กฎหมายอาญา ๒ ครั้งที่ ๑

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 70

กฎหมายอาญา ๒ (อาญาภาคความผิด)

สอนเสริม ครั้งที่ ๑ (หนวยที่ ๑ – ๗)


จัดทําโดยสาขาวิชานิติศาสตร
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
อ. ปากเกร็ด จ. นนทบุรี ๑๑๑๒๐
ดําเนินการจัดทําโดย ผศ. วิชัย ศรีรัตน
Email: wsrirat@hotmail.com
การสอนเสริมครั้งที่ 1
หนวยที่ 2 ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
หนวยที่ 3 ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม
หนวยที่ 4 ความผิดเกี่ยวกับศาสนา ความสงบสุขของประชาชน
และการคา
หนวยที่ 5 ความผิดเกี่ยวกับการปลอมแปลง
หนวยที่ 6 ความผิดตอชีวิต
หนวยที่ 7 ความผิดตอรางกาย
ความหมายของคําวา เจาพนักงาน
1. บุคคลที่กฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะวาเปนเจาพนักงาน
- พิจารณากฎหมายแตละฉบับ
2. บุคคลที่ไดรับแตงตั้งใหปฏิบัติหนาที่ราชการไมวาประจําหรือชั่วคราว
- ไดรับการแตงตั้งโดยถูกตองตามกฎหมาย
- ขาราชการที่ทําหนาที่ทางดานปกครอง
- ไมรวมถึงผูมีหนาที่ทางนิติบัญญัติ
- ไมรวมถึงลูกจางของสวนราชการ (ฎ.253/2503)
** เจาพนักงานยุติธรรมกฎที่เกี่ยวกับหนาที่หมายจะกําหนดโทษใหสูงกวาเจาพนักงาน
ธรรมดา**
ดูหมิ่นเจาพนักงาน (มาตรา 136)
1. ดูหมิ่น
- แสดงความดูถูก เหยียดหยาม
- อาจแสดงดวยกิริยา วาจา ทาทาง ตอหนาหรือลับหลัง
2. เจาพนักงานซึ่งกระทําการตามหนาที่หรือเพราะไดกระทําการตามหนาที่
- ตองดูหมิ่นเพราะเจาพนักงานกระทําการตามหนาที่ของตนหรือเพราะไดกระทําการ
ตามหนาที่ของตน
- ถาเจาพนักงานมิไดกระทําการตามหนาที่ของตน หรือเปนเรื่องสวนตนไมเขา
มาตรานี้
3. เจตนา
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลในการกระทํา คือ ดูถูก เหยียดหยาม
- ตองรูวาผูที่ตนดูถูก เหยียดหยามนั้น เปนเจาพนักงาน
แจงความเท็จตอเจาพนักงาน (มาตรา 137)
1. แจงขอความอันเปนเท็จ
2. แกเจาพนักงาน
- ตองเปนเจาพนักงานซึง่ มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับเรื่องทีแ่ จง
3. ซึ่งอาจทําใหผูอื่นหรือประชาชนเสียหาย
4. เจตนา
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลใหเจาพนักงานทราบขอความเท็จ
- ตองรูวาขอความทีแ่ จงเปนขอความเท็จ และรูวาผูที่ตนแจงเปนเจาพนักงาน
ดวย
เปรียบเทียบกับความผิดแจงความเปนเท็จในคดีอาญา มาตรา 172
แจงความเท็จตอเจาพนักงาน (มาตรา 137)
- ทําใหผูอื่นทราบขอความเท็จ ไมวาโดยพูด เขียน กิริยาทาทาง
- จะนําขอความเท็จไปแจงเอง หรือแจงใหทราบเมื่อถูกถามก็ได
- ขอความเท็จ คือ ขอเท็จจริงในอดีตหรือปจจุบันที่ไมเปนความจริง
(ขอเท็จจริงในอนาคต ไมใชความเท็จ)
แจงความเท็จตอเจาพนักงาน (มาตรา 137)
- ขอความเท็จนั้นตองอาจทําใหผูอื่นเสียหาย
- เพียงอาจเสียหายก็พอ ไมตองเกิดความเสียหาย
- ผูอื่นจะเปนนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาก็ได
- ความเสียหายในทางใดๆ ก็ได
ม. 137 เปรียบเทียบกับ ม 172 แจงความเท็จในคดีอาญา
ตอสูขัดขวางเจาพนักงาน (มาตรา 138)
1. ตอสูหรือขัดขวาง
- ตอสู คือ การกระทําการใดๆ อันเปนการขัดขืนหรือโตแยงอํานาจเจา
