CH211 Part Volumetric analysis การวิเคราะห์โดยปริมาตร อ.ดร.ธานินทร์ แตงกวารัมย์ สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจําภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2559

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 20

หนังสื ออ่านเพิม่ เติม

Titrant
CH211 1. ศุ ภชัย ใช้เที ยมวงศ์. เคมี วิเคราะห์ . พิ ม พ์ครั้ งที่ 11. สํานัก พิ ม พ์แห่ ง

Part Volumetric analysis จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : กรุ งเทพฯ, 2552.

การวิเคราะห์โดยปริ มาตร 2. ศิริพร จันทรคีรี. เคมีวิเคราะห์ การวิเคราะห์เชิงปริ มาณ. พิมพ์ครั้งที่ 3,


บริ ษทั นําศิลป์ โฆษณาจํากัด : สงขลา, 2552.
อ.ดร.ธานินทร์ แตงกวารัมย์
สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประจําภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2559
Titrand

www.science.mju.ac.th/chemistry/staffs/t_tangkuaram.htm

1 2

การวิเคราะห์สารโดยปริ มาตร
บิวเรต
เป็ นการวิเคราะห์ปริ มาณสารโดยใช้การวัดปริ มาตร
เมื่อทําการไทเทรต จนกระทัง่ ไทแทรนต์และไทแทรนด์ทาํ ปฏิกิริยากันพอดี เรี ยกสารละลาย
มี เ ทคนิ ค ที่ ใ ช้ ใ นการวัด ปริ มาตรที่ เ รี ยกว่ า การ ณ จุดนี้วา่ จุดสมมูล (equivalent point) กรณี ใช้อินดิเคเตอร์วดั การเปลี่ยนสี จะเรี ยกจุดนี้วา่ จุด
ไทแทรนต์
ไทเทรต (titration) โดยนําสารละลายที่ทราบความ ยุติ (end point)
เข้มข้นบรรจุในบิวเรต เรี ยกว่า ไทแทรนต์ (titrant) นอกจากนี้ยงั มีวธิ ีอื่นๆ ที่วดั จุดสมมูลได้ เช่น
ปล่อยลงไปทําปฏิกิริยากับสารละลายที่ตอ้ งการหา 1. การเปลี่ยนแปลง pH
ปริ มาณ เรี ยกว่า ไทแทรนด์ (titrand) โดยจัด 2. การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์
เครื่ องมือดังรู ป 3. การเปลี่ยนแปลงกระแส
4. การวัดการกระเจิงแสง
5. การวัดความขุ่น
6. การวัดความหนาแน่นของอนุภาคที่ลอยตัวอยูใ่ น
ไทแทรนด์ สารละลาย
ขวดรู ปชมพู่

3 4
การหาจุดสมมูลจากกราฟ
• กรณี ที่วดั การเปลี่ยนแปลง pH, ความต่างศักย์ หรื อกระแส ต้องนําค่าที่วดั 14.0 1. ลากเส้นตรง 1 ทับเส้นตรงส่ วนล่ างของเคอร์ฟ
2. ลากเส้นตรง 2 ทับเส้นตรงส่ วนบนของเคอร์ฟ
ได้มาพล็อตเทียบกับปริ มาณสารที่ไทแทรนต์ (titrant) แล้วหาจุดสมมูล 12.0 2

สั ญญาณทีว่ ดั ได้ (pH)


3 3. ลากเส้นตรง 3 ขนานแกน Y จากจุดแยกเคอร์ฟ
10.0 4
โดยวิธีลากเส้น ไทแทรนต์ (mL) สัญญาณ (pH, V, A)
8.0
5 กับเส้นตรง 2 ไปถึงเส้น 1
4. ลากเส้นตรง 4 ขนานแกน Y จากจุดแยกเคอร์ฟ
0.0 1.5 6.0
6
ตารางบันทึกผล 1.0 2.8
14.0
1
กับเส้นตรง 1 ไปถึงเส้น 2
12.0
2.0 3.2 4.0 5. ลากเส้นตรง 5 จากจุดกึ่งกลางเส้น 3 ไปถึงจุด

สั ญญาณ
10.0
3.0 3.3
2.0 50%จุดสมมูล จุดสมมูล กึ่งกลางเส้น 4
4.0 3.4 8.0
5.0 3.6 Plot graph 6. จากจุดตัดเคอร์ฟกับเส้นตรง 5 ลาก
6.0 0.0
6.0 4.0
4.0 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 เส้นตรง 6 ไปตัดแกน X อ่านปริ มาตรจุดสมมูล
7.0 6.0
8.0 10.0 2.0 ช่วงบัฟเฟอร์ ปริมาตรไทแทรนต์ (mL)
ได้ที่จุดนี้
9.0 12.0 0.0 กราฟการไทเทรตสารละลาย a M ปริ มาตร b mL
10.0 12.5 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0
11.0 12.7 ด้วยสารละลายไทแทรนต์มาตรฐาน c M
ปริมาตรไทแทรนต์ (mL)
12.0 12.8
13.0 12.9
14.0 13.0

5 6

การหาความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานปฐมภูมิอาจหาได้จากการไทเทรตกับสารละลายมาตรฐานทุติยภูมิ
ในการไทเทรตจะใช้สารที่ทราบความเข้มข้นที่แน่นอน เตรี ยมได้จากการชัง่ สารปฐม (secondary standard solution)
ภู มิ แ ล้ว นํา ไปละลาย เรี ย กสารละลายนี้ ว่ า สาละลายมาตรฐานปฐมภู มิ (primary
standard solution) คุณสมบัติของสารปฐมภูมิ มีดงั นี้ การเลือกสารมาตรฐานเพื่อทําการไทเทรต ต้องคํานึงปัจจัยดังต่อไปนี้
1. บริ สุทธิ์สูง 1. อัตราการเกิดปฏิกิริยากับสารตัวอย่างต้องเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว
2. มีมวลโมเลกุลสู ง 2. ค่าคงที่สมดุลการเกิดปฏิกิริยาต้องมีค่ามาก
3. ปฏิกิริยาต้องเสถียร ไม่เกิดปฏิกิริยาข้างเคียง
3. ละลายได้ในนํ้า 4. สามารถดุลสมการปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้
4. มีความเสถียร 5. จุดสมมูลของปฏิกิริยา ต้องตรวจวัดได้
5. เกิดปฏิกิริยาด้วยอัตราส่ วนที่แน่นอนลงตัว 6. จุดยุติมีค่าใกล้เคียงกับจุดสมมูล
7. การเปลี่ยนสี ของอินดิเคเตอร์ ณ จุดยุติ ควรปรากฏมากกว่า 30 วินาที

