Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 46

คานา

คานา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต ๒ มีนโยบายพัฒนาห้องเรียนคุณภาพในระดับ
สถานศึกษา ทั้งนี้เพื่อขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพสูงขึ้น โดยมีเป้าหมายมุ่งพัฒนานักเรียน
ครูผู้สอน และห้องเรียน สู่ “ห้องเรียนคุณภาพ”
ดังนั้นโรงเรียนบ้านซับดินดา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต ๒ จึงจัดทา
คู่มือห้องเรียนคุณภาพ เพื่อเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนคุณภาพ การจัดการศึกษาระดับโรงเรียนให้มีคุณภาพ
สูงขึ้น ผู้จัดทาจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือและแนวทางการประเมินห้องเรียนคุณภาพ จะมีประโยชน์ต่อผู้ศึกษา
ค้นคว้า และนาไปใช้ในการปฏิบัติงานให้บังเกิดผลต่อสถานศึกษาและการศึกษาในภาพรวมต่อไป

คณะผู้จัดทา

สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทนา ๒
ความเป็นมา ๒
วัตถุประสงค์ ๒
กรอบแนวความคิด ๒
แนวทางการดาเนินงานของโรงเรียน 10
วิธีการดาเนินการ 11
- ระดับปฐมวัย 12
- ระดับขั้นพื้นฐาน 13
คาอธิบายเกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับปฐมวัย 14
คาอธิบายเกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับขั้นพื้นฐาน 22
บรรณานุกรม 30
ภาคผนวก
- แบบบันทึกการประเมินห้องเรียนคุณภาพ
- แบบสรุปผลการประเมินห้องเรียนคุณภาพ
- แบบสรุปผลการประเมินห้องเรียนคุณภาพระดับโรงเรียน
คณะผู้จัดทา

บทนา

ความเป็นมา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต ๒ กาหนดนโยบายในการขับเคลื่อนคุณภาพ
การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพสูงขึ้น โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนานักเรียน ครูผู้สอน และห้องเรียน สู่ “ห้องเรียน
คุณภาพ”เนื่องจากการมีห้องเรียนที่มีคุณภาพส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพของนักเรียน
ดังนั้นโรงเรียนบ้านซับดินดา สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรึเขต ๒จึงจัดทา
คู่มือห้องเรียนคุณภาพ เพื่อเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนคุณภาพ การจัดการศึกษาระดับโรงเรียนให้มีคุณภาพ
สูงขึ้น

วัตวัตถุประสงค์
เพื่ อ พั ฒ นาห้ อ งเรี ย นภายในสถานศึ ก ษาสู่ ห้ อ งเรี ย นคุ ณ ภาพตามนโยบายห้ อ งเรี ย นคุ ณ ภาพของ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต ๒

กรอบแนวคิด

การจัดทาคู่มือห้องเรียนคุณภาพได้ศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการจัดการศึกษา ดังนี้
1. พระราชดารัส ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
“การศึกษาเป็นเรื่องใหญ่และสาคัญยิ่งของมนุษย์ คนเราเมื่อเกิดมาก็ได้รับการสั่งสอนจากบิดา
มารดาอันเป็นความรู้เบื้องต้น เมื่อเจริญเติบโตขึ้น ก็เป็นหน้าที่ของครูและอาจารย์สั่งสอนให้ได้รับวิชา
ความรู้สูงและอบรมจิตใจให้ถึงพร้อมด้วยคุณธรรม เพื่อจะได้เป็นพลเมืองดีของชาติสืบต่อไป”
(พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตและนักศึกษาวิทยาลัยวิชา
การศึกษา วันพฤหัสบดี 13 ธ.ค.2505)

“หนึ่ง...ให้ครูรักเด็ก และเด็กรักครู
สอง...ให้ครูสอนเด็กให้มีน้าใจต่อเพื่อน ไม่ให้แข่งขันกัน แค่ให้แข่งขันกับตัวเอง...ให้เด็กที่เรียน
เก่งกว่าช่วยสอนเพื่อนที่เรียนช้ากว่า
สาม...ให้ครูจัดกิจกรรมให้เด็กทาร่วมกัน เพื่อให้เห็นคุณค่าของความสามัคคี”
(กระแสพระราชดารัสเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปี 2558)

2. พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

3. หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตาแหน่งครู มีวิทยฐานะ


หรือเลื่อนวิทยฐานะหลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตาแหน่งครู มีวิทย
ฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะตามหนังสือสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ ศธ
0206.3/ว 21ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 ต้องรับการประเมินคุณภาพ 3 ด้าน 13 ตัวชี้วัด ดังนี้
3.1 ด้านการจัดการเรียนการสอน 8 ตัวชี้วัด
3.1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร
3.1.2 การจัดการเรียนรู้
1) การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
2) การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)/
แผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP)/แผนการจัดประสบการณ์
3) กลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้
4) คุณภาพผู้เรียน
3.1.3 การสร้างและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่ง เรียนรู้
ในการจัดการเรียนรู้
3.1.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
3.1.5 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

3.2 ด้านการบริหารจัดการชั้นเรียน 3 ตัวชี้วัด


3.2.1 การบริหารจัดการชั้นเรียน
3.2.2 การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
3.2.3 การจัดทาข้อมูลสารสนเทศ และเอกสารประจาชั้นเรียนหรือประจาวิชา

3.3. ด้านการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพ 2 ตัวชีว้ ัด


3.3.1 การพัฒนาตนเอง
3.3.2 การพัฒนาวิชาชีพ
ทั้งนี้ ต้องได้ตามเกณฑ์ที่สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากาหนด
จานวน 3 ปีการศึกษา ภายในระยะเวลาย้อนหลัง 5 ปีการศึกษาติดต่อกัน จึงจะนามาใช้เป็นคุณสมบัติหนึ่ง
ในการยื่นคาขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ(สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
www.otepc.go.th)

4. มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษากระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ ๑๑
ตุลาคม ๒๕๕๙ มีจานวน ๓ มาตรฐาน ดังนี้

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคานวณ
๒) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น และแก้ปัญหา
๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด
๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ
๒.๑ การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน
๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศึกษาและทุก
กลุ่มเป้าหมาย
๒.๔ พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคูณภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
๓.๓ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
๔.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

๕. ห้องเรียนคุณภาพ สพป.สระบุรี เขต ๒


ที่มา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต ๒ เห็นความสาคัญยิ่งของการพัฒนาการจัด
การศึกษา โดยได้ประกาศนโยบาย ให้ปีการศึกษา ๒๕๖๒ เป็นปีแห่งการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อให้
สถานศึกษาในสังกัด ทุกแห่ง มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง ให้เกิดความมั่นใจแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
ว่าการจัดการศึกษาได้มาตรฐาน ทั้งนี้คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาจะเป็นอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับ
คุณภาพการจัดการเรียนการสอน ของแต่ละห้องเรียน ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ จงประกาศนโยบายห้องเรียน
คุณภาพ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับชั้นเรียน ทั้งทางด้าน
กายภาพ บรรยากาศห้องเรียน และกระบวนการ จัดการเรียนรู้ซึ่งมีครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ให้การ
สนับสนุนทางการศึกษา เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดคุณลักษณะ ดีเก่ง และมีความสุข
2. วัตถุประสงค์
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ การจัดกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

3. เป้าหมาย
3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ
สถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง มีห้องเรียนคุณภาพอย่างน้อยระดับละ 1 ห้องเรียน (ระดับ
ปฐมวัยระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา)
3.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ
สถานศึกษาในสังกัด มีการพัฒนาห้องเรียนคุณภาพในแต่ละระดับการศึกษา จนบรรลุตาม
แนวทางและเป้าหมายตามที่สถานศึกษากาหนด

4. นิยาม
ห้องเรียนคุณภาพ หมายถึง พื้นที่แห่งการเรียนรู้ที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายร่วมกันจัดกิจกรรม เพื่อ
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดคุณลักษณะ ดี เก่ง และมีความสุข

5. องค์ประกอบของห้องเรียนคุณภาพ
ห้องเรียนคุณภาพมีองค์ประกอบ 5 องค์ประกอบได้แก่
5.1 ครู : เป็นครูมืออาชีพ (Professional Teacher)
5.2 นักเรียน : คนดีคนเก่ง มีความสุข (Smart Student)
5.3 ผู้บริหาร : ผู้บริหารมืออาชีพ (Professional Administrator)
5.4 ผู้สนับสนุน : ผู้ให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา (School Sponsor)
5.5 ห้องเรียน : พื้นที่แห่งการเรียนรู้น่าอยู่ น่าเรียน สะอาด ปลอดภัย (Happiness Classroom)
การให้ค่าน้าหนัก/ตัวบ่งชี้ ของแต่ละองค์ประกอบ ขึ้นอยู่กับสถานศึกษา โดยพิจารณาจากบริบทแนว
ทางการพัฒนาและการบริหารจัดการของสถานศึกษา

6. คาอธิบายเพิ่มเติม
6.1 การบริหารจัดการ : กระบวนการดาเนินงานบริหารการศึกษาของสถานศึกษาในขอบเขตภารกิจ
4ด้าน คือ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานทั่วไป
6.2 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง : บุคลากรทั้งในและนอกสถานศึกษามีส่วนร่วมในการสนับสนุน ส่งเสริมและ
พัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย
6.2.1 ครู : เป็นครูมืออาชีพ ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ เป็นแบบอย่างที่ดีในการ
จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะที่สาคัญตามหลักสูตรและทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต
6.2.2 นักเรียน : คนดีคนเก่ง มีความสุข
คนดี : มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากาหนด
คนเก่ง : มีพัฒนาการตามวัย มีทักษะที่จาเป็นและสมรรถนะที่สาคัญเป็นที่ประจักษ์และมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด
มีความสุข : มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ ยิ้มแยมแจ่มใส มีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนรู้ต่อการมาโรงเรียน
และอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
6.2.3 ผู้บริหาร : ผู้บริหารมืออาชีพ เป็นผู้นาทางวิชาการและผู้นาแห่งการเปลี่ยนแปลง สนับสนุน
สร้างขวัญกาลังใจให้กับบุคลากรในสถานศึกษา ใช้กระบวนการบริหารจัดการในการพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2.4 ผู้สนับสนุนด้านการศึกษา : ผู้ให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา
ซึ่งอาจเป็นผู้ปกครอง ภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กรเอกชน ที่มีส่วนในการพัฒนาผู้เรียนและ
การศึกษาจนเป็นที่ประจักษ์หรือเป็นที่ยอมรับ
6.3 ห้องเรียน : พื้นที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน ที่ส่งเสริมและเอื้อให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ มีความปลอดภัย สะอาด น่าอยู่ น่าเรียน
6.4 กระบวนการดาเนินงาน 4A : ขั้นตอนการดาเนินงานการพัฒนาห้องเรียนคุณภาพ ซึ่งประกอบ
ไปด้วย

