


นักเรี ยนทุกคน ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05

ตารางที่ 4.22 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ด้าน
ริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิผล จาแนกตามประสบการณ์ใน
ตาแหน่งครู

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.05 0.03 0.23 0.80
ภายในกลุ่ม 77 8.82 0.11
รวม 79 8.87
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.22 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิ ผล จาแนกตามประสบการณ์ในตาแหน่งครู
พบว่า ครู ที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ
ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ด้านริ เริ่ มการจัด
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิผล ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05

ตารางที่ 4.23 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT จาแนกตามประสบการณ์ในตาแหน่งครู

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.43 0.21 1.37 0.26
ภายในกลุ่ม 77 11.97 0.16
รวม 79 12.39
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
61

จากตารางที่ 4.23 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT จาแนกตามประสบการณ์ในตาแหน่งครู พบว่า ครู ที่มี
ประสบการณ์ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยน
ทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้
ICT ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05

ตารางที่ 4.24 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่


21 โรงเรี ยนทวี ธ าภิ เ ศก สั ง กัด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามัธ ยมศึ ก ษา เขต 1
ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ จาแนกตามประสบการณ์ในตาแหน่งครู

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.24 0.12 0.98 0.38
ภายในกลุ่ม 77 9.49 0.12
รวม 79 9.73
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.24 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ จาแนกตามประสบการณ์ในตาแหน่งครู พบว่า
ครู ที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21
โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้
เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05
62

ตารางที่ 4.25 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ด้าน
สร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็ จ จาแนกตามประสบการณ์ใน
ตาแหน่งครู

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.29 0.15 0.65 0.52
ภายในกลุ่ม 77 17.15 0.22
รวม 79 17.44
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

จากตารางที่ 4.25 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้านสร้ างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ย นรู ้ และความสาเร็ จ จาแนกตามประสบการณ์ ใน
ตาแหน่งครู พบว่า ครู ที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
ในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ย นทวี ธ าภิ เ ศก สั ง กัด ส านัก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามัธ ยมศึ ก ษา เขต 1
ด้านสร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็ จ ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ
0.05

ตารางที่ 4.26 เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ


ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ด้านพัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า จาแนกตามประสบการณ์ในตาแหน่งครู

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F P
ระหว่างกลุ่ม 2 0.40 0.20 0.64 0.53
ภายในกลุ่ม 77 24.28 0.32
รวม 79 24.68
* ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
63

จากตารางที่ 4.26 การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของครู ที่ มี ต่ อ ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ ห าร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 ด้า นพัฒ นาคนอื่ น ให้ เ ป็ นผู ้น า จ าแนกตามประสบการณ์ ใ นต าแหน่ ง ครู พบว่ า ครู ที่ มี
ประสบการณ์ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยน
ทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ด้านพัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า ไม่
แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05
64

บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

การค้นคว้าอิสระ เรื่ อง ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21โรงเรี ยนทวีธา


ภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผูน้ าของ
ผูบ้ ริ หารในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ตามความคิดเห็นของครู โดยรวมและรายด้าน และเพือ่ เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะ
ผูน้ าของผู ้บ ริ ห ารในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ย นทวี ธ าภิ เ ศก สั ง กัด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา
มัธยมศึกษา เขต 1 จาแนกตามเพศ อายุ ประสบการณ์การทางาน และระดับการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่
ใช้ในการวิจยั ได้แก่ ครู ในโรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต
1 ปี การศึกษา 2561 จานวน 80 คน ได้มาโดยการใช้ตารางสุ่ มของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie &
Morgan,1970) แล้วสุ่มแบบชั้นภูมิ และจับสลาก เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นแบบสอบถาม
เกี่ยวกับภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ซึ่ งแบ่งเป็ น 2 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมู ลสถานภาพของผูต้ อบ
แบบสอบถาม ลักษณะแบบสอบถามเป็ นแบบตรวจสอบรายการ ตอนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นของ
ครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ใน 6 ด้าน คือ 1) ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน 2)
ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิทธิผล 3) ด้านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT 4) ด้าน
พัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ 5) ด้านสร้างเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็ จ
6) ด้านพัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า ลักษณะแบบสอบถาม เป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating
Scale) 5 ระดับ วิเคราะห์ขอ้ มูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา
และประสบการณ์ในตาแหน่ งครู โดยใช้ความถี่และค่าร้อยละ วิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของครู ที่
มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยการหา ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยรวมและราย
ด้าน วิเคราะห์เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ
ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จาแนกตามเพศ
และระดับการศึกษา วิเคราะห์ข ้อ มู ล โดยหาค่ า t (t-test) จาแนกตามอายุ และประสบการณ์ ใ น
ตาแหน่งครู โดยหาค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) สรุ ปผลการวิจยั ดังนี้
65

สรุปผลการวิจัย
1. ครู ที่ตอบแบบสอบถาม จานวนมากที่สุด เป็ นดังนี้ เป็ นเพศหญิง คิดเป็ นร้อยละ 59.29
มี อ ายุ 36-45 ปี คิ ดเป็ นร้อยละ 53.75 มี การศึ กษาระดับ ปริ ญญาตรี คิดเป็ นร้อ ยละ 63.75 และมี
ประสบการณ์ในตาแหน่งครู 11-15 ปี คิดเป็ นร้อยละ 38.75
2. ภาวะผู ้น าของผู ้บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ย นทวี ธ าภิ เ ศก สั ง กัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ตามความคิดเห็นของครู โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก
( X = 3.96) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ทุกด้านอยูใ่ นระดับมาก
2.1 ด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน พบว่า ครู มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของ
ผูบ้ ริ หารสถานศึ กษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานัก งานเขตพื้นที่ก ารศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.86) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้ออยูใ่ นระดับ
มาก เรี ยงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ มีการวิเคราะห์จุดแข็งอ่อน
โอกาส และอุปสรรคเพื่อเตรี ยมความพร้อมในการดาเนิ นการพัฒนาผูเ้ รี ยนในศตวรรษที่ 21 ( X =
4.06) รองลงมาคือ มีการจัดทาแผนพัฒนาครู เพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 ( X = 4.00) ส่วน
ข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการด้านการปรับปรุ งผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน และ
มอบหมายงานอย่างชัดเจน ( X = 3.64)
2.2 ด้านริ เริ่ มการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ที่มี ประสิ ทธิ ผล พบว่า ครู มีความคิดเห็ นต่อ
ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.89) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อ
อยู่ใ นระดับ มาก เรี ย งล าดับ ค่ า เฉลี่ ย จากมากไปหาน้อ ย ดัง นี้ ข้อ ที่ มี ค่าเฉลี่ ยสู งสุ ด คื อ ก าหนด
เป้าหมายและระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมพัฒนาครู อย่างเหมาะสม ( X = 4.11) รองลงมาคือ ครู และ
บุคลากรทุกฝ่ ายให้ความร่ วมมือในการดาเนิ นการ ( X = 4.10) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุ ด คือ มีการจัด
กิจกรรมพัฒนาครู เพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21อย่างเหมาะสม ( X = 3.58)
2.3 ด้านสารวจและสนับสนุ นการใช้ ICT พบว่า ครู มีความคิดเห็ นต่อ ภาวะผูน้ าของ
ผูบ้ ริ หารสถานศึ กษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานัก งานเขตพื้นที่ก ารศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.99) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้ออยูใ่ นระดับ
มาก เรี ย งล าดับ ค่ า เฉลี่ ย จากมากไปหาน้อ ย ดัง นี้ ข้อ ที่ มี ค่าเฉลี่ ยสู งสุ ด คื อ จัด สรรงบประมาณ
ดาเนินการพัฒนาด้าน ICT ( X = 4.15) รองลงมาคือ วางแผนพัฒนาปรับปรุ งการใช้ ICT ในโรงเรี ยน
ให้มีประสิ ทธิภาพ ( X = 4.08) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุ ด คือ มี การนาข้อ มูลการติดตามประเมิ นการ
พัฒนาระบบ ICT มาใช้ปรับปรุ งการดาเนินงานเพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 ( X = 3.78)
66