7 8
ชนิดของการไทเทรต ปฏิกิริยาการไทเทรตแบบกรด-เบส
แบ่งตามปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น มี 4 ชนิด เป็ นการไทเทรตเพื่อหาปริ มาณสารที่มีสถานะเป็ นกรดหรื อเบสก็ได้ ถ้าตัวอย่างเป็ น
1. การไทเทรตปฏิกิริยากรด-เบส (Acid-base titration) กรด จะใช้เบสแก่ (หรื อเบสอ่อน) เป็ นไทแทรนต์ ถ้าตัวอย่างเป็ นเบส จะใช้กรดแก่
2. การไทเทรตปฏิกิริยารี ดอกซ์ (Redox titration) (หรื อกรดอ่อน) เป็ นไทแทรนต์
3. การไทเทรตแบบตกตะกอน (Precipitation titration)
4. การไทเทรตแบบการเกิดสารเชิงซ้อน (Complex formation titration) ถ้าสารละลายกรด 1 โมล (HnA) ให้โปรตอนแก่น้ าํ n โมล เกิดคู่เบส An-

[H3O  ]n [A n ]
จะได้ Ka 
[Hn A]

9 10

• สู ตรที่ใช้ในการคํานวณ • การคํานวณเกี่ยวกับ pH ของสารละลายในการปฏิกิริยาการไทเทรต


pH = -log[H+] 1. กรดหรื อเบส จะทําปฏิกิริยาด้วยจํานวนโมลที่มีอยู่ (โมลไม่ใช่ความเข้มข้น โปรด
ทบทวนบทที่ 3)
pOH = -log[OH-]
2. คํานวนหาจํานวนโมลของกรดหรื อจํานวนโมลของเบสที่เติมลงไปจากบิวเรตและ
pH + pOH = 14 เริ่ มต้นที่มีอยูใ่ นขวดรู ปชมพู่
pOH = 14 – pH 3. หักลบจํานวนโมลกรดกับเบส จากข้อ 2
Ka x Kb = KW = 10-14 “โมลกรดหรื อเบสที่มากกว่าจะเหลือ และจะแสดงสภาพ pH ของสารละลาย”
4. หาความเข้มข้นเป็ นโมลาร์ (mole/L) ของกรดหรื อเบสที่เหลือโดยใช้ปริ มาตร
ทั้งหมด โดยเท่ากับปริ มาตรตั้งต้น+ไทแทรนต์ที่เติม
5. ใช้สูตรการหา pH ถ้าเป็ นกรดอ่อนนํา Ka มาคิด เบสอ่อนนํา Kb มาคิด

11 12
การไทเทรตกรดแก่ดว้ ยเบสแก่
ต.ย. จงหาค่า pH เพื่อสร้างกราฟการไทเทรตสารละลาย HCl 0.100 M 20.00 mL 0.100 M NaOH • 2) NaOH 10.00 mL
ด้วยสารละลาย NaOH 0.100 M เมื่อไทเทรตด้วย NaOH 0.00, 10.00, 20.00, 21.00, 30.00 mL
วิธีทาํ 0.100 mole NaOH
? mole NaOH  x10.00 mL
1000 mL
1) NaOH 0.00 mL (ไม่ ได้ เติม NaOH)
 1.00x10 -3 mole NaOH
สารละลายมีสภาพเป็ นกรดแก่ = 0.100 M HCl
0.100 mole HCl
pH = -log[H+] ?mole HCl  x20.00 mL
1000 mL
= -log(0.100)  2.00x10 -3 mole HCl
= 1.00
0.100 M HCl จํานวนโมล HCl มากกว่า NaOH ดังนั้น NaOH หมด
20.00 mL

13 14

เหลือ HCl = (2.00 – 1.00)x10-3 = 1.00x10-3 mole HCl • 3) NaOH 20.00 mL


-3
mole HCl 1.00x10 mole HCl
?  0.100 mole NaOH
mL 20.00 mL  10.00 mL ? mole NaOH  x20.00 mL
mole HCl 1000 mL
 0.000033
mL  2.00x10 -3 mole NaOH
mole HCl mole HCl 1000 mL
?  0.000033 x ?mole HCl  2x10 -3 mole HCl
L mL L
mole HCl
 0.033
L • โมลเท่ากันทําปฏิกิริยาได้เกลือและนํ้า สารละลายมีสมบัติเป็ นกลาง

pH  log[H ]
pH = -log[1.00x10-7]
 log(0.033)
 1.50 = 7.00
15 16
mole 0.100 x 10 -3 mole NaOH
? NaOH 
mL (20.00  21.00) mL
• 4) NaOH 21.00 mL mole
 2.439x10 -6
NaOH
mL
mole mole 1000 mL
0.100 mole NaOH ? NaOH  2.439x10 -6 NaOH x( )
? mole NaOH  x21.00 mL L mL 1L
1000 mL mole
 2.439 x 10 -3 NaOH
 2.10x10 -3 mole NaOH L
pOH  - log[OH - ]
?mole HCl  2.00x10 -3 mole HCl
 -log (2.439 x 10 -3 )
 2.612
• จํานวนโมลเบส NaOH มากกว่าจํานวนโมลกรด HCl ดังนั้น เหลือเบส pH  14 - pOH
NaOH = (2.1-2.0) x 10-3 โมล  14 - 2.612
= 0.1 x 10-3 โมล  11.387  11.4

17 18

• 5) NaOH 30.0 mL
0.100 mole NaOH กราฟการไทเทรต 0.1 M HCl 20.0 mL ด้วยสารละลายมาตรฐาน 0.1 M NaOH
? mole NaOH  x30.00 mL
1000 mL 14.0
V.NaOH (mL) pH
 3.00x10 -3 mole NaOH 0.0 1.0 12.0
? mole HCl  2.00x10 -3 mole 10.0 1.5
10.0
20.0 7.0
mole NaOH มากกว่า โมล HCl ดังนัน
้ เหลือ NaOH 21.0 11.4 8.0

pH
? mole NaOH (excess)  (3.00 - 2.00)x10 -3 mole NaOH 30.0 12.3 6.0
-3
 1.00 x 10 mole NaOH 4.0
mole -3
1.00x10 mole NaOH 1000 mL 2.0
? NaOH  x( )
L (20.00  30.00) mL 1L 0.0
 0.02 M NaOH 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0

pH  14 - log[OH- ]  14 - log(0.02)  12.3 V NaOH (mL)

