Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

วารสารวิจัยรำ�ไพพรรณี ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2558-มกราคม 2559 37

การศึกษาประสิทธิภาพโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออกเพื่อรองรับ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
The Study of Efficiency Logistics of Fruit in the East Region for Supporting
Asian Economic Community

ทรงศักดิ์ มิ่มกระโทก1 ส�ำราญ ช�ำโสม2 ดวงมณี ทองค�ำ2 ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล1 กชกร มิ่มกระโทก3
1
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี
2
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและอัญมณีศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี 3โรงเรียนศรียานุสรณ์

บทคัดย่อ
การศึกษาประสิทธิภาพโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออกเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออก ก�ำหนดเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออก และประเมินประสิทธิภาพโลจิสติกส์
ผลไม้ภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่าง ผลไม้ภาคตะวันออก เฉพาะกล้วยไข่ ทุเรียน มังคุด และล�ำไย ได้แก่ เกษตรกร และพ่อค้าหรือ
ผู้ประกอบการรวบรวมผลผลิต และส่งออกผลไม้ กล้วยไข่ ทุเรียน มังคุด และล�ำไย จังหวัดจันทบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดตราด
การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม การสังเกต การสัมภาษณ์ และการประชุมกลุ่มย่อย (focus group) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูล
และการแปลผลความหมายโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
ผลการวิจัย พบว่า
ระบบโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออก ประกอบด้วยเกษตรกรผู้ผลิตผลไม้ พ่อค้าย่อย ผู้เก็บเกี่ยวหรือรับซื้อผลไม้จาก
เกษตรกร ล้ง ผู้รวบรวม และผู้ประกอบการหรือผู้ส่งออก จัดจ�ำหน่ายภายในประเทศและต่างประเทศ
เกณฑ์ชวี้ ดั มาตรฐานโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออก เป็นการก�ำหนดตัวชีว้ ดั ตามกิจกรรมโลจิสติกส์ส�ำหรับเกษตรกร และพ่อค้า
หรือผู้ประกอบการ เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐาน ประกอบด้วย สัดส่วนต้นทุนการจัดหาปัจจัยการผลิตต่อยอดขาย สัดส่วนต้นทุนการดูแล
รักษาต่อมูลค่ายอดขาย สัดส่วนต้นทุนการเก็บเกี่ยวและคัดคุณภาพต่อมูลค่ายอดขาย สัดส่วนต้นทุนการบรรจุภัณฑ์ต่อมูลค่ายอดขาย
สัดส่วนต้นทุนการขนส่งต่อมูลค่ายอดขาย และสัดส่วนต้นทุนคลังสินค้าต่อมูลค่ายอดขาย
ต้นทุนโลจิสติกส์ผลไม้ เป็นต้นทุนทุกกิจกรรมโลจิสติกส์ของเกษตรกร พ่อค้าย่อย ล้ง และพ่อค้าผู้ส่งออก จากการศึกษา
พบว่า ต้นทุนโลจิสติกส์กล้วยไข่ เกษตรกร สูงสุด คือ ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 8.00 บาท พ่อค้าย่อย สูงสุด คือ ด้านการจัดหา
ปัจจัยการผลิต 3.00 บาท ล้ง สูงสุด คือ ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 2.00 บาท ผู้ประกอบการหรือผู้ส่งออก สูงสุด คือด้านคลังสินค้า
3.00 บาท ต้นทุนโลจิสติกส์ทุเรียน เป็นการคิดราคาขายทุเรียนส่งออกเฉลี่ยกิโลกรัมละ 60 บาท พบว่า ต้นทุนโลจิสติกส์ทุเรียน
เกษตรกร สูงสุด คือ ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 8.00 บาท พ่อค้าย่อย สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 3.00 บาท ล้ง สูงสุด
คือ ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 2.00 บาท พ่อค้า/ผู้ส่งออก สูงสุด คือ ด้านการขนส่ง 2.50 บาท ต้นทุนโลจิสติกส์มังคุด เกษตรกร
สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 6.00 บาท พ่อค้าย่อย สูงสุด คือ ด้านการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 2.00 บาท ล้ง สูงสุด คือ
ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 2.00 บาท พ่อค้า/ผู้ส่งออก สูงสุด คือ ด้านการบรรจุภัณฑ์ 3.00 บาท ต้นทุนโลจิสติกส์ล�ำไย เกษตรกร
สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 7.00 บาท พ่อค้าย่อย สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 2.50 บาท ล้ง สูงสุด คือ
ด้านการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 2.25 บาท พ่อค้า/ผู้ส่งออก สูงสุด คือ ด้านการบรรจุภัณฑ์ 3.00 บาท ด้านการ

ทรงศักดิ์ มิ่มกระโทก, ส�ำราญ ช�ำโสม, ดวงมณี ทองค�ำ, ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล, กชกร มิ่มกระโทก
38 วารสารวิจัยรำ�ไพพรรณี ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2558-มกราคม 2559

ประสิทธิภาพโลจิสติกส์กล้วยไข่ เกษตรกร สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.12 พ่อค้าย่อย สูงสุด คือด้านการจัดหา


ปัจจัยการผลิต 0.05 ล้ง สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.03 พ่อค้า/ผู้ส่งออก สูงสุด คือ ด้านคลังสินค้า 0.05 ประสิทธิภาพ
โลจิสติกส์ทุเรียน เกษตรกร สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.13 พ่อค้าย่อย สูงสุด คือ ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.05
ล้ง สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.03 ด้านการขนส่ง 0.03 และด้านคลังสินค้า 0.03 พ่อค้า/ผู้ส่งออก สูงสุด คือ ด้านการ
ขนส่ง 0.04 และ ประสิทธิภาพโลจิสติกส์มังคุด เกษตรกร สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.10 และด้านการดูรักษา 0.10
พ่อค้าย่อย สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.03 ด้านการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 0.03 และด้านการขนส่ง 0.03 ล้ง สูงสุด
คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.03 ด้านการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 0.03 ด้านการขนส่ง 0.03 และด้านคลังสินค้า 0.03 พ่อค้า/
ผู้ส่งออก สูงสุด คือ ด้านการบรรจุภัณฑ์ 0.05 ประสิทธิภาพโลจิสติกส์ล�ำไย เกษตรกร สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.16
พ่อค้าย่อย สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.06 ล้ง สูงสุด คือ ด้านการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 0.05 พ่อค้า/ผู้ส่งออก
สูงสุด คือ ด้านการบรรจุภัณฑ์ 0.13

ค�ำส�ำคัญ : ประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ ผลไม้ภาคตะวันออก ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

Abstract
The research titled “the Study of Fruit Logistic Efficiency in the Eastern Region Preparing for the
ASEAN Economic Community was aimed to study the logistic system, to set the logistic standard benchmark,
and to evaluate the fruit logistic performance in the eastern region. The research instrument and procedure for
data collection included a questionnaire, observation, interview, and focus group discussion. Descriptive statistics
were employed for both quantitative and qualitative data analysis.
The following four main results were revealed as follows.
The fruit logistic system in the eastern region was consisted of farmers, traders, purchasers, entrepreneurs,
exporters, and domestic and overseas distributors.
The logistic standard benchmark of the fruit in the eastern region was indicators of the logistic activity
for farmers, merchants, or traders. The standard benchmark included the ratio of procurement cost, maintenance
cost, harvesting and selecting cost, packaging cost, transportation cost, and warehouse cost per gross sales.
The fruit logistic cost on golden bananas was found at the highest level in farmers, showing input factor
cost of 8.00 baht. The input factor cost of 3.00 baht was shown in traders and the 2.00 baht input factor cost
appeared in purchasers. The warehouse cost of 3.00 baht was found at the highest level in entrepreneurs or
exporters. The durian logistic cost was the export price of 60 baht a kilo. The fruit logistic cost on durians was
marked the highest level in farmers, showing the input factor cost of 8.00 baht. The input factor cost of 3.00 baht
was shown in traders and the 2.00 baht input factor cost was identified in purchasers. The transportation cost of
2.50 baht was found at the highest level in entrepreneurs or exporters. The mangosteen logistic cost was found
at the highest level on farmers, showing the input factor cost of 6.00 baht. The harvesting and selecting cost of
2.00 baht was found in traders. The input factor cost of 2.00 baht was shown in purchasers. The packaging cost
of 3.00 baht was found at the highest level in entrepreneurs or exporters. The longan logistic cost was found at
the highest level on farmers, showing the input factor cost of 7.00 baht. The input factor cost of 2.50 baht was
shown in traders. The harvesting and selecting cost of 2.25 baht was found in purchasers. The packaging cost of
3.00 baht was found in entrepreneurs or exporters.

ทรงศักดิ์ มิ่มกระโทก, ส�ำราญ ช�ำโสม, ดวงมณี ทองค�ำ, ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล, กชกร มิ่มกระโทก
วารสารวิจัยรำ�ไพพรรณี ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2558-มกราคม 2559 39

The goldens banana logistic efficiency was found at the highest level in farmers, showing input factor
cost of 0.12. The input factor cost of 0.05 was shown in traders and the 0.03 input factor cost appeared in
purchasers. The warehouse cost of 0.05 was found at the highest level in entrepreneurs or exporters.
The durian logistic efficiency was found at the highest level in farmers, showing input factor cost of 0.13.
The input factor cost of 0.05 was shown in traders. The 0.03 input factor cost, the transportation cost of 0.03
as well as the warehouse cost of 0.03 appeared in purchasers. The transportation cost of 0.04 was found at the
highest level in entrepreneurs or exporters. The mangosteen logistic efficiency was found at the highest level
in farmers, showing input factor cost of 0.10 and maintenance cost of 0.10. The input factor cost of 0.03,
harvesting/selecting cost of 0.03, and transportation cost of 0.03 were found at the highest level in traders.
The input factor cost of 0.03, harvesting/selecting cost of 0.03, transportation cost of 0.03, and warehouse cost of
0.03 were found at the highest level in purchasers. The packaging cost was found at the highest level in
entrepreneurs or exporters. The longan logistic efficiency was found at the highest level in farmers, showing
input factor cost of 0.16. The input factor cost of 0.06 was shown in traders. The harvesting/selecting cost of
0.05 was shown in purchasers. The packaging cost of 0.13 was found at the highest level in entrepreneurs or
exporters.

