Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

วันเสาร์, มิถน

ุ ายน 16, 2018 about us/contact us Policy

หน้าแรก เคมี-ชวี ะ-ฟิ สก ์ นฐาน


ิ สพ ื ํ หร ับร่างกาย
เคมีสา เคมีคร ัวเรือน เคมีอต
ุ สาหกรรม เคมีการเกษตร อุปกรณ์ และเทคนิค 

่ (Water heater) การทํางาน และหลักการเลือกซอ


หน ้าแรก  อุปกรณ์ และเทคนิค  เครืองทํานํ าอุน ื

อุปกรณ์ และเทคนิค

Siamchemidotcom
เครืองทํานํ าอุน
่ (Water heater) การ 1,641 จํานวนคนทีถูกใจ

ทํางาน และหลักการเลือกซอ ื ถูกใจเพจ ่ ข้อความ


สง
 2873

เป็ นคนแรกในกลุม ิ
่ เพือนของคุณทีถูกใจสงนี
 แบ่งปั นบนเฟสบุค
๊  ทวีตบนทวิตเตอร์  

่ (Water heater) จัดเป็ นอุปกรณ์สร ้างความร ้อน เพราะจะทําหน ้าทีเปลียนพลังงานไฟฟ้ ามาอยูใ่ น


เครืองทํานําอุน
ั เริมนิยมใชกั้ นมากขึน ทังนี เพราะนํ าอุน
รูปของพลังงานความร ้อนออกมาตามฝั กบัว ปั จจุบน ่ สามารถขจัดไขมันหรือ

สามารถชะล ้างสงสกปรกที
ติดอยูต
่ ามรูขม
ุ ขนได ้ดีกว่านํ าเย็น และเมืออากาศมีอณ ิ ําหรือสภาพอากาศเย็นซงึ
ุ หภูมต
เหมาะอย่างยิงสําหรับหน ้าหนาวในเมืองไทย นอกจากนี ยังสะดวกต่อการใชงานเพี
้ ยง แต่เปิ ดปุ่ มควบคุมของนํ านํ าอุน

ก็จะไหล

่ แบ่งตามล ักษณะการใช ้
ประเภทเครืองทํานําอุน
advertisement
1. เครืองทํานํ าอุน ่ ได ้จุดเดียว (SINGLE WATER SUPPLY)
่ แบบทํานํ าอุน
สําหรับเครืองทํานํ าอุน
่ แบบนีจะเป็ นเครืองทํานํ าอุน ึ
่ ขนาดเล็กซงสามารถทํ านํ าอุน
่ ในปริมาณที
เพียงพอเฉพาะกับการใชนํ้ าอุน
่ เพียงทีเดียวเท่านัน การทีจะดัดแปลงเครืองแบบนีให ้สามารถจ่ายนํ าอุน
่ ให ้หลายจุดนัน
นับว่าอันตรายต่อตัวเครืองอย่างมาก ทังนี เครืองจะรับภาระในการผลิตนํ าอุน
่ มากเกินความสามารถของเครืองจะรับได ้
ึ ว่ นใหญ่จะติดตังในบ ้าน และคอนโดมิเนียม
ซงส

2. เครืองทํานํ าอุน ่ ในหลายจุด (MULTIPLE WATE SUPPLY)


่ แบบทํานํ าอุน
ระบบนี จะใชกั้ บบ ้านเรือนทีมีปริมาณการใชงาน
้ และในการต่อท่อก็จะมีการต่อท่อนํ าอุน
่ ทีออกจากเครืองแยกไปตาม
้ างไรก็ตาม ในการทีจะต่อเพือใชนํ้ าอุน
จุดต่างๆทีต ้องการใชอย่ ่ ได ้กีจุดนัน จําเป็ นอย่างยิงทีจะต ้องดูพก
ิ ด
ั ของเครือง
ี ก่อนว่า เครืองจะสามารถจ่ายนํ าเข ้าในปริมาณมาก
เสย