19 20
การไทเทรตเบสแก่ดว้ ยกรดแก่
• ต.ย. จงคํานวณหาค่า pH เพื่อสร้างกราฟการไทเทรตของ 0.0200 M • 2) 25.00 mL HCl
NaOH 25.00 mL ด้วย 0.0100 M HCl เป็ นปริ มาตร 0.00, 25.00,0.0100 M HCl ? mole NaOH 
0.0200 mole NaOH
x25.00 mL  0.50x10 -3 mole NaOH
1000 mL
49.00, 50.00, 51.00, 55.00 และ 70.00 mL 0.0100 mole HCl
? mole HCl  x25.00 mL  0.25x10 -3 mole HCl
1000 mL
• วิธีทาํ mole NaOH มากกว่า mole HCl ดังนัน
้ เหลือ NaOH
• 1) 0.00 mL HCl ? mole NaOH  (0.50 - 0.25)x10 -3 mole NaOH  0.25 x 10 -3 mole NaOH

สารละลายมีคุณสมบัติเป็ นเบส mole 0.25x10 -3 mole NaOH 1000 mL mole


? NaOH  x( )  0.0050 NaOH
[NaOH]  0.0200 M L (25.00  25.00) mL 1L L
pH  14 - (-log[OH- ])
pH  14 - (-log[OH- ])  14 - (-log(0.0050))  14 - (-(-2.30))
 14 - (-log(0.0200))
 14  1.69.89 0.0200 M NaOH  11.7
 12.3 25.00 mL

21 22

• 3) 49.00 mL HCl • 4) 50.00 mL HCl


0.0200 mole NaOH
? mole NaOH  x25.00 mL  0.50x10 -3 mole NaOH 0.0200 mole NaOH
1000 mL ? mole NaOH  x25.00 mL  0.50x10 -3 mole NaOH
1000 mL
0.0100 mole HCl
? mole HCl  x49.00 mL  0.49x10 -3 mole HCl 0.0100 mole HCl
1000 mL ? mole HCl  x50.0 mL  0.50x10 -3 mole HCl
mole NaOH มากกว่า mole HCl ดังนั น
้ เหลือ NaOH 1000 mL
mole NaOH  mole HCl สารละลายมีสภาพเป็ นกลาง
? mole NaOH  (0.50 - 0.49)x10 -3 mole NaOH  0.010 x 10 -3 mole NaOH
mole 0.010x10 -3 mole NaOH 1000 mL mole [OH- ]  [H3O  ]  1.0x10 -7
? NaOH  x( )  0.000135 NaOH
L (25.00  49.00) mL 1L L pH  -log[H ]  -log(1.0x10 -7 )
pH  14 - (-log[OH- ])  14 - (-log(0.000135))  14 - (-(-3.869))  7.00
 10.13  10.1

23 24
• 5) 51.00 mL HCl • 6) 55.00 mL HCl
0.0200 mole NaOH 0.0200 mole NaOH
? mole NaOH  x25.00 mL  0.50x10 -3 mole NaOH ? mole NaOH  x25.00 mL  0.50x10 -3 mole NaOH
1000 mL 1000 mL
0.0100 mole HCl 0.0100 mole HCl
? mole HCl  x51.00 mL  0.51x10 -3 mole HCl ? mole HCl  x55.00 mL  0.55x10 -3 mole HCl
1000 mL 1000 mL
mole NaOH น ้อยกว่า mole HCl ดังนัน
้ จะเหลือ HCl mole NaOH น ้อยกว่า mole HCl ดังนัน
้ จะเ หลือ HCl
? mole HCl  (0.51 - 0.50)x10 -3 mole NaOH  0.010 x 10 -3 mole HCl ? mole HCl  (0.55 - 0.50)x10 -3 mole NaOH  0.050 x 10 -3 mole HCl
mole 0.01x10 -3 mole NaOH 1000 mL mole mole 0.05x10 -3 mole NaOH 1000 mL mole
? HCl  x( )  0.0001358 HCl ? HCl  x( )  0.000625 HCl
L (25.00  51.00) mL 1L L L (25.00  55.00) mL 1L L
pH  -log[H ]  log(0.0001358)  (3.88) pH  -log[H  ]  log(0.0006 25)  (3.204)
 3.88  3.204  3.20

25 26

• 7) 70.00 mL HCl กราฟการไทเทรต 0.02 M NaOH 25.0 mL ด้วยสารละลายมาตรฐาน 0.01 M HCl

0.0200 mole NaOH 14.0


? mole NaOH  x25.00 mL  0.50x10 -3 mole NaOH V.HCl (mL) pH
1000 mL 0.00 12.3 12.0
0.0100 mole HCl 10.0
? mole HCl  x70.00 mL  0.70x10 -3 mole HCl 25.00 11.7
1000 mL 49.00 10.1 8.0

pH
mole NaOH น ้อยกว่า mole HCl ดังนัน
้ จะเ หลือ HCl 50.00 7.0 6.0
? mole HCl  (0.70 - 0.50)x10 -3 mole NaOH  0.20 x 10 -3 mole HCl 51.00 3.9 4.0
55.00 3.2
mole 0.20x10 -3 mole NaOH 1000 mL mole 2.0
? HCl  x( )  0.00211 HCl 70.00 2.7
L (25.00  70.00) mL 1L L 0.0
0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0
pH  -log[H  ]  log(0.0021 1)  (2.677)
V.HCl (mL)
 2.677  2.68

27 28
การไทเทรตกรดอ่อนด้วยเบสแก่
ดังนั้น [CH3COO-] = [H3O+]
• จงคํานวณหาค่า pH ของการไทเทรต 0.100 M CH3COOH 25.00 mL ด้วย
สารละลาย 0.100 M NaOH 0.00, 10.00, 25.00, 26.00 0.100 M NaOH
ดังนั้น
และ 30.00 mL Ka 
[H3O  ][H3O  ]

[H3O  ]2
[CH3COOH] [CH3COOH]
(Ka=1.75 x 10-5)
[H3O  ]2  K a x[CH3 COOH]
วิธีทาํ
[H3O  ]  K a x[CH3 COOH]
[H3 O  ][CH3 COO  ] pH  log[H3O  ]
Ka 
[CH3COOH]  -log( K a x[CH3 COOH] )

• 1) 0.00 mL NaOH  -log( 1.75x10 -5 x0.100 )


