Management of Status Epilepticus in Adult: Vol.6 No.3

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

Vol.6 No.

Management of Status Epilepticus in Adult

รศ.นพ. สมศักดิ์ เทียมเก่า


สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

บทนำ� กรณีที่สามารถควบคุมการชักได้ภายใน 1 ชั่วโมง


ภาวะ status epilepticus (SE) คือภาวะ หลังจากเริม่ มีอาการชัก มีอตั ราการเสียชีวติ ไม่เกิน
ที่ ชั ก ต่ อ เนื่ อ งนานมากกว่ า 5 นาที แ ล้ ว ไม่ ห ยุ ด ร้อยละ 10 แต่ถ้าการชักนั้นไม่สามารถควบคุมได้
ชัก (practical definition) และถ้าภาวะ SE ไม่ ภายใน 1 ชัว่ โมง หรือเกิดภาวะ refractory status
สามารถควบคุมให้หยุดชักได้ภายใน 1 ชั่วโมง epilepticus จะมีอัตราการเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ
เรียกว่าภาวะ refractory SE (RSE) สิ่งที่น่าสนใจ 50 ดังนัน้ การรักษา SE นัน้ ทีส่ �ำ คัญคือการควบคุม
คือว่า ทำ�ไมถึงเกิดภาวะ SE และ RSE เพราะการ การชักให้หยุดได้ภายใน 1 ชั่วโมงแรกหลังจากมี
ชักส่วนใหญ่จะหยุดเองภายในเวลาไม่นานเกิน 3-5 อาการ
นาที การเกิดภาวะ SE เนื่องมาจากความไม่สมดุล บทความนี้จะกล่าวถึงสาเหตุของ SE กลไก
ระหว่างกระบวนการยับยั้งและการกระตุ้นให้เกิด การเกิดภาวะ SE, RSE ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด
ชัก กล่าวคือ กระบวนการกระตุ้นให้ชักมีมากกว่า RSE วิธการรักษา รวมทัง้ การรักษาใหม่ๆ และการ
กระบวนการยับยั้งและถ้ากระบวนการดังกล่าว พยากรณ์โรค
เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ภาวะ SE ก็จะดำ�เนินไปเป็น
RSE ซึง่ ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ส่งผลให้มอี ตั รา สาเหตุของ SE
การเสียชีวติ สูง จากการศึกษาหลายการศึกษารวม จากการศึ ก ษาของ Tsai และคณะ
ทั้งการศึกษาจากโรงพยาบาลศรีนครินทร์ พบว่า ศึกษาสาเหตุของภาวะ SE ในผู้ป่วยใหม่ 83 ราย
อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย status epilepticus ดังตารางที่ 1

99
Vol.6 No.3

ตารางที่ 1 แสดงสาเหตุของภาวะ SE ในผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติโรคลมชัก


สาเหตุ จำ�นวน (ร้อยละ)
Acute symptomatic 45 (54.2)
CNS infection 16
Sepsis, metabolic disturbance 11
Stroke 9
Alcohol, drug relate 5
Hypoxia 4
Remote symptomatic 29 (34.9)
Previous stroke 22
Head injury 6
Previous CNS infection 1
Idiopathic 6 (7.2)
Progressive symptomatic 3 (3.6)
Brain tumor 2
CNS lupus 1
อีกหนึ่งการศึกษาที่รวบรวมสาเหตุของ SE ป่วยรายใหม่โดย Aminoff และคณะ รายงาน
ทั้งผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคลมชักมาก่อนและผู้ สาเหตุของภาวะ SE ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 แสดงสาเหตุของภาวะ SE
สาเหตุ จำ�นวน (ร้อยละ)
Anticonvulsant noncompliance 29
Alcohol relate 26
CNS infection 8
Refractory epilepsy 6
Trauma 6
Tumor related 6
Acute stroke 6
Metabolic disorders 4
Acute hypoxic ischemic encephalopathy 4
Undeterminate 6

100
Vol.6 No.3

การศึกษาในประเทศโดย ปิยะเดช วลีพทิ กั ษ์เดชและสมศักดิ์ เทียมเก่า พบสาเหตุของ SE ดังตาราง