่ แบ่งตามพลังงานทีใช ้ 2 ประเภทได ้แก่


เครืองทํานํ าอุน

1. ระบบทีใชไฟฟ้ ั สว่ นประมาณร ้อยละ 80 ของตลาด
า มีสด

้ ส มีสด
2. ระบบทีใชแก๊ ั สว่ นประมาณร ้อยละ 20 ของตลาด

สํานักงานคณะกรรมการคุ ้มครองผู ้บริโภค(สคบ.) ได ้ออกประกาศคณะกรรมการคุ ้มครองผู ้บริโภคด ้านฉลากของเครือง


ทํานํ าอุน ิ ค ้าควบคุมฉลากทีต ้องมีคําเตือน “มีอน
่ ให ้เป็ นสน ั ตรายถึงชวี ต
ิ และให ้ติดตังสายดินทุกครังทีติดเครืองทํานํ า
ั เจน
่ ” โดยต ้องติดตังเครืองป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ ารัว (FLR) ด ้วย และต ้องติดข ้อความหน ้าเครืองให ้เห็นชด
อุน
เพือให ้ผู ้บริโภครับทราบอันตรายทีอาจเกิดขึน

ิ คําเตือนหรือฉลากให ้ถูกต ้องความผิดครังแรกปรับไม่เกิน 100,000 บาท และหากกระทําผิด


หากผู ้ผลิตผู ้นํ าเข ้าไม่ตด
ํ กจําคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ทังจําทังปรับ ผู ้ขายจะถูกปรับไม่เกิน 50,000 บาท จําคุกไม่เกิน 6 เดือนหรือทังจําทัง
ซาถู
ปรับ

มาตรฐานเครืองทํานําอุน
่ ในประเทศไทย

1. ระบบนิรภัย ELB ซงจะทํ าการตัดกระแสไฟฟ้ าในทันทีหากเกิดไฟฟ้ ารัว
์ วบคุมแรงดันนํ าซงจะทํ
2. สวิตสค ึ นนํ าเข ้าเครืองไม่เพียงพอ (ตํากว่า 0.18 กก./
าการตัดกระแสไฟฟ้ าทันทีทแรงดั

ตร.ซม.)
์ ด
3. สวิตสต ั ไฟฟ้ าอัตโนมัตโิ ดยจะทําการตัดกระแสไฟฟ้ าทันทีเมืออุณหภูมข
ิ องนํ าสูงผิดปกติ
ึ นโลหะคุณภาพสูงไม่เป็ นสนิมทนความร ้อน และทนต่อการ
4. ขดลวดทําความร ้อนคุณภาพสูงด ้วย INCOLOY ซงเป็
กัดกร่อนได ้ดี
5. ฟิ วเตอร์กรองนํ าสําหรับป้ องกันสงสกปรกที
ิ จะอุดตันภายในเครือง
ี ดนํ าสะสมในสว่ นทีพับ
6. สายฝั กบัวเสริมแกนพิเศษเพือให ้นํ าไหลผ่านได ้ในกรณีสายพับงอ ทําให ้แก ้ปั ญหากรณีทเกิ

งอซงจะทํ ิ องนํ านันสูงเกินปกติ [1]
าให ้อุณหภูมข

่ นประกอบไฟฟ้าเครืองทํานําอุน
สว ่
ี เตอร์ (HEATER)
1. ลวดความร ้อนหรือฮต

ลวดความร ้อนทีใชในเครื ่ โดยปกติจะเป็ นแบบปิ ด สําหรับลวดความร ้อนแบบปิ ดทีใชในเครื
องทํานํ าอุน ้ องทํานํ าอุน
่ โดย
ทัวไปจะมีลก ่ ํ าหรือโค ้งงอ ด ้วยมุม 180 องศาแล ้วแชน
ั ษณะเป็ นแท่งกลม โดยจะโค ้งงอ ตามภาชนะทีใสน ่ ํ า สว่ น
ประกอบของลวดความร ้อนชนิดนี สว่ นในสุดจะเป็ นลวดนิโครม สว่ นทีอยูต ี มออกไซต์ ซงมี
่ รงกลางจะเป็ นผงแมกนีเซย ึ