 2.878  2.88
ในระบบมีเฉพาะ CH3COOH 0.100 M CH3COOH
25.00 mL

29 30

และเกิด CH3COO -  NaOH ทีเ่ ติม


• 2) 10.00 mL NaOH 1.00x10 3 mole CH3 COO - 1000 mL
0.100 mole CH3COOH ? M CH3COO   x( )  0.0286 M CH3COO 
?mole CH3COOH  x 25.00 mL  2.50x10 -3 mole CH3COOH (25.00  10.00) mL 1L
1000 mL
0.100 mole NaOH [H3O  ][CH3COO  ]
?mole NaOH  x 10.00 mL  1.00x10 -3 mole NaOH Ka 
1000 mL [CH3COOH]
กรดอ่อน + เกลือของกรดอ่อน = บัฟเฟอร์กรด [H3O  ] 
K a [CH3 COOH]
[CH3COO  ]
1.75 x 10 -5 x 0.0429
mole CH3COOH มากกว่า mole NaOH 
0.0286
ทีส
่ มดุลเหลือ ? M CH3COOH
 2.625x10 5
mole (2.50 - 1.00)x10 -3 mole CH3COOH 1000 mL
? CH3COOH  x( ) pH  log[H3 O  ]
L (25.00  10.00) mL 1L
 - log(2.625x 10 -5 )
mole
 0.0429 CH3COOH  4.58
L
31 32
• 3) 25.00 mL NaOH ?mole CH3COO - 
0.100 mole CH3 COO - ( mole NaOH)
1000 mL
x 25.00 mL
0.100 mole CH3COOH  2.50x10 -3 mole CH3COO -
?mole CH3COOH  x 25.00 mL  2.50x10 -3 mole CH3 COOH
1000 mL
mole 2.50x10 3 mole CH3COO - 1000 mL
0.100 mole NaOH ? CH3COO -  x( )  0.050 M CH3COO -
?mole NaOH  x 25.00 mL  2.50x10 -3 mole NaOH L (25.00  25.00) mL 1L
1000 mL
mole CH3COOH เท่ากับ mole NaOH  จุดสมมูล Kw [CH3COOH][OH  ]
จาก 
Ka [CH3COO  ]
้ ม กรดอ่อน  เบสแก่ ทีส
จากความรูเดิ ่ มมูลมีสภาพเป็ นเบส ต ้องคิด pH แบบเบส
K w x [CH3COO  ]
[OH ][CH3COOH] 
Ka
[CH3 COOH][OH  ] ่ มมูลสา รละลายมีสภ าพเป็ นเบส [OH- ]  [CH3COOH]
ทีส
Kb 
[CH3 COO  ] K w x [CH3COO  ]
[OH- ]2 
และ K a xK b  K w Ka
Kw [CH3COOH][OH  ] K w x [CH3COO  ]
Kb   [OH- ] 
Ka [CH3COO  ] Ka

33 34

• 4) 26.00 mL NaOH
0.100 mole CH3COOH
?mole CH3COOH  x 25.00 mL  2.50x10 -3 mole CH3COOH
1000 mL
(1.0x10 -14 )x(0.050) 0.100 mole NaOH
[OH- ]  ?mole NaOH  x 26.00 mL  2.60x10 -3 mole NaOH
1.75x10 5 1000 mL
 5.345x10 -6 mole CH3COOH น ้อยกว่า mole NaOH
pH  14 - (-log[OH - ]) จะเหลือ mole NaOH  (2.60 - 2.50)x10 -3 mole NaOH  0.10x10 -3 mole NaOH
-6
 14 - (-log(5.34 5x10 ) mole 0.10x10 -3 mole NaOH 1000 mL
? NaOH  x( )  1.96x10 -3 M NaOH
 14 - 5.272 L (25.00  26.00) mL 1L
 8.727 [OH- ]เกลือ  [OH ]NaOH จนตัดทิง้ ไ ด ้ คิดเฉพาะ [OH- ]NaOH
 8.73
pH  14  (log[OH  ])
 14  (log(1.96x1 0 3 ))
 14  2.707
 11.29
 11.3

35 36
• 5) 30.00 mL NaOH
0.100 mole CH3COOH
?mole CH3COOH  x 25.00 mL  2.50x10 -3 mole CH3COOH
1000 mL
0.100 mole NaOH กราฟการไทเทรต 0.10 M CH3COOH 25.0 mL ด้วยสารละลายมาตรฐาน 0.10 M NaOH
?mole NaOH  x 30.00 mL  3.00x10 -3 mole NaOH
1000 mL
mole CH3COOH น ้อยกว่า mole NaOH V.NaOH (mL) pH 14.0
-3 -3 12.0
จะเหลือ mole NaOH  (3.00 - 2.50)x10 mole NaOH  0.50 x10 mole NaOH 0.0 2.9
10.0 4.6 10.0
mole 0.50 x10 -3 mole NaOH 1000 mL 8.0
? NaOH  x( )  9.09x10 -3 M NaOH 25.0 8.7

pH
L (25.00  30.00) mL 1L 26.0 11.3 6.0
[OH- ]เกลือ  [OH ]NaOH จนตัดทิง้ ไ ด ้ คิดเฉพาะ [OH- ]NaOH 30.0 12.0 4.0
2.0
pH  14  (log[OH  ]) 0.0
 14  (log(9.09x1 0 3 )) 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0
 14  2.041 V.NaOH (mL)

 11.95
 12.0

37 38

การไทเทรตเบสอ่อนด้วยกรดแก่
• จงคํานวณหา pH เพื่อสร้างกราฟการไทเทรตของสารละลาย • 1) 0.00 mL HCl

0.200 M HCl [C 6H5NH3 ][OH- ]
0.100 M C6H5NH2 50.00 mL ด้วยสารละลายกรด Kb 
[C 6H5NH2 ]
HCl 0.200 M เมื่อไทเทรต HCl เป็ น 0.00, 10.00, 25.00 ่ ต ้นสารละลายมีสภาพเป็ นเบส [C 6H5NH3 ]  [OH ]
เริม

และ 30.00 mL (Kb=4.0x10-10) [OH ][OH  ]  K b x[C 6H5NH2 ]


[OH ]  K b x[C 6H5NH2 ]
วิธีทาํ
 pH  14  (log[OH  ])
[C H NH ][OH  ]
Kb  6 5 3  14 - (-log( K b x[C 6H5NH2 ] ))
[C 6H5NH2 ]
 14 - (-log( 4.0x10 -10 x0.100 ))
0.100 M C6H5NH2
25.00 mL  14 - (5.19)  8.81

39 40

 2) 10.00 mL HCl และเกิด C 6H5NH3  HCl ทีเ่ ติม

0.100 mole C 6H5NH2  2.00x10 3 mole C 6H5NH3 1000 mL 
?mole C 6H5NH2  x 50.00 mL  5.00x10 -3 mole C 6H5NH2 ? M C 6H5NH3  x( )  0.0330 M C 6H5NH3
1000 mL (50.00  10.00) mL 1L
0.200 mole HCl 
[C 6H5NH3 ][OH  ]
?mole HCl  x 10.00 mL  2.00x10 -3 mole HCl Kb 
1000 mL [C 6H5NH2 ]

C 6H 5NH 2 เหลือ สามารถทําปฏิกริ ิยากับนํา้ ได้ ดงั สมการ [OH ] 


K b [C 6H5NH2 ]