2.4 ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ พบว่า ครู มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ า


ของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.98) เมื่ อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้ออยู่ใน
ระดับมาก เรี ยงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ มีการศึกษาวิเคราะห์
สภาพปั ญหาชุมชนเพื่อการวางแผนพัฒนา ( X = 4.25) รองลงมาคือ จัดอบรมพัฒนาครู เพื่อด้านการ
จัดการเรี ยนการสอนให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิ่งขึ้น ( X = 4.13) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ ยต่ าสุ ด คือ มี การ
ติดตามประเมินผล วิเคราะห์เพือ่ ปรับปรุ งแก้ไขการดาเนินการพัฒนาครู ในครั้งต่อไป ( X = 3.64)
2.5 ด้านสร้างเครื อข่ายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็ จ พบว่า ครู มีความคิดเห็น
ต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.05) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า
ทุกข้ออยูใ่ นระดับมาก เรี ยงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสู งสุ ด คือ สามารถ
ใช้เครื อข่ายกลุ่มโรงเรี ยนส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ ( X = 4.19) รองลงมาคือ ประชุมคณะครู และผูเ้ กี่ยวข้อง
เพื่อ วางแผนสร้ า งเครื อ ข่ า ยส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ ( X = 4.15) ส่ วนข้อที่ มี ค่ าเฉลี่ ยต่ าสุ ด คื อ จัด ท า
แผนพัฒนาเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ ( X = 3.85)
2.6 ด้านพัฒนาคนอื่ นให้เป็ นผูน้ า พบว่า ครู มี ความคิดเห็ นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยรวมอยู่ใ นระดับมาก ( X = 4.01) เมื่ อ พิจ ารณารายข้อ พบว่า ทุ กข้อ อยู่ใ นระดับ มาก
เรี ยงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสู งสุ ด คือ ครู สามารถจัดตั้งทีมงานเลือ ก
ผูน้ าและเป็ นผูต้ ามได้อย่างเหมาะสม ( X = 4.10) รองลงมาคือ พัฒนาครู ให้สามารถเป็ นผูน้ าได้อย่าง
เหมาะสม ( X = 4.05) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ส่ งเสริ มให้ครู ในโรงเรี ยนคิดและตัดสิ นใจทางาน
ในหน้าที่ได้อย่างคล่องตัว ( X = 3.89)
3. การวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จาแนกตามเพศ
อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในตาแหน่ งครู พบว่า
3.1 ครู ที่มีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่
21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมและรายด้าน
ทุกด้าน ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05
3.2 ครู ที่มีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่
21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมและรายด้าน
ทุกด้าน ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05
67

3.3 ครู ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา


ในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวม
และรายด้านทุกด้าน ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05
3.4 ครู ที่มีประสบการณ์ในตาแหน่ งครู ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยรวมและรายด้านทุกด้าน ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05

อภิปรายผลการวิจัย
1. ความคิดเห็ นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยน
ทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 พบว่า โดยรวมและรายด้าน อยู่ใ น
ระดับมาก โดยด้านปรับปรุ งผลลัพธ์ของนักเรี ยนทุกคน มีการวิเคราะห์จุดแข็งอ่อน โอกาส และ
อุ ป สรรคเพื่อ เตรี ย มความพร้ อ มในการด าเนิ น การพัฒ นาผูเ้ รี ย นในศตวรรษที่ 21 มี ก ารจัด ท า
แผนพัฒ นาครู เพื่อ การจัดการเรี ย นรู ้ ใ นศตวรรษที่ 21 ด้า นริ เ ริ่ ม การจัด กิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ที่ มี
ประสิทธิผล มีการกาหนดเป้าหมายและระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมพัฒนาครู อย่างเหมาะสม ครู และ
บุคลากรทุกฝ่ ายให้ความร่ วมมื อ ในการดาเนิ นการ ด้านสารวจและสนับสนุ นการใช้ ICT มี การ
จัดสรรงบประมาณดาเนินการพัฒนาด้าน ICT มีการวางแผนพัฒนาปรับปรุ งการใช้ ICT ในโรงเรี ยน
ให้มีประสิ ทธิภาพ ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ มีการศึกษาวิเคราะห์สภาพปั ญหา
ชุ ม ชนเพื่ อ การวางแผนพัฒ นา จัด อบรมพัฒ นาครู เ พื่ อ ด้า นการจัด การเรี ย นการสอนให้ มี
ประสิ ทธิ ภาพมากยิ่งขึ้น ด้านสร้างเครื อ ข่า ยเพื่อ ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และความส าเร็ จ สามารถใช้
เครื อข่ายกลุ่มโรงเรี ยนส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ ประชุมคณะครู และผูเ้ กี่ยวข้องเพือ่ วางแผนสร้างเครื อข่าย
ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ และด้านพัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า ครู สามารถจัดตั้งทีมงานเลือกผูน้ าและเป็ นผู ้
ตามได้อย่างเหมาะสม พัฒนาครู ให้สามารถเป็ นผูน้ าได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับงานวิจยั ของ
ชัยยันต์ ฉิ มกล่อม (2555) ได้ศึกษาเรื่ อง ทักษะการบริ หารงานของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาตามทัศนะ
ของครู ผูส้ อนในอ าเภอบางละมุ ง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3
พบว่า ทักษะการบริ หารงานของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาความทัศนะของครู ผสู ้ อนที่ปฏิบตั ิการสอนใน
ระดับ ประถมศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษา ในเขตอ าเภอบางละมุ ง ส านั ก งานเขตพื้น ที่ ก ารศึ ก ษา
ประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 โดยรวมและรายด้านอยูใ่ นระดับมาก สอดคล้องกับงานวิจยั ของสาเร็ จ
วงศ์ศกั ดา (2557) ได้ศึกษาวิจยั เรื่ อง รู ปแบบการพัฒนาผูบ้ ริ หารสถานศึกษาเพือ่ ส่งผลต่อความสาเร็ จ
ในการบริ หารการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พบว่า ผูบ้ ริ หารเห็นว่า ตนมี
การปฏิ บ ัติ ง านด้า นการบริ ห ารในสถานศึ ก ษา อยู่ใ นระดับ มาก ผลการวิเ คราะห์ ข ้อ มู ล จาก
68

