สืออนามัยเจริญพันธุ์

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 29

หน่ วยที่ 3

อนามัยเจริญพันธุ์และการตัง้ ครรภ์
เลือเลืกค
อกคาตอบที
ำตอบที่ ถ่ถูกูกต้ต้อองที
งที่่สสุ ดุดเพี
เพียยงคงคำตอบเดี
าตอบเดียวยว

1. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับความหมายของการวางแผนครอบครัว
ก. การคุมกาเนิด
ข. การควบคุมจานวนประชากร
ค. การกาหนดจานวนบุตรที่ต้องการ
ง. การเตรี ยมการล่วงหน้ าเกี่ยวกับเวลาทีเ่ หมาะสมในการมีบตุ ร
เลือเลืกค
อกคาตอบที
ำตอบที่ ถ่ถูกูกต้ต้อองที
งที่่สสุ ดุดเพี
เพียยงคงคำตอบเดี
าตอบเดียวยว

2. การตัง้ ครรภ์ โดยไม่ พงึ ประสงค์ ของวัยรุ่ นก่ อให้ เกิดปั ญหาสังคมใน
ข้ อใด
ก. วัยรุ่นตัดสินใจฆ่าตัวตายเพิ่มมากขึ ้น
ข. เด็กถูกทอดทิ ้งในสถานพยาบาลเพิ่มมากขึ ้น
ค. วัยรุ่นมีปัญหาทางด้ านอารมณ์และจิตใจเพิ่มมากขึ ้น
ง. รัฐบาลต้ องเสียงบประมาณในการดูแลสุขภาพของวัยรุ่นที่ตงครรภ์
ั้
เลือเลืกค
อกคาตอบที
ำตอบที่ ถ่ถูกูกต้ต้อองที
งที่่สสุ ดุดเพี
เพียยงคงคำตอบเดี
าตอบเดียวยว

3. ข้ อใดคืออาหารที่เหมาะสมสาหรับหญิงตัง้ ครรภ์
ก. รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง
ข. รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
ค. รับประทานอาหารเฉพาะคาร์ โบไฮเดรต
ง. รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและไขมันสูง
เลือเลืกค
อกคาตอบที
ำตอบที่ ถ่ถูกูกต้ต้อองที
งที่่สสุ ดุดเพี
เพียยงคงคำตอบเดี
าตอบเดียวยว

4. องค์ ประกอบในข้ อใดไม่เกี ย่ วข้องกับการวางแผน ครอบครัว


ก. การคุมกาเนิด
ข. การเลือกเพศของบุตร
ค. การช่วยเหลือคูส่ มรสที่มีบตุ รยาก
ง. การค้ นหาสาเหตุของความผิดปกติทางเพศ
เลือเลืกค
อกคาตอบที
ำตอบที่ ถ่ถูกูกต้ต้อองที
งที่่สสุ ดุดเพี
เพียยงคงคำตอบเดี
าตอบเดียวยว

5. . การวางแผนครอบครัวอยู่ภายใต้ การกากับดูแลของกระทรวงใด
ก. กระทรวงมหาดไทย
ข. กระทรวงศึกษาธิการ
ค. กระทรวงสาธารณสุข
ง. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คง ของมนุษย์
เลือเลืกค
อกคาตอบที
ำตอบที่ ถ่ถูกูกต้ต้อองที
งที่่สสุ ดุดเพี
เพียยงคงคำตอบเดี
าตอบเดียวยว

6. ข้ อใดไม่ใช่อันตรายจากการทาแท้ ง
ก. ตกเลือด
ข. ติดโรคทางเพศสัมพันธ์
ค. เกิดภาวะการแท้ งบุตรได้ ง่าย
ง. เกิดการอักเสบเรื อ้ รังในโพรงมดลูก
เลือเลืกค
อกคาตอบที
ำตอบที่ ถ่ถูกูกต้ต้อองที
งที่่สสุ ดุดเพี
เพียยงคงคำตอบเดี
าตอบเดียวยว