[C 6H5NH3 ]
C6H5NH2 + H2O C6H5NH3+ + OH-
4.0 x 10 -10 x 0.050

mole C 6H5NH2 มากกว่า mole HCl 0.0330
ทีส
่ มดุลเหลือ ? M C 6H5NH2  6.061x10 10
pH  14  (log[OH  ])
mole (5.00 - 2.00)x10 -3 mole C 6H5NH2 1000 mL
? C 6H5NH2  x( )  14 - (-log(6.06 1x10 -10 ))
L (50.00  10.00) mL 1L
 14 - 9.22
mole
 0.0500 C 6H5NH2  4.78
L
41 42

• 3) 25.00 mL HCl • ที่สมมูล [C6H5NH2]=[H3O+]


0.100 mole C 6H5NH2
?mole C 6H5NH2  x 50.00 mL  5.00x10 -3 mole C 6H5NH2 Ka 
[C 6H5NH2 ][H3O  ]

Kw
1000 mL [C 6H5NH3 ]

Kb
0.200 mole HCl
?mole HCl  x 25.00 mL  5.00x10 -3 mole HCl [H3O  ][H3O  ]

Kw
1000 mL [C 6H5NH3 ]

Kb
mole C 6H5NH2  mole HCl เป็นจุดที่ สมมูล Kw 
[H3O  ]2  x[C 6H5NH3 ]
จากความรู้ เดิม เบสอ่อน  กรดแก่ ที่สมมูลมี สภาพเป็นกรด ต้องคิด pH แบบกรด Kb
Kw 
[H3O  ]  x[C 6H5NH3 ]
Kb
[C 6H5NH2 ][H3O  ] Kw pH  -log[H3O  ]
Ka  

[C 6H5NH3 ] Kb
Kw 
 -log( x[C 6H5NH3 ] )
Kb

43 44

0.200 mole C 6H5NH3 ( mole HCl)
• 4) 30.00 mL HCl

?mole C 6H5NH3  x 25.00 mL
1000 mL 0.100 mole C 6H5NH2
 5.00x10 -3 mole C 6H5NH3
 ?mole C 6H5NH2  x 50.00 mL  5.00x10 -3 mole C 6H5NH2
1000 mL
mole C 6H5NH3

5.00x10 3 mole C 6H5NH3 1000 mL

0.200 mole HCl
?  x( )  0.0667 M C 6H5NH3

?mole HCl  x 30.00 mL  6.00x10 -3 mole HCl
L (50.00  25.00) mL 1L 1000 mL
 mole C 6H5NH2  mole HCl สารละลายมีสภาพกรด จากเกลือขอ งเบสอ่อน
Kwx[C 6H5NH3 ]
pH  - log( (6.00  5.00) x 10 3 mole HCl 1000 mL
Kb เหลือ ? M HCl  x( )  0.0125 M HCl
(50.00  30.00) mL 1L
1.0x10 14 x0.0667
 log( ) [H3O  ]เกลือ  [H3O  ]HCl
4.0x10 10
 2.889 pH  log[H3O  ]
 2.89  log(0.0125 )
 1.903
 1.90
45 46

การไทเทรตแบบย้อนกลับ (Back titration)


กราฟการไทเทรต 0.10 M C6H5NH2 50.0 mL ด้วยสารละลายมาตรฐาน 0.20 M HCl • ใช้ ใ นกรณี ที่ ห าอิ น ดิ เ คเตอร์ ที่ เ หมาะสมไม่ ไ ด้ หรื อในกรณี ที่ อ ัต ราเร็ ว ในการ
เกิดปฏิกิริยาการไทเทรตช้ามาก
V.HCl (mL) pH
10.0
• ทําได้โดยการเติมสารละลายมาตรฐาน A มากเกินพอ ลงในสารละลายตัวอย่าง B แล้ว
0.00 8.8 8.0 หาปริ มาณส่ วนเกินของ A ด้วยการไทเทรตกับสารละลายมาตรฐาน C
10.00 4.8 6.0
25.00 2.9
pH

4.0
30.00 1.9 A (ทั้งหมด) + B Product (1) + A(เหลือ)
2.0
A(เหลือ) + C Product (2)
0.0
0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 โมล B = โมล A (ทั้งหมด) – โมล A (เหลือ)
V.HCl (mL) แต่โมล A (เหลือ) = โมล C
ดังนั้น โมล B = โมล A (ทั้งหมด) – โมล C

47 48
0.100 mole Fe 2 
• ต.ย. จงคํานวณหาเปอร์เซ็นต์ MnO2 ในสารตัวอย่างหนัก 200 mg เมื่อ total mole of Fe 2  
1000 mL
x 50.00mL

เติมสารละลาย FeSO4 0.100 M ปริ มาตร 50.00 mL จากนั้นใช้  5.00 x 10 -3 mole Fe 2 


สารละลายมาตรฐาน K2Cr2O7 0.0230 M ไทเทรตหา Fe2+ ที่เหลือจาก excess mole of Fe 2   (
0.0230 mole Cr2 O 7
2-

x 16.07 mL) x
6 mole Fe 2 
2-
1000 mL 1 mole Cr2 O 7
ปฏิกิริยาซึ่ งใช้ K2Cr2O7 ไป 16.07 mL
 2.218x10 3 mole Fe 2 
• วิธีทาํ ? mole Fe 2  ทีท
่ ําปฏิก ริิ ยาพอดีกับ MnO 2  (total  excess) of mole Fe 2 
 (5.00 - 2.218) x 10 -3 mole Fe 2 
 2.782 x 10 -3 mole Fe 2
1 mole MnO 2
? mole MnO 2  2.782 x 10 3 mole Fe 2  x ( )
2 mole Fe 2 
 1.391 x 10 3 mole MnO 2
49 50

การไทเทรตปฏิกิริยารี ดอกซ์
86.94 g MnO 2 คือการไทเทรตที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายเทอิเล็กตรอนอย่างน้อย
? g MnO 2  1.391 x 10 3 mole MnO 2 x ( )
1 mole MnO 2 1 ตัวระหว่างสารในปฏิกิริยา เช่น
 120.85 x 10 -3 g MnO 2
 120.85 mg MnO 2 Ce4+ + Fe2+ Ce3+ + Fe3+
mg MnO 2
? % MnO 2  x100
mg sample Ce4+ = สารออกซิไดซ์ (oxidizing agent)
120.85 Fe2+ = สารรี ดิวซ์ (reducing agent)
 x 100
200
 60.4% การติดตามปฏิกิริยาการไทเทรตจะใช้การเปลี่ยนสี ของไทแทรนต์เช่น KMnO4, นํ้า
แป้ง (ใช้ในการวิเคราะห์ไอโอดิเมทรี และไอโอโดเมทรี ), หรื อใช้อินดิเคเตอร์ ที่เปลี่ยน
สี ตามศักย์ไฟฟ้าเช่นเฟอร์โรอีน (1.06 V), เมธีลีนบลู (0.53 V)