A1 (Awareness) การสร้างความตระหนัก
A2 (Attempt) ความมุ่งมั่น พยายามลงมือปฏิบัติโดยมีกระบวนการพัฒนาที่หลากหลาย
A3 (Achievement) การมีผลสัมฤทธิ์ปรากฏหรือความสาเร็จที่เกิดขึ้นเป็นผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการ
พัฒนา และ
A4 (Accreditation) การมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และมีการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ ยั่งยืน และเป็น
วัฒนธรรม องค์กร

6.5 ค่าน้าหนัก : เป็นการแบ่งสัดส่วนและจัดลาดับความสาคัญขององค์ประกอบทั้ง 5 องค์ประกอบ


ของห้องเรียนคุณภาพ เรียงลาดับการให้ความสาคัญในแต่ละองค์ประกอบจาก 1 – 5 โดยสถานศึกษาเป็นผู้
กาหนดค่าน้าหนักและเรียงลาดับความสาคัญของแต่ละองค์ประกอบตามบริบท ซึ่งในแต่ละห้องเรียนที่ขอรับ
การยืนยันคุณภาพอาจมีค่านน้าหนักเหมือนหรือแตกต่างกันก็ได้

7. แนวทางการดาเนินงาน
ในการขับเคลื่อนการดาเนินงานห้องเรียนคุณภาพ ใช้กระบวนการ 4A ในการดาเนินงาน
กระบวนการดาเนินงาน บทบาทสานักงานเขต บทบาทสถานศึกษา
พื้นที่ A1 : Awareness การสร้าง 1. ประกาศนโยบาย : ปีแห่ง 1. สร้างความเข้าใจกับบุคลากรใน
ความตระหนัก ห้องเรียนคุณภาพ ปีการศึกษา สถานศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องถึงการ
2563 ดาเนินการตามนโยบายห้องเรียน
คุณภาพ ปีการศึกษา 2563
A2 : Attempt 2. กาหนดแนวทางในการ 2. กาหนดแนวทางการดาเนินงาน
ความมุ่งมั่น พยายามลงมือ ขับเคลื่อน ห้องเรียนคุณภาพตามบริบทของ
ปฏิบัติโดยมีกระบวนการพัฒนาที่ นโยบายห้องเรียนคุณภาพ สถานศึกษา
หลากหลาย ปีการศึกษา 2563 3. นิเทศภายใน
3. นิเทศ ติดตามให้กาลังใจ
A3 : Achievement 4. เยี่ยมชม ยืนยันผลการประเมิน 4. เกิดนวัตกรรมด้านการเรียนการสอนที่
การมีผลสัมฤทธิ์ปรากฏ ห้องเรียนคุณภาพของสถานศึกษา มีคุณภาพ ส่งผลให้ผู้เรียนได้รบการ
หรือความสาเร็จที่เกิดขึ้น เป็น และประกาศเกียรติคุณ พัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา
ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา 5. ครูผู้สอนประเมินตนเอง
6. สถานศึกษายืนยันผลการประเมิน
ห้องเรียนคุณภาพ
A4 : Accreditation 5. สร้างเวทีนาเสนอผลงาน 7. ถอดบทเรียนการดาเนินงานห้องเรียน
การมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ห้องเรียน คุณภาพที่ประสบผลสาเร็จ
และมีการดาเนินงานอย่างเป็น คุณภาพให้กับสถานศึกษา 8. นาเสนอผลงานต่อสาธารณะ/
ระบบ ยั่งยืน และเป็นวัฒนธรรม 6. เผยแพร่ผลงานทางออนไลน์ แลกเปลี่ยนเรียนในรูปแบบสื่อวีดิทัศน์
องค์กร

หมายเหตุ สถานศึกษาเป็นผู้กาหนดแนวทาง ค่าน้าหนัก ตัวบ่งชี้ในการประเมินห้องเรียนคุณภาพแต่ละระดับ


และแต่ละห้อง โดยอาจเหมือนหรือแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับประเด็นพิจารณาคุณภาพที่ใช้ในการประเมิน

8. การประเมินผล
ในการประเมินผลห้องเรียนคณภาพแบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่
8.1 ระดับสถานศึกษา
- ให้สถานศึกษากาหนดประเด็นพิจารณาหรือตัวบ่งชี้การประเมินห้องเรียนคุณภาพตามบริบทของ
สถานศึกษา รวมทั้งกาหนดค่าน้าหนักของแต่ละองค์ประกอบ (5 องค์ประกอบ) ของห้องเรียนคุณภาพในแต่ละ
ระดับการศึกษา (ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น)
- สถานศึกษาประเมินตนเองโดยมีขั้นตอนคือ
1) ครผู้สอนทขอรับการประเมินห้องเรียนคุณภาพ ประเมินตนเองตามประเด็นพิจารณา/ ตัว
บ่งชี้ที่สถานศึกษากาหนด โดยคานึงถึงองค์ประกอบของห้องเรียนคุณภาพ 5 องค์ประกอบ
2) สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินห้องเรียนคุณภาพระดับสถานศึกษา อย่างน้อย
3 คนเพื่อตรวจสอบและยืนยันผลการประเมิน
3) ขอรับการประเมินคุณภาพ รับรองห้องเรียนคุณภาพ จากคณะกรรมการของสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สระบุรีเขต 2

8.2 ระดับเขตพื้นที่
- ดาเนินการประเมินเพื่อรับรองคุณภาพของห้องเรียนคุณภาพ ระดบสถานศึกษา ตามสภาพจริง และ
ความโดดเด่นของห้องเรียนเป็นรายห้องเรียน โดยพิจารณาจากประเด็นพิจารณา/ตัวบ่งชี้ที่สถานศึกษาและเขต
พื้นที่กาหนด
- ดาเนินการประเมิน โรงเรียนคุณภาพ และมอบเกียรติบัตรระดับเขตพื้นที่ ให้กับสถานศึกษาที่ผ่าน
เกณฑ์ดังนี้
๑) มีห้องเรียนที่ได้รับการยืนยันว่าเป็นห้องเรียนคุณภาพครบทุกระดับการศึกษาที่เปิดสอนอย่ างน้อย
ระดับละ ๑ หองเรียน (ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น)
๒) มี ห้ อ งเรี ย นคุ ณ ภาพทุ ก ระดั บ รวมกั น มากกว่ า ร้ อ ยละ ๕๐ ของจ านวนห้ อ งเรี ย นทั้ ง หมดใน
สถานศึกษา

จากแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้น ได้สรุปเป็นกรอบแนวคิด ใน
การจัดทาคู่มือห้องเรียนคุณภาพของโรงเรียนบ้านซับดินดา แผนภูมดิ ังนี้
๑๐

มาตรฐานห้องเรียนคุณภาพ

- พระบรมราโชวาทและพระบรมราโชบาย ด้านกายภาพ(ห้องเรียน)
ทีเ่ กี่ยวข้องกับการศึกษาขอพระบาทสมเด็จ A1
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถ Awareness ตัวชี้วัดที่ 1 ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
บพิตรและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลง และความสะอาดของห้องเรียน
กรณบดินทรเทพยวรางกูร ตัวชี้วัดที่ 2 บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ด้านคุณภาพครู
- นโยบายการจัดการศึกษาของ ตัวชี้วัดที่ 1 การบริหารจัดการชั้นเรียน
กระทรวงศึกษาธิการ A2 ตัวชี้วัดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนและการ
Attempt วัดผลประเมินผลการเรียนรู้
- มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านคุณภาพผู้เรียน
- กรอบการพัฒนาครูตามแนวทางการให้มี ตัวชี้วัดที่ 1 ผลการอ่าน เขียนและสัมฤทธิ์ของ
และหรือเลื่อนวิทยฐานะของข้าราชการครู A3 ผู้เรียน
Achievement ตัวชี้วัดที่ 2 ความสามารถด้านการคิด วิเคราะห์ฯ
- นโยบายห้องเรียนคุณภาพของสานักงาน ตัวชี้วัดที่ 3 ความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยี
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัดที่ ๔ การปฏิบัติตามข้อตกลงของโรงเรียน
ด้านคุณภาพการบริหารจัดการ
- นโยบายห้องเรียนคุณภาพการศึกษาของ A4
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ด้านคุณภาพผู้สนับสนุนและการมีส่วนร่วม
Accreditation
สระบุรี เขต ๒

การประกันคุณภาพการศึกษา
๑๑

แนวทางการดาเนินงานของโรงเรียน
๑. ศึกษาข้อมูลและทาคู่มือห้องเรียนคุณภาพ
๒. การประกาศค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
๓. จัดทาคาสั่งคณะกรรมการดาเนินงาน
๔.ดาเนินงาน
๔.๑ เขียนโครงการนิเทศภายใน กิจกรรม ห้องเรียนคุณภาพ และกาหนดผู้รับผิดชอบ
๔.๒ ดาเนินงานตามคู่มือห้องเรียนคุณภาพ
๔.๓ นิเทศชั้นเรียนตามตาราง เพื่อประเมินผลการดาเนินงานกิจกรรม
๔.๔ สรุปผลการประเมิน เพื่อคัดเลือกหาตัวแทนของโรงเรียนในระดับชั้น ป.๑-๓ และ ป.๔-๖
๔.๕ PLC หลังเสร็จสิ้นกิจกรรม
๕. กากับติดตาม วัดผลประเมินผล
๖. รายงานผลการดาเนินงาน
๑๒
วิธีดาเนินการประเมินห้องเรียนคุณภาพ