แบบสอบถามสาหรับครู เกี่ยวกับพฤติกรรมภาวะผูน้ าอยู่ในระดับมาก และความต้องการของครู


ต้อ งการให้ผูบ้ ริ หารมี ภาวะผูน้ าในระดับมาก และมี คุ ณธรรม และจริ ยธรรมในระดับมาก และ
สอดคล้องกับงานวิจยั ของเดือนเพ็ญ บุญใหญ่เอก (2557) ได้ศึกษาการบริ หารการจัดการศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 ของสถานศึ ก ษาขั้น พื้น ฐาน สัง กัด ส านัก งานเขตพื้น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา
กาญจนบุรี เขต 3 ผลการวิจยั พบว่า การบริ หารการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3 ในภาพรวม มีการปฏิบตั ิ
อยูใ่ นระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า มีการปฏิบตั ิอยูใ่ นระดับมากทุกด้านซึ่งสอดคล้อง
กับงานวิจยั ของพัทธนันท์ รชตะไพโรจน์ (2559) ที่ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษ
ที่ 21 ของครู โ รงเรี ย นเอกชน อ าเภอเมื อ ง จังหวัด ล าพูน พบว่า การพัฒ นาทักษะการเรี ยนรู ้ใ น
ศตวรรษที่ 21 ของโรงเรี ย นเอกชน อ าเภอเมื อ ง จัง หวัด ล าพูน โดยรวมและรายด้า น ผู ้ต อบ
แบบสอบถามมีความคิดเห็นว่า มีการแสดงความคิดเห็นระดับมาก โดยเรี ยงลาดับตามค่าเฉลี่ย ดังนี้
ด้านทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 ด้าน การออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 ด้าน
กระบวนการการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 แต่ในด้านสภาพปั ญหาและแนวทางการพัฒนา
ทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 พบว่า ครู ยงั ขาดความตระหนักและกระตือ รื อร้นในการพัฒนา
ทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องมาจากขาดความรู ้ความเข้าใจในหลักการแนวคิดรวมไปถึง
การออกแบบหลักสู ตร วิธีการสอน และวิธีการวัดผลตามแนวคิดทักษะในศตวรรษที่ 21 อีกทั้งยัง
ขาดแรงจูงใจให้ครู เปลี่ยนรู ปแบบการสอน จากการสัมภาษณ์ผบู ้ ริ หาร เพื่ อหาแนวทางการพัฒนา
ทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 ของครู ในโรงเรี ยน เอกชน อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน พบว่า (1)
ควรมีการปรับทัศนคติ กระบวนทัศน์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอนของครู ไม่ให้ยดึ ติดกับ
รู ปแบบเดิม (2) สร้างให้ครู มีความรู ้ ความเข้าใจในทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 โดยการจัดให้
มีการอบรมในเรื่ อ ง ทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 (3) ผูม้ ี ส่วนได้เสี ยร่ วมวิเคราะห์หลักสู ตร
สถานศึกษา เพื่อวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย และทิศทางการจัดการศึกษาของโรงเรี ยน ท้อ งถิ่น โดย
บูรณาการทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 เข้าไปในหลักสู ตร (4) จัดให้มีการประชุมครู เพื่อนา
หลักสู ตรสถานศึกษานาไปสู่ ภาคปฏิบตั ิ โดยครู จะต้องมี การศึกษาเอกสารหลักสู ตรสถานศึกษา
วิธีการและสื่ อการสอน แผนการสอน และส่ งเสริ มให้มีการใช้ห้องปฏิบตั ิการ แหล่งเรี ยนรู ้ให้มาก
ขึ้น (5) สร้างองค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ (Learning Organization) ในสถานศึกษา เพื่อ ให้เกิดการเรี ยนรู ้
และสร้างองค์ความรู ้ ในการเพิ่มพูนสมรรถนะที่จะก่อ ให้เกิ ดการเปลี่ยนแปลงในการพัฒนาการ
เรี ยนการสอนในเรื่ อง ทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 โดยนาการจัด การความรู ้ ( Knowledge
Management : KM) โดยมี การรวบรวมองค์ค วามรู ้ที่มีอ ยู่ ซึ่ งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรื อ
เอกสาร มาพัฒนาให้เป็ นระบบ เพือ่ ให้ทุกคนในสถานศึกษาสามารถเข้าถึงความรู ้ และพัฒนาตนเอง
69

ให้เป็ นผูร้ ู ้ นาความรู ้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิงาน ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิผล
และ (6) นิเทศ ติดตามและประเมินผล
2. จากการเปรี ยบเทียบความคิดเห็นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จาแนกตามเพศ
อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ ในตาแหน่ งครู พบว่า ครู ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และ
ประสบการณ์ในตาแหน่ งครู ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ
ที่ 21 โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมและราย
ด้านทุกด้าน ไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้ อาจเนื่ องมาจากผูบ้ ริ หารมีภาวะผูน้ าในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นการ
จัด การเรี ย นการสอนที่ คานึ งถึ ง ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ท าให้ค รู ทุก คนมี ค วามเข้าใจถึ ง บทบาทของ
ผูบ้ ริ หารเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน สอดคล้องกับงานวิจยั ของตุล เชื้อจารู ญ (2556) ได้ศึกษาสภาพ
ปั ญหาและความต้องการพัฒนาด้านการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของสถานศึกษา
ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลการเปรี ยบเทียบความต้องการ
การจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ จาแนกตามตาแหน่ ง ประสบการณ์ วุฒิการศึกษา
พบว่า หัวหน้าแผนกและครู ผูส้ อนมี ความคิดเห็ นไม่ แตกต่างกัน และสอดคล้อ งกับงานวิจยั ของ
สุวจั น์ ศรี สวัสดิ์ (2556) ได้ศึกษาสภาพปั ญหาและแนวทางการพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้น
ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของครู ในสังกัดองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกาฬสิ นธุ์ ผลการวิจยั พบว่า ครู ที่มีเพศ
วุฒิการศึกษา และการสอนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ต่างกันเห็นว่าปั ญหาการจัดการเรี ยนการสอนที่
เน้น ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญไม่ แตกต่างกัน นอกจากนี้ ยังพบว่า สุ วจั น์ ศรี สวัสดิ์ (2556) ได้เสนอแนว
ทางการพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของครู ในสังกัดองค์การบริ หารส่วน
จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ในด้านการวางแผนการสอน ด้านการเตรี ยมการสอน ด้านการจัดการเรี ยนรู ้ และ
ด้านการวัดผลและประเมินผล ว่า 1) ครู เห็นว่าปั ญหาการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
สาคัญของโรงเรี ยนในสังกัดองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกาฬสิ นธุ์ โดยรวมและรายด้านอยูใ่ นระดับ
ปานกลาง 2) ครู ที่มีเพศ วุฒิการศึกษา และการสอนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ต่างกันเห็นว่าปั ญหาการ
จัดการเรี ยนการสอนที่เน้น ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญไม่ แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะการจัดการเรี ยนการ
สอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ด้านการวางแผนการสอน เห็นว่าสถานศึกษาควรมีการกาหนดนโยบาย
และการประชุมวางแผนงานที่ ชัดเจนในการบริ หารจัดการสถานศึกษา ศึกษาสภาพปั จจุบนั ศึกษา
ปั ญหาและแต่งตั้งคณะกรรมการ ทางานเพื่อรับผิดชอบในการบริ หารการศึกษาให้มีคุณภาพ และ
ส่งเสริ มในด้านการประเมินผลการ เรี ยนรู ้เพือ่ หาแนวทางที่เหมาะสมมาปรับปรุ งแก้ไขการเรี ยนของ
นักเรี ยนให้เกิดการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง ด้านการเตรี ยมการสอน ควรมี การจัดประชุมผูบ้ ริ หารและ
บุคลากรเพื่อ ร่ ว มกันคิ ดวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นของนักเรี ยนทุ กชั้นและเปรี ยบเทีย บ
70