51 52
ต.ย. สารประกอบ Fe(NH4)2(SO4)2.6H2O (MW=392.143) จํานวน 1.0525 • วิธีทาํ
g ถูกละลายใน 1.00 M HCl ปริ มาตร 100.00 mL แล้วนํามาไทเทรตกับ 4 2 4 2 2
2+
4 2 4 2 2

สารละลาย K2Cr2O7 ซึ่ ง Cr2O72- ถูกรี ดิวซ์เป็ น Cr3+ ส่ วน Fe2+ ถูก 1 mole 1 mole

g Fe(NH 4 ) 2 (SO 4 ) 2 .6H2 O 1 mole Fe 2 


ออกซิ ไดซ์เป็ น Fe3+ จากกราฟการไทเทรตพบว่าที่จุดสมมูลใช้ไทแทรนต์ ? mole Fe 2   x
MW Fe(NH 4 ) 2 (SO 4 ) 2 .6H2 O 1 mole Fe(NH 4 ) 2 (SO 4 ) 2 .6H2 O
ไป 31.04 mL จงคํานวณหาความเข้มข้นของ K2Cr2O7 ในหน่วย M 
1.0525 g
x
1 mole Fe 2 
392.143 g 1 mole Fe(NH 4 ) 2 (SO 4 ) 2 .6H2 O
ครึ่ งปฏิกิริยา 1 mole Fe 2 
 2.684 x 10 -3 mole Fe(NH 4 ) 2 (SO 4 ) 2 .6H2 O x
1 mole Fe(NH 4 ) 2 (SO 4 ) 2 .6H2 O
 2.684 x 10 -3 mole Fe 2 
ปฏิกิริยารวม

53

• 14H+ + Cr2O72- + 6Fe2+ 6Fe3+ + 2Cr3+ + 7H2O • ต.ย. ในการหาปริ มาณแคลเซี ยมในนมวัว ได้ทาํ การระเหยแห้งนมวัวปริ มาตร 250.0 mL แล้วเผา
1 mole 6 mole เพื่อทําลายสารประกอบอินทรี ย ์ นําส่ วนที่เหลือจากการเผาซึ่ งประกอบด้วยแคลเซี ยมมาละลายใน
2

? mole Cr2 O 7
2
 2.684 x 10 -3 mole Fe 2  x (
1 moleCr2 O 7
) กรด 3.0 M HCl จํานวนเล็กน้อย แล้วเติมกรดออกซาลิก (H2C2O4) มากเกินพอ ปรับ pH ให้เป็ น
6 mole Fe 2 
2-
เบส จะได้ของแข็งซึ่ งไม่ละลายอยูใ่ นรู ป CaC2O4 กรองและล้างตะกอน แล้วนําไปละลายในกรด
 0.4473 x 10 -3 mole Cr2 O 7
จาก 1 mole Cr2O72- = 1 mole K2Cr2O7 1.0 M H2SO4 และไทเทรตด้วยสารละลาย 0.09563 M KMnO4 ที่จุดยุติใช้ไทแทรนต์ไป 28.94
mL จงคํานวณหา % ของแคลเซียมในตัวอย่างนม
0.4473 x 10 -3 mole Cr2 O 7 2- = 0.4473 x 10 -3 mole K 2 Cr2 O 7 2-
• ครึ่ งปฏิกิริยาการไทเทรต
mole K 2 Cr2 O 7 2-
?M K 2 Cr2 O 7 2- =
1L
0.4473 x 10 -3 mole K 2 Cr2 O 7 2- 1000 mL H2C2O4 2CO2 + 2H+ + 2e-
= x( )
31.04 mL 1L
= 0.0144 M K 2 Cr2 O 7 2- • ปฏิกิริยารวม

55 56
จากโจทย์ C2O42- ทําปฏิกิริยาพอดีกบั 0.09563 M MnO4- 28.94 mL g. Ca2 
? % Ca2   x 100
• จากปฏิกิริยารวม 5 mole C2O42- = 2 mole MnO4- g. sample หรือ mL
0.09563 mole MnO 4

5 mole C 2 O 4
2
277.3 x 10 -3
? mole C 2 O 4
2
( x 28.94 mL) x  x100
1000 mL 2 mole MnO 4
- 250 mL
2-  0.1109 % Ca2 
 6.919 x 10 -3 mole C 2 O 4
 0.11 % Ca 2 
• จาก 1 mole C2O42- = 1 mole CaC2O4 = 1 mole Ca2+
ตอบ ในนํ้านมวัวมี Ca2+ อยู่ 0.11 % w/v
2 -3 2- 1 mole Ca2  40.078 g Ca2 
? g Ca  6.919 x 10 mole C 2 O 4 x( )x( )
1 mole C 2 O 4
2-
1 mole Ca2 
 277.3 x 10 -3 g Ca2 

57 58

การไทเทรตแบบตกตะกอน (Precipitaion titration)


• การไทเทรตปฏิกิริยาตกตะกอนนิยมใช้ AgNO3 เป็ น ไทแทรนต์ (titrant) อินดิเคเตอร์ที่นิยมใช้มี 3 ชนิดคือ
 1. เกิดตะกอนมีสีหรื อวิธีของมอร์ (Mohr’s method)
เนื่องจาก Ag สามารถเกิดสารประกอบกับไอออนอื่นๆ ได้ตะกอนหลาย ค้นพบเมื่อปี ค.ศ. 1865 โดย K.F. Mohr ดังนั้นวิธีน้ ีจึงเรี ยกว่า Mohr’s method วิธีน้ ีใช้ CrO42-
ชนิ ด เช่น หมู่เฮไลด์ (AgCl, AgI) สารประกอบคาร์บอเนต (Ag2CO3) เป็ นอินดิเคเตอร์ และมีไทแทรนต์คือ Ag+ จุดยุติจะมีตะกอนสี แดงอิฐ (AgCrO4)
สารประกอบซัลเฟอร์ กรดไขมัน สารละลายนี้ตอ้ งควบคุม pH 7-9 เพื่อป้องกันความเป็ นกรดของกรดโครมิก (HCrO42-) และ
ป้องกันสารประกอบออกไซด์ (Ag2O) และ ไฮดรอกไซด์ (AgOH)
• ข้อจํากัดในปฏิกิริยาการไทเทรตแบบตกตะกอน
 2. เกิดสารประกอบเชิงซ้อนหรื อวิธีของโวลฮาร์ด (Volhard’s method)
- หาอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมได้ยาก, จุดยุติดูจากการเปลี่ยนสี ของตะกอน ค้นพบเมื่อปี 1874 โดย J. Volhard โดยใช้ Fe3+ เป็ นอินดิเคเตอร์ และใช้ SCN- เป็ นไทแทรนต์
- อัตราเร็ วในการเกิดปฏิกิริยาช้า ที่จุดยุติจะเกิดสารละลายสี แดงของ Fe(SCN)2+
สารละลายนี้ตอ้ งควบคุม pH <7 เพื่อป้องกันการเกิดตะกอนในเบส (Fe(OH)3) และป้ องกัน
- เกิดการตกตะกอนร่ วม การเกิดตะกอนในสารละลายเป็ นกลาง (AgCO3, Ag2C2O4, Ag3AsO4)