7 . ในขณะตัง้ ครรภ์ แม่ ท่ อี ยู่ในสภาพแวดล้ อมใดจะส่ งผลกระทบต่ อ


ทารกในครรภ์ มากที่สุด
ก. แม่อยูก่ บั พ่อที่สบู บุหรี่
ข. แม่อาศัยอยูใ่ นชุมชนแออัด
ค. แม่อยูก่ บั พ่อที่ดื่มสุราเป็ นประจา
ง. แม่อยูก่ บั พ่อที่เป็ นป่ วยเป็ นโรคมะเร็ง
เลือเลืกค
อกคาตอบที
ำตอบที่ ถ่ถูกูกต้ต้อองที
งที่่สสุ ดุดเพี
เพียยงคงคำตอบเดี
าตอบเดียวยว

8.พฤติกรรมในข้ อใดที่เสี่ยงต่ อการติดเชือ้ ไวรัสเอชไอวีได้ มากที่สุด


ก. การถูกยุงกัด
ข. การใช้ ห้องส้ วมสาธารณะ
ค. การรับประทานอาหารร่วมกับผู้อื่น
ง. การใช้ เข็มสาหรับฉีดสารเสพติดเข้ าเส้ นร่วมกับผู้อื่น
เลือเลืกค
อกคาตอบที
ำตอบที่ ถ่ถูกูกต้ต้อองที
งที่่สสุ ดุดเพี
เพียยงคงคำตอบเดี
าตอบเดียวยว

9.
เลือเลืกค
อกคาตอบที
ำตอบที่ ถ่ถูกูกต้ต้อองที
งที่่สสุ ดุดเพี
เพียยงคงคำตอบเดี
าตอบเดียวยว

10. นักเรียนจะป้ องกันไม่ ให้ เกิดโรคทางเพศ สั มพันธ์ ได้ อย่ างไร


ก. ไม่ คบเพื่อนต่ างเพศ
ข. ค้ นคว้ าเรื่องเพศศึกษา
ค. ไม่ มีเพศสัมพันธ์ ในวัยเรียน
ง. เลือกคบเฉพาะแต่ เพื่อนที่เรียนดี
อนามัยการเจริ ญพันธ์ ุ
(Reproductive Health)

สุ ขภาพทีเ่ กีย่ วกับกระบวนการและการทาหน้ าที่ของ


1
ระบบการเจริญพันธุ์ของมนุษย์ ตลอดช่ วงชีวติ
Reproductive : การสืบทอดพันธุ์ หรือ การสืบแทนพันธุ์
เป็ นกระบวนการทีม่ นุษย์ หรือ สิ่งมีชีวติ สืบทอดเผ่ าพันธุ์
ของตนให้ คงอยู่

Health :
ภาวะทีม่ ีความสมบรู ณ์ ทงั้ ร่ างกาย จิตใจ และสังคม
ความหมายของอนามัยการเจริญพันธุ์
อนามัยการเจริญพันธุ์หมายถึง ภาวะความสมบูรณ์ แข็งแรงของร่ างกาย
และจิตใจ ที่เป็ นผลสั มฤทธิ์อนั เกิดจากกระบวนการและหน้ าทีข่ องการเจริญพันธุ์ที่
สมบูรณ์ ท้งั ชายและหญิง ทุกช่ วงอายุของชีวติ ซึ่งทาให้ เขาเหล่านั้นมีชีวติ อยู่ใน
สั งคมได้ อย่ างมีความสุ ข

ครอบคลุมถึงสิ ทธิของชายและหญิงทุกช่ วงอายุ ในการ


ตัดสิ นใจ สิ ทธิทจี่ ะได้ รับการเรียนรู้ข้อมูลข่ าวสาร
เกีย่ วกับอนามัยการเจริญพันธุ์ ตลอดจนสามารถทีจ่ ะ
เข้ าถึงบริการด้ านนีอ้ ย่ างทัว่ ถึง
มิตขิ องอนามัยการเจริญพันธุ์
(10 มิต)ิ
ภาวะหลัง อนามัยวัยรุ่ น เพศศึกษา
วัยเจริญพันธุ์
มะเร็งระบบ
สืบพันธุ์ สุขภาพ/ อนามัยแม่ และเด็ก
อนามัยการเจริญพันธุ์
ภาวะมีบุตรยาก การแท้ งและ
ภาวะแทรกซ้ อน
โรค AIDS การวางแผน
โรคติดเชือ้ ครอบครัว
ระบบสืบพันธุ์