Keywords : efficiency logistics, fruit of east region, Asian Economic Community

ทรงศักดิ์ มิ่มกระโทก, ส�ำราญ ช�ำโสม, ดวงมณี ทองค�ำ, ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล, กชกร มิ่มกระโทก
40 วารสารวิจัยรำ�ไพพรรณี ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2558-มกราคม 2559

บทน�ำ ปัญหาความแปรปรวนของสภาพอากาศ ขาดระบบขนส่งและ


กลุ่มส่งเสริมการผลิตไม้ผล (2555) กล่าวว่าประเทศไทย โลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ EU หรือ European Union ได้ออก
เป็นผู้น�ำการผลิตและส่งออกผลไม้เมืองร้อนที่ส�ำคัญและมีชื่อเสียง กฎระเบียบให้มีการตรวจเข้มสินค้าผักไทย เพื่อตรวจยาฆ่าแมลง
ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ปัจจุบันมีเกษตรกรที่ประกอบอาชีพท�ำสวน ตกค้าง การปนเปื้อนทาง จุลชีววิทยา และแมลงศัตรูพืช พื้นที่
ผลไม้ประมาณ 1.923 ล้านครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 30 ของ เพาะปลูกมีขนาดเล็ก ท�ำให้ต้นทุนการจัดการและควบคุมคุณภาพ
ครัวเรือนเกษตรทั้งหมด (6.5 ล้านครัวเรือน) มีพื้นที่ปลูกไม้ผล การผลิตมีราคาสูงกว่าประเทศคู่แข่ง เช่น ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย
57 ชนิด รวม 8.176 ล้านไร่ ผลผลิตปีละประมาณ 7.486 ล้านตัน ดังนั้น จึงก�ำหนดกลยุทธ์สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบการผลิต
คิ ด เป็ น มู ล ค่ า ตามราคาที่ เ กษตรกรขายได้ ป ระมาณ 90,361 ให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมให้มีการสร้าง Brand ของผลไม้ไทยโดย
ล้านบาท สร้างรายได้และน�ำเงินตราจากการส่งออกผลไม้เข้าสู่ เน้นเรื่องเอกลักษณ์ด้านคุณค่าและสายพันธุ์ ที่โดดเด่นของผลไม้ไทย
ประเทศรวม ปีละประมาณ 29,685 ล้านบาท โดยผลไม้ที่มีมูลค่า ส่งเสริมการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ (Packaging) ให้สามารถยืดอายุ
การส่งออกสูงสุด คือล�ำไย รองลงมา ได้แก่ ทุเรียน ส้ม มะม่วง ของผลผลิต และเหมาะสมกับตลาดเพื่อการส่งออก หน่วยงานของ
มังคุด ลิ้นจี่ และกล้วย ตามล�ำดับ รัฐควบคุมก�ำกับดูแลการเพาะปลูกให้ได้ปริมาณที่เหมาะสมกับ
สมาคมผู ้ ค ้ า และส่ ง ออกผลไม้ ไ ทย (2555) กล่ า วว่ า ความต้องการของตลาด
คุณแลมซอซิง รองกรรมการผู้จัดการบริษัทไทยฮงผลไม้ จ�ำกัด AEC หรือ Asian Economics Community คือการ
บริษัทผู้ส่งออกผลไม้ไทยรายใหญ่มานานร่วม 25 ปี กล่าวว่า รวมตัวของชาติในอาเซียน 10 ประเทศ โดยมี ไทย พม่า ลาว
หาก สภาพอากาศทางภาคตะวันออกฤดูฝนมาช้า จะส่งผลให้ เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และ
ทุเรียน มังคุด ฯลฯ มีคุณภาพที่ดีต่อเนื่อง แต่หากฝนมาเร็วจะ บรูไน เพื่อที่จะให้มีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน จะมีรูปแบบ
ส่งผลให้มังคุดมีปัญหาเนื้อแก้ว ยางไหล คุณภาพด้อยลง ราคา คล้ายๆ กลุ่ม Euro Zone นั่นเอง จะท�ำให้มีผลประโยชน์ อ�ำนาจ
ตกต�่ำและตลาดหยุดเดิน ต่อรองต่างๆ กับคู่ค้าได้มากขึ้น และการน�ำเข้า ส่งออกของชาติ
แนวโน้ ม ความต้ อ งการของตลาดจี น กั บ ผลกระทบอั น ในอาเซียนก็จะเสรี ยกเว้นสินค้าบางชนิดที่แต่ละประเทศอาจจะ
ยิ่งใหญ่จากปัญหาด้านแรงงาน เศรษฐกิจของประเทศจีนดีขึ้น ขอไว้ไม่ลดภาษีน�ำเข้า (ศูนย์ความรู้ประชาคมอาเซียน, 2555)
เรื่อยๆ ปัจจุบัน คนจีน 100 คน อาจจะมีคนรวย 5 คน ซึ่งผลไม้ไทย ดั ง นั้ น การศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพโลจิ ส ติ ก ส์ ผ ลไม้ ภ าค
ไปจีนยังเป็นสินค้าส�ำหรับคนมีเงิน ผลไม้ไทยเกรดเอไปจีน เกรดรอง ตะวันออก จึงเป็นการศึกษาตัวชี้วัดทางด้านโลจิสติกส์ ตาม SCOR
จากนี้ไปตลาดสิงคโปร์ มาเลเซีย ฯลฯ แต่ยังมีคนจีนระดับกลาง Model มิติทางด้านต้นทุน ด้านเวลา และด้านความน่าเชื่อถือ
และล่างอีกจ�ำนวนมาก ทีย่ งั ไม่มโี อกาสได้กนิ ผลไม้ไทย ตลาดกลุม่ นี้ เพือ่ พัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออก
จึงเป็นตลาดที่ส�ำคัญมาก ที่ส�ำคัญเดือนมกราคมถึงพฤษภาคมไม่มี เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558
ผลไม้ แต่ประเทศไทยมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น ทุเรียน มังคุด ล�ำไย
กล้วยไข่ ลองกอง ฯลฯ ซึ่งความต้องการของผลไม้ไทยในตลาดจีน วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ยังมีอีกมากแต่ขอให้ผลไม้ไทยมีคุณภาพ ในช่วงที่ผลไม้ตะวันออก 1. เพื่อศึกษาโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออก
เก็บเกีย่ วพร้อมๆกัน บริษทั ไทยฮงผลไม้ ส่งออกผลไม้ไปวันละหลาย 2. เพื่ อ ก�ำหนดเกณฑ์ ชี้ วั ด มาตรฐานโลจิ ส ติ ก ส์ ผ ลไม้
ตูค้ อนเทนเนอร์ แต่ปริมาณนีก้ ย็ งั น้อยมากเมือ่ เทียบกับปริมาณผลไม้ ภาคตะวันออก
ของบริษัทส่งออกกว่า 30 บริษัทจากประเทศไทย 3. เพือ่ ประเมินประสิทธิภาพโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออก
ส�ำนักส่งเสริมสินค้าส่งออก (2555) กล่าวว่า การส่งออกผัก
ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง เดือน มกราคมถึงเดือนมิถุนายน 2555 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
มีปริมาณ 771,182 ตัน คิดเป็นมูลค่า 570.42 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประชากรที่ท�ำการวิจัยครั้งนี้เป็นเกษตรกรและพ่อค้าหรือผู้
เพิ่มขึ้น 15.71% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2554 และ ประกอบการรวบรวมผลผลิตผลเพื่อส่งออกผลไม้ในภาคตะวันออก
คิดเป็นสัดส่วน 0.5% ของมูลค่าการส่งออกรวมของไทย จุดแข็ง ได้แก่ กล้วยไข่ ทุเรียน มังคุด และล�ำไย ในจังหวัดระยอง จังหวัด
คือ ผลผลิตผักผลไม้ของไทยมีความหลากหลายและต่อเนือ่ งตลอดปี จันทบุรี และจังหวัดตราด
ท�ำให้มีความได้เปรียบด้านประเภทสินค้า และมีความยืดหยุ่นด้าน
ปริ ม าณการส่ ง ออก สิ น ค้ า ผลไม้ ข องไทยเป็ น ที่ นิ ย มและได้ รั บ
การยอมรับจากผู้บริโภคในต่างประเทศ ปัญหาและอุปสรรค คือ