การประเมินห้องเรียนคุณภาพ มีขั้นตอนการดาเนินการตามตารางต่อไปนี้

ระดับปฐมวัย
ระดับ การดาเนินการ ระยะเวลา
โรงเรียน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินห้องเรียนคุณภาพระดับ
โรงเรียน
จานวน 3 – 5 คน ประกอบด้วย
1.1 ผู้อานวยการโรงเรียนเป็นประธานคณะกรรมการ
1.2 กรรมการสถานศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียน จานวน 1 คน
เป็นกรรมการ
1.3 ครูผู้สอนที่ได้รับมอบหมายจานวน 1 - 2 คน เป็น
กรรมการ
และเลขาฯ

2. ประเมินคุณภาพห้องเรียนทุกห้องเรียน ครั้งที่ 1 ๒๙-๓๑ กรฎาคม


๒๕๖๓
๓. PLC ผลการนิเทศครั้งที่ ๑ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๓
๔.ประเมินคุณภาพห้องเรียนทุกห้องเรียน ครั้งที่ ๒ ๓๑ สิงหาคม-๑
กันยายน๒๕๖๓
๕. PLC ผลการนิเทศครั้งที่ ๒ ๔ กันยายน๒๕๖๓
๖.ประเมินคุณภาพห้องเรียนทุกห้องเรียน ครั้งที่ ๓ ๑-๒ ตุลาคม๒๕๖๓
๖. PLC ผลการนิเทศครั้งที่ ๓ ๘ ตุลาคม๒๕๖๓

ระดับเขตพื้นที่ฯ 1. โรงเรียนเสนอรายชื่อครูผู้สอนที่มีผลการประเมินห้องเรียน เขตพื้นที่กาหนด


คุณภาพ ระดับดี ขึ้นไปให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สามารถปรับเปลี่ยน
1.1 แบบสรุปผลการประเมินห้องเรียนคุณภาพระดับโรงเรียน ได้ตามความ
จานวน 1 ชุด เหมาะสม
1.2 แบบบันทึกผลการประเมินห้องเรียนคุณภาพของผู้รับการ
ประเมินรายคน (มีผลการประเมินของคณะกรรมการ
ระดับโรงเรียน)

2. รับการประเมินจากเขตพื้นที่
3. ประกาศผล/รับรางวัล
๑๓
วิธีดาเนินการประเมินห้องเรียนคุณภาพ
การประเมินห้องเรียนคุณภาพ มีขั้นตอนการดาเนินการตามตารางต่อไปนี้

ระดับขั้นพื้นฐาน

ระดับ การดาเนินการ ระยะเวลา


โรงเรียน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินห้องเรียนคุณภาพระดับ กรกฎาคม ๒๕๖๓
โรงเรียนจานวน 3 – 5 คน ประกอบด้วย
1.1 ผู้อานวยการโรงเรียนเป็นประธานคณะกรรมการ
1.2 กรรมการสถานศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียน จานวน 1 คน
เป็นกรรมการ
1.3 ครูผู้สอนที่ได้รับมอบหมายจานวน 1 - 2 คน เป็น
กรรมการและเลขาฯ

2. ประเมินคุณภาพห้องเรียนทุกห้องเรียน ครั้งที่ 1 ๒๙-๓๑ กรฎาคม


๒๕๖3
๓. PLC ผลการนิเทศครั้งที่ ๑ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๓
๔.ประเมินคุณภาพห้องเรียนทุกห้องเรียน ครั้งที่ ๒ ๓๑ สิงหาคม-๑
กันยายน๒๕๖๓
๕. PLC ผลการนิเทศครั้งที่ ๒ ๓ กันยายน๒๕๖๓
๖.ประเมินคุณภาพห้องเรียนทุกห้องเรียน ครั้งที่ ๓ ๑-๒ ตุลาคม๒๕๖๓
๖. PLC ผลการนิเทศครั้งที่ ๓ ๗ ตุลาคม๒๕๖๓

ระดับเขตพื้นที่ฯ 1. โรงเรียนเสนอรายชื่อครูผู้สอนที่มีผลการประเมินห้องเรียน เขตพื้นที่กาหนด


คุณภาพ ระดับดี ขึ้นไปให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สามารถปรับเปลี่ยน
1.1 แบบสรุปผลการประเมินห้องเรียนคุณภาพระดับโรงเรียน ได้ตามความ
จานวน 1 ชุด เหมาะสม
1.2 แบบบันทึกผลการประเมินห้องเรียนคุณภาพของผู้รับการ
ประเมินรายคน (มีผลการประเมินของคณะกรรมการ
ระดับโรงเรียน)

2. รับการประเมินจากเขตพื้นที่
3. ประกาศผล/รับรางวัล
๑๔

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ
1. คะแนนการประเมินห้องเรียนคุณภาพทุกด้านรวม 100 คะแนน ประกอบด้วย
1.1 ด้านกายภาพ คะแนน ๒0 คะแนน
1.2 ด้านคุณภาพนักเรียน คะแนน ๒0 คะแนน
1.3 ด้านคุณภาพครู คะแนน ๒0 คะแนน
๑.๔ ด้านคุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา คะแนน ๒0 คะแนน
๑.๕ ด้านคุณภาพผู้สนับสนุนการจัดการศึกษา คะแนน ๒0 คะแนน
2. ระดับคุณภาพ
คะแนน 80 คะแนนขึ้นไป คุณภาพห้องเรียน ระดับ ยอดเยี่ยม
คะแนน 70 - 79 คะแนน คุณภาพห้องเรียน ระดับ ดีเลิศ
คะแนน 60 - 69 คะแนน คุณภาพห้องเรียน ระดับ ดี
คะแนน 50 – 59 คะแนน คุณภาพห้องเรียน ระดับ ปานกลาง
คะแนนต่ากว่า 50 คะแนน คุณภาพห้องเรียน ระดับ กาลังพัฒนา
รางวัลห้องเรียนคุณภาพ
1. รางวัลห้องเรียนคุณภาพระดับโรงเรียน จะได้รับเกียรติบัตร ดังนี้
ห้องเรียนคุณภาพ ระดับ ยอดเยี่ยม
ห้องเรียนคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ
ห้องเรียนคุณภาพ ระดับ ดี
2. กรณีครูผู้สอนได้รับเกียรติบัตรห้องเรียนคุณภาพระดับโรงเรียน ระดับดีเยี่ยม 3 ครั้งต่อเนื่อง
ได้รับเกียรติบัตรห้องเรียนคุณภาพยั่งยืน และได้เป็นตัวแทนระดับโรงเรียนเข้าแข่งขันระดับเขตพื้นที่
ต่อไป
๑๕
คาอธิบายเกณฑ์การประเมินห้องเรียนคุณภาพระดับปฐมวัย

๑.ด้านกายภาพ/ห้องเรียน(Happiness Classroom) (๒0 คะแนน)


รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บ แหล่งข้อมูล
รวบรวมข้อมูล
๑. การจัด 1.ความปลอดภัยในการจัดสภาพแวดล้อม สังเกต/ -สภาพภายใน
สภาพแวดล้อมและสื่อ ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ตรวจสอบสภาพ ห้องเรียน
นวัตกรรมและ 2.สภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ภายใน-และ -สภาพบริเวณ
เทคโนโลยีเพื่อการ เป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม บริเวณรอบ รอบห้องเรียน
เรียนรู้ 3.ส่งเสริมการเล่นแบบร่วมมือร่วมใจ ห้องเรียน
(5 คะแนน) 4.มีมุมประสบการณ์ที่หลากหลาย
5.มีสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีที่เพียงพอ
และทันสมัย สามารถส่งเสริมพัฒนาการ
เด็กอย่างรอบด้าน

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนน
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 5 รายการ 5
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4 รายการ 4
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3 รายการ 3
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 2 รายการ ๒
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1 รายการ ๑
๑๖
๑. ด้านกายภาพ/ห้องเรียน (Happiness Classroom) ต่อ
รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บ แหล่งข้อมูล
รวบรวมข้อมูล
2. บรรยากาศ ที่ 1) มีมุมเกมการศึกษา 1. สังเกต/ -สภาพจริงที่
เอื้อต่อ การเรียนรู้ 2) มีมุมกีฬา สารวจสภาพเชิง ปรากฏใน
(๑5 คะแนน) 3) มีมุมดนตรี ประจักษ์ ห้องเรียน
4) มีมุมแต่งตัว 2. ตรวจสอบ -ธุรการชั้นเรียน
5) มีมุมธรรมชาติ เอกสารธุรการ
6) มีมุมบทบาทสมมุติ ชั้นเรียน
7) มีมุมบล็อค
8) มีมุมบ้าน
9) มีมุมสะสมผลงาน
10) มีมุมวิทยาศาตร์
11) มีมุมศิลปะ
12) มีมุมส่งงาน
13) มีมุมสร้างสรรค์
14) มีมุมหนังสือ
15) มีมุมสุขภาพอนามัย

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนน
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ครบ 15 รายการ 15
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 14 – 13 รายการ 14
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 11 - 10 รายการ 13
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 9 - 8 รายการ 12
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 7 - 6 รายการ 11
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้น้อยกว่า 5 รายการ 0
๑๗
2. ด้านคุณภาพเด็ก(Smart Student) (๒0 คะแนน)

รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวม แหล่งข้อมูล


ข้อมูล
1. มีพัฒนาการด้าน 1. น้าหนัก ส่วนสูง เป็นไปตามเกณฑ์ 1. บันทึกน้าหนัก -เอกสาร
ร่างกาย แข็งแรง มีสุข 2. การเคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตัว ส่วนสูงของเด็ก หลักฐานตาม
นิสัยที่ดี และดูแลความ 3. การดูแลสุขภาพอนามัยตนเอง 2. บันทึกสุขภาพ สภาพจริง
ปลอดภัยของตนเองได้ 4. การปฏิบัติตนตามข้อตกลง 3. สัมภาษณ์/สนทนา/ ครู /นักเรียน
4. การหลีกเลี่ยงที่เสี่ยงต่อโรค ระวังภัยจากบุคคล ซักถามนักเรียน /ผู้เกี่ยวข้อง
และที่อันตราย 4. สังเกตพฤติกรรม
5. นักเรียนปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของ
ห้องเรียน/โรงเรียน
2. มีพัฒนาการด้าน 1. ร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้ 1. ผลการประเมิน -เอกสาร
อารมณ์ จิตใจ ควบคุม เหมาะสม พัฒนาการของเด็ก หลักฐานตาม
และแสดงออกทาง 2. มีจิตสานึกและค่านิยมที่ดี รู้จักยับยั้งชั่งใจ อด 2. บันทึกสุขภาพ สภาพจริง
อารมณ์ได้ ทดในการรอคอย 3. สัมภาษณ์/สนทนา/ ครู /นักเรียน
3. ยอมรับในความสามารถของตนเองและผู้อื่น ซักถามนักเรียน /ผู้เกี่ยวข้อง
4.มีความมั่นใจ กล้าแสดงออก มีความสุขกับ 4. สังเกตพฤติกรรม
ศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
5.มีคุณธรรม จริยธรรม ช่วยเหลือแบ่งปัน
3.มีพัฒนาการด้าน 1. การปฏิบัติกิจวัตรประจาวันของตนเอง 1. ผลการประเมิน -เอกสาร
สังคม ช่วยเหลือตนเอง 2. การมีวินัยในตนเองและเคารพความแตกต่าง พัฒนาการของเด็ก หลักฐานตาม
และเป็นสมาชิกที่ดีของ ระหว่างบุคคล 2. บันทึกสุขภาพ สภาพจริง
สังคม 3. การมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย 3. สัมภาษณ์/สนทนา/ ครู /นักเรียน
4. การเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล และ ซักถามนักเรียน /ผู้เกี่ยวข้อง
สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งโดยไม่ใช้ความรุนแรงได้ 4. สังเกตพฤติกรรม
5. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
การประหยัดและพอเพียง
4.พัฒนาการด้าน 1. การสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ . ผลการประเมิน -เอกสาร
สติปัญญา สื่อสารได้ มี รวมทั้งสามารถตั้งคาถาม และรู้ตักการค้นหา พัฒนาการของเด็ก หลักฐานตาม
ทักษะการคิดพื้นฐาน คาตอบ 2. บันทึกสุขภาพ สภาพจริง
และแสวงหาความรู้ได้ 2. อ่านนิทานและเล่าเรื่องได้เหมาะสมกับวัย 3. สัมภาษณ์/สนทนา/ ครู /นักเรียน
3. มีความคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การคิด ซักถามนักเรียน /ผู้เกี่ยวข้อง
แก้ปัญหา และตัดสินใจ 4. สังเกตพฤติกรรม
4. สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ
5. สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ
๑๘

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนนเต็ม
1. มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ (5)
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ครบ 5 รายการ 5
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4 รายการ 4
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3 รายการ 3
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 2 รายการ 2
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1 รายการ 1
2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ คะแนนเต็ม
(5)
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ครบ 5 รายการ 5
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4 รายการ 4
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3 รายการ 3
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 2 รายการ 2
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1 รายการ 1
3. มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม คะแนนเต็ม
(๕)
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ครบ 5 รายการ 5
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4 รายการ 4
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3 รายการ 3
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 2 รายการ 2
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1 รายการ 1
4. พัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ คะแนนเต็ม
(๕)
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ครบ 5 รายการ 5
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4 รายการ 4
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3 รายการ 3
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 2 รายการ 2
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1 รายการ 1
๑๙
3. ด้านคุณภาพครู (Professional Teacher) (๒0 คะแนน)

รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บ แหล่งข้อมูล


รวบรวมข้อมูล
1. การบริหาร 1. มีครูทจี่ บการศึกษาปฐมวัย 1. กคศ.๑๖/sar -เอกสาร หลักฐาน
จัดการชั้นเรียน 2. มีครูเพียงพอกับชั้นเรียน การปฏิบัติงาน ตามสภาพจริง
(๑0 คะแนน) 3. ครูและบุคลากรให้มีความรู้ ของครู ครูผู้ถูกประเมิน /
ความสามารถในการวิเคราะห์และ 2. สัมภาษณ์ครู นักเรียน /
ออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา รวมถึงมี ผู้ถูกประเมิน / ผู้เกี่ยวข้อง
ทักษะในการจัดประสบการณ์ และการ นักเรียน /
ประเมินพัฒนาการเด็ก ผู้เกี่ยวข้อง
ปัญหาของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
4. การใช้ประสบการณ์สาคัญในการ
ออกแบบกิจกรรม
5. มีการสังเกตและประเมินพัฒนาการเด็ก
เป็นรายบุคคล

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนน
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ได้ 5 รายการ 10
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4 รายการ 8
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3 รายการ 6
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 2 รายการ 4
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1รายการ 2
๒๐

3. ด้านคุณภาพครู (Professional Teacher) ต่อ)

รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บ แหล่งข้อมูล


รวบรวมข้อมูล
2. การจัดการเรียน 2.1 จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยที่ 1. สารวจ เอกสาร หลักฐาน
การสอน ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตร ตรวจสอบการ ตามสภาพจริง
(๑0 คะแนน) การศึกษา โดยหลักสูตรมีความสอดคล้อง ปฏิบัติจาก เช่น ร่องรอยการ
กับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและ ร่องรอย เอกสาร วิเคราะห์
ท้องถิ่น หลักฐานตาม หลักสูตร
2.2 การออกแบบการจัดประสบการณ์เพื่อ สภาพจริง สถานศึกษา/กลุ่ม
เตรียมความพร้อม และไม่เร่งรัดวิชาการ 2. สัมภาษณ์ครูผู้ สาระการเรียนรู้ที่
2.3 เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น และการ ถูกประเมิน / รับผิดชอบ หน่วย/
ลงมือปฏิบัติ โดยใช้รูปแบบของActive นักเรียน / แผนการจัดการ
Learning ผู้เกี่ยวข้อง เรียนรู้แฟ้มสะสม
2.4 ตอบสนองความต้องการและความ ๓.หลักสูตร งานนักเรียน/
แตกต่างของเด็กปกติ และกลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษา ผลงานนักเรียน
เฉพาะ ปฐมวัย ฯลฯ
2.5 การประเมินและพัฒนาหลักสูตร ๔.แผนการจัด
สถานศึกษา ประสบการณ์

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนน
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ได้ 5 รายการ 10
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4 รายการ 8
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3 รายการ 6
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 2 รายการ 4
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1 รายการ 2
๒๑
4. ด้านคุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา (Professional Administrator) (๒๐ คะแนน)

รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวม แหล่งข้อมูล


ข้อมูล
การบริหารจัดการ 1. มีการวางแผนและจัดทาพัฒนาคุณภาพ 1. แผนพัฒนาคุณภาพ -เอกสาร หลักฐาน
คุณภาพของ การจัดการศึกษา การศึกษา ตามสภาพจริง
สถานศึกษา(๔0 2. มีการนาแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนา 2. ตรวจสอบแฟ้ม ครู /นักเรียน /
คะแนน) คุณภาพการศึกษา สะสมงาน แฟ้มสะสม ผู้เกี่ยวข้อง
3. มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากร ผู้บริหาร
ทางการศึกษา 3. สัมภาษณ์/สนทนา/
4. มีระบบการนิเทศภายใน และนิเทศ ซักถามผู้เกี่ยวข้อง
ติดตามอย่างต่อเนื่อง
5. ร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา
6. พัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียน
รอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
7. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ
เชี่ยวชาญทางอาชีพ พร้อมทั้งสร้างขวัญ
กาลังใจในการปฏิบัติงาน
8. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ
สังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของเด็ก
9. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
สนับสนุนการบริหารจัดการและการ
จัดการเรียนรู้ของเด็ก
10. มีภาวะผู้นาและเป็นผู้นาแห่งการ
เปลี่ยนแปลง

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนน
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ได้ 9-10 รายการ 20
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 7-8 รายการ 18
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 6-7 รายการ 14
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4-5 รายการ 10
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3-4 รายการ 8
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1-2 รายการ 2
๒๒
5. ด้านคุณภาพผู้สนับสนุนการศึกษา (School Sponsor) (๒๐ คะแนน)

รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวม แหล่งข้อมูล


ข้อมูล
การสนับสนุนทาง 1. มีแผนงานการบริหารแบบมีส่วนร่วม 1. แผนปฏิบัติการ -เอกสาร หลักฐาน
การศึกษาและการ 2. การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ 2. บันทึกการประชุม ตามสภาพจริง
บริหารจัดการแบบมี สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการ ครู /นักเรียน /
ส่วนร่วม(20 คะแนน) 3. มีการระดมทรัพยากร สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้เกี่ยวข้อง
4. มีการใช้หลักสูตรท้องถิ่น 3. ทะเบียนระดม
5. มีการบูรณาการภูมิปัญาท้องถิ่น หรือ ทรัพยากร
วิทยากรท้องถิ่นร่วมการจัดการเรียนรู้ 4. ทะเบียนกิจกรรม/
6. การมีส่วนร่วมระหว่างบ้าน วัด และ สมุดกิจกรรมร่วมกับ
โรงเรียน ชุมชน
7. การมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและ 5.สัมภาษณ์/สนทนา/
องค์กรภายนอก เช่น อบต. เทศบาล เป็น ซักถามผู้เกี่ยวข้อง
ต้น
8. มีการประเมินความพึงพอใจต่อการ
บริหารจัดการการของโรงเรียน
9. นักเรียน ครูและบุคลากรเข้าร่วม
กิจกรรมกับชุมชนอย่างน้อยภาคเรียนละ ๕
ครั้ง
10. มีการประชาสัมพันธ์ ติดต่อสื่อสาร
ระหว่างโรงเรียน และชุมชน

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนน
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ได้ 9-10 รายการ 20
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 7-8 รายการ 18
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 6-7 รายการ 14
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4-5 รายการ 10
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3-4 รายการ 8
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1-2 รายการ 2
๒๓
คาอธิบายเกณฑ์การประเมินห้องเรียนคุณภาพ ระดับขั้นพื้นฐาน

