บทความวิชาการ กาเมลัน

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

26

กาเมลัน : วงดนตรีประจ�ำชาติของอินโดนีเซีย
GAMELAN: INDONESIA’S NATIONNAL ORCHESTRA
อาทิตย์ โพธิ์ศรีทอง / ARETHIT POSRITHONG
ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
DEPARTMENT OF CURRICULUM ANN INSTRUCTION,
FACYLTY OF EDUCATION, SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY

บทคัดย่อ Abstract
บทความนี้ เป็ นผลมาจากการศึกษาค้นคว้าจาก This article is the result of a study of concerned
เอกสารและแหล่งข้อมูลต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ น�ำเสนอให้เห็น documents and resources to present a check of the form
ถึงรูปแบบและโครงสร้างของวงดนตรีกาเมลัน (Gamelan) ซึง่ and structure of the Gamelan music. Gamelan is the
เป็ นวงดนตรีประจ�ำชาติของประเทศอินโดนีเซีย โดยวงกาเม Indonesia’s national orchestra. It has a unique style of
ลัน (Gamelan) เป็ นวงดนตรีทม่ี เี อกลักษณ์ทางด้านเครือ่ ง Instrument and playing obviously. The results of the study
ดนตรีและรูปแบบการบรรเลงทีช่ ดั เจน โดยผลจากการศึกษา show that Gamelan had four types of instruments. There
ค้าคว้าพบว่า วงกาเมลัน (Gamelan) มีเครือ่ งดนตรีทงั ้ หมด 4 are Idiophones, Chordophones, Aerophones and
ประเภท คือ 1) ประเภทเครือ่ งกระทบหรือเครือ่ งตี Membranophones. The Gamelan has 2 Tuning Systems.
(Idiophones) 2) ประเภทเครือ่ งสาย (Chordophones) 3) Slendro tuning system is divided into five sounds
ประเภทเครือ่ งเปา่ (Aerophones) และ 4) ประเภทเครือ่ งหนัง (Pentatonic Scale) in an octave and Pelog tuning system
(Membranophones) โดยมีระบบเสียง (Tuning Systems) 2 is divided into seven sounds in an octave. The Mode of
ระบบ คือ ระบบสเลนโดร (Slendro) แบ่งเสียงออกเป็ น 5 เสียง Gamelan includes Slendro and Pelog separated by a
(Pentatonic Scale) ในหนึ่งช่วงเสียง (Octave) และระบบเสียง system of three forms. Tempo of Gamelan is divided into
แบบเปล็อค (Pelog) แบ่งเสียงออกเป็ น 7 เสียง ในหนึ่งช่วง five levels, from fast to slow. They are Irama Lancar,
เสียง (Octave) ส�ำหรับกลุม่ เสียง (Mode) ของวงดนตรีกาเม Irama Tanggung, Irama dados or Dadi, Irama Wilet and
ลัน (Gamelan) พบว่า มีทงั ้ ระบบสเลนโดร (Slendro) และ Irama rangkep.
ระบบเปล็อค (Pelog) โดยแยกออกเป็ นระบบละ 3 รูปแบบ
ส่วนอัตราจังหวะ (Tempo) ของวงดนตรีกาเมลัน (Gamelan) Keywords: Music, Gamelan, Indonesia
จะมีการแบ่งออกเป็ น 5 ระดับจากเร็วไปช้า คือ ไอรามะ ลันกา
(Irama Lancar) ไอรามะ แทงกัง (Irama Tanggung) ไอรามะ
ดาโดส หรือ ดาดิ (Irama dados or dadi) ไอรามะ ไวเลท
(Irama Wilet) และไอรามะ ลังเคป (Irama rangkep)

ค�ำส�ำคัญ: ดนตรี, กาเมลัน, อินโดนีเซีย


27

บทน�ำ วงดนตรีกาเมลัน (Gamelan Ensemble)