ผลสัมฤทธิ์กบั เกณฑ์มาตรฐานขั้นต่า จัดทาหลักสู ตร ที่เปิ ดโอกาสให้องค์การท้องถิ่นเข้ามามีส่วน


ร่ วมในการกาหนดหลักสูตร ที่ยดึ ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ด้านการ จัดการเรี ยนรู ้ ควรมีการส่งเสริ มการจัด
กิจกรรมเพือ่ พัฒนาผูเ้ รี ยนโดยส่งเสริ มกิจกรรมในด้านวิชาการ ทักษะความรู ้ การประกวดโครงงาน
เป็ นต้น เพื่อส่ งเสริ มคุณภาพด้านวิชาการอยูเ่ สมอ สถานศึกษา ควรมีการส่ งเสริ มด้านแหล่งเรี ยนรู ้
ให้ผเู ้ รี ยนได้รับรู ้ภูมิปัญญาท้องถิ่นอันสาคัญ และด้านการวัดผลและประเมินผล ควรเน้นการวัดที่
การปฏิ บ ัติจ ริ งมากกว่าทดสอบเนื้ อ หาวิชาสามารถตรวจสอบ ความก้าวหน้า ในการเรี ยนของ
นักเรี ยนแต่ละคนได้ การกาหนดระบบการประเมินควรมีชดั เจน และ ครอบคลุมวัตถุประสงค์การ
เรี ยนรู ้สามารถนาไปบูรณาการใช้ได้กบั ทุกรายวิชา และควรประเมินผูเ้ รี ยน จากความก้าวหน้าเป็ น
รายบุ คคลซึ่ งจะสามารถทราบถึ งพัฒ นาการของนักเรี ยนสามารถแก้ไ ขปั ญหา นักเรี ยนได้ตาม
รายบุคคล โดยสรุ ป ครู เห็นว่า ปั ญหาการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของโรงเรี ยน
อยู่ในระดับปานกลาง ดังนั้น ผูบ้ ริ หารสถานศึ กษาและผูท้ ี่มี ส่ว นเกี่ ยวข้อ งทุก ฝ่ าย ควรให้ก าร
สนับสนุ น ส่ งเสริ มให้สถานศึกษาให้มีการดาเนิ นการเพื่อ ก่อ ให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้นในทุก ๆ
ด้าน เพือ่ พัฒนา กระบวนการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาให้ดาเนินไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ และบุคลากร
ทุกคนมีความ เกี่ ยวข้องและเชื่อ มโยงกับการพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้และเป็ นตัวกลางสาคัญใน
การส่งเสริ มสนับสนุน การจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญต่อไป

ข้ อเสนอแนะในการวิจัย
จากผลการวิจยั เรื่ อง ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21โรงเรี ยนทวีธา
ภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ในครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั มีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้

ข้ อเสนอแนะในการวิจัยครั้งนี้
1. ด้า นปรั บ ปรุ ง ผลลัพ ธ์ ข องนั ก เรี ย นทุ ก คน ผู ้บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาควรมี ก ารแต่ ง ตั้ง
คณะกรรมการด้านการปรับปรุ งผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน และมอบหมายงานให้ชดั เจน
2. ด้านริ เริ่ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิทธิผล ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาควรจัดกิจกรรม
พัฒนาครู เพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 ให้มีความเหมาะสม และต่อเนื่อง
3. ด้านสารวจและสนับสนุ นการใช้ ICT ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาควรนาข้อ มูลการติดตาม
ประเมินการพัฒนาระบบ ICT มาใช้ปรับปรุ งการดาเนิ นงานเพื่อการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
4. ด้านพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาควรติดตามประเมินผล
วิเคราะห์ เพือ่ ปรับปรุ งแก้ไขการดาเนินการพัฒนาครู อย่างต่อเนื่อง
71

5. ด้านสร้างเครื อ ข่ายเพื่อ ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และความสาเร็ จ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาควร


จัดทาแผนพัฒนาเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ให้ชดั เจนและเหมาะสม
6. ด้านพัฒนาคนอื่นให้เป็ นผูน้ า ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาควรส่งเสริ มให้ครู ในโรงเรี ยนคิดและ
ตัดสินใจทางานในหน้าที่ได้อย่างคล่องตัวและถูกต้อง

ข้ อเสนอแนะในการวิจัยในครั้งต่ อไป
1. ควรท าการวิจ ัย ในเรื่ อ งนี้ ในสถานศึ กษาหรื อ เขตการศึ ก ษาอื่ น ๆ เพื่อ ให้ไ ด้ข ้อ มู ล ที่
เหมาะสมและถูกต้องมากยิง่ ขึ้น
2. ควรทาการวิจยั เรื่ องนี้ โดยการเปรี ยบเทียบกันระหว่างสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กับสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขตอื่น ๆ เพือ่ เปรี ยบเทียบความคล้ายคลึงและความแตกต่างของภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
ในศตวรรษที่ 21
3. ควรทาการวิจยั เกี่ยวกับองค์ประกอบของภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษ
ที่ 21
72