คุณสมบัตเิ ป็ นฉนวนไฟฟ้ า และทนต่อความร ้อนสูง และชนนอกสุ ึ อดังกล่าวอาจจะเป็ นท่อ
ดจะเป็ นท่อโลหะซงท่
ทองแดงหรือท่อสเตนเลส


2. เทอร์โมสต์ (THERMOSTAT) ทีใชในเครื ่ จะมี 2 ลักษณะ
องทํานํ าอุน
2.1 เทอร์โมสต์ ทีทําหน ้าทีตัดกระแสไฟฟ้ าของวงจร เมือความร ้อนของลวดความร ้อนสูงมากจนอาจจะเป็ นอันตราย
ึ โมสต์แบบนี จะใชกั้ บเครืองทํานํ าอุน
ได ้ ซงเทอร์ ่ ยูใ่ นนํ า
่ ทีลวดความร ้อนไม่ได ้แชอ
2.2 เทอร์โมสต์ ทําหน ้าทีตัดกระแสไหลผ่านลวดความร ้อน เมืออุณหภูมข ึ
ิ องนํ าถึงระดับทีต ้องการ ซงเทอร์
โมสต์แบบ
นี จะใชกั้ บเครืองทํานํ าอุน ่ ยูใ่ นนํ า
่ ทีลวดความร ้อนแชอ

์ รงดัน (PRESSURE SWITCH)


3. สวิตซแ
์ รงดันจะทํางานได ้โดยอาศย
สวิตชแ ั แรงดันของนํ าเป็ นตัวบังคับ การทํางานของสวิตซก
์ ล่าว คือ ถ ้าแรงดันของนํ าทีใช ้
์ งั กล่าวก็จะตัดกระแสไฟฟ้ า
เข ้าเครืองมีแรงดันน ้อยหรือปริมาณของนํ าไม่เพียงพอกับความต ้องการของเครืองสวิตซด
์ ะมีสว่ นรับแรงดันของนํ าทีแกนบังคับสามารถเคลือนตัวเข ้าออกตาม
ไม่ให ้ไหลผ่านลวดความร ้อน ในการทํางานสวิตซจ
แรงดันของนํ าได ้ และการเคลือนตัวเข ้าออกของแกนดังกล่าวนี ก็จะไปผลักดันไมโครสวิตช ์

4. หลอดบอกสภาวะการทํางานของเครือง (INDICATOR LAMP)


หลอดไฟฟ้ าดังกล่าวนี จะทําหน ้าทีเป็ นตัวบอกให ้ทราบว่าขณะนีเครืองอยูใ่ นสภาวะทํางานหรือไม่ โดยจะมีแสงสว่าง
ึ ้าหลอดสว่าง ก็แสดงว่าเครืองกําลังอยูใ่ นสภาพทีทํางานหรืออาจจะเป็ นภาวะทีเครืองตัด
จากหลอดไฟเป็ นตัวบอก ซงถ
การทํางาน

่ สว่ นใหญ่จะอาศย
เครืองทํานํ าอุน ั แรงดันนํ าไปปิ ดเปิ ดสวิตซไ์ ฟฟ้ า ดังนัน ถ ้าแรงดันนํ าไม่พอเครืองก็จะไม่ทํางาน และ
มีอป
ุ กรณ์ตด
ั วงจรไฟฟ้ าในกรณีทความร
ี ึ
้อนเครืองสูงเกินไป ซงอาจทํ ี หายได ้เพราะฉะนัน เครืองทํานํ าอุน
าให ้เครืองเสย ่
้ องป้ องกันไฟรัว เพือความปลอดภัยในขณะใชงานเพราะเป็
จะต ้องใชเครื ้ ิ ดีอาจจะเป็ นอันตรายถึงชวี ต
นสงที ิ ได ้ แม ้ไฟจะ
จ่ายเพียงเล็กน ้อย และควรจะเดินสายดินด ้วยเพือให ้ไฟฟ้ าไหลลงดินได ้โดยสะดวก