พนักงานแตไมถึงกับทําราย ถาทํารายผิดหนักขึ้น
- ตองเปนการกระทําที่แสดงออกมา ไมใชนิ่งเฉย
- ขัดขวาง คือ กระทําใหเกิดอุปสรรคหรือยากลําบากในการปฏิบัติหนาที่
ของเจาพนักงานทําใหการปฏิบัติหนาที่ลําบากขึ้น
ตอสูขัดขวางเจาพนักงาน (มาตรา 138)
2. เจาพนักงานหรือผูซึ่งตองชวยเจาพนักงานตามกฎหมายในการปฏิบัติการ
ตามหนาที่
- ผูที่ตองชวยเจาพนักงานตามกฎหมาย คือ ตองมีกฎหมายบัญญัติใหผูนั้นมีหนาที่
ตองชวยเจาพนักงาน
- เจาพนักงานหรือผูที่ตองชวยใหเจาพนักงาน ตองปฏิบัติหนาที่โดยชอบดวย
กฎหมาย
3. เจตนา
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะตอสูหรือขัดขวาง
- ตองรูดวยวา ผูที่ตนตอสูขัดขวางเปนเจาพนักงานหรือผูซึ่งตองชวยเจาพนักงาน
ตามกฎหมาย
เรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงาน (มาตรา 143)
1. เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพยสินหรือประโยชน เพียงเรียกก็ผิดสําเร็จ
2. สําหรับตนเองหรือผูอื่น
- ผูอื่นจะเปนใครก็ได ขณะเรียกจะตั้งใจเอาไปใหผูอื่นจริงหรือไมไมสําคัญ
3. เปนการตอบแทนในการที่จะจูงใจหรือไดจูงใจเจาพนักงาน สมาชิก
สภาพนิติบัญญัติแหงรัฐสมาชิกสภาจังหวัด หรือสมาชิกสภาเทศบาล
4. โดยวิธีอันทุจริตหรือผิดกฎหมายหรือโดยอิทธิพลของตนเอง
5. ในกระทําการหรือไมกระทําการในหนาที่อันเปนคุณหรือเปนโทษแก
บุคคลใด
6. เจตนา
เรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงาน (มาตรา 143)
- เรียก คือ เรียกรองใหผูอื่นใหทรัพยสินหรือประโยชน เพียงเรียกก็ผิด
สําเร็จ
- รับ คือ รับเอาที่ผูอื่นเสนอให หรือรับเอาตามที่ตนเองเรียก
- ยอมจะรับ คือ ยอมจะรับทรัพยสินหรือประโยชนที่ผูอื่นเสนอใหแตยัง
ไมไดรับ
- ทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด ประโยชนอื่นใดคือสิ่งที่ไมใชทรัพยสิน
แต เปนคุณแกผูรับ
เรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงาน (มาตรา 143)
- การจะจูงใจหรือไดจูงใจเจาพนักงาน ฯลฯ จะตองกระทําโดยวิธีที่
กําหนด คือ
1. โดยวิธีอันทุจริต
2. โดยวิธีอันผิดกฎหมาย
3. โดยอิทธิพลของตน
เรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงาน (มาตรา 143)
- ใหกระทําการในหนาที่อันเปนคุณหรือโทษแกบุคคลใด คือ ใหปฏิบัติ
หนาที่โดยไมถูกไมควรหรือปฏิบัติโดยไมชอบดวยหนาที่
- ใหไมกระทําการในหนาที่อันเปนคุณหรือโทษแกบุคคลใด คือจะจูงใจ
หรือไดจูงใจใหไมปฏิบัติหนาที่ตามที่ถูกที่ควร
เรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงาน (มาตรา 143)
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลในการเรียกรับหรือยอมะรับทรัพยสิน
หรือประโยชนอื่นใดสําหรับตนเองหรือผูอื่น
- ตองรูดวยวาเขาไดใหเปนการตอบแทนการที่ตนจะจูงใจหรือไดจูงใจ
เจาพนักงาน
ใหสินบนเจาพนักงาน (มาตรา 144)
1. ให ขอให หรือรับวาจะให
2. ทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด
3. แกเจาพนักงานสมาชิกสภาพนิติบัญญัติแหงรัฐ สมาชิกสภาจังหวัดหรือ
สมาชิกสภาเทศบาล
4. เจตนา
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะให
- ตองรูดวยวา ผูที่ตนจะใหสินบนนั้นเปนเจาพนักงาน