59 60
• วิธีของโวลฮาร์ดสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการหาปริ มาณเฮไลด์ได้โดยการ • 3) อินดิเคเตอร์แบบดูดซับ (adsorption indicator)
ไทเทรตแบบย้อนกลับ (Back titration) โดยการเติม Ag+ มากเกินพอเพื่อทํา ค้นพบเมื่อปี ค.ศ. 1926 โดย K. Fajans วิธีน้ ี เรี ยกว่าวิธีของฟาจานส์
ให้เกิดตะกอนของเฮไลด์ จากนั้นทําการไทเทรตเพื่อหาปริ มาณ Ag+ ที่เหลือ (Fajans’s method) โดยใช้สารอินทรี ยท์ ี่สามารถดูดซับบนพื้นผิวของ
ตะกอน ซึ่ งอินดิเคเตอร์ควรมีสมบัติดงั นี้
- ไม่ตกตะกอนกับไทแทรนต์ (Ag+) ที่ความเข้มข้นตํ่าๆ
- อินดิเคเตอร์จะเกิดการดูดซับบนตะกอนและปรากฏสี ได้เมื่อ Ag+ มาก
เกินพอ
- Ag+ กับอินดิเคเตอร์ตอ้ งเป็ นสารประกอบที่มีค่าการละลายตํ่า

61 62

• ตัวอย่างอินดิเคเตอร์ • ปฏิกิริยาการตกตะกอน
• 1) ฟลูออเรสซี น (Fluorescein) เป็ นสารประกอบโพลีไซคลิกที่สามารถ สมดุลของการตกตะกอน แสดงได้จากปฏิกิริยาการละลายของตะกอน
แตกตัวเป็ นฟลูออเรสซิเนตมีสีเหลืองอมเขียว โดยฟลูออเรสซี นจะดูดซับ ดังนี้
Ag+ แล้วมีสีม่วงแดง [Mm ][X x  ]
K
• 2) อนุพนั ธ์ของฟลูออเรสซี น (Fulorescien derivatives) [Ma X b ]
K[Ma X b ]  [Mm ][X x  ]
อนุพนั ธ์สามารถแตกตัวได้ที่ pH ตํ่ากว่าฟลูออเรสซี น อนุพนั ธ์ไดคลอโร K[Ma X b ]  K sp  ค่าคงทีส
่ ม ดุลการละลาย
ฟลูออโรเรสซี นสามารถใช้ในการไทเทรตเพื่อวิเคราะห์ไอออนคลอไรด์ sp ย่อมาจาก Solubility Product
ได้  K sp  [Mm ][X x  ]

63 64
• ค่ า Ksp สามารถทํา นายการตกตะกอนว่า เกิ ดขึ้ น ได้ห รื อ ไม่ โ ดย • ต.ย. นํา Ba2+ 0.001 โมล และ SO42- 0.0001 โมล มาผสมกัน ใน
เปรี ยบเทียบจากค่า ICP (ion concentration product) ดังนี้ สารละลาย 500.0 mL จะมีตะกอนเกิดขึ้นหรื อไม่ (Ksp BaSO4=1.0x10-10)
• ICP > Ksp จะมีตะกอนเกิดขึ้น • ปฏิกิริยา
2

• ICP < Ksp ไม่มีตะกอนเกิดขึ้น • วิธีทาํ ? M Ba  0.001


2 mole Ba
500.0 mL
x(
1000 mL
1L
)  2.0x10 M Ba -3 2

• ICP = Ksp สารละลายอยูใ่ นภาวะอิ่มตัวยิง่ ยวด ยังไม่มี


2
2 0.0001 mole SO 4 1000 mL 2
? M SO 4  x( )  2.0x10 - 4 M SO 4
500.0 mL 1L
ตะกอนเกิดขึ้น 2
ICP  [Ba 2  ][SO 4 ]
 (2.0x10 -3 )(2.0x10 - 4 )
 (4.0x10 -7 )
ICP  K sp จะมีตะกอนเ กิดขึน

65 66

Standardize หา [AgNO3]
• ต.ย. สารตัวอย่าง 5.0242 g ถูกนําไปละลายแล้วปรับปริ มาตรเป็ น 100.0 • 1) หาความเข้มข้นของ AgNO3 AgNO3
ใช้ไป 47.51 mL
mL แล้วปิ เปต 25.00 mL ของสารละลายตัวอย่างไปไทเทรตเพื่อหา ? mole NaCl 
g. NaCl

0.5914 g
 0.01012 mole NaCl
MW. AgCl 58.44 g
ปริ มาณ I- กับสารละลายมาตรฐาน AgNO3 จุดยุติพบว่าใช้ AgNO3 ไป
Cl  Ag AgCl(s )
36.59 mL โดยความเข้มข้นที่แน่นอนของ AgNO3 หาได้จาก standardize 
1 mole Ag  1 mole Cl-  1 mole AgNO 3  1 mole NaCl
กับ NaCl หนัก 0.5914 g พบว่าใช้ AgNO3 ไป 47.51 mL จงคํAgNOานวณหา
3
 1 mole AgNO 3  1 mole NaCl NaCl 0.5914g
% I ในสารตัวอย่าง
-
1 mole AgNO 3 1
? M AgNO 3  0.01012 mole NaCl x ( )x
1 mole NaCl 47.51 mL AgNO 3
• วิธีทาํ ละลาย ปิ เปต
1000 mL AgNO 3
x
5.0242 g 100.0 mL 25.00 mL 1 L AgNO 3
สลล. ต.ย.  0.2130 M AgNO 3
25.00 mL