ทรงศักดิ์ มิ่มกระโทก, ส�ำราญ ช�ำโสม, ดวงมณี ทองค�ำ, ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล, กชกร มิ่มกระโทก
ประชากรที่ใชในการวิจัย
ประชากรที่ทําการวิจัยครั้งนี้เปนเกษตรกรและพอคาหรือผูป ระกอบการรวบรวมผลผลิตผลเพื่อสงออกผลไมในภาค
ตะวันออก ไดแก กลวยไข ทุวารสารวิ เรียน มังคุจัยดรำและลํ าไย ในจั
�ไพพรรณี ปีทงี่ หวั
10ดระยอง
ฉบับที่ 1จังหวั
เดือดนตุ
จันลทบุ
าคมรี และจั งหวัดตราด2559 41
2558-มกราคม
กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย
กลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้ เลือกแบบเจาะจงเปนเกษตรกรที่ปลูกกลวยไข ทุเรียน มังคุด และลําไย ในจังหวัด
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเกษตรกร และพ่อค้าหรือ
ระยอง จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด จํานวน 39 คน และพ อคาหรือผูประกอบการรวบรวมผลผลิตผลเพื่อสงออกผลไมใน
กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เลื อ กแบบเจาะจงเป็ น ผูป้ ระกอบการรวบรวมผลผลิตผลเพือ่ แบบสอบถามต้นทุนกิจกรรม
เกษตรกรที่ปภาคตะวั
ลูกกล้วยไข่ นออก
ทุเรีได
ยนแกมังกล
คุดวยไข ทุเรียนในจั
และล�ำไย มังงคุหวั
ด ดและลํ
ระยองาไย ในจัโลจิงหวั
สติดกระยอง
ส์ผลไม้ภจัาคตะวั
งหวัดจันนออก
ทบุรี ลัและจั งหวัดตราด จํานวน 53 แหง่ม
กษณะของแบบสอบถามจากกลุ
จังหวัดจันทบุเครื รี และจั
่องมืองทีหวั่ใชดใตราด จัย 39 คน และพ่อค้าหรือผู้ ตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเกษตรกร และพ่อค้าหรือผู้ประกอบการ
นการวิจ�ำนวน
ประกอบการรวบรวมผลผลิ เครื่อตงมืผลเพื
อที่ใ่อชส่ในการเก็
งออกผลไม้ ในภาคตะวั
บรวบรวมข ออก้งนี้ คืรวบรวมผลผลิ
อมูลนครั อ โดยวิธีการในการดํ ตผลเพืาเนิ
่อส่นงงานมี
ออกกและแบบประเมิ
ารเก็บขอมูลแบบมี นประสิ
สวนรวทมทั
ธิภ้งาพ
ภายใน
ได้แก่ กล้วยไข่และภายนอกสหกรณ
ทุเรียน มังคุด และล�ำไย ประกอบด ในจัวงยหวัการตอบแบบสอบถาม โลจิ ส ติ ก ส์
ดระยอง จังหวัด การจัดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การสัมภาษณเชิงลึก (In dept
จันทบุรี และจัinterview)
งหวัดตราดการสนทนากลุจ�ำนวน 53 แห่มยง อย (Focus group discussion) สัมมนาเชิงปฏิบัติการ (Work Shop) ประกอบดวย
แบบสอบถาม แบบสอบถามกิจกรรมโลจิสติกสผลไมตะวันผลการวิ จัย
ออก ลักษณะของแบบสอบถาม จากกลุมตัวอยาง 2 กลุม คือ กลุม
เครื่องมือทีเกษตรกร
่ใช้ในการวิและพ จัย อคาหรือผูประกอบการรวบรวมผลผลิตผลเพื ่อแบบสอบถามต นทุนกิจสกรรมโลจิ
ตอนที่ 1 ระบบโลจิ ติกส์ผลไม้สภติกาคตะวั
สผลไมนภออก
าคตะวันออก
ลักอษณะของแบบสอบถามจากกลุ
เครื่องมื ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั มตั้งนีวอย
้ คือางโดยวิ
2 กลุ
ธีกมารคือ กลุ
มเกษตรกรระบบโลจิและพ
สติอกคส์าผหรืลไม้
อผูภปาคตะวั
ระกอบการรวบรวมผลผลิ
นออกเป็นการศึกษาข้ ตผลเพื
อมูล่อ
ในการด�ำเนินสงานมีงออกกและแบบประเมิ
ารเก็บข้อมูลแบบมี นประสิ ทธิภวมทั
ส่วนร่ าพโลจิ สติกสและ ตั้งแต่ต้นน�้ำคือเกษตรกรผู้ผลิตผลไม้ภาคตะวันออก เฉพาะทุเรียน
้งภายใน
ภายนอกสหกรณ์ ผลการวิ จัย วย การตอบแบบสอบถาม การจัดเวที มังคุด ล�ำไย และกล้วยไข่ เนื่องจากเป็นผลไม้เศรษฐกิจที่ปริมาณ
ประกอบด้
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นตอนที การสั่ มภาษณ์
1 ระบบโลจิ เชิงลึกส(In
ติกdeptสผลไมinterview)
ภาคตะวันออกและมูลค่าส่งออกสูงที่สุด กลางน�้ำ คือพ่อค้าย่อยหรือล้ง ผู้ท�ำหน้าที่
ระบบโลจิสติกสผลไมภาคตะวันออกเปนการศึกษาขอมูล ตั้งแตตนน้ําคือเกษตรกรผูผลิตผลไมภาคตะวันออก เฉพาะ
การสนทนากลุ่มย่อย (Focus group discussion) สัมมนาเชิง รวบรวมผลไม้เพื่อขายต่อหรือส่งออก และปลายน�้ำ คือบริษัทหรือ
ทุเรียน มังคุด ลําไย และกลวยไข เนื่องจากเปนผลไมเศรษฐกิจที่ปริมาณและมูลคาสงออกสูงที่สุด กลางน้ํา คือพอคายอยหรือลง
ปฏิบตั กิ าร (Work Shop) ประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบสอบถาม ผู้ประกอบการ ผู้ท�ำหน้าที่ จัดจ�ำหน่ายทั้งภายในประเทศและต่าง
ผูทําหนาที่ รวบรวมผลไมเพื่อขายตอหรือสงออก และปลายน้ํา คือบริษัทหรือผูประกอบการ ผูทําหนาที่ จัดจําหนายทั้ง
กิจกรรมโลจิภายในประเทศและต
สติกส์ผลไม้ตะวันออก ลักษณะของแบบสอบถาม ประเทศ มีผลการวิจัยดังนี้
างประเทศ มีผลการวิจัยดังนี้
การจัดทําเอกสารสงออก การขนสง สินคาคงคลัง การจําหนาย

ผูประกอบการ/ผูสงออก

การรับผลไม การคัดเกรด การชั่งน้ําหนัก การปรับคุณภาพ การบรรจุภัณฑ


คลังสินคา
ลง

การรวบรวม การคัดเกรด การชั่งน้ําหนัก การบรรจุภัณฑ การขนสง

พอคายอย

การจัดหาปจจัยการผลิต การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและคัดคุณภาพ การบรรจุภัณฑ การขนสง

เกษตรกร
ภาพที่ 1 ระบบโลจิสติกสผลไมภาคตะวั
ภาพทีน่ ออก
1 ระบบโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออก

เกษตรกรท�ำหน้าทีผ่ ลิตกล้วยไข่ให้ได้คณ
ุ ภาพและมาตรฐาน ตอนที่ 2 เกณฑ์ชวี้ ดั มาตรฐานโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออก
น�ำมาขายให้กับพ่อค้า พ่อค้าท�ำหน้าที่รับซื้อรวบรวมผลผลิต และ เกณฑ์ชวี้ ดั มาตรฐานโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออก เป็นการ
ส่งขายให้กับล้ง พ่อค้าย่อย หรือผู้รับซื้อ เป็นทีมงานของล้งทั้ง ก�ำหนดตัวชี้วัดตามกิจกรรมโลจิสติกส์ส�ำหรับเกษตรกร และพ่อค้า
คนไทยและคนจีน มีกิจกรรม ส�ำรวจผลผลิตจากเกษตรกร ต่อรอง หรือผู้ประกอบการ เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานดังกล่าว จะใช้ส�ำหรับ
ราคาซื้อผลไม้ เก็บเกี่ยว คัดคุณภาพ รวบรวม และขนส่ง ไปยังล้ง ประเมินประสิทธิภาพโลจิสติกส์ต่อไป
หรือโรงงาน ที่รับผลไม้ สอบทวนคุณภาพ น�้ำหนัก บรรจุภัณฑ์ และ เกณฑ์ ชี้ วั ด มาตรฐานโลจิ ส ติ ก ส์ ผ ลไม้ ภ าคตะวั น ออก
คลังสินค้า ผูป้ ระกอบการ ก�ำหนดราคาซือ้ ขาย จัดท�ำเอกสารส่งออก ประกอบด้วย
ขนส่ง คลังสินค้า และจ�ำหน่าย

ทรงศักดิ์ มิ่มกระโทก, ส�ำราญ ช�ำโสม, ดวงมณี ทองค�ำ, ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล, กชกร มิ่มกระโทก
และพอคาหรือผูประกอบการ เกณฑชี้วัดมาตรฐานดังกลาว จะใชสําหรับประเมินประสิทธิภาพโลจิสติกสตอไป
เกษตรกร ตอรองราคาซื
เกณฑช้อี้วผลไม เก็บเกี่ยวสคัติดกคุสณผลไม
ัดมาตรฐานโลจิ ภาพภรวบรวม และขนส
าคตะวันออก ง ไปยังวลยง หรือโรงงาน ที่รับผลไม สอบทวนคุณภาพ
ประกอบด
น้ําหนัก บรรจุภัณ1.ฑสัและคลั
ดสวนตงนสิทุนนคการจั
า ผูประกอบการ
ดหาปจจัยการผลิ กําหนดราคาซื
ตตอยอดขาย ้อขาย จัดทําเอกสารสงออก ขนสง คลังสินคา และจําหนาย
42 วารสารวิจัยรำ�ไพพรรณี ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2558-มกราคม 2559
2. สัดสวนตนทุนการดูแลรักษาตอมูลคายอดขาย
ตอนที่ 3.2 สัเกณฑ
ดสวนต ชี้วนัดทุมาตรฐานโลจิ
นการเก็บเกี่ยวและคั สติกสผดลไม คุณภภาพต
าคตะวั
อมูนลออก
คายอดขาย
เกณฑช4.ี้วัดสัมาตรฐานโลจิ
ดสวดนตหาปั ส ติ
นทุจนจัการบรรจุ ก ส ผ ลไม ภ าคตะวั นออก เป น การกํ าหนดตัวชี้วัดตามกิจกรรมโลจิสติกสสําหรับเกษตรกร
1. สัดส่วนต้นทุนการจั ยการผลิตภต่ัณอฑยอดขาย ตอมูลคายอดขาย ต้นทุนโลจิสติกส์กล้วยไข่ เกษตรกร ด้านการจัดหาปัจจัย
และพอคาหรือผูป5.ระกอบการ
สั ด ส วนต น เกณฑ
ทุ น ชี้วัดมาตรฐานดั
การขนส ง ต อ มู ลค า งยอดขาย
กลาว จะใชสําหรับประเมินประสิทธิภาพโลจิสติกสตอไป
2. สัดส่วนต้นทุนการดูแลรักษาต่อมูลค่ายอดขาย การผลิต 8.00 บาท ด้านการดูรักษา 0.09 บาท ด้านการเก็บเกี่ยว/
เกณฑช6.ี้วัดสัมาตรฐานโลจิ
ด ส วนต น ทุ น สติงกสิสนผคลไม
คลั าต อภมูาคตะวั
ล ค า นออก ประกอบดวย
ยอดขาย
3. สัดส่วนต้นทุนการเก็บเกี่ยวและคัดคุณภาพต่อมูลค่า การคัดคุณภาพ 2.00 บาท และด้านการขนส่ง 1.00 บาท พ่อค้าย่อย
1. สัดสวนตนทุนการจัดหาปจจัยการผลิตตอยอดขาย
ยอดขาย ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 3.00 บาท ด้านการดูรกั ษา 1.00 บาท
2. สัดสตอนที
วนตน่ทุ3นตการดู น ทุ แโลจิ
น ลรักสษาต ติ ก อผมูลลไม
ส คาภยอดขาย
าคตะวั น ออก
4. สัดส่วนต้นทุนการบรรจุภัณฑ์ต่อมูลค่ายอดขาย ด้านการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 1.00 บาท และด้านการขนส่ง
3. สัดส1.วนต
ต นทุทุนนโลจิ
น การเก็ส ติบกสเกีก่ยลวและคั
ว ยไข ดคุณภาพตอมูลคายอดขาย
5. สัดส่วนต้นทุนการขนส่งต่อมูลค่ายอดขาย 1.50 บาท ล้ง ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 2.00 บาท ด้านการ
4. สัดสวนตนทุนการบรรจุภัณฑตอมูลคายอดขาย
6. สัดส่วนต้นทุนคลังสินค้าต่อมูลค่ายอดขาย ดูรักษา 1.00 บาท ด้านการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 1.00 บาท
5. สัดสวนตนทุนการขนสงตอมูลคายอดขาย
ด้านการบรรจุภัณฑ์ 1.50 บาท ด้านการขนส่ง 2.00 บาท และ
6. สัดสวนตนทุนคลังสินคาตอมูลคายอดขาย
ตอนที่ 3 ต้นทุนโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออก ด้านคลังสินค้า 2.00 บาท พ่อค้า/ผู้ส่งออก ด้านการจัดหาปัจจัย
1. ต้นทุนโลจิสติตอนที
กส์กล้ว่ 3ยไข่ตนทุนโลจิสติกสผลไมภาคตะวันออก การผลิต 2.00 บาท ด้านการบรรจุภัณฑ์ 2.00 บาท ด้านการขนส่ง
1. ตนทุนโลจิสติกสกลวยไข 2.50 บาท และด้านคลังสินค้า 3.00 บาท