5. เพื่อจูงใจใหกระทําการ ไมกระทําการ หรือประวิงการกระทําอันมิชอบ
ดวยหนาที่
ใหสินบนเจาพนักงาน (มาตรา 144)
- ให คือ ยกกรรมสิทธิ์หรือประโยชนใดๆ ให
- ขอให คือ เสนอจะยกกรรมสิทธิ์หรือประโยชนใดๆ ให
- รับวาจะให เปนคํามั่นวาจะยกกรรมสิทธิ์หรือประโยชนใดๆ ใหใน
อนาคต
ใหสินบนเจาพนักงาน (มาตรา 144)
- ทรัพยสิน คือ วัตถุมีหรือไมมีรูปราง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได
- ประโยชนคือ บริการใดนอกจากทรัพยสินจะเปนประโยชนใดๆ ก็ได
ใหสินบนเจาพนักงาน (มาตรา 144)
- จํากัดเฉพาะผูที่อยูในตําแหนงเหลานี้เทานั้น
- ตองกระทําผิดในขณะบุคคลเหลานี้อยูในตําแหนง
ใหสินบนเจาพนักงาน (มาตรา 144)
- เปนเจตนาพิเศษหรือความมุงหมายในการกระทํา
- สาระสําคัญของเจตนาพิเศษ คือ การอันมิชอบดวยหนาที่
- ตองเปนการอันมิชอบดวยหนาที่ของเจาพนักงานหรือสมาชิกนั้นๆ ถา
มิใชหนาที่หรือพนหนาที่แลว ก็ไมผิด
- ถาเจตนาพิเศษเพื่อการอันชอบดวยหนาที่ก็ไมผิด
เจาพนักงานยักยอก (มาตรา 147)
1. เจาพนักงาน
2. มีหนาที่ซื้อ ทําจัดการ หรือรักษาทรัพย
3. เบียดบังเอาทรัพยนั้นเปนของตนหรือของผูอื่น หรือยอมใหผูอื่นเอา
ทรัพยนั้น
4. เจตนา
- ตองรูวาทรัพยนั้นเปนของราชการดวย
5. โดยทุจริต
เจาพนักงานยักยอก (มาตรา 147)
- เปนคุณสมบัติเฉพาะตัว ผูกระทําผิดตองมีฐานะนี้
- หากมิใชเจาพนักงานก็ไมผิดมาตรานี้ แตผิดยักยอกธรรมดา
เจาพนักงานยักยอก (มาตรา 147)
- เจาพนักงานนั้นจะตองมีหนาที่ตามที่ระบุไว
- อาจเปนหนาที่ตามกฎหมาย หรือโดยคําสั่งของผูบังคับบัญชา
เจาพนักงานยักยอก (มาตรา 147)
- เปนลักษณะของการกระทําอันเปนความผิด
- เบียดบังเปนของตนหรือของผูอื่นก็ได
- ยอมใหผูอื่นเอาทรัพยนั้น
- ตองกระทําในหนาที่ราชการ หากเปนเรื่องสวนตัว ไมผิดมาตรานี้แตผิด
ยักยอกธรรมดา
เจาพนักงานยักยอก (มาตรา 147)
- เปนเจตนาพิเศษในการกระทํา
- มุงหมายแสวงหาประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับตน
หรือผูอื่น
- หากไมมีเจตนาทุจริตก็ไมผิด
เจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบ (มาตรา 148)

1. เจาพนักงาน
2. ใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบ
3. ขมขืนใจหรือจูงใจผูอื่น
4. เจตนา
5. เพื่อใหบุคคลใดมอบใหหรือหามาใหซึ่งทรัพยสินหรือประโยชนอื่น
ใดสําหรับตนเองหรือผูอื่น
เจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบ (มาตรา 148)

- ตองเปนการใชอํานาจในตําแหนงของเจาพนักงานผูนั้นตองใชอํานาจโดย
มิชอบ ใชไปในทางที่ผิดหรือแกลงผูอื่น
เจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบ (มาตรา 148)

- ขมขืนใจ คือ บังคับใหเขากระทําโดยเขาไมสมัครใจ


- จูงใจ คือ โนมนาวหรือชักนําใหเขากระทํา
เจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบ (มาตรา 148)

- เปนเจตนาพิเศษในการกระทํา
- เพียงแตมีความมุงหมายเชนนี้ก็ผิดสําเร็จ จะเกิดผลขึ้นตามความมุงหมาย
หรือไม ไมสําคัญ
เจาพนักงานรับสินบน (มาตรา 149)
1. เจาพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงรัฐ สมาชิกสภาจังหวัดหรือ
สมาชิกสภาเทศบาล
- จํากัดเฉพาะเจาพนักงาน และสมาชิก 3 ประเภทนี้
2. เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด สําหรับตนเอง
หรือผูอื่น
3. เจตนา
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะเรียก รับ หรือยอมจะรับสินบน
4. เพื่อกระทําการหรือไมกรทําการอยางใดในตําแหนง ไมวาการนั้นจะ
ชอบหรือมิชอบดวยหนาที่
เจาพนักงานรับสินบน (มาตรา 149)
- ตองไมมีอํานาจโดยชอบดวยกฎขอบังคับ หรือระเบียบแบบแผนที่จะ
เรียก รับหรือยอมจะรับ
- จะกระทําเพื่อตนเองหรือผูอื่นก็ได
- ตองกระทําในขณะตนมีฐานะดังกลาว
เจาพนักงานรับสินบน (มาตรา 149)
- เจตนาพิเศษหรือเหตุจูงใจมี 2 ประการ
1. เพื่อกระทําการในตําแหนงไมวาการั้นจะชอบหรือไมชอบดวยหนาที่
2. เพื่อไมกระทําการในตําแหนง ไมวาการนั้นจะชอบหรือไมชอบดวย
หนาที่
- เพียงแตมีเหตุจูงใจนี้ก็ผิดสําเร็จ ไมจําตองไดกระทําหรือไมกระทําการตาม
เหตุจูงใจ
เจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยทุจริต (มาตรา 151)
1. เจาพนักงาน
2. มีหนาที่ซื้อ ทํา จัดการ หรือรักษาทรัพยใด
3. ใชอํานาจในตําแหนงอันเปนการเสียหายแกรัฐ เทศบาล สุขาภิบาล หรือเจาของ
ทรัพย
4. เจตนา
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะใหเกิดความเสียหาย
5. โดยทุจริต
- มุงหมายแสวงหาประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับตนเอง
หรือผูอื่น
เจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยทุจริต (มาตรา 151)

- ตองเปนการกระทําตามอํานาจหนาที่ในตําแหนง
- จะกระทํา (ใชอํานาจ) ดวยวิธีใดก็ได แตไมใชเบียดบังทรัพย
- ตองกอใหเกิดผล คือความเสียหายแกรัฐ เทศบาล หรือเจาของทรัพย
- หากยังไมเกิดความเสียหาย ก็เปนพยายามกระทําผิด
เจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ
(มาตรา 157)
1. เจาพนักงาน
- ไมจํากัดวาจะตองมีหนาที่เจาะจงประการใด
- เอาผิดแกเจาพนักงานทุกคนทุกประเภท
2. ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ
3. เจตนา
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ
4. เพื่อใหเกิดความเสียหายแกผูหนึ่งผูใด
เจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ
(มาตรา 157)
- จะปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติประการใดก็ได
- การปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัตินั้นจะตองอยูในหนาที่ของตน และโดย
มิชอบดวยหนาที่ของตน
- การปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติโดยมิชอบดวยหนาที่ ไมตองถึงกับผิด
กฎหมายไมจําตองเปนเรื่องกลั่นแกลง
- ถาการปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติไมอยูในหนาที่ แมจะปฏิบัติหรือละ
เวนโดยมิชอบก็ไมผิดมาตรานี้
- การปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติสิ่งที่อยูในหนาที่ แตกระทําไปโดยชอบ
หรือสุจริต ไมผิดมาตรานี้
เจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ
(มาตรา 157)
- จะเปนความเสียหายทางใดๆ และแกใครก็ได
- ไมจําเปนตองเกิดความเสียหายขึ้นจริงๆ เพียงความมุงหมายเชนนั้น ก็ผิด
สําเร็จ
เจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ
(มาตรา 157)
1. เจาพนักงาน
- เอาผิดแกเจาพนักงานทุกประเภททุกคน
2. ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่
- จะปฏิบัติหรือละเวนโดยชอบหรือโดยมิชอบดวยหนาที่ก็ได
3. เจตนา
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติ
4. โดยทุจริต
- เพื่อแสวงหาประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับตนเองหรือผูอื่น
- ไมคํานึงวาจะทําใหผูอื่นเสียหายหรือไม
ความผิดเกี่ยวกับการปลอมแปลง (เรือ่ งที่สอนเสริม)
หนวยที่ 5 ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง
- ความผิดฐานปลอมเงินตรา (มาตรา 240)
- ความผิดฐานแปลงเงินตรา (มาตรา 241)
- ทําบัตรหรือโลหะธาตุใหคลายคลึงเงินตราหรือจําหนายบัตรหรือโลหะธาตุเชนวา
นั้น (มาตรา 249)
- ความหมายของเอกสาร (มาตรา 1 (7) )
- ความผิดฐานปลอมเอกสาร (มาตรา 264 )
- ปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ (มาตรา 265)
ความผิดฐานปลอมเงินตรา (มาตรา 240)
1. ทําปลอมขึ้น
2. ซึ่งเงินตรา
เงินตรา หมายถึง เหรียญกษาปณ ธนบัตร หรือสิ่งอื่นใดซึ่งรัฐบาลออก
ใชหรือใหอํานาจออกใชและเฉพาะเงินตราที่รัฐบาลอนุญาตใหใช
หมุนเวียนในปจจุบัน
3. เจตนา
ความผิดฐานปลอมเงินตรา (มาตรา 240)
- ทําโดยวิธีใดตอวัตถุใหมีลักษณะ ขนาด ลวดลาย สีสัน และรายละเอียด
ปลีกยอยเชนเดียวกับเงินตรา ฯลฯ
- แมทําใหผิดเพี้ยนไปจากรูปลักษณะเงินตราที่แทจริงไปบาสงก็ยังถือวา
เปนเงินตราปลอมได
- ตองมีเงินตรา ฯลฯ แทจริงอยูในขณะปลอม
ความหมายของเอกสาร (มาตรา 1 (7))
1. กระดาษหรือวัตถุอื่นใด
อาจเปนวัตถุอนื่ ก็ได เชน ไม พลาสติก โลหะ
2. ซึ่งทําปรากฏความหมายดวยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรือแผนแบบอยางอื่นจะเปน
โดยวิธีพิมพ ถายภาพ หรือวิธีอนื่ อันเปนหลักฐานแหงความหมายนั้น
- ตองทําใหปรากฏความหมายขึ้นบนกระดาษหรือวัตถุเปนหลักฐานแหงความหมายไมวาทํา
ดวยวิธีใด
- ตองปรากฏวาบุคคลเปนผูทําขึ้นดวยเจนาใหปรากฏความหมาย
- ผูทําไมตองลงชื่อในเอกสาร อาจเปนเอกสารในอดีตก็ได
- ตองสัมผัสไดทางสายตาเทานัน้
- ภาพถายสถานที่เกิดเหตุ ภาพถายติดบัตร ภาพถายเอกสารเปนเอกสารวรรณกรรม วรรณคดี
ภาพถายทั่วไป ไมเปนเอกสาร
ทําเอกสารปลอม
1. ทําเอกสารปลอม คือทําเอกสารขึ้นใหม จะมีเอกสารตัวจริง และมี
ขอความแกตางหรือเหมือนของแทหรือไมก็ได
2. เอกสามารที่ทําปลอมจะมีขอความเท็จหรือจริงไมสําคัญ แตอยูที่วา
เจาของเอกสารไดทําเอกสารนั้นขึ้นเองหรือไม ถาคนอื่นทําก็เปน
เอกสารปลอม
3. ถาทําขึ้นเปนเอกสารที่ตนทําเอง แมขอความจะเท็จ ก็ไมปลอม
4. แตถาเจาของเอกสารไดทําเอกสารขึ้นใหมอีกฉบับหนึ่งใหเขาใจวา
เปนเอกสารเดิมที่ตนไดทําแตแรก ก็ปลอมได
ทําเอกสารปลอม
5. อาจปลอมโดยการสมมติทั้งขอความและผูทําเอกสารก็ได
6. ถาสมมติชื่อขึ้นใชเองในเอกสารในนามของตน มิไดเพื่อใหเขาใจวา
เปนบุคคลอื่นไมใชปลอม
7. การลงชื่อผูอื่นซึ่งมีตัวตนอยูจริงในการทําเอกสาร ถาผูนั้นยินยอมให
ลงชื่อแทนตนไดก็ไมปลอมแตถาไมถึงขนาดยินยอมใหลงชื่อแทนก็
ปลอม
8. กรณีรวมมือคบคิดทําเอกสารขึ้นมาไมตรงตอเจตนาแทจริง เชนทํา
สัญญากูโดยไมไดกูจริง ไมใชเอกสารปลอมแปลง
ทําเอกสารปลอม
9. การแปลเอกสาร แมจะเจตนาแปลผิดหรือตัดทอน ก็ไมปลอม