ที่ 3 และ 4

ตารางที่ 3 สาเหตุอาการชักต่อเนื่องรุนแรง (รพ. หนองคาย)


ทั้งหมด เสียชีวิต (22 ราย) รอดชีวิต (30 ราย)
ปัจจัย
(52 ราย) (ร้อยละ 42.0) (ร้อยละ 57.7)
Cerebral infarction 18 8 (36.3) 10 (33.3)
CNS infection 10 5 (22.7) 5 (16.6)
Systemic infection 0 4 (10.1) 1 (3.3)
Hypertensive encephalopathy 3 1 (4.5) 2 (6.6)
Uremia 3 1 (4.5) 2 (6.6)
Intracerebral hemorrhage 2 1 (4.5) 1 (3.3)
Subdural hematoma 2 1 (4.5) 1 (3.3)
Organnophosphate poisoning 2 2 (6.6)
Mushroom poisoning 1 1 (3.3)
Hepatic encephalopathy 1 1 (3.3)
Post cardiac arrest 1 1 (4.5)
Compression skull bone 1 1 (3.3)
Obstructive hydrocephalus 1 1 (3.3)
CNS vasculitis 1 1 (3.3)
Electrolyte imbalance (hypona- 1 1 (3.3)
tremia)

101
Vol.6 No.3

ตารางที่ 4 สาเหตุของ SE (รพ.ศรีนครินทร์)


Cause/precipitating causes จำ�นวน (ร้อยละ)
Acute symptomatic 21 (52.5)
Encephalitis 6 (15)
Cerebral infarction 3 (7.5)
Meningitis 3 (7.5)
Hypertensive encephalopathy 2 (5)
Head injury 1 (2.5)
Craniotomy 1 (2.5)
Post-cardiac arrest 1 (2.5)
Intracerebral hemorrhage 1 (2.5)
Cerebral venous sinus thrombosis 1 (2.5)
Septic encephalopathy 1 (2.5)
Remote symptomatic 3 (7.5)
Post-cerebral infarction 1 (2.5)
Post-head injury 1 (2.5)
Post-intracerebral hemorrhage 1 (2.5)
AEDs withdrawal 10 (25)
Alcohol related 6 (15)
สาเหตุของ RSE ที่พบได้ไม่บ่อย ได้แก่ an- กลไกการเกิดภาวะ SE
ti-NMDA receptor limbic encephalitic, anti การเกิดการชักต่อเนื่องจากการเสียสมดุล
-glutamate receptor limbic encephalitic, ระหว่างกระบวนการยับยั้งการชักและการกระตุ้
paraneoplastic limbic encephalitic, limbic นการชัก ซึ่งโดยทั่วไปแล้วเมื่อเกิดการชัก ร่างกาย
encephalitics, Hashimoto’s encephalopa- จะมีกระบวนการหยุดชักภายใน 2-3 นาที แต่
thy, SLE และ anti-glycolipid autoantibody ภาวะ SE คือการชักอย่างต่อเนื่องนานมากกว่า
syndrome 5-10 นาที เนือ่ งจากการลดลงของ post-synaptic
GABA-A receptor ในขณะเดียวกันมีการเพิ่ม
ขึ้นของ post-synaptic glutamatergic ส่งผล

102
Vol.6 No.3

ให้เกิดการเสียหน้าที่ของ synaptic inhibition ผลให้มี neuronal injury และ neuronal death