ตนทุนโลจิสติกสกลวยไข เกษตรกร ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 8.00 บาท ดานการดูรักษา 0.09 บาท ดานการเก็บ


เกี่ยว/การคัดคุณภาพ 2.00 บาท และดานการขนสง 1.00 บาท พอคายอย ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 3.00 บาท ดานการดู
รักษา 1.00 บาท ดานการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 1.00 บาท และดานการขนสง 1.50 บาท ลง ดานการจัดหาปจจัยการผลิต
2.00บาท ดานการดูรักษา 1.00 บาท ดานการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 1.00 บาท ดานการบรรจุภัณฑ 1.50 บาท ดานการ
ขนสง 2.00 บาท และดานคลังสินคา 2.00 บาท พอคา/ผูสงออก ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 2.00 บาท ดานการบรรจุภัณฑ
2.00บาท ดานการขนสง 2.50 บาทและดานคลังสินคา 3.00 บาท
2. ต้นทุนโลจิสติตกนส์ทุทนุเรีโลจิ
2.ยนตสนติทุกนสโลจิ
กลวสยไข
ติกสเกษตรกร
ทุเรียน ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 8.00 บาท ดานการดูรักษา 0.09 บาท ดานการเก็บ
เกี่ยว/การคัดคุณภาพ 2.00 บาท และดานการขนสง 1.00 บาท พอคายอย ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 3.00 บาท ดานการดู
รักษา 1.00 บาท ดานการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 1.00 บาท และดานการขนสง 1.50 บาท ลง ดานการจัดหาปจจัยการผลิต
2.00บาท ดานการดูรักษา 1.00 บาท ดานการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 1.00 บาท ดานการบรรจุภัณฑ 1.50 บาท ดานการ
ขนสง 2.00 บาท และดานคลังสินคา 2.00 บาท พอคา/ผูสงออก ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 2.00 บาท ดานการบรรจุภัณฑ
2.00บาท ดานการขนสง 2.50 บาทและดานคลังสินคา 3.00 บาท
2. ตนทุนโลจิสติกสทุเรียน

ต้นทุนโลจิสติกส์ทุเรียน เกษตรกร ด้านการจัดหาปัจจัย การผลิต 2.00 บาท ด้านการดูรักษา 1.00 บาท ด้านการเก็บเกี่ยว/
การผลิต 8.00 บาท ด้านการดูรักษา 6.00 บาท ด้านการเก็บเกี่ยว/ การคั ด คุ ณ ภาพ 1.00 บาท ด้ า นการบรรจุ ภั ณ ฑ์ 1.00 บาท
การคัดคุณภาพ 5.00 บาท และด้านการขนส่ง 1.00 บาท พ่อค้าย่อย ด้านการขนส่ง 1.50 บาท และด้านคลังสินค้า 1.50 บาท พ่อค้า/
ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 3.00 บาท ด้านการดูรักษา 1.00 บาท ผู้ส่งออก ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 2.00 บาท ด้านการบรรจุ
ด้านการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 2.00 บาท ด้านการขนส่ง ภัณฑ์ 1.00 บาท ด้านการขนส่ง 2.50 บาท และด้านคลังสินค้า
1.50 บาท และคลังสินค้า 1.00 บาท ล้ง ด้านการจัดหาปัจจัย 2.00 บาท

ทรงศักดิ์ มิ่มกระโทก, ส�ำราญ ช�ำโสม, ดวงมณี ทองค�ำ, ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล, กชกร มิ่มกระโทก
การจัดรัหาป
กษาจ1.00 บาท ตดา2.00
จัยการผลิ นการเก็
บาทบเกีดา่ยนการดู
ว/การคัรดักษา
คุณภาพ
1.00 2.00
บาท บาท ดานการขนส
ดานการเก็ บเกี่ยว/การคั ง 1.50ดคุบาทณภาพ และคลั
1.00งสิบาท
นคาด1.00 บาท ลง ดาน
านการบรรจุ
ภัณฑ การจั
1.00ดบาท
หาปจดจัายนการขนส
การผลิต ง2.00
1.50บาท บาทดและด
านการดู รักษา
านคลั งสิน1.00 บาท บาท
คา 1.50 ดานการเก็
พอคาบ/ผูเกีส่ยงออก
ว/การคัดาดนการจั
คุณภาพ 1.00
ดหาป จจัยบาท ดาตนการบรรจุ
การผลิ 2.00
บาท ดภัาณนการบรรจุ
ฑ 1.00 บาทภัณฑดา1.00
นการขนส
บาท งวารสารวิ
ด1.50 บาท และด
านการขนส 2.50านคลั
จัยรำง�ไพพรรณีบาทงปีสิทและด
นคา า1.50
นคลับงทีบาท
ี่ 10 ฉบั สิ่ 1นคพเดื
า อ2.00
คา/ผูสงออก ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 2.00
อนตุลบาท
าคม 2558-มกราคม 2559 43
บาท ดานการบรรจุภัณฑ 1.00 บาท ดานการขนสง 2.50 บาท และดานคลังสินคา 2.00 บาท
3. ตนทุนโลจิสติกสมังคุด
3. ต้นทุนโลจิสติกส์ม3.ังคุตดนทุนโลจิสติกสมังคุด

ตนทุนโลจิสติกสมังคุด เกษตรกร ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 6.00 บาท ดานการดูรักษา 6.00 บาท ดานการเก็บ


เกี่ยว/การคั
ต้นทุนโลจิ ดคุสณตติภาพ
นกส์ทุมนังโลจิ
คุดสเกษตรกร
5.00 ติบาท
กสมการบรรจุ
ังคุดด้เกษตรกร
ภัณฑดดหาปั
านการจั 0.50านการจั
จบาท ดหาป
จัยการ และดจ0.50จัานการขนส
ยการผลิ
บาทตล้ง6.00
ง1.00 บาท
บาท ดดพาหาปั
ด้านการจั อนการดู
คาจยจัอยยรการผลิ
ักดษา 6.00
านการจั ดบาท
ต 2.00 จดจัานการเก็
หาปบาท ยด้การ บ
านการดู
ผลิตผลิ6.00 เกีบาท ด้
ต 2.00 ่ยว/การคั
บาทานการดูดดาคุนการดู
ณภาพ
รักษารัก5.00
ษา 1.00
6.00 บาท
บาทบาทการบรรจุ ภบัณเกีฑ่ยบ0.50
ดานการเก็
ด้านการเก็ บาท รัและด
เกี่ยว/การคั
ว/การ คุณา1.00
กดษา นการขนส
ภาพ บาทงบาท
2.00 ด้1.00 บาท บพเกีอภค่ยัณาว/การคั
การบรรจุ
านการเก็ ยฑอย0.50
ดาดนการจั
คุบาท ดดาหาป
ณภาพ นการ
2.00จจัยบาท
การ
คัดคุขนส
ณภาพ งผลิ1.50 ต 2.00
5.00 บาทบาท
บาท และคลั
การบรรจุดานการดูั าฑ์ร0.50
งสินภคณ ัก0.50ษา บาท
1.00 บาท
ง ดาดานการจั
บาท ลและด้ านการเก็
นการขนส่ ดหาปบงเกีจ่ยจัว/การคั
ด้ยาการผลิ
ดตคุณ2.00
นการบรรจุ
ภาพบาท 2.00ดาบาท
ภัณฑ์ 1.00
การบรรจุ1.00
นการดู
บาทรักด้ษา านการขนส่
ภัณฑบาท0.50ดบาท
านการเก็
ง 2.00
ดานการ
บาทบและ
1.00เกีบาท ขนส
่ยว/การคัพ่อค้งดา1.50
ย่คุอณยภาพ ด้บาท และคลั
2.00 ดบาท งสิดนจาคจันการบรรจุ
ายการผลิ
0.50 บาท ภัณลฑง บาท
ด1.00
านการจั น ดหาป
ด้าบาท จจัยการผลิต 2.00
ดด้าานการขนส บาท ดานการดู รักษาคา 1.00 บาท ดานการเก็บ
านการจั หาปั ต 2.00 นคลังสินค้ง า2.00
1.50บาท และด
บาท พ่ อาค้นคลั
า/ผูง้สสิ่งนออก 1.50
ด้านการจัดหาปัจจัย
าเกี
การดูพรอกั คษา ่ยสว/การคั
/ผู1.00 งออกบาทดดาด้คุนการจั
าณนการเก็
ภาพดหาป2.00
บเกีจย่ บาท ดานการบรรจุ
จัว/การคั
ยการผลิ ดคุตณ2.00
ภาพ บาท ภัณฑบาท
2.00 ด1.00 บาท ดภานการขนส
านการบรรจุ ัณฑ 3.00 งบาท 2.00ดบาท และดางนคลั
านการขนส 2.50งสิบาท
นคา 1.50
และดบาท าน
พ อ ค า/ผู ส
 ง
 ออก ด านการจั ด หาป จจั ย การผลิ ต 2.00 บาท ด า การผลิ ต
นการบรรจุ 2.00ภ ณ
ั บาท
ฑ 3.00ด้ า นการบรรจุ
บาท ด า ภ
นการขนส ณ
ั ฑ์ 3.00
ง 2.50บาทบาทด้ า นการขนส่
และด า นง
คลั
การบรรจุภณ ง สิ นค า 2.00 บาท
ั ฑ์ 0.50 บาท ด้านการขนส่ง 1.50 บาท และคลังสินค้า 2.50 บาท และด้านคลังสินค้า 2.00 บาท
คลังสินคา 2.00 บาท
4. ต้นทุนโลจิส4.ติกตส์นลทุ�ำไย
นโลจิสติกสลําไย
4. ตนทุนโลจิสติกสลําไย