10. คัดสําเนาเอกสาร แมเจตนาใหผิดจากเดิม ก็เปนเอกสารที่ผูคัดทําเอง
ไมปลอม
11. ถาผูคัดรับรองวาสําเนานั้นถูกตองทั้งที่ไมถูกตอง ถือวาปลอมเอกสาร
แมจะไมมีเอกสารตัวจริงอยูก็ตาม
12. การปลอมเอกสารทั้งฉบับ ไมจําเปนตองมีขอความครบถวนทุก
ประการ เชน ปลอมแบบฟอรมใบสุทธิ หรือประกาศนียบัตร
เอกสารที่แทจริง
1. ตองกระทําในสวนที่เปนสาระสําคัญของเอกสารนั้น และกระทําใน
เอกสารแทจริง
2. แมทําในเอกสารแทจริงที่ตนทํา แตเติมหรือตัดทอนหรือแกไขหลังพน
อํานาจแกแลวก็ปลอมได ถาทําในระหวางอยูในอํานาจก็ไมปลอม
3. เอาเอกสารแทจริงหลายฉบับมาตัดตอเปนฉบับเดียว แตความหมาย
เปลี่ยนไปจากเดิม ก็ปลอมได (ตัดเลขสลากกินแบงจากฉบับหนึ่งมา
ปดอีกฉบับหนึ่ง)
4. ถาผูเติม ตัดทอนแกไข มีอํานาจทําไดตามกฎหมายระเบียบแบบแผน
ก็ไมปลอม หากแกใหเห็นวาตนเปนผูแก (จะแกใหถกู หรือผิดก็ได
เอกสารที่แทจริง
5. การขีดฆาขูดลบขอความในเอกสาร ทําใหความหมายเปลี่ยนไป แตตัว
เอกสารยังคงมีอยูเปนการปลอม
6. ถาขีดฆาขอความทําใหเอกสารนั้นไมมีอยูตอไป แมวัตถุที่ใชทํา
เอกสารยังคงอยูก็ไมใชปลอมแตเปนทําลายเอกสาร (มาตรา 188)
ประทับตราปลอมหรือลงมือชื่อปลอมในเอกสาร
1. ตรา คือ ตราแผนดิน ทบวงการเมือง องคการสาธารณะ ของเจาของ
พนักงาน ของนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดา เปนสิ่งแทนตัวสถาบัน
หรือบุคคล
2. ลายมือชื่อ ตามมาตรา 1 (10)
1. ลายมือหรือลายเซ็น
2. ลายพิมพนิ้วมือ
3. เครื่องหมายที่บุคคลลงไวแทนลายมือชื่อตน
ประทับตราปลอมหรือลงมือชื่อปลอมในเอกสาร
3. จะประทับตราปลอมหรือลงลายมือชื่อปลอมบนเอกสารแทจริงหรือเอกสาร
ปลอมก็ได
4. ไมจําตองมีตราแทหรือบุคคลจริงในขณะปลอม
5. ลงลายมือชื่อแทจริงในเอกสารก็อาจปลอมเอกสารได เชน ขูบังคับใหเขาลง
ลายมือชื่อในเอกสารยกทรัพยสินใหตน เอกสารนั้นปลอม ถาหลอกใหเขาลง
ลายมือชื่อ ไมเปนปลอมเอกสาร แตอาจเปนฉอโกงตามมาตรา 341
6. ลงลายมือชื่อในเอกสารที่ตนไมมีอํานาจลงได แตลงลายมือชื่อใหเขาใจวา ตนมี
อํานาจลงชื่อในตําแหนงนั้น (ครูนอยลงชื่อของตนในตําแหนงครูใหญ เปน
ปลอมเอกสารได)
ปลอมเอกสาร (มาตร 264 วรรคสอง)
1. กรอกขอความลงในแผนกระดาษหรือวัตถุอื่นใด ซึ่งมีลายมือชื่อของ
ผูอื่น
2. โดยไมไดรับความยินยอม หรือโดยฝาฝนคําสั่งของผูอื่นนั้น
3. เจตนา
4. ไดกระทําเพื่อนําเอกสารนั้นไปใชในกิจการที่อาจเกิดเสียหายแกผูหนึ่ง
ผูใดหรือประชาชน
ปลอมเอกสาร (มาตร 264 วรรคสอง)
- กรอกขอความ จะทําโดยเขียน พิมพหรือวิธีใด
- ตองทําลงในแผนกระดาษหรือวัตถุอื่นซึ่งมีลายมือชื่อผูอื่นอยู
- ในกรณีลงลายพิมพนิ้วมือแทนลายมือชื่อ ไมจําตองมีพยานรับรองดัง
ปพพ. บัญญัติ
- ลายมือชื่อผูอื่นลงไวนั้น จะลงไวดวยเจตนาใดๆ ก็ได เชนลองเสนปากกา
- กระดาษหรือวัตถุนั้นอาจไมมีขอความอื่นอยูหรือมีอยูบางแลวก็ได แตยัง
ไมเปนเอกสารที่สมบูรณ
ปลอมเอกสาร (มาตร 264 วรรคสอง)
- เจาของลายมือชื่อไมรูเห็นดวยเลย
- เจาของลายมือชื่อลงชื่อใหเพื่อนําไปใชในกิจการอยางหนึ่งแตกลับ
นําไปใชในกิจการอื่น ไมวาจะเปนประโยชนกับเจาของลายมือหรือไม
ปลอมเอกสาร (มาตร 264 วรรคสอง)
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่กรอกขอความ