ร่วมกับ GABA-A receptor ไม่ตอบสนองต่อ ส่งผลให้เกิดภาวะ RSE ในที่สุด สุดท้ายผู้ป่วยก็
GABA-A ทีป่ ลดปล่อยออกมาจาก pre-synaptic จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic
(desensitization) ซึ่งกระบวนการข้างต้นเกิดขึ้น acidosis, rhabdomyolysis และภาวะติดเชื้อ
อย่างต่อเนื่องยิ่งส่งผลให้เกิดการชักอย่างต่อเนื่อง เนือ่ งจากผูป้ ว่ ยหมดสติ ได้แก่ ภาวะติดเชือ้ ในปอด
ภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ และภาวะติดเชื้อใน
กลไกการเกิดภาวะ RSE กระแสเลือด
ภาวะ SE ถ้าไม่รีบรักษาอย่างรวดเร็ว หรือ
ภายใน 1 ชัว่ โมงแรกกระบวนการยับยัง้ การชักก็จะ กลไกการดื้อยาในภาวะ SE
เสียไปเรือ่ ยๆ เนือ่ งจากมีการลดลงของ GABA-A การชักส่วนใหญ่เมือ่ ให้ยาหยุดชักกลุม่ ben-
receptor, desensitization และ การเคลื่อน zodiazepine หรือยากันชัก ก็จะสามารถควบคุม
ย้ายของ GABA-A receptor subunit บางชนิด การชักให้หยุดชักได้ แต่ทำ�ไมในผู้ป่วย SE และ
บริเวณ synapse (trafficking of GABA-A RSE ถึงไม่ตอบสนองต่อยาที่ให้ จากการศึกษา
receptors) นอกจากนี้ยังพบ over-expression พบว่า เนือ่ งจากมีการเพิม่ ขึน้ ของ P-glycoprotein
ของ P-glycoprotein บริเวณ hippocampus ในกรณี SE ซึ่ง P- glycoprotein จะทำ�ให้ยาผ่าน
และ cortex การลดลงของ GABA-A subunit เข้า blood brain barrier (BBB) ลดลง และทำ�ให้
alpha1,2,3,4,5, beta 2/3 และ gamma 2 กระบวนการนำ�ยาออกจาก blood brain barrier
ในส่ ว นของกระบวนการกระตุ้ น การชั ก สูงขึน้ (enhanced BBB efflux) รวมกับการลดลง
(excitation) ผ่าน glutamatergic ได้แก่ NMDA ของ GABA-A receptor subunit ข้างต้น ส่งผล
(N-methyl-D-aspartate), AMPA และ kinate ให้ควบคุมการชักได้ยากขึ้น เนื่องจากได้ยาแล้วก็
ซึ่งกระบวนการดังกล่าวข้างต้น 2 กระบวนการ ไม่ตอบสนองจึงส่งผลให้เกิดภาวะ SE อย่างต่อ
ดำ�เนินการสวนทางกัน กล่าวคือ กระบวนการ เนื่อง และดำ�เนินสู่ภาวะ RSE
การยั บ ยั้ ง สู ญ เสี ย หน้ า ที่ ไ ปเรื่ อ ยๆ ในขณะที่ Neurotransmitter ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเกิด
กระบวนการกระตุ้นกลับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่ง SE แสดงในตารางที่ 5

103
Vol.6 No.3

ตารางที่ 5 Initiation and maintenance of SE


Initiators Blockers of initiation phase Blockers of
maintenance phase
Low Na , High K
+ +
Na channel blockers
+
NMDA antagonists
GABAA antagonists GABAA agonists Tachykinin antago-
nists
Glutamate agonists : NMDA, NMDA antagonists, high Mg++ Galanin
AMPA, kainate, low Mgo++, low
Ca++, stimulation of glutamater-
gic pathways
Cholinergic muscarinic ago- AMPA/kainate antagonists Dynorphin
nists, stimulation of muscarinic
pathway
Tachykinins (SP, NKB) Cholinergic muscarinic anta-
gosists
Galanin antagonists SP, Neurokinin Bantagonists
Opiated agonists Galatin
Opiate k antagonists Somatostatin
NPY
Opiate d agonists
Dynorphin (k antagonists)
AMPA, Aa-amino-3hydroxy-
5-methylisoxazole-4-propionic
acid; g-aminobutyric acid; NKB,
neurokinin B; NMDA, N-methyl-
D-asparate; NPY, neuropeptide
Y; SP, substance P.
ปัจจัยทำ�นายการเกิด RSE หรือผู้ป่วยที่ชักนานเกิน 24 ชั่วโมง, ชักชนิด non
ผู้ป่วย SE บางส่วนจะเกิดภาวะ RSE โดย –convulsive SE และผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี นาย
พบบ่อยในผู้ป่วย meningo-encephalitics, แพทย์ปิยะเดช วลีพิทักษ์เดช ได้ศึกษาปัจจัยที่มี
hypoxic ischemic encephalopathy, sepsis ผลต่อการเกิด RSE แสดงดังตารางที่ 6