โครงสร้างของเครืองทํานําอุน

้ ดปิ ดนํ าให ้มีปริมาณทีไหลเข ้าเครืองทํานํ าอุน
1. ปุ่ มควบคุมนํ าเป็ นปุ่ มทีใชเปิ ่
ั ญาณจะบ่งบอกถึงสภาวะการทํางานของเครืองทํานํ าอุน
2.ไฟสญ ึ 3 ระดับ
่ ซงมี
– HIGH หลอดไฟจะสว่างทังสองหลอดนํ าร ้อนมาก
– MED หลอดไฟจะสว่างทีหลอดอันบนนํ าร ้อนปานกลาง
– LOW หลอดไฟจะสว่างทีหลอดอันล่างนํ าร ้อนน ้อย
3. สวิตซเ์ ลือกระดับ อุณหภูมม ่ เดียวกับระดับไฟสญ
ิ ี 3 ระดับ เชน ั ญาณ คือ HIGH-LOW- และ MED นอกจากนี ยัง
ุ 0 แสดงถึงการปิ ดเครือง
มีจด
4. ทางเข ้านํ าต่อจากท่อประปาเพือให ้นํ าไหลเข ้าสูเ่ ครืองทํานํ าอุน


5. ทางนํ าออกเป็ นทางให ้นํ าร ้อนออกมาจากตัวเครืองเพือใชในการชาํ ระล ้างร่างกาย

การทํางานของชุดควบคุมนํา

เมือปิ ดปุ่ มควบคุมไปทางซายแกนความร ่ ม ้อนํ า และมีนําอีกสว่ นหนึง
้อนจะคลายตัวทําให ้นํ าไหลผ่านไปทางนํ าออกสูห
ึ นไดอะเฟรมซงเป็
ซงเป็ ึ นแผ่นกลมบาง ๆ ก ้านวาวล์ และจะรับ แรงกดดันซงต่
ึ อกับได ้อะเฟรมก็จะถูกดันมาทางซาย

ทําให ้ดันไมโครสวิตซ ์ ซงเป็
ึ นทางผ่านของกระแสไฟฟ้ าไปสูห
่ ม ้อนํ าทําให ้นํ าร ้อน

เมือปิ ดปุ่ มควบคุมมาทางขวา นํ าจะไหลผ่านประเก็นไม่ได ้ ก็จะหยุดไหลทําให ้ไม่มแ


ี รงดันทีไดอะเฟรม และสปริงภาย
์ ะดันก ้านวาวล์ถอยกลับ เครืองจะหยุดทํางาน วาวล์ควบคุมแรงดันจะทําหน ้าทีป้ องกันความสกปรก
ในไมโคสวิตซจ
ภายในเครืองควบคุมแรงดันนํ า

การทํางานของเครืองทํานํ าอุน ี เตอร์แห ้ง


่ แบบฮต
เครืองทํานํ าอุน ี เตอร์จะแชใ่ นแต่ลวดความร ้อนดังกล่าวจะพันอยูร่ อบถังพักนํ าของเครือง
่ แบบนี ลวดความร ้อนของฮท
ทําให ้นํ าอุน
่ แบบนี จะเป็ นเครืองทํานํ าอุน ้
่ ทีมีใชในอาคารบ ้านเรือนแบบธรรมดา สําหรับอุปกรณ์ทําหน ้าทีควบคุมกระแส
่ ้วยกัน 2 ตัว คือ
ไฟฟ้ าไหลผ่านลวดความร ้อนจะมีอยูด
1. อุปกรณ์ป้องกันความร ้อนของลวดความร ้อนสูงผิดปรกติ
2.อุปกรณ์ป้องกันแรงดันของนํ า และปริมาณของนํ าตํากว่าเกณฑ์กําหนดของเครือง