บรรณานุกรม
กฤติยา ใจหลัก. (2560). “ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของข้าราชการครู ในสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพังงา”.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
(2)1, 99-110
กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). เอกสารแนวทางการจัดการเรี ยนรู้ ในศตวรรษที่ 21. กรุ งเทพมหานคร:
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
จิน ตนา สุ จจานันท์. (2556). การศึ กษาและการพั ฒ นาชุ ม ชนในศตวรรษที่ 21. กรุ ง เทพมหานคร:
โอเดียนสโตร์.
ดุษฎีรัตน์ โกสุมภ์ศิริ.(2560). “ภาวะผูน้ าแบบดุลยภาพ – ภาวะผูน้ าสาหรับศตวรรษที่ 21”.วารสารสมคม
นักวิจัย (22), 3, 110-119.
บุญญา ทรัพย์โสม. (2560). “ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาหญิงในทรรศนะของครู ผสู ้ อนสังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4”.วารสารบัณฑิตศึกษา
มหาราชภัฏสกลนคร (14),66. 132-142.
พัทธนันท์ รชตะไพโรจน์. (2559). “การพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 ของครู โรงเรี ยนเอกชน
อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน”. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
พิชญา ดานิล .(2559). “ภาวะผูน้ าในศตวรรษที่ 21 ของผูบ้ ริ หารคณะศิลปศึกษาและห้องเรี ยนเครื อข่าย
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ”. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
พิชนันท์ ขันอาสา. (2556). “สภาพปั ญหาและแนวทางพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
สาคัญของโรงเรี ย นสังกัดส านักงานเขตพื้นที่ก ารศึกษาประถมศึก ษานครราชสี มา เขต 3”.
วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2557). ทักษะ 5C เพื่อการพัฒนาหน่ วยการเรียนรู้ และการจัด
การเรียนการสอนแบบบูรณาการ. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มัลลิ กา วิเชียรดี. (2556). “สภาพปั ญหาและแนวทางพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
ของโรงเรี ยนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชัยภูมิ เขต 1”. วิทยานิพนธ์
การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
73

ธี ระ รุ ญ เจริ ญ .(2559). วิถี ส ร้ า งการเรี ย นรู้ เ พื่ อ ศิ ษย์ ใ นศตวรรษที่ 21. กรุ งเทพมหานคร: มู ลนิ ธิส ด
ศรี สฤษดิ์วงศ์.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556). กระบวนทัศน์ ใหม่ ทางการศึกษา กรณีทัศนะต่ อการศึ กษาศตวรรษที่ 21.
กรุ งเทพมหานคร: ทิพยวิสุทธิ.
สุ วจั น์ ศรี สวัสดิ์.( 2556). “สภาพปั ญหาและแนวทางการพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยน
เป็ นสาคัญ ของครู ใ นสังกัด องค์ก ารบริ ห ารส่ ว นจัง หวัด กาฬสิ น ธุ์”.วิ ท ยานิ พ นธ์ ก ารศึ ก ษา
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สานัก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้น ฐาน.(2560). แผนปฏิ บ ัติ การส านัก งานคณะกรรมการ
การศึ ก ษาขั้น พื้น ฐาน ปี งบประมาณ 2560. กรุ ง เทพมหานคร : ส านัก นโยบายและแผน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน.
Carter. (1976). Dictionary of Education. 3rd edition. New York: McGraw-Hill Book.
Cherrington. (1989). Organization Behavior : The Management of Individual and
Organization Performance. Boston : Allyn and Bacon Inc.
Coleman. (2008). “Problem-Based Learning : A New Approach for teaching Gifted Students”, Gifted
Today Magazine. 18 (May-June 1995),18-19.
Cronbach, L. J. et. Al. (1973). Toward Reform of Program Evaluation. California : Jossey-Bass
Publishers.
Ejimofor, F. O. (2008). Principals’ Transformational Leadership Skills and Their Teachers’Job
Satisfaction in Nigeria. Doctoral Dissertation. Cleveland State University.
Gerald Aungus (2012). 21 st Century Administrators: New Roles, New Responsibilities) แหล่ ง
สื บ ค้น http://www.geraldaungst.com/blog/2012/03/21st-century-administrators-new-roles-
newresponsibilities/Hollander E.P. 1 9 7 8 . Leadership in dynamics: A practical guide to
effective relationships. New York : Free Press
George Couros (2010) The 21st Century Principal. : http://connectedprincipals.com/archives/1663.
Grossman, F. K. (2011). “Risk and resilience in young adolescent” Journal of Youth and Adolescent,
21, 259-550.
74

Howard Gardner. (2010). “The leader as moral agent: Praise, blame, and the artificial person”. The
Journal of Values Based Leadership, 4 (1), 93–104..
James Bellanca and Ron Brandt. (2010). Essential Skills for Potential School Administrators: A
Case Study of One Saskatchewan Urban School Division. University of
Jacobs & Jaques. 1990). Leadership is a process of giving purpose. (meaningful
direction) to collective effort, and causing willing effort to be expended to
achieve purpose.
Kaplan, Leslie S. & Owings. (2002). “Principal Quality: A Virginia Study Connecting Interstate School
Leaders Licensure Consortium Standards with Student Achievement” . NASSP Bulletin.
89(643): 28-44. Retrieved January 4, 2006, from http://vnweb.hwwilsonweb.com/
Katz, R. L. & Kahn. (1978). Skill of an Effectiveness Administrators. Harvard Business. Review.
January – February.
Kellerman, L.R. (1999). An Issue as an Organizer : A case Study. In R.E. Yager (ed.).
Lambert, V. A., Lambert, C. E. & Ito, M. (2004). Workplace stressors,ways of coping and demographic
characteristics as predictors of physical and mental health of Japanese hospital nurses.
International Journal of Nursing Studies, 41(4), 85 - 97.
Maxine (2015).The 4 Types of School Principals.(ออนไลน์) : http://mawiasgedom.com/the-4-typesof-
school-principals/
Richard Gregory (2010). “Customer Relationship Management : Finding Value
Drivers”. Industrial Marketing Management. 37 (2) pp. 120-130.
Schein, Edgar H. (1999). The Corporate Culture Survival Guide: Sense and Nonsenseabout Culture
Change. California: Jossey-Bass.
Sharman, M.M. (2005). An integrative theory of leadership. Mahwah, NJ: Lawrence Erbaum.
75

ภาคผนวก
76

ภาคผนวก ก
เครื่ องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
77

แบบสอบถามเพือ่ การวิจยั
เรื่ อง ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21:
ศึกษากรณี โรงเรี ยนทวีธาภิเศก
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1

คาชี้แจง
1. แบบสอบถามนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของรายวิชาการค้นคว้าอิสระตามหลักสู ตรศึกษาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกริ ก
2. มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โดยใช้การ
ศึกษากรณี โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
3. ข้อมู ลที่ได้จากการศึกษา จะนามาวิเคราะห์และสรุ ปเป็ นภาพรวมเพื่อ ประโยชน์ทาง
การศึกษาเท่านั้น ไม่ส่งผลกระทบต่อการทางานของท่านแต่อย่างใด
4. แบบสอบถามแบ่งออกเป็ น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 ข้อมูลสถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 สอบถามความคิดเห็ นของครู ที่มีต่อภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาใน
ศตวรรษที่ 21

ผูว้ จิ ยั ขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสูง ในความร่ วมมือ


ศรสวรรค์ บุญณกรณ์ชยั
นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเกริ ก
78

ตอนที่ 1 ข้ อมูลสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
คาชี้แจง โปรดทาเครื่ องหมาย ลงใน ( ) ทีต่ รงกับความเป็ นจริ งของท่าน
1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง
2. อายุ ( ) ไม่เกิน 35 ปี ( ) 36 - 45 ปี ( ) 46 ปี ขึ้นไป
3. ระดับการศึกษา ( ) ปริ ญญาตรี ( ) ปริ ญญาโท ( ) ปริ ญญาเอก
4. ประสบการณ์ในตาแหน่งครู ( ) ไม่เกิน 10 ปี ( ) 11 -15 ปี ( ) 16 ปี ขึ้นไป