104
Vol.6 No.3

ตารางที่ 6 ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อพยากรณ์โรคภาวะชักต่อเนือ่ ง โดยวิเคราะห์ทลี ะปัจจัย (univariate analysis)


ปัจจัย OR 95%CI P-value
อายุ
มากกว่าหรือเท่ากับ 65 ปี 2.25 0.68-6.71 0.10
น้อยกว่า 65 ปี 1
เพศ
ชาย 1.25 0.40-4.03 0.672
หญิง 1
ระยะเวลาเริ่มการรักษา (Time to treatment)
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ชั่วโมง 1.25 0.33-3.45 0.92
มากกว่า 1 ชั่วโมง 1
อาการชัก (Seizure type)
Generalized convulsion (GC) - 0.23
Complex partial seizure (CP) - 0.17
Simple partial seizure (SP) 1
ระยะเวลาชักต่อเนื่อง (SE duration)
> 24 ชั่วโมง 6.75 1.68-32.05 0.002*
1-2 ชั่วโมง 3.12 0.60-17.40 0.109
< 1 ชั่วโมง 1
ประวัติโรคลมชัก (History of epilepsy)
มี 0.009 0.00-0.69 0.008*
ไม่มี 1
การกลับเป็นซํา้ ของภาวะชักต่อเนือ่ ง (Recurrent SE)
มี 3.08 1.04-9.25 0.022*
ไม่มี 1
คะแนน Glasgow Coma Score (GCS)
< 5 30.40 3.82-13141.18 0.000*
5-10 7.50 0.71-369.14 0.046*
11-15 1

105
Vol.6 No.3

หลักการรักษา SE ตามแนวทางการรักษา SE การแก้ไขปัจจัยกระตุน้


จากความรูด้ า้ นกลไกการเกิด SE, RSE และ ต่างๆ เพือ่ ลดระยะเวลาการชักก่อนการควบคุมได้
การดื้อยา หลักสำ�คัญของการรักษาคือ การรีบให้ ให้สั้นที่สุด
ยาและแก้ไขปัจจัยกระตุ้นให้เร็วที่สุด เพราะจาก ดังนั้นแพทย์จึงควรให้มีการวินิจฉัย SE
การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิด RSE ได้แก่ อย่ า งรวดเร็ ว และเริ่ ม รั ก ษาทั น ที โดยยึ ด ตาม
ระยะเวลาทีเ่ ริม่ รักษาหลังจากเกิดการชัก การรักษา แนวทางการรักษาอย่างเคร่งครัดดังรูปที่ 1