ต้นทุนตโลจิ
นทุนสโลจิ ติกส์สลติ�ำไย
กสลําเกษตรกร
ไย เกษตรกรด้าดนการจั
านการจัดดหาปั
หาปจจจัจัยยการผลิ
1.00ต บาท 7.00 บาทล้ง ด้าดนการจั
านการดูดหาปัรักษาจจั3.00 บาทด
ยการผลิ ต า1.50
นการเก็
บาทบ ด้านการ
เกี่ยว/การคัดคุณภาพ 1.50 บาท และดานการขนสง 1.00 บาท พอคายอย ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 2.50 บาท ด นการเก็บ
ต นทุ น โลจิ ส ติ ก ส
ล ํ าไย เกษตรกร ด า นการจั ด หาป จ จั ย การผลิ ต 7.00 บาท ด านการดู ร ก
ั ษา 3.00 บาทด า
การผลิต 7.00 บาท ด้ดาคุนการดู
เกี่ยว/การคั ภาพรบาท ัก1.50
ษา 3.00 บาทด้
และดาานการขนส
นการเก็บเกีง ่ย1.00
ว/ บาท เก็บพเกีอ่ยคว/การคั ดดาคุนการจั
ณภาพด2.25 หาปจบาท ด้านการบรรจุ
2.50 ภบาท
ัณฑ์ ด1.50 บาท บ
เกี่ยว/การคั ดคุณภาพณ1.50 ดบาท
านการขนส ง 1.50 บาท และคลั งสินคา า1.00 ยอย บาท ลง ดานการจั จัดยหาป
การผลิ
จจัตยการผลิ ต 1.50 านการเก็
การคัดคุณเกีภาพ 1.50 ดบาท และด้ านการขนส่ งา1.00 บาท พ่อ1.50
ค้าย่อบาท
ย และคลั
ด้านการขนส่ าง 1.00
2.00บาท บาทลงและด้ านคลัดงสิหาป
นค้าจจั1.50 บาท พ่อค้า/
บาท ดา่ยนการเก็
ว/การคั บเกีคุ่ยณว/การคั
ภาพ 1.50 ดคุณบาท ภาพด2.25
นการขนส
บาท ดงานการบรรจุ ภัณฑ 1.50 งสินคบาท ดานการขนส ดงา2.00
นการจั บาท และด ยาการผลิ
นคลังสิตน1.50
คา
ด้านการจั
1.50 บาทดหาปัพดจาอจันการเก็
คยาการผลิ ตเกี2.50
/ผูสงบออก บาทดด้คุดาณหาป
่ยว/การคั
ดานการจั นการเก็ยบการผลิ
เกี่ยบาท
ภาพจจั2.25 ว/การคั
ต ด1.00ด บาทผูส้ ดง่ ออก
านการบรรจุ ัณฑด้า1.50
นการจัภบาท
าภนการบรรจุ ัณดหาปั าจนการขนส
ฑ ด3.00จัยการผลิ
บาท ดตาง นการขนส
1.00
2.00 บาท
บาทงด้และด
านการบรรจุ
2.00 นคลังภสิณ
าบาท ั นฑ์คา
คุณภาพ า1.50
และด1.50 งบาท
นคลับาท สินคพาด้อ2.00
คานการขนส่
สงออกงด1.50
า/ผูบาท บาท
านการจั และคลั
ดหาป งสินค้ตา 1.003.00
จจัยการผลิ บาทบาท ดาด้นการบรรจุ
านการขนส่ภัณ ง 2.00
ฑ 3.00 บาทบาท และด้
ดาานการขนส
นคลังสินค้ง า2.00
2.00บาท
บาท
และดานคลังสินคา 2.00 บาท

ทรงศักดิ์ มิ่มกระโทก, ส�ำราญ ช�ำโสม, ดวงมณี ทองค�ำ, ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล, กชกร มิ่มกระโทก
44 วารสารวิจัยรำ�ไพพรรณี ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2558-มกราคม 2559

ตอนที่ 4ตอนที การประเมิ


่ 4 การประเมิ นประสิทนธิประสิ ภาพโลจิ ทธิภสาพโลจิติกส์ผสลไม้ ติกภสาคตะวั
ผลไมภนาคตะวัออก นออก
ตารางทีตารางที ่ ประสิ
1 ประสิ
่ 1ตอนที ทภธิาพโลจิ
่ ท4ธิการประเมิ ภาพโลจิ สตินสกประสิ
ติสกกส์ลกวทยไข
ล้ธิวภยไข่
าพโลจิสติกสผลไมภาคตะวันออก
ตารางทีที่ ่ 1 ประสิทธิภรายการ าพโลจิสติกสกลวยไข เกษตรกร พอคายอย ลง พอคา/ผูสงออก
1.ที่ การจัดหาปรายการ จจัยการผลิต เกษตรกร
0.12 พอ0.05
คายอย ลง
0.03 พอคา0.03
/ผูสงออก
1. การดู
2. การจัดแหาป ลรักษา จจัยการผลิต 0.12
0.09 0.05
0.02 0.03
0.02 0.03
-
2. การดู แ
3. การเก็บเกี่ยว/คัดคุณภาพ ลรั ก ษา 0.09
0.03 0.02 0.02 -
3. การบรรจุ
4. การเก็บเกีภ่ยัณว/คั ฑ ดคุณภาพ 0.03
- 0.02 - 0.02 -
0.03
4. การขนส
5. การบรรจุงภัณฑ -
0.02 0.02 - 0.02
0.03 0.03
0.04
5. คลั
6. การขนส
งสินคงา 0.02
- 0.02 - 0.03 0.04
0.05
6. คลั งสินทคธิาภาพโลจิสติกสกลวยไข เปนการคิ-ดราคาขายกลวยไขส-งออกเฉลี่ยกิโลกรั0.03
ประสิ มละ 65 บาท พบวา 0.05 ประสิทธิภาพโล
ประสิทธิประสิ ภาพโลจิ ส ติ ก ส์ ก ล้ ว ยไข่ เป็ น การคิ ด ราคาขายกล้ ว ยไข่ ส ่ ง ออกเฉลี ่ ย กิ โ ลกรั ม ละ 65 บาท พบว่ า ประสิ ทธิภาพโลจิ สติกส์
จิสติกสกลวยไข ททีธิ่มภีคาพโลจิ าสูงที่สสุดติคืกอสกเกษตรกรลวยไข เปดานนการจั การคิดดราคาขายกล
หาปจจัยการผลิ วยไขตสง0.12ออกเฉลี พอ่ยคกิาโยลกรั
อย มดละ 65 บาท
านการจั ดหาปพบว
จจัายการผลิ
ประสิ ทตธิภ0.05
าพโล
กล้วยไข่ ที่มีคก่าลสูวงยไขที่สุดทีคื่มอีคเกษตรกร งที่สุดคืตด้อา0.03นการจั ดหาปัจจัยการผลิ ต จ0.12 พ่ อค้าย่อย ด้าพนการจั ายดอยหาปั ดาจนการจั
จัยการผลิ ต 0.05 ล้ง ด้าตนการจั
0.05 ดหา
ลจิสง ติดกาสนการจั ดหาปจจัายสูการผลิ เกษตรกร พอคาด/ผูานการจั
สงออกดดหาป
านการจัจัยการผลิ
ดหาปจตจั0.12 ยการผลิอตค0.03 ดหาป จจัยการผลิ
ปัจจัยลการผลิ
ง ดานการจั ต 0.03ดหาป พ่อค้จาจั/ผู ้ส่งออกตด้0.03
ยการผลิ านการจั พอดคหาปั
า/ผูสจงจัออก
ยการผลิ ต 0.03
ดานการจั ดหาปจจัยการผลิต 0.03
ตารางที่ 2 ประสิทธิภาพโลจิสติกสทุเรียน
ตารางที ตารางที
ที่ ่ 2 ่ ประสิ 2 ประสิ ทธิทรายการ
ภธิาพโลจิ
ภาพโลจิ สติสกติสกทส์ุเรีทยุเนรียน เกษตรกร พอคายอย ลง พอคา/ผูสงออก
ที1.่ การจัดหาปรายการ จจัยการผลิต เกษตรกร
0.13 พ อค า
0.05 ย อ ย ล
0.03ง พอคา0.03
/ผูสงออก
1.
2. การจั การดูดแหาป ลรักษา จจัยการผลิต 0.13
0.10 0.05
0.02 0.03
0.02 0.03
2.
3. การดู การเก็แบลรัเกีก่ยษา ว/คัดคุณภาพ 0.10
0.08 0.02
0.03 0.02
3.
4. การเก็ การบรรจุ บเกีภ่ยัณว/คั ฑ ดคุณภาพ 0.08 0.03 0.02 0.02
4.
5. การบรรจุ การขนสงภัณฑ 0.02 0.03 0.02
0.03 0.02
0.04
5.
6. การขนส คลังสินคงา 0.02 0.03
0.02 0.03 0.04
0.03
6. คลังสินคา 0.02 0.03 0.03
ประสิทธิประสิ ภาพโลจิ ทธิภสาพโลจิ ติกส์ทสุเรีติยกนสเป็ ทุเนรียการคิน เปดนราคาขายทุ
การคิดราคาขายทุ เรียนสง่ยออกเฉลี
เรียนส่งออกเฉลี กิโลกรัม่ยละ กิโลกรั
60 มบาท ละ 60 พบว่บาท พบวทาธิภประสิ
า ประสิ าพโลจิทธิสภติาพโลจิ
กส์ทุเรียน
สติกสทุเรียประสิ น ที่มทีคธิาภสูาพโลจิ งที่สุดคืสอติกเกษตรกร สทุเรียน ดเปานการจั นการคิดหาป ราคาขายทุ
จจัยการผลิเรียนส ต ง0.13
ออกเฉลี พอค่ยากิยโลกรั
อย ดมาละ 60 บาท
นการจั ดหาปพบว
จจัยาการผลิ
ประสิตทธิ0.05
ภาพโลจิลง
ที่มีค่าสูงที่สุดคือ เกษตรกร ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.13 พ่อค้าย่อย ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.05 ล้ง ด้านการจัดหาปัจจัย
สติ กสทุเรียดนหาป
ดานการจั ที่มจีคจัายสูการผลิ งที่สุดคืตอ0.03 เกษตรกร พอคาด/ผูาสนการจังออกดดหาป จจัยการผลิ
านการจั ดหาปจตจัย0.13 การผลิ พอตคา0.03
ยอย ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 0.05 ลง
การผลิดตานการจั 0.03 พ่ดหาป อค้า/ผู ส
้ ง
่ ออก ด้ า นการจั ด หาปั จ จั
จจัยการผลิต 0.03 พอคา/ผูสงออก ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 0.03 ย การผลิ ต 0.03
ตารางที่ 3 ประสิทธิภาพโลจิสติกสมังคุด
ตารางที ตารางที
ที่ ่ 3 ่ ประสิ 3 ประสิ ทธิทภรายการ ธิาพโลจิ
ภาพโลจิ สติสกติสกมส์ังคุมดังคุด เกษตรกร พอคายอย ลง พอคา/ผูสงออก
1.ที่ การจัดหาปรายการ จจัยการผลิต เกษตรกร
0.10 พอ0.03
คายอย ลง
0.03 พอคา0.03
/ผูสงออก
1.
2. การจั การดูดแหาป ลรักษา จจัยการผลิต 0.10 0.03
0.02 0.03
0.02 0.03
2.
3. การดู การเก็แบลรัเกีก่ยษา ว/คัดคุณภาพ 0.10
0.09 0.02
0.03 0.02
0.03
3.
4. การเก็ การบรรจุ บเกีภ่ยัณว/คั ฑ ดคุณภาพ 0.09
0.01 0.03
0.01 0.03
0.02 0.05
4.
5. การขนสง การบรรจุ ภ ณ
ั ฑ 0.01
0.02 0.01
0.03 0.02
0.03 0.05
0.04
5.
6. คลังสินคา การขนส ง 0.02 0.03
0.01 0.03 0.04
0.03
6. คลังสินคา 0.01 0.03 0.03
ประสิทธิภาพโลจิสติกสมังคุด เปนการคิดราคาขายกลวยไขสงออกเฉลี่ยกิโลกรัมละ 58 บาท พบวา ประสิทธิภาพโลจิ
ประสิทธิประสิ ภาพโลจิสติกส์มังสคุติดกสเป็มนังคุการคิ ด เปดดานราคาขายกล้ วยไข่ส่งออกเฉลี ง่ยออกเฉลี
กิโลกรัม่ยละ 58 บาท 58 พบว่า ประสิ ทธิภประสิ
าพโลจิทตธิส0.03
ภติาพโลจิ
กส์ทุเรียน
สติกสทุเรียน ที่มทีคธิาภสูาพโลจิ งที่สุดคือ เกษตรกร การคิดดราคาขายกล
นการจั หาปจจัยการผลิ วยไขตส0.10 พอคกิาโยลกรั
อย มดละ านการจับาท ดหาปพบว
จจัยา การผลิ ลง
ที่มีค่าสติ
สู งกที ส