67 68
• 2) หา % I- • จากการทดลองมีการนําสารละลายมาเพียง 25.00 mL จาก 100.0 mL
คิด I- ย้อนกลับใน 100 mL
1 mole I- = 1 mole AgNO3
ปิ เปต
0.2130 mole AgNO 3 1 mole I-
? mole I-  x 36.59 mL AgNO 3 x
1000 mL AgNO 3 1 mole AgNO 3 100.0 mL 25.00 mL
 0.078 mole I- 100.0 mL
? g I- ทีแ่ ท ้จรง  0.9898 g I  x
? g I   mole I  x MW.I  25.00 mL
126.9 g I   3.9592 g I 
 0.078 mole I- x  0.9898 g I- g I-
1 mole I  ? % I-  x 100
g sample
3.9592
 x 100  78.8%
5.0242

69 70

การไทเทรตสารประกอบเชิงซ้อน
(Complex formation tritation)
เป็ นการไทเทรตเพื่อหาปริ มาณของไอออนโลหะโดยการทําให้เกิดเป็ นสารประกอบเชิงซ้อน ไทแทรนต์ที่ EDTA จะเกิดประจุลบ 4 ประจุ คล้ายกรงเล็บล้อมรอบโลหะ เกิดพันธะกับโลหะ
นิ ย มใช้คื อ ลิ แ กนด์ ช นิ ด พอลิ เ ดนเทต (ลิ แ กนด์ ที่ ใ ห้ อิ เ ล็ ก ตรอนมากกว่ า 2 ตัว ขึ้ น ไป) เช่ น อี ดี ที เ อ
(Ethylenediamine tetraacetic acid; EDTA) ซึ่ งสามารถแตกตัวเป็ นไอออน มีสูตรโครงสร้างดังนี้ EDTA ยังสามารถแตกตัวได้ 4 ครั้ง (เกิดเป็ นประจุ 4-) คือ H3Y-, H2Y2-, HY3-, Y4-
(ให้ H4Y คือ EDTA ที่ไม่แตกตัว)

ในทางการค้า EDTA จะอยูใ่ นรู ปเกลือไดโซเดียม (Na2H2Y.2H2O) และละลายอยูต่ วั


ในรู ป H2Y2- ซึ่งจะเกิดปฏิกิริยากับโลหะทุกชนิดในอัตราส่ วน 1:1

ในการไทเทรตจะต้องทําการปรับ pH ของสารละลายให้เหมาะสมกับไอออนโลหะที่
EDTA เป็ นสารเชิงซ้อนชนิดเฮกซะเดนเทต (hexadentate) ให้อิเล็กตรอนได้ 6 ตัว จาก N 2 ตัว และจาก O
ในหมู่คาร์บอกซิเลต 4 ตัว ต้องการเช่น Ca2+ (pH 8.0), Pb2+ (pH 4-6) เพื่อให้สารประกอบเชิงซ้อนโลหะเสถียร

71 72
• อินดิเคเตอร์ที่ใช้สาํ หรับการไทเทรตด้วย EDTA • ต.ย. สารตัวอย่างซัลเฟตหนัก 0.3734 g ทําให้ตกตะกอนเป็ น BaSO4
1) เออริ โอโครม แบลคที (Eriochrome black T ; EBT)
เป็ นสี ยอ้ มอะโซ (azo dye) เป็ นกรดอ่อน มีขอ้ ด้อยคือสลายตัวได้ง่าย ต้องเตรี ยมใหม่ทุกครั้ง EBT จะ กรองเอาตะกอนที่ได้ท้ งั หมดออกมาละลายใน 50.00 mL ของ 0.02121
เปลี่ยนสี จากแดงเป็ นนํ้าเงินเมื่อทําปฏิกิริยากับโลหะ M EDTA ปรากฏว่ายังเหลือ EDTA อยูอ่ ีกซึ่ งทําปฏิกิริยาพอดีกบั
OH
OH
สารละลาย11.74 mL ของสารละลาย MgCl2 สารละลาย EDTA จํานวน
-
O3S N N เท่าเดิมแต่ไม่ได้ละลาย BaSO4 จะทําปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลาย MgCl2
EBT อันเดียวกับปริ มาตร 41.29 mL จงหา
O2N
• 1) ความเข้มข้นเป็ นโมลาร์ของสารละลาย MgCl2
2) คาลมาไจท์ (Calmagite) • 2) เปอร์เซ็นต์ของ Al2(SO4)3 ในสารตัวอย่าง
เป็ นสี ยอ้ มอะโซ คล้าย EBT ดังนั้นจึงเปลี่ยนสี เดียวกันกับ EBT ข้อดีของคาลมาไจท์คือไม่สลายตัวง่าย
(AW Al=27, S=32, O=16)

73 74

• วิธีทาํ • 2) ? % Al2(SO4)3 ในตัวอย่าง


MW Al2(SO4)3 = (2x27)+3x(32+(4x16)) = 342
• 1) ? M MgCl2
จากโจทย์ ใช้หลักการ back titration
1 mole MgCl2  1 mole EDTA โดยเติม EDTA มากเกินพอ
C MgCl2 x VMgCl2  C EDTA x VEDTA ? mole EDTA  C EDTA x VEDTA
ิ ย าพอดีกบ
EDTA (0.02121 M) 50.00 mL ทําปฏิกริ ั MgCl2 41.29 mL 0.02121 mole EDTA
 x 50.00 mL
C EDTA x VEDTA 1000 mL
C MgCl2 
VMgCl2  1.0605x10 3 mole EDTA
0.02121 M x 50.00 mL

41.29 mL
 0.025684 M  0.02568 M MgCl2
75 76
• หลังจากนั้นไตเตรตหา EDTA ส่ วนที่เหลือโดยใช้ MgCl2 จาก 3 mole BaSO4 = 1 mole Al2(SO4)3
EDTA ส่ วนที่เหลือ = โมล MgCl2 (ที่ใช้ไทเทรตย้อนกลับ)
ดังนั้น BaSO4 7.5902x10-4 mole คิดเป็ น ? g Al2(SO4)3
? mole EDTA  C MgCl2 x VMgCl2
1 mole Al2 (SO 4 ) 3
? g Al2 (SO 4 ) 3  7.5902x10 - 4 mole BaSO 4 x( )
0.02568 mole MgCl2 3 mole BaSO4
 x 11.74 mL
1000 mL x(
342 g Al2 (SO 4 ) 3
)
1 mole EDTA 1 mole Al2 (SO 4 ) 3
 3.0148 x 10  4 mole MgCl2 x ( )  0.086528 g Al2 (SO 4 ) 3
1 mole MgCl2
g Al2 (SO 4 )
?% Al2 (SO 4 ) 3  x100
ดังนั้นโมล BaSO4 = โมล EDTAทั้งหมด – โมล EDTAที่เหลือ g sample
0.086528
= 1.0605x10-3 – 3.0148x10-4  x100
0.3734
= 7.5902x10-4 โมล  23.17%

77 78

จบเรื่ องการวิเคราะห์โดยปริ มาตร


(สอบ mid II)

You might also like