106
Vol.6 No.3

ยากันชักชนิดฉีดทางหลอดเลือดดำ� การฉีดเข้าทางกล้ามเนือ้ และผลแทรกซ้อนตํา่ กว่า


ยากันชักชนิดฉีดทางหลอดเลือดดำ�ทีแ่ พทย์ จะไม่ขอกล่าวโดยละเอียด เพราะโรงพยาบาลส่วน
ใช้บ่อยในปัจจุบันได้แก่ phenytoin, phenobar- ใหญ่ยังไม่มียาชนิดนี้ใช้
bital และ sodium valproate ประสิทธิภาพของ 2. ยา phenobarbital ขนาด loading
ยาดังกล่าวเป็นที่ทราบกันดีว่ามีประสิทธิภาพดี dose 20 มก./กก. ผสมใน 5 D/W อัตราเร็ว
จากประสบการณ์ของผู้เขียนมีข้อสังเกตว่าแพทย์ ประมาณ 100-150 มก./นาที ถ้าผู้ป่วยยังมีอาการ
ส่วนใหญ่ยังมีความไม่มั่นใจในวิธีการใช้ยา เช่น ชักอีก สามารถให้ได้อกี ทุกๆ ครัง้ ทีช่ กั (very high
ขนาดของยาที่ loading การ maintenance : ขอ dose phenobarbital ) การ maintenance dose
สรุปดังนี้ ควรเริ่มให้หลังจาก loading dose ประมาณ 12
1. ยา phenytoin ขนาด loading dose ชั่วโมง ขนาดของ maintenance ประมาณ 300
15-20 มก./กก ผสมใน 0.9 NSS อัตราเร็วไม่เกิน มก./วัน ให้วนั ละ 1 ครัง้ โดยการผสมใน 5 % dex-
50 มก./นาที ถ้าผูป้ ว่ ยไม่หยุดชักให้ซาํ้ ได้อกี ขนาด trose water 100 ซีซี ให้มางหลอดเลือดดำ�ภายใน
ยาสูงสุดในการ loading ไม่เกิน 30 มก./กก./วัน 1-2 ชั่วโมง และถ้าผู้ป่วยอาการดีขึ้นสามารถลด
เมื่อ loading แล้ว ควรเริ่มให้ maintenance ขนาดยาลงได้เหลือ 180 มก./วัน ในผู้ใหญ่
dose หลังจาก loading dose ประมาณ 6-8 3. ยา sodium valproate ขนาด loading
ชั่วโมง การให้ยา maintenance สามารถให้ได้ทั้ง dose 20-25 มก./กก. ให้ในระยะเวลาประมาณ
แบบ 300 มก./วัน วันละครั้ง หรือ 100 มก.ทุก 8 20-30 นาที ถ้าผู้ป่วยยังมีอาการชัก สามารถให้ซํ้า
ชัว่ โมงก็ได้ ให้ผลการรักษาไม่แตกต่างกัน และเมือ่ ได้อีก 2-3 ครั้ง ขนาดสูงสุดในการ loading อาจ
ผู้ป่วยอาการดีขึ้นเริ่มให้อาหารเหลวได้ ก็สามารถ สูงถึง 140 มก./กก. การ maintenance dose ใช้
ให้ยา phenytoin suspension ได้ ที่ต้องระวัง ยาขนาดเดียวกัน โดยมีวิธีการให้ 2 แบบ คือ แบบ
ในการให้ยา phenytoin suspension ในผู้ป่วย ต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง หรือ แบ่งเป็น 2 ครั้ง/วัน โดย
ที่ให้อาหารเหลว คือต้องให้ยาและอาหารห่างกัน เริม่ ให้ยา maintenance 6-8 ชัว่ โมงหลัง loading
อย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพราะยา phenytoin จะจับ dose ส่วนใหญ่นิยมให้ยาแบบต่อเนื่องทั้งวัน
กับโปรตีนสูงมาก ส่งผลให้ระดับยาในเลือดตํ่าไม่ ส่วนการรักษา RSE นั้นมียากันชักให้ใช้
สามารถควบคุมอาการชักได้ หลายชนิด ดังแผนรูปที่ 1 แต่ผลการรักษาส่วน
ในปัจจุบันในบางโรงพยาบาลมีการนำ�ยา ใหญ่ได้ผลไม่ดี ด้วยเหตุผลที่กล่าวแล้วข้างต้น
fosphenytoin มาใช้ ยาดังกล่าวมีข้อดีกว่ายา เมือ่ ผูป้ ว่ ยสามารถควบคุมการชักได้แล้ว 24 ชัว่ โมง
phenytoin หลายประการ คือ สามารถให้ยาได้ ต้องค่อยๆ ลดขนาดยากันชักชนิดทีใ่ ห้ใหม่หลังสุด
ด้วยความเร็วถึง 150 มก./ นาที สามารถให้ได้ดว้ ย

107
Vol.6 No.3

นอกจากแนวทางการรักษาข้างต้นแล้ว ยัง 6. การรักษาด้วย magnesium ในผู้ป่วย


พบว่ามีการรายงานถึงการรักษาภาวะ SE ด้วยวิธี RSE จาก POLG-1 mutation
ต่างๆ ดังนี้ 7. การรั ก ษาด้ ว ย electroconvulsive
1. High dose oral phenobarbital load- therapy (ECT)
ing ในผู้ป่วย RSE 8. การรักษาด้วย music therapy ผู้ป่วย
2. Non-parenteral lacosamide ในผู้ refractory NCS
ป่วย RSE 9. การรักษาด้วยยา levetiracetam
3. Oral pregabalin add-on ในผูป้ ว่ ย SE ชนิด IV form
4. Oral topiramate ในผู้ป่วย RSE คุณสมบัติของยากันชักที่เหมาะสมในการ
5. Ketogenic diet ในผูป้ ว่ ย severe RSE รักษา SE แสดงดังตารางที่ 7