บทบาทชาย-หญิง ความเท่ าเทียมกันทางเพศ สิ ทธิสตรี สิ ทธิอนามัยการเจริ ญพันธุ์


การวางแผนครอบครัว

การตั้งเป้ าหมายเพื่อให้ ครอบครัวมีความพร้ อมในด้ านต่ างๆ ตั้งแต่


การเลือกคู่ครอง ความพร้ อมด้ านทีอ่ ยู่อาศัยและอาชีพการแต่ งงาน
การวางแผนทีจ่ ะมีบุตรการเว้ นช่ วงระยะห่ างของการมีบุตรทีเ่ หมาะสม
การ เป็ นพ่อแม่ ทดี่ ีเพื่อเลีย้ งดู บุตรให้ เป็ นคนดีมีคุณภาพในอนาคต
หลักการวางแผนครอบครัว

- ตรวจสุขภาพและขอคาปรึกษาก่ อนแต่ งงาน หรือก่ อนการมีบุตร


- พิจารณาสุขภาพอนามัย ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจ
- เลือกใช้ วิธีคุมกาเนิดอย่ างเหมาะสม
ความสาคัญของการวางแผนครอบครัว

- ช่ วยให้ คู่สมรสทีเ่ พิง่ แต่ งงาน ได้ มีโอกาสปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกันก่อนมีลูก


- ครอบครัวมีความเป็ นอยู่ดี ลูกมีโอกาสได้ รับการศึกษาทีส่ ู ง
- คู่สมรสสามารถเว้ นระยะการมีลูกหรื อจากัดขนาดของครอบครัวได้
- คู่สมรสมีโอกาสสร้ างฐานะการเงินให้ มั่นคงได้
- สุ ขภาพของผู้เป็ นมารดาไม่ ทรุดโทรม สามารถดูแลครอบครัวได้ เต็มที่
การคุมกาเนิด

1. การคุมกาเนิดชั่วคราว เป็ นวิธีท่ ีใช้


ป้ องกันการตัง้ ครรภ์ เมื่อยังไม่ พร้ อมที่จะมีบุตร
หรือต้ องการเว้ นระยะเวลาการมีบุตร เมื่อเลิก
ใช้ ก็สามารถมีบุตรได้ อีก
2. การคุมกาเนิดถาวร

เป็ นการคุมกาเนิดเมื่อไม่ ต้องการบุตรอย่ างถาวร


เช่ นการทาหมันชาย การทาหมันหญิง
- การทาหมันชาย คือผูกมัด และตัดท่ อนา้ เชือ้ อสุจใิ ห้
ขาดจากกัน
- การทาหมันหญิง คือ การทาให้ ปีกมดลูกตันทัง้ สอง
ข้ าง เพื่อตัดทางที่เชือ้ อสุจจิ ะพบกับไข่
การอนามัยแม่ และเด็ก

เป็ นการดูแลสุ ขภาพของมารดาตั้งแต่ เริ่มตั้งครรภ์ และเด็กตั้งแต่ อยู่


ในครรภ์ จนกระทั่งคลอดออกมา โดยมีมีวธิ ีปฏิบัติดังนี้
1. เมื่อทราบว่าประจาเดือนไม่มาตามปกติหรื อตั้งครรภ์ รี บไปพบแพทย์
2. ระหว่างตั้งครรภ์ตอ้ งดูแลสุ ขภาพตนเองอย่างดี
3. ก่อนถึงวันกาหนดคลอดควรเตรี ยมความพร้อม
4. หลังคลอดต้องคอยดูแลสุ ขภาพของทารก
5. สาหรับมารดาหลังคลอดควรพักฟื้ นอย่างน้อย 6-8 สัปดาห์
กำรตั้งครรภ์