- ตองรูดวยวาไมไดรับความยินยอมจากเจาของลายมือ หรือฝาฝนคําสั่ง
เจาของลายมือชื่อ
- หากเชื่อวากรอกตรงตามที่ไดรับมอบหมายใหกรอก ไมมีเจตนา
ปลอมเอกสาร (มาตร 264 วรรคสอง)
- ตองมีเจตนาพิเศษอยูในขณะกระทําผิด
- ไมตองนําไปใชจริง เพียงแตกรอกไวก็ผิดสําเร็จ แตถานําออกไปใชก็ผิด
มาตรา 268 ดวย
- จะใชในกิจการอะไร อาจเกิดความเสียหายแกใครก็ไดไมจํากัด
- แมกิจการอาจเปนประโยชนแกเจาของลายมือ แตถาอาจเกิดความ
เสียหายแกผูอื่นหรือประชาชนแลว ก็ปลอมเอกสารได
ปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ (มาตรา 265)
1. เปนบทฉกรรจของมาตรา 264
- ผูกระทําตองรูวาเอกสารที่ปลอมเปนเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ (มาตรา
62 วรรคสาม)
2. เอกสารสิทธิ มาตรา 1 (9)
3. เอกสารราชการ มาตรา 1 (8)
ปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ (มาตรา 265)
- เอกสารที่เปนหลักฐานแหงการกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับ
ซึ่งสิทธิ
- เอกสารซึ่งเปนหลักฐานแหงนิติกรรมทุกชนิด กฎหมายบังคับตองทําเปน
หนังสือหรือมีหลักฐานเปนหนังสือหรือไม ไมสําคัญ
- ไมจําเปนตองเปนเอกสารที่สมบูรณจนสามารถบังคับตามกฎหมายได
(สัญญาซึ่งพิมพแตลายนิ้วมือ ไมมีพยานรับรอง)
- ตองเปนหลักฐานแหงสิทธินั้นโดยตรง ใบทะเบียนสมรส หนังสือ
เดินทาง ใบอนุญาตขับขี่ บัตรประชาชน ไมใชเอกสารสิทธิ
ปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ (มาตรา 265)
- เอกสารซึ่งเจาพนักงานไดทําขึ้นในหนาที่ เชน บัตรประชาชน
ใบอนุญาตตางๆ
- เอกสารซึ่งเจาพนักงานไดรับรองในหนาที่ เชน พินัยกรรมเอกสารฝาย
เมือง
- สําเนาเอกสารราชการที่เจาพนักงานไดรับรองในหนาที่
ฆาผูอื่น (มาตรา 288)
1. ฆา
2. ผูอื่น
3. เจตนา
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะทําใหผูอื่นตาย
- ตองรูวาสิ่งที่ตนทําใหตายนั้นเปนผูอื่นซึ่งมีสภาพบุคคล
- ถาไมรูเพราะประมาท ผิดมาตรา 291
- ถาสําคัญผิดเพราะประมาท ผิดมาตรา 291
ทํารายผูอื่นจนเปนเหตุใหผูนั้นถึงแกความตาย (มาตรา 290)

1. ทําราย
- ทําการประทุษรายแกกายหรือจิตใจ
- ไมจํากัดวิธีทํา
2. ผูอื่น
3. เปนเหตุใหผูถูกทํารายถึงแกความตาย
- ความตายสัมพันธกับการทําราย (ทฤษฏีเงื่อนไข)
4. เจตนา
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะทําใหบาดเจ็บ (ทําราย)
- รูวาสิ่งที่ตนทํารายเปนผูอื่น มีสภาพบุคคล
กระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย
(มาตรา 291)
1. การกระทํา
- ไมจํากัดลักษณะของการกระทํา
2. เปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย
3. ประมาท
- ไมประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะทําใหผูอื่นตาย
- แตไมระมัดระวังตามวิสัยและพฤติการณ
- ถาผูอื่นบาดเจ็บสาหัส ผิดมาตร 300
- ถาผูอื่นเพียงบาดเจ็บธรรมดาผิดมาตรา 390
ชุลมุนตอสูเปนเหตุใหบคุ คลถึงแกความตาย (มาตรา 294)
1. เขารวมในการชุลมุนตอสู
- ชุลมุนตอสูเปนการทํารายกันระหวางสองฝายขึ้นไป
- ตองเปนการตอสู มิใชฝายหนึ่งทํารายอีกฝายหนึ่งแตเพียงฝายเดียว
2. ระหวางบุคคลตั้งแตสามคนขึ้นไป