ส ด

ท เ
ุ คื
รีอย นเกษตรกร
ที ม
่ ค
ี า
 สู ง ด้
ที ส
่ าด
ุ นการจั
คื อ ด หาปั
เกษตรกร
ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 0.03 พอคา/ผูสงออก ดานการจัดหาปจจัยการผลิต 0.03 จ จั ย
ด การผลิ
านการจั ตด 0.10
หาป จ พ่
จั อ
ย ค้ า ย่
การผลิ อ ยต ด้
0.10า นการจั พ อ ด
คหาปั
า ย อ จ
ย จั
ดยาการผลิ
นการจั ตด 0.03
หาป จ ล้
จั ยง ด้ า
การผลินการจั
ต ด
0.03หาปั
ล งจจัย
การผลิดตารางที
ตานการจั
0.03่ 4พ่ดประสิ อค้า/ผู
หาป จทจั้สธิย่งภการผลิ
ออก
าพโลจิ ด้ตาสนการจั
ติกสลพําดอไย
0.03 หาปั
คา/ผูจจัสยงการผลิ
ออก ดาตนการจั
0.03 ดหาปจจัยการผลิต 0.03
ตารางที่ 4 ประสิทธิภาพโลจิสติกสลําไย

ทรงศักดิ์ มิ่มกระโทก, ส�ำราญ ช�ำโสม, ดวงมณี ทองค�ำ, ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล, กชกร มิ่มกระโทก
วารสารวิจัยรำ�ไพพรรณี ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2558-มกราคม 2559 45

ตารางที่ 4 ประสิทธิภาพโลจิสติกส์ล�ำไย
ที่ รายการ เกษตรกร พอคายอย ลง พอคา/ผูสงออก
1. การจัดหาปจจัยการผลิต 0.16 0.06 0.03 0.02
2. การดูแลรักษา 0.07
3. การเก็บเกี่ยว/คัดคุณภาพ 0.03 0.03 0.05
4. การบรรจุภัณฑ 0.03 0.13
5. การขนสง 0.02 0.03 0.04 0.04
6. คลังสินคา 0.02 0.03 0.04
ประสิทธิภาพโลจิสติกส์ล�ำไย เป็นการคิดราคาขายล�ำไย พ่อค้าย่อย สูงสุด คือ ด้านการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 2.00 บาท
ประสิทธิภาพโลจิสติกสลําไย เปนการคิดราคาขายลําไยสงออกเฉลี่ยกิโลกรัมละ 45 บาท พบวา ประสิทธิภาพ โลจิ
ส่งออกเฉลี
สติกส่ยลกิําโไยลกรัทีม่มละ
ีคาสู45งที่สบาท
ุดคือ พบว่
เกษตรกรา ประสิ ดาทนการจั
ธิภาพดโลจิ ล้ง ตสูง0.16
หาปสจติจักยส์การผลิ สุด คืพออด้คาานการจั
ยอย ดาดนการจั หาปัจจัดยหาป การผลิจจัยตการผลิ2.00 ตบาท0.06พ่อลค้งา/
ล�ำไย ดทีา่มนการจั
ีค่าสูงดทีหาป ่สุดคืจอจัยเกษตรกร
การผลิต 0.03 ด้านการจัพอคาด/ผูหาปั จจัยการผลิ
สงออก ดานการจั ต ดหาปผู้ส่งจออก สูงสุดตคื0.02
จัยการผลิ อ ด้านการบรรจุภัณฑ์ 3.00 บาท ต้นทุนโลจิสติกส์
0.16 พ่อค้าย่อย ด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.06 ล้ง ด้านการ ล�ำไย เกษตรกร สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 7.00 บาท
จัดหาปัสรุจป จัยและอภิ
การผลิตปรายผล 0.03 พ่อค้า/ผู้ส่งออก ด้านการจัดหาปัจจัย พ่อค้าย่อย สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต 2.50 บาท ล้ง
การผลิต 0.02 ระบบโลจิ สติกสผลไมภาคตะวันออก ประกอบดวยเกษตรกรผู สูงสุด คืผ อลิตด้ผลไม
านการเก็พอคบาเกี ยอ่ยยว/การคั
ผูเก็บเกีด่ยคุวหรื
ณภาพ อรับ2.25
ซื้อผลไม
บาทจากพ่อค้า/
เกษตรกร ลง ผูรวบรวม และผูประกอบการหรือผูสงออก จัดจําหน ผู้สา่งยภายในประเทศและต
ออก สูงสุด คือ ด้านการบรรจุ างประเทศ ภัณฑ์ 3.00 บาท ด้านการ
เกณฑชี้วัดมาตรฐานโลจิสติกสผลไมภาคตะวันออก เป นการกํประสิ าหนดตั ทธิภาพโลจิสติกส์กล้วยไข่ สเกษตรกร
ว ชี ้ วั ด ตามกิ จ กรรมโลจิ ติกสสําหรัสูบงเกษตรกร
สุด คือด้าน
สรุปและอภิ ป รายผล
และพอคาหรือผูประกอบการ เกณฑชี้วัดมาตรฐาน ประกอบดวย สัดสวนตนทุนการจัดหาปจจัยการผลิตตอยอดขาย สัดสวน
ตนระบบโลจิ การจัดหาปัจจัยการผลิต 0.12 พ่อค้าย่อย สูงสุด คือด้านการจัดหา
ทุนการดูสแติลรั กส์กผษาต
ลไม้ภอาคตะวั นออก ประกอบด้
มูลคายอดขาย สัดสวนตวยเกษตรกร
นทุนการเก็บเกี่ยวและคัดคุณภาพตอมูลคายอดขาย สัดสวนตนทุนการบรรจุ
ผู้ผลิตภัผลไม้ ปัจจัยการผลิต 0.05 ล้ง สูงสุด คือด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต
ณฑตอพ่มูอลค้คาาย่ยอดขาย
อย ผู้เก็บสัเกีดส่ยววหรืนตนอทุรับนซืการขนส
้อผลไม้งจตากเกษตรกร
อมูลคายอดขาย และสัดสวนตนทุนคลังสินคาตอมูลคายอดขาย
ล้ง ผู้รวบรวม และผู ตนทุ้ปนระกอบการหรื
โลจิสติกสผลไมอผูเป้ส่งนออก ตนทุนจัทุดจ�ำหน่ ายภายในสติกส0.03
กกิจกรรมโลจิ พ่อค้า/ผู้สพ่งอออก
ของเกษตรกร คายสูองยสุลดงคืและพ อ ด้านคลัอคางผูสิสนงค้ออก
า 0.05 ประสิทกธิษา
จากการศึ ภาพ
ประเทศและต่ ทุนโลจิสติกสกลวยไข เกษตรกร สูงสุด คือ ดานการจัโลจิ
พบวา ตนางประเทศ ดหาป สติกจส์จัทยการผลิ
ุเรียน เกษตรกร
ต 8.00 บาท สูงสุดพคืออคด้าายนการจั
อย สูงดสุหาปั ด คือจจัดยาการผลิ
นการ ต
จัดเกณฑ์ หาปจชจัวี้ ยดั การผลิ
มาตรฐานโลจิ
ต 3.00สติบาท กส์ผลลไม้
ง สูภงาคตะวั
สุด คือนออก เป็นการ
ดานการจั ดหาปจ0.13จัยการผลิพ่อค้าตย่อ2.00บาท
ย สูงสุด คืผุอปด้ระกอบการหรืานการจัดหาปัอจผูจัสยงการผลิ ออก สูตงสุ0.05 ด คือล้ง
ก�ำหนดตั วชี้วงัดสิตามกิ
ดานคลั นคา จ3.00กรรมโลจิ บาท สตตินกทุส์นสโลจิ
�ำหรัสบติเกษตรกร
กสทุเรียน และพ่ สูงสุด คือเด้รียานการจั
อค้า ดราคาขายทุ
เปนการคิ นสงออกเฉลี ดหาปั่ยจกิจัโยลกรั การผลิ
มละต600.03 บาทด้าพบว นการขนส่
า ตนทุง น0.03 โล
หรือผูจิ้ปสระกอบการ
ติกสทเุ รียน เกษตรกรเกณฑ์ชี้วัดสูมาตรฐานงสุด คือ ดาประกอบด้ นการจัดหาป วน ต 8.00 บาท พอค ยอย สูงสุด คือดานการจัดหาปจจัยการผลิต ง
วย จสัจัดยส่การผลิ และด้ า นคลั ง สิ น ค้ า 0.03 พ่ อ ค้ า /ผู ส
้ ง
่ ออก สู ง สุ ด คื อ ด้ า นการขนส่
ต้นทุน3.00
การจับาท ดหาปัลจงจัสูยงการผลิ
สุด คือตต่ดอานการจั
ยอดขาย สั ดหาปดจส่จัวยนต้การผลิ ต 2.00แลบาท0.04
นทุนการดู พอคาและ /ผูสงประสิ
ออก สูทงธิสุภดาพโลจิ คือ ดาสนการขนส
ติกส์มังคุงด 2.50 เกษตรกร บาท ตสูนงทุสุดนโลคือ
รักษาต่จิอสมูติลกค่สามยอดขาย
ังคุด เกษตรกร สัดส่วนต้สูนงสุทุดนการเก็คือดาบนการจั ดหาปดคุจณ
เกีย่ วและคั การผลิตด้า6.00
จัยภาพ นการจั บาท ดหาปัพอจคจัายยการผลิ
อย สูงตสุด0.10 คือ ดและด้
านการเก็ านการดูบเกี่ยรว/การคั
ักษา 0.10 ด
ต่อมูลคุค่ณายอดขาย
ภาพ 2.00สัดบาท ส่วนต้ ลงนสูทุงนสุการบรรจุ
ด คือ ดานการจั ภัณฑ์ตด่อหาป มูลค่จาจัยอดขาย
ยการผลิต 2.00 พ่อค้บาท าย่อยพสูองคสุาด/ผูสคืงอออก ด้านการจั สูงสุด ดคืหาปัอ ดาจนการบรรจุ
จัยการผลิตภัณ0.03 ฑ 3.00ด้าน
สัดส่วบาทนต้นทุตนนการขนส่
ทุนโลจิสติงกต่สอลมูําลไยค่าเกษตรกร
ยอดขาย สูและสั งสุด คืดอส่ดวานต้นการจั
นทุนดหาปการเก็จจัยการผลิ ต 7.00ดคุบาท
บเกี่ยว/การคั ณภาพพอ0.03 คายอยและด้ สูงสุาดนการขนส่
คือดานการจั ง 0.03 ดหาล้ง
คลังสินปค้จาจัต่ยอการผลิ
มูลค่าตยอดขาย 2.50 บาท ลง สูงสุด คือ ดานการเก็บเกี่ยว/การคัดสูคุงสุณดภาพ คือด้2.25
านการจับาทดพหาปั อคจา/ผู จัยสการผลิ
งออก ตสูง0.03 สุด คืด้อาดนการเก็
านการบรรจุ บเกี่ยว/
ภัณต้นฑทุ3.00 นโลจิบาท สติกดส์าผนการลไม้ เป็นต้นทุนทุกกิจกรรมโลจิสติกส์ การคัดคุณภาพ 0.03 ด้านการขนส่ง 0.03 และด้านคลังสินค้า
ประสิทธิภาพโลจิสติกสกลวยไข เกษตรกร สูงสุด คือดา0.03 นการจัดพ่หาป อค้าจ/ผู
จัย้สการผลิ
่งออกต สู0.12 งสุด พคืออคด้ายานการบรรจุ
อย สูงสุด คืภอัณดาฑ์นการ 0.05
ของเกษตรกร พ่อค้าย่อย ล้ง และพ่อค้าผู้ส่งออก จากการศึกษา
จัดหาปจจัยการผลิต 0.05 ลง สูงสุด คือดานการจัดหาปจจัยการผลิ ต 0.03 พ อ ค า /ผู  ส  ง ออก สู ง สุ ด คื อ ด า นคลั ง สิ น ค า 0.05
พบว่า ต้นทุนโลจิสติกส์กล้วยไข่ เกษตรกร สูงสุด คือ ด้านการจัดหา ประสิทธิภาพโลจิสติกส์ล�ำไย เกษตรกร สูงสุด คือด้านการจัดหา
ประสิทธิภาพโลจิสติกสทุเรียน เกษตรกร สูงสุด คือดานการจัดหาป ปัจจจัจัยยการผลิ
การผลิตต 0.16 0.13 พ่พออค้คาาย่ยออยย สูสูงงสุสุดด คืคืออด้าดนการจั
านการจัดหาปัดหาป จจัจยจัการ