การตั้งครรภ์ คือ ช่วงระยะเวลำเริ่ มหลังจำกกำรปฏิสนธิ


โดยที่ ตัวอสุ จิ (sperm) ผสม (conceive) กับไข่ (egg)
ในสภำวะและเวลำที่เหมำะสม จนถึงกำรคลอด โดยในมนุษย์ใช้
เวลำในกำรตั้งครรภ์ 36 สัปดำห์ หรื อ 9 เดือน
แอลกอฮอล์ บุหรี่

สารเสพติดอื่น
โรคที่เกิดจากการ ปั จจัยที่มีผลกระทบต่ อ
ตัง้ ครรภ์ การตัง้ ครรภ์

การติดเชือ้ สภาพแวดล้ อม
แอลกอฮอล์

เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ จะไม่ ได้ มีผลต่ อตัวแม่ เท่ านั้น แต่


จะมีผลต่ อเด็กทีอ่ ยู่ในท้ องด้ วย เพราะแอลกอฮอล์ ทมี่ ีอยู่ใน
กระแสเลือดจะไหลผ่ านไปสู่ ทารกด้ วยเช่ นกัน ถ้ าคุณแม่ ดื่ม
ในช่ วง 3-4 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ แล้ ว ทารกหลังคลอด
จะมีร่างกายผิดปกติ สติปัญญาเสื่ อม สมองเสื่ อมอย่ างเห็นได้
ชัดตั้งแต่ คลอดจนถึง 1 ปี แรก
บุหรี่

การสู บบุหรี่ไม่ ว่าจะก่ อนตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์


หรื อหลังคลอดจะมีผลเสี ยต่ อเด็กสารนิโคติน ทาร์ คาร์ บอนโม
นอกไซด์ จะมีผลต่ อเด็กผลเสี ยของบุหรี่มดี งั นี้
- ตั้งครรภ์ นอกมดลูก - แท้ ง
- เด็กคลอดก่ อนกาหนด - เลือดออกช่ องคลอด
- เด็กนา้ หนักน้ อย - เด็กตายโดยไม่ ทราบสาเหตุ
สำรเสพติด

จะส่ งผลให้ มีนา้ หนักแรกเกิดน้ อย มีความผิดปกติของ


หัวใจแต่ กาเนิด ภาวะเลือดออกในสมอง ภาวะสมองตาย ทา
ให้ มีการทาลายเซลล์ ประสาท เส้ นรอบศีรษะมีขนาดเล็ก ซึ่ง
มีผลต่ อสมาธิ ความจา และมีผลทาให้ เด็กมีปัญหาพฤติกรรม
ในระยะยาวอีกด้ วย หรืออาจทาให้ เกิดการแท้ งหรือคลอด
ก่ อนกาหนดได้
การดูแลตนเอง อาหารของมารดา

สุขภาพของมารดา
การดูแลของ
แพทย์
สภาพแวดล้ อม

ความพร้ อม ยาบางชนิด

สภาพจิตใจ
การติดเชื้อ
การติดเชื้อในสตรีต้งั ครรภ์ เป็ นหนึ่งในภาวะที่อาจส่ งผลต่ อความ
พิการหรื อการเสี ยชีวติ ของทารกในครรภ์ ได้
โดยการติดเชื้อของทารกอาจเกิดตั้งแต่ ขณะอยู่ในครรภ์ ผ่ านทาง
รกหรื อจากการคลอด โดยผ่ านนา้ คัดหลัง่ ในช่ องคลอด หรื อเลือดของ
มารดาขณะคลอด รวมทั้งสามารถผ่ านทางนา้ นมแม่ หลังคลอด ซึ่งความ
รุนแรงของการติดเชื้อในทารกนั้นขึน้ อยู่กบั ความรุนแรงของตัวเชื้อช่ วง
ระยะเวลาทีต่ ิดเชื้อ รวมทั้งภาวะภูมิคุ้มกันทั้งของแม่ และทารก ดังเช่ น
การติดเชื้อหัดเยอรมัน โรคซิฟิลิส โรคมาลาเลีย
เบาหวาน

โรคที่เกิดจากการ โรคหัวใจ
โลหิตจาง
ตั้งครรภ์

ติดเชือ้ ในระบบ
ความดันโลหิตสูง
ทางเดินปั สสาวะ

You might also like