๑.ด้านกายภาพ/คุณภาพห้องเรียน(Happiness Classroom) (๒0


คะแนน)
รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บ แหล่งข้อมูล
รวบรวมข้อมูล
๑. ความเป็นระเบียบ 1) การจัดโต๊ะ – เก้าอี้ ของนักเรียนมี สังเกต/ -สภาพภายใน
เรียบร้อยและความ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและอยู่ใน ตรวจสอบสภาพ ห้องเรียน
สะอาดของห้องเรียน สภาพแข็งแรง ปลอดภัย และเหมาะสม ภายใน-และ -สภาพบริเวณ
(5 คะแนน) กับวัยของผู้เรียน บริเวณรอบ รอบห้องเรียน
2) โต๊ะ – เก้าอี้ – ของครูจัดเป็นระเบียบ ห้องเรียน
และสะอาด
3) มุมต่างๆภายในห้อง สะอาดเรียบร้อย
4) การจัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ ของใช้
ประจาห้องเรียนไว้ในตู้/ชั้นวางของ/
บริเวณที่สาหรับจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบ
เรียบร้อย สะอาดและสวยงาม
5) บริเวณภายใน-และบริเวณรอบ
ห้องเรียนมีความสะอาดและปลอดภัย

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนน
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 5 รายการ 5
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4 รายการ 4
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3 รายการ 3
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 2 รายการ 2
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1 รายการ 1
๒๔

๑.ด้านกายภาพ/คุณภาพห้องเรียน(Happiness Classroom) ต่อ

รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บ แหล่งข้อมูล


รวบรวมข้อมูล
2. บรรยากาศ ที่ 1) มีป้ายชื่อชั้นเรียน (ภาษาไทยและ 1. สังเกต/ -สภาพจริงที่
เอื้อต่อ การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ) สารวจสภาพเชิง ปรากฏใน
(๑5 คะแนน) 2) มีป้ายชื่อครูประจาชั้น (ภาษาไทยและ ประจักษ์ ห้องเรียน
ภาษาอังกฤษ) 2. ตรวจสอบ -ธุรการชั้นเรียน
3) มีป้ายแสดงสถิติการมาเรียนของ เอกสารธุรการ
นักเรียน ชั้นเรียน
4) มีป้ายสมาชิกเพื่อนร่วมชั้นเรียน
5) มีสัญลักษณ์ของชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์จัดวางอย่างถูกต้อง
6) มีตารางสอน/ตารางเรียนที่เป็นปัจจุบัน
7) มีป้ายแสดงข้อตกลงของห้องเรียน
8) มีมุมแสดงผลงานของนักเรียนที่
สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ที่เป็น
ปัจจุบัน
9) มีมุมส่งเสริมการอ่าน
10) มีมุมสาหรับวาง/แขวนแก้วน้า แปรงสี
ฟันของนักเรียนทุกคน/มุมสวยหล่อ
11) มีป้ายนิเทศ
12) มีมุมสื่อ นวตกรรม/อุปกรณ์การ
เรียนรู้ที่สอดคล้องกับหน่วยหรือแผนการ
จัดการเรียนรู้ที่
13) มีมุมธุรการชั้นเรียน
14) มีมุมทาความสะอาด
15) มีมุมสุขภาพอนามัย

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนน
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ครบ 15 รายการ 15
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 14 – 13 รายการ 14
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 11 - 10 รายการ 13
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 9 - 8 รายการ 12
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 7 - 6 รายการ 11
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้น้อยกว่า 5 รายการ 0
๒๕

2. ด้านคุณภาพเด็ก(Smart Student) (๒0 คะแนน)


รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บ แหล่งข้อมูล
รวบรวมข้อมูล
1. ผลสัมฤทธิ์ 1. นักเรียนอ่านออก เขียนได้ ตามและมี 1. ทดสอบการ -เอกสาร หลักฐาน
ของผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการ อ่าน/การเขียน ตามสภาพจริง
(๒0 คะแนน) เรียนรู้ที่เป็นตามเกณฑ์ของสถานศึกษา นักเรียน ครู /นักเรียน /
2. นักเรียนมีความสามารถในการคิด 2. ตรวจสอบ ผู้เกี่ยวข้อง
วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณตาม แฟ้มสะสมงาน
ระดับชั้น แฟ้มสะสมงาน
3. นักเรียนมีความสามารถในการใช้ นักเรียน
เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้อย่างเหมาะสม 3. สัมภาษณ์/
ตามระดับชั้น สนทนา/ซักถาม
4. นักเรียนปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ นักเรียน
ระเบียบของห้องเรียน/โรงเรียน ๔. สังเกต
พฤติกรรม

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนนเต็ม

1. นักเรียนอ่านออก/อ่านเป็น เขียนได้-เขียนเป็นตามระดับชั้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (5)


เป็นตามเกณฑ์ของสถานศึกษา
1.1 จานวนผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไปอ่านออก/อ่านเป็น เขียนได้-เขียนเป็นตามระดับชั้น มี 5
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบเป็นตามเกณฑ์ของสถานศึกษา
1.2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70 - 79 อ่านออก/อ่านเป็น เขียนได้-เขียนเป็นตามระดับชั้น มี 4
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบเป็นตามเกณฑ์ของสถานศึกษา
1.3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60 - 69 อ่านออก/อ่านเป็น เขียนได้-เขียนเป็นตามระดับชั้น มี 3
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบเป็นตามเกณฑ์ของสถานศึกษา
1.4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50 – 59 อ่านออก/อ่านเป็น เขียนได้-เขียนเป็นตามระดับชั้น มี 2
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบเป็นตามเกณฑ์ของสถานศึกษา
1.5 จานวนผู้เรียนต่ากว่าร้อยละ 50 อ่านออก/อ่านเป็น เขียนได้-เขียนเป็นตามระดับชั้น มี 1
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบเป็นตามเกณฑ์ของสถานศึกษา
๒. นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณตามระดับชั้น (5)
2.1 จานวนผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไปมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี 5
วิจารณญาณตามระดับชั้น
2.2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70 - 79 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี 4
วิจารณญาณตามระดับชั้น
๒๖

2.3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60 - 69 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี 3


วิจารณญาณตามระดับชั้น
2.4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50 – 59 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี 2
วิจารณญาณตามระดับชั้น
2.5 จานวนผู้เรียนต่ากว่าร้อยละ 50 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี 1
วิจารณญาณตามระดับชั้น
๓. นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้อย่างเหมาะสมตาม (๕)
ระดับชั้น
3.1 จานวนผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไปมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้อย่าง ๕
เหมาะสมตามระดับชั้น
3.2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70 - 79 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้อย่าง ๔
เหมาะสมตามระดับชั้น
3.3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60 - 69 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้อย่าง ๓
เหมาะสมตามระดับชั้น
3.4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50 – 59 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ๒
อย่างเหมาะสมตามระดับชั้น
3.5 จานวนผู้เรียนต่ากว่าร้อยละ 50 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ๑
อย่างเหมาะสม
4. นักเรียนปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/โรงเรียน คะแนนเต็ม
(๕)
4.1 จานวนผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไปปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/ 5
โรงเรียน
4.2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70 - 79 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/ 4
โรงเรียน
4.3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60 - 69 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/ 3
โรงเรียน
4.4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50 – 59 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/ 2
โรงเรียน
4.5 จานวนผู้เรียนต่ากว่าร้อยละ 50 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/ 0
โรงเรียน
๒๗

3. ด้านคุณภาพครู (Professional Teacher) (๒0 คะแนน)


รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บ แหล่งข้อมูล
รวบรวมข้อมูล
1. การบริหาร 1. มีข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลที่ 1. สารวจ -เอกสาร หลักฐาน
จัดการชั้นเรียน ครอบคลุมด้านความรู้ ความสามารถ ตรวจสอบการ ตามสภาพจริง
(๑0 คะแนน) จุดเด่น จุดด้อยของนักเรียน ปฏิบัติจาก ครูผู้ถูกประเมิน /
2. มีเอกสารประจาชั้น/ประจาวิชาที่สอน ร่องรอย เอกสาร นักเรียน /
ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน หลักฐานตาม ผู้เกี่ยวข้อง
3. มีการช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคล โดยให้ สภาพจริง
คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไข 2. สัมภาษณ์ครู
ปัญหาของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ผู้ถูกประเมิน /
4. มีการส่งเสริมวินัยเชิงบวกในชั้นเรียน นักเรียน /
อย่างต่อเนื่อง ผู้เกี่ยวข้อง
5. มีการประสานความร่วมมือกับ
ผู้เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
6. มีการรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนเป็น
รายบุคคลให้ผู้ปกครองทราบ
๗. ครูปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู
และไม่กระทาผิดวินัย
๘. ครูปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
๙.ครูตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อหน้าที่
๑๐. ครูอุทิศเวลาในการปฏิบัติงาน

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนน
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ได้ 9-10 รายการ 10
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 7-8 รายการ 8
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 6-7 รายการ 6
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4-5 รายการ 4
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3-4 รายการ 2
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1-2 รายการ 0
๒๘

3. ด้านคุณภาพครู (Professional Teacher)ต่อ


รายการ รายการพิจารณา วิธีการเก็บ แหล่งข้อมูล
ประเมิน รวบรวมข้อมูล
2. การจัดการ 1. มีการวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาและกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ 1. สารวจ เอกสาร
เรียนการสอน รับการประเมิน ตรวจสอบการ หลักฐานตาม
(๑0 คะแนน) ๒. มีเอกสารประจาชั้น/ประจาวิชาที่สอนครบถ้วน เป็นปัจจุบัน ปฏิบัติจาก สภาพจริง เช่น
3. มีการออกแบบและการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้อง ร่องรอย ร่องรอยการ
กับหน่วยการเรียนรู้ตลอดปี เอกสาร วิเคราะห์
4. มีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ หลักฐานตาม หลักสูตร
จากการลงมือปฏิบัติจริงอย่างมีความหมาย มีการร่วมมือระหว่าง สภาพจริง สถานศึกษา/
ผู้เรียนด้วยกัน มีกระบวนการและ 2. สัมภาษณ์ กลุ่มสาระการ
กิจกรรมที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการจะทา ครูผู้ถูก เรียนรู้ที่
กิจกรรมต่างๆ มากขึ้นและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยน ประเมิน / รับผิดชอบ
ประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การ นักเรียน / หน่วย/
อภิปราย (Active Learning : AL) ผู้เกี่ยวข้อง แผนการจัดการ
เรียนรู้แฟ้ม
5. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้และ สะสมงาน
บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นักเรียน/ผลงาน
6. มีการผลิตและใช้สื่อการเรียนรู้อย่างเหมาะสมกับกิจกรรมการ นักเรียนฯลฯ
เรียนรู้
7. มีเกณฑ์ในการวัดและประเมินผล ที่สอดคล้องกับระเบียบ และ
ใช้วิธีการวัดผล ประเมินผล พร้อมทั้งเครื่องมือได้เหมาะสมและ
สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
๘. มีการบันทึกผลการเรียนรู้ของนักเรียนทุกครั้งที่จัดการเรียนรู้
9. มีการแจ้งผลการประเมินแก่ผู้เรียนได้นาไปใช้ในการพัฒนา
10. มีการนากระบวนการวิจัยในชั้นเรียน มาใช้ในการพัฒนา
นักเรียน