ปัจจัยการผลิ
การผลิตต 0.05 8.00 ลบาท ง สูงสุพ่ดอค้คืาอย่ดอานการจั
ย สูงสุดดหาป คือ จด้จัายนการจั
การผลิดตหา 0.03 ดานการขนสง 0.03 และดานคลังสินคา 0.03 พอคา/ผูสงออก
ปัจจัยสูการผลิ ผลิต 0.06 ล้ง สูงสุด คือ ด้านการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 0.05
งสุด คืตอ ด3.00 บาท งล้ง0.04
านการขนส สูงสุและ
ด คืประสิอ ด้าทนการจั ดหาปั
ธิภาพโลจิ สติจกจัสยมังคุด เกษตรกร สูงสุด คือดานการจัดหาปจจัยการผลิต 0.10 และ
การผลิดตานการดู
2.00บาท พ่อค้า/ผู้ส่งออก สูงสุด คือ ด้านการบรรจุภัณฑ์ 0.13
รักษาผุ0.10 ้ประกอบการหรื
พอคายอย สูองผูสุ้สด่งออก คือดาสูนการจั
งสุด ดคืหาป
อด้าจนจัยการผลิ ต 0.03 ดานการเก็บเกี่ยว/การคัดคุณภาพ 0.03 และดาน
คลังสิการขนส
นค้า 3.00 บาท ต้ น ทุ น โลจิ ส ติ ก ส์ ท ุ เรี ย น เป็
ง 0.03 ลง สูงสุด คือดานการจัดหาปจจัยการผลิต 0.03 ดานการเก็ น การคิ ด ราคา จากข้บอเกีสรุ่ยปว/การคั
ระบบโลจิ ดคุสณติภาพ
กส์ผลไม้ 0.03ภาคตะวั นออก งดั0.03
ดานการขนส งกล่าว
ขายทุและด
เรียนส่างนคลัออกเฉลี งสิน่ยคกิาโลกรั
0.03มละพอ60 คา/ผูบาทสงออก ติกส์ สอดคล้
พบว่าสูงต้สุนดทุคืนอโลจิดสานการบรรจุ ภัณฑอ0.05 งกั บ ส่ประสิว นวิทจธิั ยภเศรษฐกิ าพโลจิสจติพืกสชลสวน (ม.ป.ป.) สูพบว่
ําไย เกษตรกร งสุด า
ทุเรียนคือเกษตรกร
ดานการจัสูดงสุหาป ด คืจอจัด้ยาการผลิ
นการจัตด0.16 หาปัจพจัอยคการผลิ ายอยตสู8.00
งสุด บาท ระบบโลจิ
คือดานการจั ดหาปสจติจักยส์การผลิ
ของผลไม้ ต 0.06 ภาคตะวั ลง สูนงออกสุด คืเกษตรกร
อ ดานการเก็ ในฐานะผูบเกี่ย้ผว/ลิต
พ่อค้าการคั
ย่อย ดสูคุงณ สุดภาพ คือด้0.05
านการจั พอคดาหาปั
/ผูสจงออก
จัยการผลิ สูงสุดตคื3.00 บาท ล้ง ภัณ
อ ดานการบรรจุ มี กฑิ จ0.13
กรรมหลั ก ที่ ด�ำเนิ น การ ได้ แ ก่ การจั ด หาปั จ จั ย การผลิ ต
สูงสุด คือ ด้านการจั จากขดหาปัอสรุปจจัระบบโลจิ
ยการผลิตสติ2.00 กสผบาท ลไมภพ่าคตะวั
อค้า/ผูน้ส่งออก
ออก ดังกล การดู
าว แสอดคล
ลรักษาอการเก็ งกับ สบวเกีนวิย่ วและการคั
จัยเศรษฐกิดจคุพืณชภาพ สวน การเก็
(ม.ป.ป.) บรักพบว
ษาและ า
สูงสุดระบบโลจิ
คือ ด้านการขนส่สติกสของผลไม ง 2.50 ภาคตะวั
บาทนออก ต้นทุนเกษตรกร มังคุด ผบรรจุ
โลจิสติกส์ในฐานะผู ลิตมีกภิจัณกรรมหลั
ฑ์ การขนส่ กที่ดงําและการกระจายสิ
เนินการ ไดแก การจั นค้าดพ่หาป อค้าจรวบรวม
จัยการผลิซึ่งตใน
เกษตรกรการดูแสูลรั งสุกดษาคืการเก็
อด้านการจั บเกี่ยวและการคั
ดหาปัจจัยดการผลิ คุณภาพต การเก็6.00 บบาท การรับซืภ้อัผลไม้
รักษาและบรรจุ จะมีพ่อค้งาและการกระจายสิ
ณฑ การขนส รวบรวม 2 ระดับนได้ คาแก่พอพ่คอาค้รวบรวม
ารวบรวม
ซึ่งในการรับซื้อผลไมจะมีพอคารวบรวม 2 ระดับ ไดแก พอคารวบรวมทองที่หรือทองถิ่น พอคารับซื้อกรุงเทพฯและตางจังหวัด