ตอนที่ 2 ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21


โปรดพิจารณาข้อความแต่ละข้อว่า ท่านมีความเห็นในระดับใด แล้วทาเครื่ องหมาย ลง
ในช่องที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของท่าน
โดยมีเกณฑ์ให้คะแนนความคิดเห็น ดังนี้
เห็นด้วยมากที่สุด 5 คะแนน
เห็นด้วยมาก 4 คะแนน
เห็นด้วยปานกลาง 3 คะแนน
เห็นด้วยน้อย 2 คะแนน
เห็นด้วยน้อยที่สุด 1 คะแนน

ระดับความคิดเห็น
มาก มาก ปาน น้ อย น้ อย
รายการ
ที่สุด กลาง ที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
ท่านมีความคิดเห็นต่อการมีภาวะผูน้ าในศตวรรษที่ 21 ของผูบ้ ริ หารในโรงเรี ยนของท่าน แต่ละด้านต่อไปนี้
ในระดับใด
ด้ านปรับปรุงผลลัพธ์ ของนักเรียนทุกคน
1. มีการจัดทาแผนงาน/โครงการเพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
2. มีการประชุมครู เพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
79

ระดับความคิดเห็น
มาก มาก ปาน น้ อย น้ อย
รายการ
ที่สุด กลาง ที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
3. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการด้านการปรับปรุ งผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ยน และมอบหมายงานอย่างชัดเจน
4. มีการจัดทาแผนพัฒนาครู เพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
5. มีการสารวจสภาพปั ญหาการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 เพือ่ นา
ข้อมูลมาพิจารณาจัดอบรมครู
6. มีการวิเคราะห์จุดแข็งอ่อน โอกาส และอุปสรรคเพือ่ เตรี ยมความ
พร้อมในการดาเนินการพัฒนาผูเ้ รี ยนในศตวรรษที่ 21
7. มีการจัดสรรงบประมาณจัดทาโครงการพัฒนาครู เพือ่ การจัดการ
เรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 อย่างเพียงพอ
ด้ านริเริ่มการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มปี ระสิ ทธิผล
8. จัดหาหลักสูตรการพัฒนาครู เพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
9. มีการจัดกิจกรรมพัฒนาครู เพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
อย่างเหมาะสม
10. มีการเชิญวิทยากรจากภายนอกหรื อหน่วยงานทางการศึกษา มาให้
ความรู ้
11. มีการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการอบรมพัฒนาครู อย่าง
เหมาะสม
12. มีครู เข้ารับการอบรมพัฒนาตามเป้าหมายที่วางไว้
13. ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนส่งเสริ มสนับสนุนการดาเนินงานและอานวย
ความสะดวกต่าง ๆ
14. ครู และบุคลากรทุกฝ่ ายให้ความร่ วมมือในการดาเนินการ
15. กาหนดเป้าหมายและระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมพัฒนาครู อย่าง
เหมาะสม
ด้ านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT
16. มีการสารวจสภาพปั ญหาและระบบ ICT ของโรงเรี ยน
80

ระดับความคิดเห็น
มาก มาก ปาน น้ อย น้ อย
รายการ
ที่สุด กลาง ที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
17. วางแผนพัฒนาปรับปรุ งการใช้ ICT ในโรงเรี ยนให้มีประสิทธิภาพ
18. แต่งตั้งคณะทางานด้านปรับปรุ งและพัฒนาระบบ ICT ของ
โรงเรี ยนและมอบหมายผูร้ ับผิดชอบ
19. จัดสรรงบประมาณดาเนินการพัฒนาด้าน ICT
20. ประชุมชี้แจงครู ดา้ น การใช้ ICT เพือ่ พัฒนาทักษะการจัดการ
เรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
21. ส่ งเสริ มสนับสนุนให้ครู พฒั นาหรื อเข้ารับการอบรมการใช้ ICT
22. มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาระบบ ICT
23. มีการนาข้อมูลการติดตามประเมินการพัฒนาระบบ ICT มาใช้
ปรับปรุ งการดาเนินงานเพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
ด้ านพัฒนาโรงเรียนให้ เป็ นชุมชนการเรียนรู้
24. มีการสารวจสภาพปั ญหาชุมชน
25. มีการศึกษาวิเคราะห์สภาพปั ญหาชุมชนเพือ่ การวางแผนพัฒนา
26. จัดทาแผนพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้
27. การประสานความร่ วมมือจากวิทยากรและหน่วยงานทางการศึกษา
เพือ่ หาแนวทางการพัฒนาครู อย่างเหมาะสม
28. จัดอบรมพัฒนาครู เพือ่ ด้านการจัดการเรี ยนการสอนให้มี
ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้น
29. ประสานความร่ วมมือของครู และนักเรี ยนในด้านการพัฒนาชุมชน
30. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์เพือ่ ปรับปรุ งแก้ไขการ
ดาเนินการพัฒนาครู ในครั้งต่อไป
ด้ านสร้ างเครื อข่ ายเพื่อส่ งเสริมการเรียนรู้ และความสาเร็จ
31. ประชุมคณะครู และผูเ้ กี่ยวข้องเพือ่ วางแผนสร้างเครื อข่ายส่งเสริ ม
การเรี ยนรู ้
32. จัดทาแผนพัฒนาเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้
81

ระดับความคิดเห็น
มาก มาก ปาน น้ อย น้ อย
รายการ
ที่สุด กลาง ที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
33. สามารถใช้เครื อข่ายกลุ่มโรงเรี ยนส่งเสริ มการเรี ยนรู ้
34. ปรับปรุ งพัฒนาเครื อข่ายส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ให้มีประสิทธิภาพ
35. ผูบ้ ริ หารสามารถทาให้โรงเรี ยนเป็ นเครื อข่ายส่งเสริ มการเรี ยนรู ้
ให้แก่โรงเรี ยนในกลุ่ม
36. นักเรี ยนใช้เครื อข่ายการเรี ยนรู ้เพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
พัฒนาคนอื่นให้ เป็ นผู้นา
37. มีการพัฒนาครู ให้มีภาวะผูน้ าทางวิชาการ
38. ส่ งเสริ มให้ครู ในโรงเรี ยนคิดและตัดสินใจทางานในหน้าที่ได้อย่าง
คล่องตัว
39. ครู สามารถจัดตั้งทีมงานเลือกผูน้ าและเป็ นผูต้ ามได้อย่างเหมาะสม
40. พัฒนาครู ให้สามารถเป็ นผูน้ าได้อย่างเหมาะสม
82

ภาคผนวก ข

- รายชื่อผูเ้ ชี่ยวชาญ
- หนังสื อขอความร่ วมมือเก็บข้อมูล
83

รายชื่ อผู้เชี่ยวชาญ

ผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบถาม

1.ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระวัฒน์ พัฒนกุลชัย อาจารย์มหาวิทยาลัยเกริ ก