ตารางที่ 7 Ideal intravenous antiepileptic drug (AED) characteristic


DZP LZP PHT FosPHT PB VPA LEV
Ease of administration X X X X X X
Rapid onset of action X X X X X* ?
Intermediate to long duration X X X X X X
Broad spectrum X X X X X
Minimal morbility X X X
Useful as maintenance AED X X X X X
i.v. solution compatibility X X X
DZP, diazepam; Fosphenytoin; i.v., itravenous; LEV, levetiracetam; LZP, lorazepam; PB,
Phenobarbital; PHT, phrnytoin, VPA, valproate.
*
Based on animal studies and limited clinical observations.

108
Vol.6 No.3

ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการรักษาผู้ป่วย บรรณานุกรม
SE ได้แก่ การวินิจฉัยล่าช้า การส่งผู้ป่วยไปตรวจ 1. ปิยะเดช วลีพทิ กั ษ์เดช. Prognosis and pre-
CT scan brain ในขณะที่ผู้ป่วยมีอาการชัก การ dictors of status epilepticus in Nongkai
ให้ยาผิดขนาด ให้ยาผิดวิธี ให้ยาด้วยอัตราเร็วที่ hospital.North-Eastern Thai Journal of
ช้าเกินไป ผสมยา phenytoin ใน 5% dextrose Neuroscience.2010;5:141-53.
water และการไม่ได้ให้ยา maintenance อีก 2. Abend NS, Dlugos DJ. Treatment of
ประเด็ น หนึ่ ง ที่ สำ � คั ญ คื อ การประเมิ น ผู้ ป่ ว ยว่ า refractory status epilepticus : literature
ควบคุมอาการชักได้หรือไม่ ถ้าดีที่สุดต้องตรวจ review and a proposed protocol. Pediatr
คลื่นไฟฟ้าสมอง เพราะผู้ป่วยบางรายเกิดภาวะ Neurol 2008;38:377-390.
non-convulsive seizure status epilepticus 3. Agan K, Afsar N,Midi I, et al. Predictiors
แต่โรงพยาบาลส่วนใหญ่ไม่มเี ครือ่ งมือดังกล่าว จึง of refractoriness in a Turkish status epi-
ต้องอาศัยการดูแลและสังเกตุผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด lepticus data bank. Epilepsy&Behavior
สังเกตุว่าผู้ป่วยมีการกระตุกของแขน ขา ใบหน้า 2009;14:651-4.
หรือตามี nystagmus หรือไม่ ดังนัน้ ในทางปฏิบตั ิ 4. Aranda A, Foucart G, Ducasse JL, et al.
เมื่อมีผู้ป่วย SE ในโรงพยาบาลชุมชนควรส่งตัว Generalized convulsive status epilep-
เพื่อรับการรักษาต่อที่โรงพยาบาลจังหวัด ปัญหา ticus management in adults : A cohort
ทีส่ �ำ คัญอีกข้อหนึง่ คือโรงพยาบาลชุมชนไม่มยี ากัน study with evaluation of professional
ชักชนิดฉีดทางหลอดเลือดดำ� ส่งผลให้ผู้ป่วยไม่ practice. Epilepsia 2010;-:1-9.
ได้รับการรักษาที่เหมาะสมตั้งแต่ต้น ส่งผลให้การ 5. Bankstahl PJ, Hoffmann K, Bethmann
รักษา SE ในประเทศไทยมีการพยากรณ์โรคทีไ่ ม่ดี K, et al.Glutamate is critically involved
in seizure-indued overexpression of
สรุป P-glycoprotein in the brain. Neurophar-
กลไกการเกิด RSE เนือ่ งจากการเสียสมดุล macology 2008;54:1006-16.
ของกระบวนการยับยั้งการชักและกระบวนการ 6. Bankstahl PJ, Loscher W. Resistance
กระตุ้นการชักอย่างต่อเนื่องจนเกิดการดื้อต่อยา to antiepileptic drug and expression
ทีใ่ ช้รักษา การรีบให้การวินิจฉัยและรักษาภาวะ SE of P-glycoprotein in two rat models of
อย่างเร่งด่วนและดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด จะลด status epilepticus. Epilepsy Research
โอกาสการเกิด RSE และลดอัตราการเสียชีวติ ลงได้ 2008;82:70-85.