3. บุคคลหนึ่งบุคคลใดไมวาจะเปนผูที่เขารวมในการนั้นหรือไมถึงแก
ความตายโดยการกระทําในการชุลมุนตอสูนั้น
4. เจตนา
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะเขาชุลมุนตอสู
- ไมตองมีเจตนาทําใหผูใดตายโดยเฉพาะ
5. เหตุยกเวนโทษ
- ผูเขารวมชุลมุนตอสูแสดงไดวา กระทําเพื่อหามการชุลมุนตอสู
- ผูเขารวมชุลมุนตอสูแสดงไดวากระทําเพื่อปองกันโดยชอบ
ชุลมุนตอสูเปนเหตุใหบคุ คลถึงแกความตาย (มาตรา 294)

- ความตายเปนผลจากการชุลมุนตอสู
- ถาชุลมุนตอสูจนมีคนตาย ผูกระทําผิดไมจําเปนตองรวมชุลมุนตอสูมา
แตตน
- แมเขารวมภายหลังก็ผิด
- ถาพิสูจนไดวาใครเปนคนฆา ผูนั้นผิดมาตรา 288 อีกบท
ความผิดฐานทํารายรางกาย (มาตรา 295)
1. ทําราย
2. ผูอื่น
3. จนเปนเหตุทําใหเกิดอันตรายแกกายหรือจิตใจของผูอื่นนั้น
4. เจตนา
ความผิดฐานทํารายรางกาย (มาตรา 295)
- ทําการประทุษรายรางกายหรือจิตใจ
- อาจไมถึงกับใชกําลังทํารายตามมาตรา 391 ก็ได
- รวมถึงการงดเวนการที่จักตองกระทําเพื่อปองกันผลตามมาตรา 59 วรรค
ทายดวย
- ไมจํากัดวิธีกระทํา เชน ชก ตอ เตะ ยุใหสุนัขกัด บอกขาวรายใหตกใจ
ฯลฯ
ความผิดฐานทํารายรางกาย (มาตรา 295)
- ผลของการทํารายตองสัมพันธกับการกระทํา
1. พฤติการณแหงการกระทํารุนแรงหรือไม
2. บาดแผลมากนอยเพียงไร
- แนวคําพิพากษาศาลฎีกา
1. แผลแตกโลหิตไหล โดยปกติถือวาเปนอันตรายแกกาย
2. แผลโลหิตซึมจะเปนอันตรายแกกายหรือไมขึ้นอยูกับลักษณะของบาดแผล
3. แผลหนังถลอกไมถอื วาเปนอันตรายแกกาย
4. แผลบวม ฟกช้ํา จะเปนอันตรายหรือไม ขึน้ อยูกับความรายแรงของบาดแผล
5. กระเทือนอวัยวะภายใน ฟนโยก หัก ตมปกติถือวาเปนอันตรายแกกาย
- อันตรายแกจิตใจ
1. ไมตองถึงวิกลจริต แคจิตใจผิดปกติ ฟนเฟอน หวาดผวา หมดสติ ก็ถือวาเปนอันตรายแกจิตใจแลว
2. เพียงเกิดอารมณเจ็บใจ แคนใจ ไมถือวาเปนอันตรายแกจิตใจ
- ถาไมเปนอันตรายแกกาย หรือจิตใจ อาจผิดมาตรา 391
ความผิดฐานทํารายรางกาย (มาตรา 295)
- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะทํารายผูอื่น
- รูวาสิ่งที่ตนทํารายเปนผูอื่น
- หากไมรู อาจผิดมาตรา 390 ในกรณีกระทําโดยประมาท
ทํารายรางกายเปนอันตรายสาหัส (มาตรา 297)
1. บทฉกรรจของมาตรา 295
2. อันตรายสาหัสซึ่งเปนผลของการทํารายนั้นตองเปนผลที่ตามธรรมดา
ยอมเกิดขึ้นไดตามมาตรา 63
3. อันตรายสาหัส
ทํารายรางกายเปนอันตรายสาหัส (มาตรา 297)
1. ตาบอด หูหนวก ลิ้นขาดหรือเสียฆานประสาท
2. เสียอวัยวะสืบพันธุ หรือความสามารถสืบพันธุ
3. เสียแขน ขา มือ เทา นิ้ว หรืออวัยวะอื่นใด อวัยวะอืน่ ใดตองเปนอวัยวะสําคัญ
ดวย
4. หนาเสียโฉมอยางติดตัว
5. แทงลูก
6. จิตพิการอยางติดตัว
7. ทุพพลภาพหรือปวยเจ็บเรื้อรังซึ่งอาจถึงตลอดชีวิต
8. ทุพพลภาพหรือปวยเจ็บดวยอาการทุกขเวทนาเกินกวา 20 วัน หรือจนประกอบ
กรณียกิจตามปกติไมไดเกินกวา 20 วัน
กระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นรับอันตรายสาหัส
(มาตรา 300)
1. กระทํา
- ไมจํากัดวิธี
2. เปนเหตุใหผูอื่นรับอันตรายสาหัส
3. ประมาท
- ไมประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะทําใหผูอื่นบาดเจ็บ
- ไมระมัดระวังในการกระทําตามวิสัยและพฤติการณ

You might also like