2.อาจารย์.ดร. เกสิณี ชิวปรี ชา อาจารย์มหาวิทยาลัยเกริ ก
3.อาจารย์ดร.ธีรเดช สนองทวีพร อาจารย์มหาวิทยาลัยเกริ ก
84

มหาวิทยาลัยเกริก
หน่ วยงาน คณะศิลปศาสตร์
ที่ 1314/41 1 สิงหาคม 2561
เรื่ อง ขอความร่ วมมือในการค้นคว้าอิสระของนักศึกษา
เรียน ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนทวีธาภิเษก

สิ่งที่ส่งมาด้วย แบบสอบถามการค้นคว้าอิสระ จานวน 100 ฉบับ

ด้ว ยหลัก สู ต รศึ ก ษาศาสตรมหาบัณ ฑิ ต สาขาวิช าบริ ห ารการศึ ก ษา คณะศิ ล ปศาสตร์


มหาวิทยาลัยเกริ ก อนุ มตั ิให้นกั ศึกษาทาการค้นคว้าอิสระเรื่ อง ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
ในศตวรรษที่ 21: ศึกษากรณี โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 เนื่ องจากพิจารณาเห็นว่า เป็ นโรงเรี ยนมีการบริ หารจัดการตามนโยบายการจัดการศึกษาใน
ระดับดีมากและเหมาะสมทีจ่ ะเป็ นหน่วยพื้นที่ศึกษา เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดทางการศึกษา จึงขอ
ความอนุเคราะห์ให้นกั ศึกษาเก็บข้อมูลตามแบบสอบถามที่ส่งมาด้วย และขอรับรองว่าจะควบคุมดูแล
ให้ใช้ขอ้ มู ลเพื่อ เป็ นส่ วนหนึ่ งในการเรี ยนรายวิชาการค้นคว้าอิ สระของนักศึกษา ตามหลักสู ต ร
เท่านั้น จะไม่นาข้อมูลไปใช้ให้เกิดความเสียหายต่อโรงเรี ยนของท่าน

จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดอนุ ญาตให้นักศึกษาแจกแบบสอบถามครู และนักเรี ยน พร้อมทั้งเก็บ


ข้อมูลกลับคืน ขอขอบคุณ มา ณ โอกาสนี้

เกสิณี ชิวปรี ชา
แ (ดร. เกสิณี ชิวปรี ชา)
ผูอ้ านวยการหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
85

ภาคผนวก ค
ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC : Index of Item Objective Congruence)
86

ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมของเนื้อหา และค่าความสอดคล้ องระหว่ างข้ อคาถามกับเนื้อหาและ


จุดประสงค์ (Item Objective Congruence: IOC)

ผลการตรวจหาคุณภาพของเครื่ องมือวิจยั เรื่ องการศึกษาภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา


ในศตวรรษที่ 21: ศึกษากรณี โรงเรี ยนทวีธาภิเศก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยผูเ้ ชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่าน ได้แก่
1. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระวัฒน์ พัฒนกุลชัย
2. อาจารย์ ดร.เกสิณี ชิวปรี ชา
3. อาจารย์ ดร.ธีรเดช สนองทวีพร

สรุ ปผลการประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเนื้อหา (IOC)

ความคิดเห็น
ของผู้เชี่ยวชาญ รวม IOC
รายการประเมิน
1 2 3 เฉลี่ย

ด้ านปรับปรุงผลลัพธ์ ของนักเรียนทุกคน +1 +1 +1 +3 1
1. มีการจัดทาแผนงาน/โครงการเพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 +1 +1 +1 +3 1
2. มีการประชุมครู เพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 +1 0 +1 +2 0.67
3.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการด้านการปรับปรุ งผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน +1 +1 +1 +3 1
และมอบหมายงานอย่างชัดเจน
4. มีการจัดทาแผนพัฒนาครู เพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 +1 +1 +1 +3 1
5. มีการสารวจสภาพปั ญหาการจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 เพือ่ นา +1 +1 +1 +3 1
ข้อมูลมาพิจารณาจัดอบรมครู
6. มีการวิเคราะห์จุดแข็งอ่อน โอกาส และอุปสรรคเพือ่ เตรี ยมความพร้อม +1 +1 +1 +3 1
ในการดาเนินการพัฒนาผูเ้ รี ยนในศตวรรษที่ 21
7.มีการจัดสรรงบประมาณจัดทาโครงการพัฒนาครู เพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ใน +1 0 +1 +2 0.67
ศตวรรษที่ 21 อย่างเพียงพอ
87

ความคิดเห็น
ของผู้เชี่ยวชาญ รวม IOC
รายการประเมิน
1 2 3 เฉลี่ย

ด้ านริเริ่มการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มปี ระสิ ทธิผล

8. จัดหาหลักสูตรการพัฒนาครู เพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 +1 +1 +1 +3 1

9. มีการจัดกิจกรรมพัฒนาครู เพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21อย่าง +1 +1 +1 +3 1


เหมาะสม
10. มีการเชิญวิทยากรจากภายนอกหรื อหน่วยงานทางการศึกษา มาให้ +1 +1 +1 +3 1
ความรู ้
11. มีการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการอบรมพัฒนาครู อย่าง +1 0 +1 +2 0.67
เหมาะสม
12. มีครู เข้ารับการอบรมพัฒนาตามเป้าหมายที่วางไว้ +1 +1 +1 +3 1
13. ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนส่งเสริ มสนับสนุนการดาเนินงานและอานวยความ +1 +1 +1 +3 1
สะดวกต่าง ๆ
14. ครู และบุคลากรทุกฝ่ ายให้ความร่ วมมือในการดาเนินการ +1 +1 +1 +3 1
15. กาหนดเป้าหมายและระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมพัฒนาครู อย่าง +1 +1 +1 +3 1
เหมาะสม
ด้ านสารวจและสนับสนุนการใช้ ICT
16. มีการสารวจสภาพปั ญหาและระบบ ICT ของโรงเรี ยน +1 +1 +1 +3 1
17. วางแผนพัฒนาปรับปรุ งการใช้ ICT ในโรงเรี ยนให้มีประสิทธิภาพ +1 +1 +1 +3 1
18. แต่งตั้งคณะทางานด้านปรับปรุ งและพัฒนาระบบ ICT ของโรงเรี ยน +1 0 +1 +2 0.67
และมอบหมายผูร้ ับผิดชอบ
19. จัดสรรงบประมาณดาเนินการพัฒนาด้าน ICT +1 +1 +1 +3 1
20. ประชุมชี้แจงครู ดา้ น การใช้ ICT เพือ่ พัฒนาทักษะการจัดการเรี ยนรู ้ใน +1 +1 +1 +3 1
ศตวรรษที่ 21
21. ส่ งเสริ มสนับสนุนให้ครู พฒั นาหรื อเข้ารับการอบรมการใช้ ICT +1 +1 +1 +3 1
22. มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาระบบ ICT +1 +1 +1 +3 1
88

23. มีการนาข้อมูลการติดตามประเมินการพัฒนาระบบ ICT มาใช้ปรับปรุ ง +1 0 +1 +2 0.67


การดาเนินงานเพือ่ การจัดการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21