109
Vol.6 No.3

7. Bethmann K, Fritschy MJ, Brandt C, et 13. Drislane WF, Blum SA, Lopez RM, et
al. Antiepileptic drug resistant rats dif- al. Duration of refractory status epilep-
fer from drug responsive rats in GABAA ticus and outcome: loss of prognostic
receptor subunit expression in a model utility after several hours.Epilepsia
of temporal lobe epilepsy. Neurobiology 2009;6:1566-71.
of Disease 2008;31:169-87. 14. Goodkin PH, Kapur J. The impact of
8. Bleck TP, MD FCCM .Less common diazepam’s discovery on the treatment
etiologies of status epilepticus. Current and understanding of status epilepti-
review in clinical science. Epilepsy cur- cus. Epilepsia 2009;9:2011-8.
rents 2010;10:31-3. 15. Jan de Haan G, Van der Geest P, Doel-
9. Chakir A, Fabene PF, Ouazzani R, et man G,et al. A comparison of mid-
al. Drug resistance and hippocampal azolam nasal spray and diazepam rectal
damage after delayed treatment of solution for the residential treatment
pilocarpine-induced epilepsy in the rat. of seizure exacerbations. Epilepsia
Brain Research Bullentin 2006; 71:127-38. 2010;3:478-82.
10. Claassen J, Hirsch JL, Emerson GR, et 16. Jimenez-Mateos ME, Hatazaki S,
al. Treatment of refractory status epi- Johnson BM, et al. Hippocampal tran-
lepticus with pentobarbital,propofol,or scriptome after status epilepticus in
midazolam:A systemic review.Epilep- mice rendered seizure damage-tolerant
sia 2002;2:146-53. by epileptic preconditioning features
11. Cooper DA, Britton WJ, Rabinstein AA. suppresses calcium and neuronal ex-
Functional and cognitive outcome in citability pathways. Neurobiology of
prolonged refractory status epilepticus. Disease 2008;32:442-53.
Arch Neurol 2009;12:1505-9. 17. Kalita J, Nair PP, Misra KU. A clini-
12. Deshpande SL, Blair ER, Nagarkatti N, et cal, radiological and outcome study of
al. Development of pharmacoresistance to status epilepticus from India. J Neurol
benzodiazepines but not cannabinoids in 2010;257:224-9.
the hippocampal neuronal culture model 18. Kamel H, Cornes BS, Hegde M, et al.
of status epilepticus. Experimental Neu- Electroconvulsive therapy for refrac-
rology 2007;204:705-13.