หลักการทํางานของเครืองทํานํ าอุน ี เตอร์แห ้ง


่ แบบฮท
์ รงดัน หรือ เพรสเซอร์สวิตซ ์ (PRESSURE SWITCH) ซงจะทํ
เมือมีการจ่ายกระแสไฟฟ้ าผ่านสวิตซแ ึ าหน ้าทีจับแรง
ึ ้าแรงดันของนํ ามีมากพอสวิตซก
ดันของนํ าทีจ่ายเข ้ามาในเครืองซงถ ์ จ
็ ะต่อกระแสไฟฟ้ าให ้ไหลผ่านไปได ้ และต่อจาก
นัน กระแสไฟฟ้ าก็จะผ่านมายังเทอร์โมสต์ (THERMOSTAT) โดยจะทําหน ้าทีป้ องกันความร ้อนของลวดความร ้อน
สูงผิดปรกติ หากเกิดอาการดังกล่าวขึนมาเทอร์โมสต์กจ
็ ะตัดกระแสไฟฟ้ าไม่ให ้ไหลผ่านลวดความร ้อน แต่ถ ้าความ
ร ้อนเป็ นปรกติกระแสไฟฟ้ าก็จะสามารถไหลผ่านไปอย่างรวดเร็วความร ้อนได ้ สําหรับความร ้อนทีออกมาจากเครืองทํา
นํ าอุน
่ ชนิดนี จะมีความร ้อนมากหรือน ้อยขึนอยูก ั การเปิ ดใชนํ้ ากล่าว คือ ถ ้าเปิ ดใชแรงมากความร
่ บ ้ ้อนของนํ าก็จะน ้อย
แต่ถ ้าเปิ ดนํ าน ้อยความร ้อนของนํ าก็จะมาก เครืองทํานํ าอุน ่ ยูใ่ นนํ า ดัง
่ ชนิดนี จะมีข ้อดีตรงทีลวดความร ้อนไม่ได ้แชอ
นัน สารประเภทหินปูนทีปนมากับนํ าจึงไม่สามารถเจาะลวดความร ้อนชนิดนีได ้ เพราะหินปูนดังกล่าว จะทําให ้ลวด
ิ ธิภาพในการให ้ความร ้อนลดลง และอาจจะเป็ นสาเหตุททํ
ความร ้อนมีประสท ี าให ้ความร ้อนขาดได ้

การทํางานเครืองทํานํ าอุน ี ตอร์เปี ยกหรือเครืองทํานํ าร ้อน


่ แบบฮท
เครืองทํานํ าอุน ี เตอร์ จะเป็ นแบบปิ ดและงอด ้วยมุม 180 องศา เครืองทํานํ าอุน
่ ประเภทนีลวดความร ้อนหรือฮท ่ แบบนี
สว่ นใหญ่จะใชกั้ บอาคารบ ้านเรือนหรือสถานประกอบการทีต ้องการปริมาณการใชนํ้ ามาก และเครืองแบบนี โดยปกติจะ
่ นํ าเย็น (นํ าประปา) เดินคูก
มีทอ ่ น ้
ั และต่อเข ้ากับก๊อกนํ าเพือให ้ผู ้ใชสามารถปรั บให ้นํ าทีออกมาจากก๊อกมีอณ
ุ หภูมต
ิ าม
ต ้องการได ้

หลักการทํางานของเครืองทํานํ าอุน ี เตอร์เปี ยก


่ แบบฮท
เมือมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านมายังตัวควบคุมทีทําหน ้าทีตัดกระแสไฟฟ้ าเมือนํ าร ้อนจัดผิดปกติ และผ่านไปยังตัวควบคุม
ิ องนํ า และก็จะไหลผ่านไปยังลวดความร ้อนของชุดบนจนครบวงจร แต่สําหรับวงจรของลวดความร ้อนชุด
อุณหภูมข
ล่างก็จะเริมตังแต่ ควบคุมอุณหภูมท
ิ รัี กษาอุณหภูมข
ิ องนํ าชุดบนผ่านลงมายังชุดควบคุมอุณหภูมแ
ิ ล ้วครบวงจรทีลวด
ความร ้อนชุดล่างจนคอยรักษาระดับของนํ าร ้อนให ้อยูใ่ นชว่ งเวลาทีต ้องการ สําหรับตัวควบคุมอุณหภูมส
ิ ว่ นทีป้ องกัน
ความร ้อนของนํ าสูงผิดปรกติทติ ่ ว่ นบนก็จะมีหน ้าทีรักษาความร ้อนของนํ าไม่ให ้ถึงขีดอันตราย
ี ดตังอยูส