ความคิดเห็น
ของผู้เชี่ยวชาญ รวม IOC
รายการประเมิน
1 2 3 เฉลี่ย

ด้ านพัฒนาโรงเรียนให้ เป็ นชุมชนการเรียนรู้


24. มีการสารวจสภาพปั ญหาชุมชน +1 +1 +1 +3 1
25. มีการศึกษาวิเคราะห์สภาพปั ญหาชุมชนเพือ่ การวางแผนพัฒนา +1 +1 +1 +3 1
26. จัดทาแผนพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นชุมชนการเรี ยนรู ้ +1 0 +1 +2 0.67
27. การประสานความร่ วมมือจากวิทยากรและหน่วยงานทางการศึกษาเพือ่ +1 +1 +1 +3 1
หาแนวทางการพัฒนาครู อย่างเหมาะสม
28. จัดอบรมพัฒนาครู เพือ่ ด้านการจัดการเรี ยนการสอนให้มีประสิทธิภาพ +1 +1 +1 +3 1
มากยิง่ ขึ้น
29. ประสานความร่ วมมือของครู และนักเรี ยนในด้านการพัฒนาชุมชน +1 +1 +1 +3 1
30. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์เพือ่ ปรับปรุ งแก้ไขการดาเนินการ +1 +1 +1 +3 1
พัฒนาครู ในครั้งต่อไป
ด้ านสร้ างเครื อข่ ายเพื่อส่ งเสริมการเรียนรู้ และความสาเร็จ
31. ประชุมคณะครู และผูเ้ กี่ยวข้องเพือ่ วางแผนสร้างเครื อข่ายส่งเสริ มการ +1 +1 +1 +3 1
เรี ยนรู ้
32. จัดทาแผนพัฒนาเครื อข่ายเพือ่ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ +1 +1 +1 +3 1
33. สามารถใช้เครื อข่ายกลุ่มโรงเรี ยนส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ +1 0 +1 +2 0.67
34. ปรับปรุ งพัฒนาเครื อข่ายส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ให้มีประสิทธิภาพ +1 +1 +1 +3 1
35. ผูบ้ ริ หารสามารถทาให้โรงเรี ยนเป็ นเครื อข่ายส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ให้แก่ +1 +1 +1 +3 1
โรงเรี ยนในกลุ่ม
36. นักเรี ยนใช้เครื อข่ายการเรี ยนรู ้เพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน +1 +1 +1 +3 1
พัฒนาคนอื่นให้ เป็ นผู้นา
37. มีการพัฒนาครู ให้มีภาวะผูน้ าทางวิชาการ +1 +1 +1 +3 1
89

38. ส่ งเสริ มให้ครู ในโรงเรี ยนคิดและตัดสินใจทางานในหน้าที่ได้อย่าง +1 +1 +1 +3 1


คล่องตัว
39. ครู สามารถจัดตั้งทีมงานเลือกผูน้ าและเป็ นผูต้ ามได้อย่างเหมาะสม +1 0 +1 +2 0.67
40. พัฒนาครู ให้สามารถเป็ นผูน้ าได้อย่างเหมาะสม +1 +1 +1 +3 1
90

ภาคผนวก ง
ผลการวิเคราะห์ ค่าความเชื่ อมัน่ (Reliability) ของแบบสอบถาม
91

ผลการวิเคราะห์ ค่าความเชื่ อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม


Item-Total Statistics
Scale Mean if Scale Variance if Corrected Item-Total Cronbach's Alpha if
Item Deleted Item Deleted Correlation Item Deleted
ปรับปรุ ง1 173.97 245.482 .451 .951
ปรับปรุ ง2 173.83 244.420 .464 .951
ปรับปรุ ง3 174.03 239.757 .572 .951
ปรับปรุ ง4 173.93 244.409 .463 .951
ปรับปรุ ง5 173.97 237.275 .755 .949
ปรับปรุ ง6 174.07 239.237 .636 .950
ปรับปรุ ง7 173.70 248.286 .365 .952
ริ เริ่ ม1 173.70 248.769 .336 .952
ริ เริ่ ม2 174.27 238.409 .619 .950
ริ เริ่ ม3 173.90 244.438 .557 .951
ริ เริ่ ม4 173.83 244.420 .464 .951
ริ เริ่ ม5 173.70 248.286 .365 .952
ริ เริ่ ม6 174.37 234.309 .757 .949
ริ เริ่ ม7 173.73 244.823 .503 .951
ริ เริ่ ม8 174.03 242.723 .555 .951
สารวจ1 173.90 242.852 .648 .950
สารวจ2 173.73 244.892 .558 .951
สารวจ3 173.63 246.999 .558 .951
สารวจ4 174.17 247.109 .289 .953
สารวจ5 173.77 241.978 .548 .951
สารวจ6 173.90 237.610 .690 .950
สารวจ7 173.93 237.099 .760 .949
สารวจ8 173.93 236.133 .754 .949
พัฒนา1 174.07 241.168 .639 .950
พัฒนา2 173.90 242.852 .648 .950
พัฒนา3 173.87 242.189 .621 .950
พัฒนา4 174.07 241.720 .612 .950
พัฒนา5 174.03 235.551 .746 .949
พัฒนา6 173.97 238.585 .650 .950
พัฒนา7 173.87 242.671 .595 .950
92

Item-Total Statistics
Scale Mean if Scale Variance if Corrected Item-Total Cronbach's Alpha if
Item Deleted Item Deleted Correlation Item Deleted
เครื อข่าย1 174.37 234.309 .757 .949
เครื อข่าย2 174.23 242.944 .427 .952
เครื อข่าย3 174.10 239.472 .679 .950
เครื อข่าย4 173.87 245.568 .445 .951
เครื อข่าย5 174.33 247.609 .305 .952
เครื อข่าย6 173.73 244.823 .503 .951
ผูน้ า1 173.67 245.333 .559 .951
ผูน้ า2 173.63 249.206 .331 .952
ผูน้ า3 173.87 241.706 .646 .950
ผูน้ า4 174.03 242.723 .555 .951

Reliability
Scale: ALL VARIABLES

Case Processing Summary


N %
Valid 30 100.0
Cases Excludeda 0 .0
Total 30 100.0
a. Listwise deletion based on all variables in the
procedure.

Reliability Statistics
Cronbach's Alpha N of Items
.952 40
93

ประวัติผ้ ศู ึกษา

ชื่ อ นางสาวศรสวรรค์ บุญณกรณ์ชยั


วัน เดือน ปี เกิด 20 ตุลาคม 2512
ภูมิลาเนา เขตบางซื่อ กรุ งเทพมหานคร
สถานทีท่ างาน บริ ษทั พร็อพเพอร์ต้ ี แมเนจเม้นท์ คอนโทรล จากัด
ตาแหน่ ง ผูจ้ ดั การบริ หารงานด้านอาคาร
ประวัติการศึกษา ปริ ญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หาร
การศึกษา มหาวิทยาลัยเกริ ก
ปริ ญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ สาขาสื่อสารการตลาด
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พ.ศ.2536

You might also like