110
Vol.6 No.3

tory status epilepticus : A case series. 25. Novy J, Rossetti AO.Oral pregabalin as
Neurocrit care 2010;12:204-10. an add-on treatment for status epilep-
19. Kuester G, Rios L, Ortiz A, et al. Effect of ticus. Epilepsia 2010;10:207-10.
music on the recovery of a patient with 26. Papavasiliou AS, Kotsalis C, Paraskev-
refractory nonconvulsive status epilep- oulakos E, et al. Intravenous midazolam
ticus. Epilepsy&Behavior 2010;18:491-3. in convulsive status epilepticus in chil-
20. Meierkord H, Boon P, Engelsen B. EFNS dren with pharmacoresistant epilepsy.
guideline on the management of status Epilepsy & Behavior 2009;14:661-4.
epilepticus in adults. European Journal 27. Pekcec A, Unkruer B, Stein V, et al.
of Neurology 2010 ; 17:348-55. Over-expression of P-glycoprotein in
21. Nabbout R, Mazzuca M, Hubert P, et the canine brain following spontaneous
al. Efficacy of ketogenic diet in severe status epilepticus.Epilepsy Research
refractory status epilepticus initiat- 2009;83:144-51.
ing fever induced refractory epileptic 28. Rathakrishnan R, Wilder-Smith EP.New
encephalopathy in school age children Onser Refractory Status Epilepticus
(FIRED). Epilepsia 2010;10:2033-7. (NORSE). Journal of the Neurological
22. Naylor ED, Lin H, Wasterlain GC. Sciences 2009;284:220-1.
Trafficker of GABAA receptors, loss of 29. Silveira VG, Paula Cognato G, Muller
inhibition, and a mechanism for pharma- AP, et al. Effect of ketogenic diet on
coresistance in status epilepticus. The nucleotide hydrolysis and hepatic
Journal of Neuroscience 2005;34:7724-33. enzymes in blood serum of rats in a
23. Naylor ED, Wasterlain GC. GABA syn- lithium-pilocarpine-induced status epi-
apses and the rapid loss of inhibition to lepticus. Metab Brain Dis 2010;25:211-7.
dentate gyrus granule cells after brief 30. Sinha S, Prashantha DK, Thennarasu
perforant-path stimulation. Epilepsia K, et al. Refractory status epileptics
2005;suppl.5:142-7. : A developing country perspective.
24. Novy J, Logroscio G, Rossetti OA, et at. Journal of the Neurological Science
Refractory status epilepticus : A pro- 2010;290:60-65.
spective observational study. Epilepsia
2010;2:251-6.

111
Vol.6 No.3

31. Tiamkao S, Jitpimolmard S, Chotmong- tients with de novo status epilepticus.


kol V. Status epilepticus in Srinagarind Q J Med 2009;102:57-62.
hospital. Srinagarind Med J 1997;12:64-8. 39. Ullal G, Fahnestock M, Racine R. Time-
32. Tiamkao S, Chitravas N, Jitpimolmard dependent effect of kainate-induced
S, Sawanyawisuth K. Appropriateness seizures on glutamate receptor gluR5,
of intravenous loading dose of phenyt- gluR6,and gluR7 mRNA and protein ex-
oin treatment in Srinagarind Hospital. pression in rat hippocampus.Epilepsia
J Med Assoc Thai 2005;88:1638-41. 2005;5:616-23.
33. Tiamkao S, Mayurasakorn N, Suko P, 40. Visser NA, Braun KPJ , Leijten FSS.
et al. Very high dose phenobarbital for Magnesium treatment for patiens with
refractory status epilepticus. J Med refractory status epilepticus due to
Assoc Thai 2007;90:2597-600. POLG1-mutations.J Neurol 2010; Aug
34. Tiamkao S. Current management of 29.[Epub ahead of print]
status epilepticus. Thai Journal of Phar- 41. Wasterlain CG, Chen James WY. Mech-
macology 2552;31:20-5. anistic and pharmacologic aspects of
35. Tiamkao S, Sawanyawisuth K. Predictors status epilepticus and its treatment
and prognosis of status epilepticus pa- with new antiepileptic drugs. Epilepsia
tients treated with intravenous sodium 2008;suppl.9:63-73.
valproate. Epileptic Disord 2009; 11:228-31. 42. Wheless JW, Treiman DM. The role of the
36. Tiamkao S, Suko P, Mayurasakorn N, newer antiepileptic drugs in the treat-
et al. Outcome of status epilepticus in ment of generalized convulsive status
srinagarind hospital.J Med Assoc Thai epiletics. Epilepsia 2008;suppl.9:74-8.
2010;93:420-3. 43. Wilmshurst JM, Van der Walt JS, Ack-
37. Tilz C, Resch R, Hofer T, et al. Success- ermann S, et al. Rescue therapy with
ful treatment for refractory convulsive high-dose oral phenobarbitone load-
status epilepticus by non-parenteral ing for refractory status epilepticus.
lacosamide.Epilepsia 2010;2:316-7. Journal of Paediatrics and Child Health
38. Tsai M-H, Chuang Y-C, Chang H-W, et 2010;46:17-22.
al. Factors predictive of outcome in pa-

112

You might also like