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนน
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ได้ 9-10 รายการ 10
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 7-8 รายการ 8
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 6-7 รายการ 6
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4-5 รายการ 4
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3-4 รายการ 2
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1-2 รายการ 0
๒๙

4. ด้านคุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา (Professional Administrator) (๒๐ คะแนน)

รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวม แหล่งข้อมูล


ข้อมูล
การบริหารจัดการ 1. มีการวางแผนและจัดทาพัฒนาคุณภาพ 1. แผนพัฒนาคุณภาพ -เอกสาร หลักฐาน
คุณภาพของ การจัดการศึกษา การศึกษา ตามสภาพจริง
สถานศึกษา 2. มีการนาแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนา 2. ตรวจสอบแฟ้ม ครู /นักเรียน /
(๒0 คะแนน) คุณภาพการศึกษา สะสมงาน แฟ้มสะสม ผู้เกี่ยวข้อง
3. มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากร ผู้บริหาร
ทางการศึกษา 3. สัมภาษณ์/สนทนา/
4. มีระบบการนิเทศภายใน และนิเทศ ซักถามผู้เกี่ยวข้อง
ติดตามอย่างต่อเนื่อง
5. ร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา
6. พัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียน
รอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
7. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ
เชี่ยวชาญทางอาชีพ พร้อมทั้งสร้างขวัญ
กาลังใจในการปฏิบัติงาน
8. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ
สังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
9. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
สนับสนุนการบริหารจัดการและการ
จัดการเรียนรู้
10. มีภาวะผู้นาและเป็นผู้นาแห่งการ
เปลี่ยนแปลง

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนน
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ได้ 9-10 รายการ 20
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 7-8 รายการ 18
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 6-7 รายการ 14
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4-5 รายการ 10
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3-4 รายการ 8
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1-2 รายการ 2
๓๐

5. ด้านคุณภาพผู้สนับสนุนการศึกษา (School Sponsor) (๒๐ คะแนน)

รายการประเมิน รายการพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวม แหล่งข้อมูล


ข้อมูล
การสนับสนุนทาง 1. มีแผนงานการบริหารแบบมีส่วนร่วม 1. แผนปฏิบัติการ -เอกสาร หลักฐาน
การศึกษาและการ 2. การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ 2. บันทึกการประชุม ตามสภาพจริง
บริหารจัดการแบบมี สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการ ครู /นักเรียน /
ส่วนร่วม(20 คะแนน) 3. มีการระดมทรัพยากร สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้เกี่ยวข้อง
4. มีการใช้หลักสูตรท้องถิ่น 3. ทะเบียนระดม
5. มีการบูรณาการภูมิปัญาท้องถิ่น หรือ ทรัพยากร
วิทยากรท้องถิ่นร่วมการจัดการเรียนรู้ 4. ทะเบียนกิจกรรม/
6. การมีส่วนร่วมระหว่างบ้าน วัด และ สมุดกิจกรรมร่วมกับ
โรงเรียน ชุมชน
7. การมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและ 5.สัมภาษณ์/สนทนา/
องค์กรภายนอก เช่น อบต. เทศบาล เป็น ซักถามผู้เกี่ยวข้อง
ต้น
8. มีการประเมินความพึงพอใจต่อการ
บริหารจัดการการของโรงเรียน
9. นักเรียน ครูและบุคลากรเข้าร่วม
กิจกรรมกับชุมชนอย่างน้อยภาคเรียนละ ๕
ครั้ง
10. มีการประชาสัมพันธ์ ติดต่อสื่อสาร
ระหว่างโรงเรียน และชุมชน

เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ

คาอธิบายระดับคุณภาพ คะแนน
ปฏิบัติตามรายการพิจารณา ได้ 9-10 รายการ 20
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 7-8 รายการ 18
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 6-7 รายการ 14
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 4-5 รายการ 10
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 3-4 รายการ 8
ปฏิบัติตามรายการพิจารณาได้ 1-2 รายการ 2
๓๑

บรรณานุกรม

กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต๑.
(๒๕๖๐). คู่มือห้องเรียนคุณภาพ. สืบค้นจาก https://www.nptedu.go.th/data_ita

กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูนเขต๒.
(๒๕๖๑). คู่มือและแนวทางการพัฒนาห้องเรียนคุณภาพระดับปฐมวัย. สืบค้นจาก
http://www.lp2.go.th/supervise/images/pdf/

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต๒. (๒๕๖๓). ระเบียบวาระการประชุม


ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดและบุคลากรทางการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี
เขต ๒. ครั้งที๓่ /๒๕๖๓. (น.๗-๑๐). กลุม่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา:สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต๒.
๓๒
๓๓
แบบบันทึกการประเมินห้องเรียนคุณภาพระดับปฐมวัย
โรงเรียนบ้านซับดินดา
ชื่อผู้รับการประเมิน....................................................................... ชั้น...................
สาระการเรียนรู้ที่รับการประเมิน...................................วันที่...................................................
ชื่อผู้อานวยการโรงเรียน ......................................................สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต ๒

คาชี้แจง : ให้ใส่เครื่องหมายช่องรายการที่ปฏิบัติได้ (เทียบเกณฑ์การให้คะแนนจากคาอธิบายและเกณฑ์การ


ประเมินห้องเรียนคุณภาพ)

ด้านคุณภาพกายภาพ/ห้องเรียน (Happiness Classroom)


รายการประเมิน รายการที่ คะแนนที่ได้
ด้านกายภาพ/ห้องเรียน (๒๐ คะแนน) ปฏิบัติได้
๑. การจัดสภาพแวดล้อมและสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ๕
1.ความปลอดภัยในการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน
2.สภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้
เป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
3.ส่งเสริมการเล่นแบบร่วมมือร่วมใจ
4.มีมุมประสบการณ์ที่หลากหลาย
5.มีสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีที่เพียงพอและทันสมัย สามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
อย่างรอบด้าน
2. บรรยากาศ ที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ 15
1. มีมุมเกมการศึกษา
2. มีมุมกีฬา
3. มีมุมดนตรี
4. มีมุมแต่งตัว
5. มีมุมธรรมชาติ
6. มีมุมบทบาทสมมุติ
7. มีมุมบล็อค
8. มีมุมบ้าน
9. มีมุมสะสมผลงาน
10. มีมุมวิทยาศาตร์
11. มีมุมศิลปะ
12. มีมุมส่งงาน
13. มีมุมสร้างสรรค์
14. มีมุมหนังสือ
15. มีมุมสุขภาพอนามัย
รวม ด้านกายภาพ/ห้องเรียน
๓๔
ด้านคุณภาพนักเรียน (Smart Student)
รายการประเมิน รายการที่ คะแนนทีได้
ด้านคุณภาพผู้เรียน (๒๐ คะแนน) ปฏิบัติได้
1. มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัย ๕
ของตนเองได้
1. น้าหนัก ส่วนสูง เป็นไปตามเกณฑ์
2. การเคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตัว
3. การดูแลสุขภาพอนามัยตนเอง
4. การปฏิบัติตนตามข้อตกลง
4. การหลีกเลี่ยงที่เสี่ยงต่อโรค ระวังภัยจากบุคคลและที่อันตราย
5. นักเรียนปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/โรงเรียน
2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ ๕
1. ร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสม
2. มีจิตสานึกและค่านิยมที่ดี รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทดในการรอคอย
3. ยอมรับในความสามารถของตนเองและผู้อื่น
4.มีความมั่นใจ กล้าแสดงออก มีความสุขกับศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
5.มีคุณธรรม จริยธรรม ช่วยเหลือแบ่งปัน
3.มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ๕
1. การปฏิบัติกิจวัตรประจาวันของตนเอง
2. การมีวินัยในตนเองและเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล
3. การมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย
4. การเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งโดยไม่
ใช้ความรุนแรงได้
5. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
4.พัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหา ๕
ความรู้ได้
1. การสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ รวมทั้งสามารถตั้งคาถาม
และรู้ตักการค้นหาคาตอบ
2. อ่านนิทานและเล่าเรื่องได้เหมาะสมกับวัย
3. มีความคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การคิดแก้ปัญหา และตัดสินใจ
4. สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ
5. สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ
รวมด้านนักเรียน
๓๕

ด้านคุณภาพครู (Professional Teacher)