การทํางานของเครืองทํานําอุน

่ เกิดแรงดันของนํ าทีไหลผ่านจากท่อนํ าทีต่อเข ้าเครืองไหลผ่านไปยังสวิตซ ์ ซงเป็
การทํางานของเครืองทํานํ าอุน ึ นตัวที
ี เตอร์ (HEATERS) เมือแรงดันนํ าผ่านไปยังสวิตซ ์ สวิตช ์ ก็จะ
คอยควบคุมการทํางานของขดลวดความร ้อนหรือฮท
เปิ ดขดลวดความร ้อนก็จะทํางานเกิดความร ้อนขึนนํ าทีไหลผ่านเข ้ามาก็จะร ้อนโดยมีเทอร์โมสต์จะเป็ นตัวควบคุมขด
ลวดนํ าความร ้อนให ้ได ้อุณหภูมค
ิ วามร ้อนทีต ้องการ

สําหรับเครืองทีจ่ายนํ าจุดเดียว และไม่มถ ี เตอร์กจ


ี งั เก็บนํ าเมือไหร่ผา่ นฮท ็ ะร ้อน และไหลออกมาจากก๊อกหรือฝั กบัว
ทันทีทอุ
ี ณหภูมท ี ้องการ สว่ นเครืองทีมีถงั เก็บนํ าด ้วย เพือใชจ่้ ายนํ าไปหลายจุดก่อนใช ้ จะต ้องเปิ ดนํ าไว ้ให ้เต็มถังนํ า
ิ ต
ในถังจะถูกควบคุมอุณหภูมค
ิ วามร ้อนด ้วยเทอร์โมสต์ ทีเป็ นตัวควบคุมอุณหภูมค
ิ วามร ้อนด ้วยเทอร์โมสต์ ทีเป็ นตัว
ควบคุมการทํางานของ ขดลวดนํ าความร ้อน สว่ นทีถังเก็บนํ าจะมีฉนวนควบคุม และรักษาระดับนํ าให ้ร ้อนในอุณหภูมท
ิ ี
คงทีอยูเ่ สมอ เมือเปิ ดก๊อกใชนํ้ าร ้อนจะไหลออกมาจากถังไปตามท่อจ่ายนํ าตามจุดต่างๆ ในขณะเดียวกันกับนํ าเย็นก็จะ
ไหลเข ้ามาแทนทันที เทอร์โมสต์ ก็จะเริมทํางานอีกครังโดยการเปิ ดสวิตซใ์ ห ้ขดลวดนํ าความร ้อนทําหน ้าทีปรับ
ิ องนํ า แล ้วปิ ดสวิตซโ์ ดยอัตโนมัตเิ มือได ้อุณหภูมข
อุณหภูมข ิ องนํ าร ้อนตามความต ้องการ เมือมีการใชนํ้ าอีกวงจรดัง
กล่าวก็จะเริมปฏิบต
ั ก ่ เดิม
ิ ารใหม่หมุนเวียนไปเชน


การเลือกซอเครื
องทํานําอุน


1. วัตถุประสงค์ในการใชงานจะใช ้ ยงจุดเดียวหรือหลายจุด จะใชกั้ บฝั กบัวหรืออ่างอาบนํ าถ ้าจะใชกั้ บอ่างอาบนํ า
เพี

และใชหลายจุ ้ องทํานํ าอุน
ด นํ าฝั กบัว และก๊อกนํ าล ้างหน ้าอ่างอาบนํ าก็ต ้องใชเครื ่ ระบบ 2 ท่อ
้ ส และใชไฟฟ้
2. แบบใชแก๊ ้ ้
าหากกําลังไฟของมิเตอร์ไม่พอหรือไฟฟ้ าเข ้าไปไม่ถงึ ก็ต ้องใชแบบแก๊ ้
ส แต่ถ ้าใชแบบ
ไฟฟ้ าก็ควรขอไฟฟ้ าทีมีมเิ ตอร์ขนาด 15 แอมป์ หรือมากกว่า เตรียมไว ้ด ้วย