ทรงศักดิ์ มิ่มกระโทก, ส�ำราญ ช�ำโสม, ดวงมณี ทองค�ำ, ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล, กชกร มิ่มกระโทก
46 วารสารวิจัยรำ�ไพพรรณี ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2558-มกราคม 2559

ท้องที่หรือท้องถิ่น พ่อค้ารับซื้อกรุงเทพฯและต่างจังหวัด ในแต่ละ ปัญหาของผู้ประกอบการ


ระดับจะมีการด�ำเนินการลักษณะเดียวกันคือ การจัดซือ้ การคัดเกรด 1. ปัญหาด้านแรงงาน ขาดแรงงานที่ถูกกฎหมาย แรงงาน
หรือคุณภาพ การบรรจุหบี ห่อ การจ�ำหน่าย การควบคุมสินค้าคงคลัง ที่ถูกกฎหมายส่วนใหญ่จะไม่อยู่ประจ�ำ ย้ายที่ท�ำงานบ่อย เนื่องจาก
การติดต่อสื่อสาร การขนส่ง หรือตัวแทนผู้ส่งออก เป็นคนกลางที่ มีนายหน้าขนย้ายแรงงาน
ท�ำหน้าทีร่ บั ซือ้ ผลไม้จากเกษตรกรพ่อค้ารวบรวมท้องทีห่ รือท้องถิน่ 2. การก�ำหนดคุณภาพปลายทาง แต่ละประเทศไม่เท่ากัน
สหกรณ์หรือกลุม่ เกษตรกร ซึง่ มีกจิ กรรมหลักคือ การเลือกสถานทีต่ งั้ ประเทศที่เข้มงวดมากคือญี่ปุ่น และประเทศที่เข้มงวดน้อย คือ จีน
ส�ำนักงานหรือโรงบรรจุหีบห่อ การจัดซื้อ การคัดเกรดหรือคุณภาพ และอเมริกา
การบรรจุหบี ห่อ จ�ำหน่าย การควบคุมสินค้าคงคลัง การติดต่อสือ่ สาร 3. ต้นทุนการขนส่งสูง ท�ำให้เสียเปรียบเวียดนาม
การขนส่ง ผู้ส่งออก จะรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกร พ่อค้ารวบรวม 4. ขาดระบบโลจิสติกส์ทเี่ อือ้ อ�ำนวย เนือ่ งจากมีการแย่งรับ
ท้องถิ่น จากการศึกษา พบว่า ผู้ส่งออกส่วนใหญ่นอกจากจะ ซือ้ ผลผลิตกันเพือ่ ให้ผลผลิตบรรจุเต็มตูค้ อนเทนเนอร์จงึ จะสามารถ
ด�ำเนินการเองแล้ว ยังด�ำเนินการผ่านล้งหรือตัวแทนผู้ส่งออก ขนส่งสินค้าได้
หลายๆ ราย รวมทั้งด�ำเนินการผ่านสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรด้วย 5. การก�ำหนดราคารับซื้อปลายทางไม่ได้
กิ จ กรรมหลั ก ของผู ้ ส ่ ง ออกประกอบด้ ว ย การเลื อ กสถานที่ ตั้ ง 6. ควบคุมคุณภาพได้ยาก เช่นการป้องกันการช�้ำหรือ
ส�ำนักงานหรือโรงบรรจุหีบห่อ การจัดซื้อ การคัดเกรดหรือคุณภาพ เสียหาย ตั้งแต่การบรรจุตั้งแต่ต้นทาง
การบรรจุหีบห่อ การจ�ำหน่าย การควบคุมสินค้าคงคลัง การติดต่อ 7. ผูป้ ระกอบการคนไทยไม่มที นุ พอ ทีจ่ ะสามารถส่งผลผลิต
สื่อสาร การขนส่ง การตรวจสอบคุณภาพ การจัดการเอกสาร ไปจ�ำหน่ายเองที่ปลายทาง
ส่งออก การบริการลูกค้า
จากต้นทุนโลจิสติกส์ผลไม้ภาคตะวันออก สอดคล้องกับ ข้อเสนอแนะ
ส่วนวิจัยเศรษฐกิจพืชสวน (ม.ป.ป.) คือ กิจกรรมที่เป็นต้นทุน 1. การจัดระเบียบพ่อค้าคนกลาง
โลจิสติกส์ของทุเรียน และมังคุดจะพบว่ามีกิจกรรมที่ซ�้ำซ้อน โดย 2. ตลาดกลาง ส�ำหรับซื้อขายผลไม้ ไม่ต้องการให้มีพ่อค้า
เฉพาะแรงงานในการคัดเกรด/คุณภาพซึ่งกิจกรรมดังกล่าวมีการ คนกลาง
ด�ำเนินการตั้งแต่ในสวนของเกษตรกร ในขณะที่ผู้ประกอบการ 3. มีแหล่งรับซื้อมาตรฐาน ในการคัดขนาด
แต่ละระดับก็ยังคงมีกิจกรรมนี้ เช่นเดียวกัน นอกจากเป็นการเพิ่ม 4. การสร้างช่องทาง การตลาดใหม่ๆ เพื่อกระจายสินค้า
ต้นทุน โลจิสติกส์แล้วยังส่งผลให้เกิดการสูญเสียทัง้ คุณภาพ นำ�้ หนัก เกษตร ไปทั่วประเทศ
และการส่งมอบที่ล่าช้าอีกด้วย 5. การส่งเสริมการแปรรูปผลไม้ของกลุ่มเกษตรกรอย่าง
จริงจัง
ปัญหาที่พบจากการศึกษา 6. การก�ำหนดโควตาต่างๆ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
ปัญหาของเกษตรกร จันทบุรี ควรมีการกระจายให้ทั่วถึงชาวสวนทุกสวน
1. แรงงานหายาก แรงงานส่วนใหญ่จะเป็นแรงงานต่างด้าว 7. การจัดงานผลไม้เมืองจันทร์ ประชาสัมพันธ์อย่างจริงจัง
2. เกษตรกรก�ำหนดราคาเองไม่ได้ โดยประชาสัมพันธ์ตามสถานที่ต่างๆ ทั่วถึงทุกช่องทาง
3. ปัญหาสภาพอากาศแปรปรวน ท�ำให้ส่งผลถึงระยะ 8. การส่งเสริมองค์ความรู้ให้เกษตรกรทางด้านการตลาด
การเก็บเกี่ยวและคุณภาพของผลผลิต วิชาการสมัยใหม่ เช่น การปลูก และการแปรรูป
4. ราคามังคุดไม่คงที่ ในแต่ละวันมีการขึ้นและลงอย่าง 9. มีการรับรองราคาทีแ่ น่นอน ราคาขัน้ ต�ำ่ ของมังคุดไม่ควร
รวดเร็ว โดยต้นฤดูมีราคาสูงถึง 300 บาท แต่ช่วงปลายฤดูต�่ำสุด ต�่ำกว่า 15 บาท/กิโลกรัม
ถึง 8 บาท 10. ต้องการให้มีการส่งเสริมให้กินมังคุดธรรมชาติ (ที่ไม่ใช่
5. การคัดขนาดมังคุด ชาวสวนกับล้งคัดขนาดไม่เท่ากัน มังคุดผิวมัน) รวมถึงการส่งออกด้วย เนื่องจากมังคุดธรรมชาติมี
วิธีแก้ไขคือต้องการให้มีเครื่องคัดมังคุด รสชาติอร่อยกว่ามังคุดผิวมัน และไม่มีสารพิษตกค้าง
6. ต้นทุนการท�ำล�ำไยค่อนข้างสูง 11. มีกฎหมายควบคุมแรงงานถูกกฎหมาย
12. การให้อ�ำนวยความสะดวกด้านแรงงาน เช่น มีการ
ผ่อนผัน ยืดหยุ่น ทางระเบียบหรือกฎหมาย

ทรงศักดิ์ มิ่มกระโทก, ส�ำราญ ช�ำโสม, ดวงมณี ทองค�ำ, ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล, กชกร มิ่มกระโทก
วารสารวิจัยรำ�ไพพรรณี ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2558-มกราคม 2559 47

13. การมีกฎหมายควบคุม การท�ำล้งผลไม้จากต่างชาติ เอกสารอ้างอิง


ท�ำให้อาชีพล้ง เป็นอาชีพเฉพาะคนไทยเท่านั้น เนื่องจากเดิมเป็น กลุ่มส่งเสริมการผลิตไม้ผล. 2555. การวิเคราะห์สถานการณ์และ
อาชีพที่คนไทยท�ำเอง แต่ปัจจุบันคนไทยมีหน้าที่เพียงรวบรวม แนวทางการด�ำเนินงาน ปี 2555. Available http://
เท่านั้น www.agriman.doae.go.th
14. การให้หาตลาดรับรองผลผลิตเพิ่มขึ้น เช่น ประเทศ สมาคมผู้ค้าและส่งออกผลไม้ไทย. 2555. สถานการณ์ราคาผลไม้.
อินเดีย โดยการประชาสัมพันธ์เชิงรุก Available http://www.contactgroupco.com/blog/
15. การให้สนับสนุนการเพิ่มมูลค่าของผลไม้ที่ไม่ได้ขนาด news/
โดยการแปรรูป ส�ำนักส่งเสริมสินค้าส่งออก. 2555. สถานการณ์ผลไม้ ปี ๒๕๕๕
16. การให้เกษตรกรผลิตผลไม้ที่มีคุณภาพมากขึ้น โดย Available http://www.agriman.doae.go.th
การเปิดอบรมให้เกษตรกรตั้งแต่การปลูก การควบคุมสารเคมี ส่วนวิจัยเศรษฐกิจพืชสวน. ม.ป.ป. ระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่
ตลอดจนการขนส่ง เพื่อสร้างความปลอดภัยให้ผู้บริโภค อุ ป ทานผลไม้ ส ดภาคตะวั น ออก. ส�ำนั ก วิ จั ย เศรษฐกิจ
17. การมี ห น่ ว ยงานศู น ย์ ก ลางประสานพู ด คุ ย และให้ การเกษตร.
ค�ำปรึกษาอย่างต่อเนื่อง ศูนย์ข้อมูลความรู้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน .2555. AEC
คืออะไร Available http://www.thai-aec.com/41
#ixzz23DWPvfM9

ทรงศักดิ์ มิ่มกระโทก, ส�ำราญ ช�ำโสม, ดวงมณี ทองค�ำ, ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล, กชกร มิ่มกระโทก

You might also like