รายการประเมิน รายการที่ คะแนนที่ได้


ด้านคุณภาพครู (๒๐ คะแนน) ปฏิบัติได้
1. การบริหารจัดการชั้นเรียน ๑๐
1.1 มีครูทจี่ บการศึกษาปฐมวัย
1.2 มีครูเพียงพอกับชั้นเรียน
1.3 ครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตร
สถานศึกษา รวมถึงมีทักษะในการจัดประสบการณ์ และการประเมินพัฒนาการเด็ก
ปัญหาของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
1.4การใช้ประสบการณ์สาคัญในการออกแบบกิจกรรม
1.5 มีการสังเกตและประเมินพัฒนาการเด็ก
เป็นรายบุคคล
2. การจัดการเรียนการสอน ๑๐
2.1 จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตร
การศึกษา โดยหลักสูตรมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น
2.2 การออกแบบการจัดประสบการณ์เพื่อเตรียมความพร้อม และไม่เร่งรัดวิชาการ
2.3 เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น และการลงมือปฏิบัติ โดยใช้รูปแบบของActive
Learning
2.4 ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็กปกติ และกลุ่มเป้าหมาย
เฉพาะ
2.5 การประเมินและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
6. มีการผลิตและใช้สื่อการเรียนรู้อย่างเหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู้
7. มีเกณฑ์ในการวัดและประเมินผล ทีส่ อดคล้องกับระเบียบ และใช้วิธีการวัดผล
ประเมินผล พร้อมทั้งเครื่องมือได้เหมาะสมและสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
๘. มีการบันทึกผลการเรียนรู้ของนักเรียนทุกครั้งที่จัดการเรียนรู้
9. มีการแจ้งผลการประเมินแก่ผู้เรียนได้นาไปใช้ในการพัฒนา
10. มีการนากระบวนการวิจัยในชั้นเรียน มาใช้ในการพัฒนานักเรียน
รวม ด้านครูผู้สอน
๓๖
ด้านคุณภาพบริหารสถานศึกษา (Professional Administrator)
รายการประเมิน รายการที่ คะแนนที่ได้
ด้านผู้บริหารสถานศึกษา (๒๐ คะแนน) ปฏิบัติได้
การบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
1. มีการวางแผนและจัดทาพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
2. มีการนาแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
3. มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา
4. มีระบบการนิเทศภายใน และนิเทศติดตามอย่างต่อเนื่อง
5. ร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา
6. พัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
7. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางอาชีพ พร้อมทั้งสร้างขวัญกาลังใจ
ในการปฏิบัติงาน
8. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
9. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ
เรียนรู้
10. มีภาวะผู้นาและเป็นผู้นาแห่งการเปลี่ยนแปลง
รวม ด้านผู้บริหารสถานศึกษา

ด้านคุณภาพผูส้ นับสนุนทางการศึกษา(School Sponsor)


รายการประเมิน รายการที่ คะแนนที่ได้
ด้านผู้สนับสนุนทางการศึกษา (๒๐ คะแนน) ปฏิบัติได้
การสนับสนุนทางการศึกษาและการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม
1. มีแผนงานการบริหารแบบมีส่วนร่วม
2. การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. มีการระดมทรัพยากร
4. มีการใช้หลักสูตรท้องถิ่น
5. มีการบูรณาการภูมิปัญาท้องถิ่น หรือวิทยากรท้องถิ่นร่วมการจัดการเรียนรู้
6. การมีส่วนร่วมระหว่างบ้าน วัด และโรงเรียน
7. การมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและองค์กรภายนอก เช่น อบต. เทศบาล เป็นต้น
8. มีการประเมินความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการการของโรงเรียน
9. นักเรียน ครูและบุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชนอย่างน้อยภาคเรียนละ ๕ ครั้ง
10. มีการประชาสัมพันธ์ ติดต่อสื่อสารระหว่างโรงเรียน และชุมชน
รวม ด้านผู้บริหารสถานศึกษา
ลงชื่อ.........................................ประธานกรรมการ
(นางสาวเกศรินทร์ ชูหมื่นไวย)
ตาแหน่งผู้ อานวยการโรงเรียนบ้านซับดินดา
ลงชื่อ.........................................กรรมการ ลงชื่อ.........................................กรรมการและเลขานุการ
(นายสุพร เทียนนาวา) (นายนราสิทธิ์ อุตราช)
ตาแหน่ง ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตาแหน่ง ครูโรงเรียนบ้านซับดินดา
๓๗

แบบบันทึกการประเมินห้องเรียนคุณภาพระดับขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนบ้านซับดินดา
ชื่อผู้รับการประเมิน....................................................................... ชั้น...................
สาระการเรียนรู้ที่รับการประเมิน...................................วันที่...................................................
ชื่อผู้อานวยการโรงเรียน ......................................................สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต ๒

คาชี้แจง : ให้ใส่เครื่องหมายช่องรายการที่ปฏิบัติได้ (เทียบเกณฑ์การให้คะแนนจากคาอธิบายและเกณฑ์การ


ประเมินห้องเรียนคุณภาพ)
ด้านคุณภาพกายภาพ/ห้องเรียน (Happiness Classroom)
รายการประเมิน รายการที่ คะแนนที่ได้
ด้านกายภาพ/ห้องเรียน (๒๐ คะแนน) ปฏิบัติได้
๑. ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความสะอาดของห้องเรียน ๕
1. การจัดโต๊ะ – เก้าอี้ ของนักเรียนมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยและอยู่ในสภาพ
แข็งแรง ปลอดภัย และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
2. โต๊ะ – เก้าอี้ – ของครูจัดเป็นระเบียบและสะอาด
3. มุมต่างๆภายในห้อง สะอาดเรียบร้อย
4. การจัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ ของใช้ประจาห้องเรียนไว้ในตู้/ชั้นวางของ/บริเวณที่
สาหรับจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและสวยงาม
5. บริเวณภายใน-และบริเวณรอบห้องเรียนมีความสะอาดและปลอดภัย
2. บรรยากาศ ทีเ่ อื้อต่อ การเรียนรู้ 15
1. มีป้ายชื่อชั้นเรียน (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
2. มีป้ายชื่อครูประจาชั้น (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
3. มีป้ายแสดงสถิติการมาเรียนของนักเรียน
4. มีป้ายสมาชิกเพื่อนร่วมชั้นเรียน
5. มีสัญลักษณ์ของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์จัดวางอย่างถูกต้อง
6. มีตารางสอน/ตารางเรียนที่เป็นปัจจุบัน
7. มีป้ายแสดงข้อตกลงของห้องเรียน
8. มีมุมแสดงผลงานของนักเรียนที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ที่เป็นปัจจุบัน
9. มีมุมส่งเสริมการอ่าน
10. มีมุมสาหรับวาง/แขวนแก้วน้า แปรงสีฟันของนักเรียนทุกคน/มุมสวยหล่อ
11. มีป้ายนิเทศ
12. มีมุมสื่อ นวตกรรม/อุปกรณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหน่วยหรือแผนการ
จัดการเรียนรู้ที่
13. มีมุมธุรการชั้นเรียน
14. มีมุมทาความสะอาด
15. มีมุมสุขภาพอนามัย
รวม ด้านกายภาพ
๓๘

ด้านคุณภาพนักเรียน (Smart Student)

รายการประเมิน รายการที่ คะแนนทีได้


ด้านคุณภาพผู้เรียน (๒๐ คะแนน) ปฏิบัติได้
1. ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน (กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับการประเมิน) ๕
1. นักเรียนอ่านออก/อ่านเป็น เขียนได้-เขียนเป็นตามระดับชั้น มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนเป็นตามเกณฑ์ของสถานศึกษา
1.1 จานวนผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไปอ่านออก/อ่านเป็น เขียนได้-เขียนเป็นตามระดับชั้น
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุม่ สาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบเป็นตามเกณฑ์ของ
สถานศึกษา
1.2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70 - 79 อ่านออก/อ่านเป็น เขียนได้-เขียนเป็นตามระดับชั้น
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุม่ สาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบเป็นตามเกณฑ์ของ
สถานศึกษา
1.3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60 - 69 อ่านออก/อ่านเป็น เขียนได้-เขียนเป็นตามระดับชั้น
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุม่ สาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบเป็นตามเกณฑ์ของ
สถานศึกษา
1.4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50 – 59 อ่านออก/อ่านเป็น เขียนได้-เขียนเป็นตามระดับชั้น
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุม่ สาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบเป็นตามเกณฑ์ของ
สถานศึกษา
1.5 จานวนผู้เรียนต่ากว่าร้อยละ 50 อ่านออก/อ่านเป็น เขียนได้-เขียนเป็นตามระดับชั้น
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุม่ สาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบเป็นตามเกณฑ์ของ
สถานศึกษา
๒. นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณตาม ๕
ระดับชั้น
2.1 จานวนผู้เรียนร้อยละ 80 ขึน้ ไปมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณตามระดับชั้น
2.2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70 - 79 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณตามระดับชั้น
2.3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60 - 69 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณตามระดับชั้น
2.4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50 – 59 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณตามระดับชั้น
2.5 จานวนผู้เรียนต่ากว่าร้อยละ 50 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณตามระดับชั้น
๓. นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ๕
ตามระดับชั้น
3.1 จานวนผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไปมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
อย่างเหมาะสมตามระดับชั้น
3.2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70 - 79 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
อย่างเหมาะสมตามระดับชั้น
3.3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60 - 69 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
อย่างเหมาะสมตามระดับชั้น
3.4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50 – 59 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
อย่างเหมาะสมตามระดับชั้น
๓๙

3.5 จานวนผู้เรียนต่ากว่าร้อยละ 50 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้


อย่างเหมาะสม
ด้านคุณภาพผู้เรียน (ต่อ) ๕
4. นักเรียนปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/โรงเรียน
4.1 จานวนผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไปปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/
โรงเรียน
4.2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70 - 79 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/
โรงเรียน
4.3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60 - 69 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/
โรงเรียน
4.4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50 – 59 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/
โรงเรียน
รวมด้านนักเรียน
๔๐
ด้านคุณภาพครู (Professional Teacher)

รายการประเมิน รายการที่ คะแนนที่ได้


ด้านคุณภาพครู (๒๐ คะแนน) ปฏิบัติได้
1. การบริหารจัดการชั้นเรียนและการปฏิบัติตน ๑๐
1. มีข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลที่ครอบคลุมด้านความรู้ ความสามารถ จุดเด่น จุดด้อยของ
นักเรียน
2. มีเอกสารประจาชั้น/ประจาวิชาที่สอนครบถ้วน เป็นปัจจุบัน
3. มีการช่วยเหลือผูเ้ รียนรายบุคคล โดยให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียน
อย่างเป็นระบบ
4. มีการส่งเสริมวินัยเชิงบวกในชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง
5. มีการประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ทั้งด้านการเรียนและ
คุณภาพชีวิต
6. มีการรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ผู้ปกครองทราบ
๗. ครูปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู และไม่กระทาผิดวินัย
๘. ครูปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๙.ครูตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อหน้าที่
๑๐. ครูอุทิศเวลาในการปฏิบตั ิงาน
2. การจัดการเรียนการสอน (กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับการประเมิน) ๑๐
1. มีการวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาและกลุ่มสาระการเรียนรู้ทรี่ ับการประเมิน
2. มีการจัดทาหน่วยการเรียนรูต้ ลอดทั้งปีที่ครอบคลุมตัวชี้วัดรายปีและสอดคล้องกับโครงสร้าง
ของหลักสูตรสถานศึกษา มีการเชือ่ มโยงกับบริบทและชุมชนของโรงเรียนและนาสู่การจัดการ
เรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน
3. มีการออกแบบและการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ
หน่วยการเรียนรูต้ ลอดปี
4. มีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงอย่างมี
ความหมาย มีการร่วมมือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน มีกระบวนการและ
กิจกรรมที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการจะทากิจกรรมต่างๆ มากขึ้น
และหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การ
อภิปราย (Active Learning : AL)

5. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้และบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน
6. มีการผลิตและใช้สื่อการเรียนรู้อย่างเหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู้
7. มีเกณฑ์ในการวัดและประเมินผล ทีส่ อดคล้องกับระเบียบ และใช้วิธีการวัดผล ประเมินผล
พร้อมทั้งเครื่องมือได้เหมาะสมและสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
๘. มีการบันทึกผลการเรียนรู้ของนักเรียนทุกครั้งที่จัดการเรียนรู้
9. มีการแจ้งผลการประเมินแก่ผู้เรียนได้นาไปใช้ในการพัฒนา
10. มีการนากระบวนการวิจัยในชั้นเรียน มาใช้ในการพัฒนานักเรียน
รวม ด้านครูผู้สอน
๔๑

ด้านคุณภาพบริหารสถานศึกษา (Professional Administrator)


รายการประเมิน รายการที่ คะแนนที่ได้
ด้านผู้บริหารสถานศึกษา (๒๐ คะแนน) ปฏิบัติได้
๑. การบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
1. มีการวางแผนและจัดทาพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
2. มีการนาแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
3. มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา
4. มีระบบการนิเทศภายใน และนิเทศติดตามอย่างต่อเนื่อง
5. ร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา
6. พัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
7. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางอาชีพ พร้อมทั้งสร้างขวัญกาลังใจ
ในการปฏิบัติงาน
8. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
9. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ
เรียนรู้
10. มีภาวะผู้นาและเป็นผู้นาแห่งการเปลี่ยนแปลง
รวม ด้านผู้บริหารสถานศึกษา

ด้านคุณภาพผูส้ นับสนุนทางการศึกษา(School Sponsor)


รายการประเมิน รายการที่ คะแนนที่ได้
ด้านผู้สนับสนุนทางการศึกษา (๒๐ คะแนน) ปฏิบัติได้
๑. การสนับสนุนทางการศึกษาและการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม
1. มีแผนงานการบริหารแบบมีส่วนร่วม
2. การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. มีการระดมทรัพยากร
4. มีการใช้หลักสูตรท้องถิ่น
5. มีการบูรณาการภูมิปัญาท้องถิ่น หรือวิทยากรท้องถิ่นร่วมการจัดการเรียนรู้
6. การมีส่วนร่วมระหว่างบ้าน วัด และโรงเรียน
7. การมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและองค์กรภายนอก เช่น อบต. เทศบาล เป็นต้น
8. มีการประเมินความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการการของโรงเรียน
9. นักเรียน ครูและบุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชนอย่างน้อยภาคเรียนละ ๕ ครั้ง
10. มีการประชาสัมพันธ์ ติดต่อสื่อสารระหว่างโรงเรียน และชุมชน
รวม ด้านผู้สนับสนุนการศึกษา
ลงชื่อ.........................................ประธานกรรมการ
( )
ตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน
ลงชื่อ.........................................กรรมการ
( ) ลงชื่อ.........................................กรรมการและเลขานุการ
ตาแหน่ง ( )
ตาแหน่ง
๔๒
แบบสรุปผลการประเมินห้องเรียนคุณภาพระดับปฐมวัย
โรงเรียนบ้านซับดินดา
ชื่อผู้รับการประเมิน....................................................................... ชั้น...................
สาระการเรียนรู้ที่รับการประเมิน...................................วันที่...................................................
ชื่อผู้อานวยการโรงเรียน ......................................................สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต ๒

รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ


ด้านกายภาพ/ห้องเรียน (๒๐)
๑. การจัดสภาพแวดล้อมและสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ๕
เพื่อการเรียนรู้
2. บรรยากาศ ที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ ๑๕
รวม
ด้านคุณภาพผู้เรียน (๒๐)
1. มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยทีด่ ี และดูแล ๕
ความปลอดภัยของตนเองได้
2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทาง ๕
อารมณ์ได้
3.มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดี ๕
ของสังคม
4.พัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน ๕
และแสวงหาความรูไ้ ด้
รวม
ด้านคุณภาพครู (๒๐)
1. การบริหารจัดการชั้นเรียน ๑๐
2. การจัดการเรียนการสอน ๑๐
รวม
ด้านผู้บริหารสถานศึกษา (๒๐)
การบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ๒๐
รวม
ด้านผู้สนับสนุนทางการศึกษา (๒๐)
การสนับสนุนทางการศึกษาและการบริหารจัดการแบบมีส่วน ๒๐
ร่วม
รวม
รวมคะแนนทั้งหมด ๑๐๐
สรุปผลการประเมินคุณภาพห้องเรียน (100 คะแนน)
คุณภาพห้องเรียน ยอดเยี่ยม ดีเลิศ ดี ปานกลาง กาลังพัฒนา
ระดับคะแนน
คะแนน 80 คะแนนขึ้นไป คุณภาพห้องเรียน ระดับ ยอดเยี่ยม
คะแนน 70 - 79 คะแนน คุณภาพห้องเรียน ระดับ ดีเลิศ
คะแนน 60 - 69 คะแนน คุณภาพห้องเรียน ระดับ ดี
คะแนน 50 – 59 คะแนน คุณภาพห้องเรียน ระดับ ปานกลาง
คะแนนต่ากว่า 50 คะแนน คุณภาพห้องเรียน ระดับ กาลังพัฒนา

ลงชื่อ.........................................ประธานกรรมการ ลงชื่อ.........................................กรรมการ ลงชื่อ.........................................กรรมการ/เลขาฯ


( ) ( ) ( )
ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง
๔๓
แบบสรุปผลการประเมินห้องเรียนคุณภาพระดับขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนบ้านซับดินดา
ชื่อผู้รับการประเมิน....................................................................... ชั้น...................
สาระการเรียนรู้ที่รับการประเมิน...................................วันที่...................................................
ชื่อผู้อานวยการโรงเรียน ......................................................สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต ๒

รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ


ด้านกายภาพ/ห้องเรียน (๒๐)
๑. ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความสะอาดของห้องเรียน ๕
2. บรรยากาศ ที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ ๑๕
รวม
ด้านคุณภาพผู้เรียน (๒๐)
1. 1. ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ๕
2. นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี ๕
วิจารณญาณตามระดับชั้น
3.นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ๕
อย่างเหมาะสมตามระดับชั้น
4. นักเรียนปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎ ระเบียบของห้องเรียน/ ๕
โรงเรียน
รวม
ด้านคุณภาพครู (๒๐)
1. การบริหารจัดการชั้นเรียนและการปฏิบัตติ น ๑๐
2. การจัดการเรียนการสอน ๑๐
รวม
ด้านผูบ้ ริหารสถานศึกษา (๒๐)
การบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ๒๐
รวม
ด้านผู้สนับสนุนทางการศึกษา (๒๐)
การสนับสนุนทางการศึกษาและการบริหารจัดการแบบมีส่วน ๒๐
ร่วม
รวม
รวมคะแนนทั้งหมด ๑๐๐
สรุปผลการประเมินคุณภาพห้องเรียน (100 คะแนน)
คุณภาพห้องเรียน ยอดเยี่ยม ดีเลิศ ดี ปานกลาง กาลังพัฒนา
ระดับคะแนน
คะแนน 80 คะแนนขึ้นไป คุณภาพห้องเรียน ระดับ ยอดเยี่ยม
คะแนน 70 - 79 คะแนน คุณภาพห้องเรียน ระดับ ดีเลิศ
คะแนน 60 - 69 คะแนน คุณภาพห้องเรียน ระดับ ดี
คะแนน 50 – 59 คะแนน คุณภาพห้องเรียน ระดับ ปานกลาง
คะแนนต่ากว่า 50 คะแนน คุณภาพห้องเรียน ระดับ กาลังพัฒนา

ลงชื่อ.........................................ประธานกรรมการ ลงชื่อ.........................................กรรมการ ลงชื่อ.........................................กรรมการ/เลขาฯ


( ) () ()
ตาแหน่ ตาแหน่ง ตาแหน่ง
๔๔

แบบสรุปผลการประเมินห้องเรียนคุณภาพ ระดับโรงเรียน
ชื่อโรงเรียน โรงเรียนบ้านซับดินดา ประเมินครั้งที.่ .................. วันที่...................................................
ชื่อผู้อานวยการโรงเรียน นางสาวเกศรินทร์ ชูหมื่นไวย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต ๒

ลาดับ ชื่อ-สกุล ชั้นที่ คะแนนเฉลี่ย ระดับ หมายเหตุ


ที่ รับผิดชอบ คุณภาพ

บันทึกเพิ่มเติม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ลงชื่อ........................................................รับรองข้อมูล
( )
ตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน
วันที่
๔๕

คณะทางาน
ที่ปรึกษา
นายอนุรักษ์ ระย้า ศึกษานิเทศก์ชานาญการ

คณะจัดทาคูม่ ือห้องเรียนคุณภาพ
นายพิษณุ วิจารจิตต์ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านซับน้อยเหนือ
นางสาวเกศรินทร์ ชูหมื่นไวย ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านซับดินดา
นายวันชัย สุริอาจ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองมะค่า
นายปิยะ ฉิมมา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านวัดน้อยสามัคคีธรรม
นางมยุรี ต้นแก้ว ผู้อานวยการโรงเรียนวัดบ้านหมาก
นางจิรกาล ดวงแก้ว ผู้อานวยการโรงเรียนวัดมวกเหล็กใน
นางภัทรพร บุราณคา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านเขานมนาง
นางปรัญญา แก้วละมุน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านลาสมพุง

You might also like