3. ความปลอดภัย เนืองจาก นํ ากับไฟเข ้ากันไม่ได ้การเลือกซอขนาดพิ
จารณาดูวา่ มีระบบป้ องกันความปลอดภัยจาก
ึ ของนํ ากับไฟหรือไม่ได ้มาตรฐานเพียงใด ทีผ่านมาเคยมีปัญหาหรือไม่ผลิตและจําหน่ายมานานขนาดไหน
การรัวซม
4. ความประหยัดพิจารณาดูถ ้าค่าใชจ่้ ายตัวเครืองอุปกรณ์ตด ื
ิ ตัง และเชอเพลิ ้
งใชไฟมากน ้อยแค่ไหน โดยปรกติเครือง
่ จะกินไฟน ้อยกว่าเครืองทํานํ าร ้อน เพราะใชวั้ ตต์ตํากว่า แต่จะขึนอยูก
ทํานํ าอุน ่ บ ้
ั วัตถุประสงค์ในการใชงาน หาก
ต ้องการนํ าทีอุณหภูมส ื น
ิ งู มาก ก็ต ้องซอรุ ่ ทีให ้กําลังวัตต์สงู จากนันก็ดวู า่ มีอป
ุ กรณ์ควบคุมอุณหภูมข
ิ องนํ าหรือไม่ ถ ้ามี
จะชว่ ยประหยัดกระแสไฟฟ้ าได ้เชน
่ กัน ซงแต่
ึ ละรุน ้
่ จะออกแบบมาเพือวัตถุประสงค์ในการใชงานต่
างกับบางรุน ้
่ ใชงาน

ไม่มาก ระบบความร ้อนของนํ าจะใชแรงดั
นเป็ นตัวควบคุม บางรุน ้
่ จะใชเทอร์ ิ องนํ า ซงึ
โบโมสต์เป็ นตัวควบคุมอุณหภูมข
จะชว่ ยให ้ประหยัดกระแสไฟฟ้ าได ้
ั ซอนหรื
5. การติดตังยุง่ ยากซบ ้ อไม่ ปั จจุบน
ั เครืองทํานํ าอุน ้
่ โดยเฉพาะทีใชตามบ ้านจะถูกออกแบบให ้สามารถติดตัง
ได ้ง่าย และประหยัดกับเนือทีน ้อย โดยเฉพาะเครืองทํานํ าอุน
่ ท่อเดียว การติดตังจึงง่าย เนืองจาก เครืองทํานํ าอุน
่ เป็ น

เครืองทีใชวงจรระบบไฟฟ้ า และอิเล็กทรอนิกส ์ เมือใชไประยะหนึ
้ งอาจเกิดชาํ รุดเสย
ี หายได ้ทําให ้ระบบการทํางาน
็ และซอ
ขัดข ้อง จําเป็ นต ้องมีการตรวจเชค ่ มบํารุงการเลือกซอจะต
ื ่ ม
้องดูวา่ มีบริการรับประกันตัวเครือง และแผนกซอ
บํารุงหรือไม่ ถ ้าไม่อาจจะเกิดความยุง่ ยากในภายหลังได ้ [2]

ขอบคุณภาพจาก BlogGang.com/, chiangmaiaircare.com/

เอกสารอ้างอิง
ิ ค ้าและ-
[1] ศุภลักษณ์ สมบูรณ์หรรษา, 2549, ทัศนคติด ้านผลิตภัณฑ์ การรับรู ้ตราสน
ิ ใจซอเครื
แนวโน ้มพฤติกรรมการตัดสน ื ่ -
องทํานํ าอุน
“พานาโซนิค” ของผู ้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร.
ั ดิ กมลรัตนา, 2543, ปั จจัยทีมีผลต่อการตัดสน
[2] ณรงค์ศก ิ ใจเลือกซอเครื
ื ่ -
องทํานํ าอุน
ึ ษา ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร.
กรณีศก

advertisement

แบ่งปัน  Facebook  Twitter  

บทความก่อนหน ้านี บทความถัดไป

โลหะเงิน (Silver) คุณสมบัต ิ และประโยชน์โลหะเงิน กรดกลูตามิค (Glutamic acid) วิธผ


ี ลิต และประโยชน์
กรดกลูตามิค

You might also like