ประเทศอินโดนีเซีย เป็ นประเทศทีป่ ระกอบไปด้วย


หมูเ่ กาะต่างๆ มากมาย ซึง่ มีมากถึง 17,508 เกาะ โดยแบ่ง
เป็ นเกาะทีม่ คี นอยูอ่ าศัยประมาณ 6,000 เกาะ ส่วนทีเ่ หลือจะ
เป็ นเกาะร้างและอยูห่ า่ งไกลความเจริญ ไม่สามารถพัฒนาให้
เป็ นแหล่งชุมชนเพือ่ การอยูอ่ าศัยได้ โดยเมือ่ รวมพืน้ ทีท่ งั ้ หมด
ของประเทศอินโดนีเซียแล้ว จะมีพน้ื ทีโ่ ดยประมาณ
1,890,754 ตารางกิโลเมตร และมีจำ� นวนประชากรโดยการ ภาพที่ 1 วงดนตรีกาเมลัน (Gamelan Ensemble)
ประมาณการของสหประชาชาติรวมทัง้ สิน้ เกือบ 251,170,193 ที่มา : https://www.nch.ie/Online/Gamelan-Ensemble
คน โดยบรรดาประชากรทัง้ หมดของประเทศอินโดนีเซีย ยังมี
ความแตกต่างทางด้านรากเหง้า เชือ้ ชาติ วัฒนธรรม อุปนิสยั วงดนตรีกาเมลัน (Gamelan Ensemble) คือ วงดนตรีประจ�ำ
ใจคอ และส�ำเนียงภาษาพูดทีม่ มี ากถึง 538 ภาษา ทัง้ นี้ ชาติของประเทศอินโดนีเซีย เป็ นวงดนตรีทม่ี กี ารวางระบบ
ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศอินโดนีเซีย ร้อยละ 61 จะ เสียงทางด้านดนตรีได้อย่างละเอียดอ่อนและมีความประณีต
อาศัยอยูบ่ นเกาะชวา ส่วนทีเ่ หลือจะกระจายอาศัยกันอยูต่ าม เป็ นอย่างมาก ทัง้ นี้ เพราะใช้เครือ่ งดนตรีต่างๆ มากมายใน
หมูเ่ กาะต่างๆ มากน้อยแตกต่างกันไป ส่วนทางด้านการ การบรรเลง ไม่วา่ จะเป็ นฆ้อง ระนาด ทีท่ ำ� จากไม้หรือโลหะ
นับถือศาสนา ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่ นับถือศาสนาอิสลาม กลอง ขลุย่ เสียงขับร้อง รวมทัง้ เครือ่ งดนตรีประเภทอืน่ ๆ อีก
มากกว่าร้อยละ 87 นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 9.5 นับถือ เป็ นจ�ำนวนมาก โดยวิวฒั นาการของวงดนตรีกาเมลัน
ศาสนาฮินดู ร้อยละ 1.8 และนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 1.3 ซึง่ (Gamelan Ensemble) ได้เริม่ ขึน้ มาในระหว่างศตวรรษแรก
จากความแตกต่างทีก่ ล่าวมา ก็ไม่ได้เป็ นอุปสรรคในการ ก่อนคริสต์ศกั ราช เมือ่ กระแสคลืน่ ของผูอ้ พยพจากผืนแผ่นดิน
ปกครองประเทศ ทัง้ นี้ เพราะประชากรชาวอินโดนีเซียส่วน ใหญ่ในทวีปเอเชีย ได้น�ำเอาความเจริญก้าวหน้าในยุคสัมฤทธิ ์
ใหญ่ เข้าใจถึงเงือ่ นไขต่างๆ ของรัฐบาลเป็ นอย่างดี และเห็น มาสูห่ มูเ่ กาะแห่งนี้ ซึง่ จากหลักฐานการขุดพบวัตถุทท่ี ำ� จาก
พ้องรวมกันถึงความจ�ำเป็ น เพือ่ ให้เกิดความเป็ นเอกภาพของ เหล็กและสัมฤทธิ ์ ตลอดจนแหล่งผลิตท�ำให้ทราบได้วา่ โลหะ
ประเทศท่ามกลางความแตกต่าง (Unity in diversity) ซึง่ ความ นัน้ ๆ ไม่ได้มาจากแหล่งอืน่ ใดเลย แต่เป็ นการผลิตและใช้ใน
จ�ำเป็ นดังกล่าว ได้กลายมาเป็ นค�ำขวัญบนตราแผ่นดินของ เฉพาะทีเ่ ท่านัน้ ทัง้ นี้ เกาะชวา ถือได้วา่ เป็ นแหล่งผลิตเครือ่ ง
ประเทศอินโดนีเซีย คือ “ภินเนกา ตุงกัล อีกา” (Bhinneka สัมฤทธิ ์ขนาดใหญ่และก้าวหน้าทีส่ ดุ แห่งหนึ่งในภูมภิ าค และ
Tunggal lka) หมายถึง การสร้างความมันคงของประเทศชาติ
่ ยังเป็ นแหล่งศูนย์กลางการแพร่ขยายวัฒนธรรมการใช้สมั ฤทธิ ์
ส� ำ หรับ โครงสร้ า งทางสัง คมและวัฒ นธรรมของ ไปยังประเทศในคาบสมุทรมลายู ตลอดจนกลับไปยังพืน้ ทวีป
ประเทศอินโดนีเซียนัน้ มีลกั ษณะโครงสร้างทางสังคมและ อินโดจีนอันเป็ นแหล่งก�ำเนิดดัง้ เดิมอีกด้วย
วัฒนธรรมทีแ่ ตกต่างกันมาก ทัง้ นี้ เนื่องจากสภาพแวดล้อม จากการศึกษาของแจ๊บ คุนส์ (Jaap Kunst) นักมา
และทีต่ งั ้ ทางภูมศิ าสตร์ของประเทศอินโดนีเซีย มีลกั ษณะแยก นุษยดุรยิ างควิทยา สรุปไว้วา่ รูปแบบวงดนตรีกาเมลัน
กันเป็ นหมูเ่ กาะต่างๆ มากมาย และมีอาณาเขตกว้างใหญ่ (Gamelan Ensemble) ทีเ่ ป็ นรูปแบบเก่าแก่ทส่ี ดุ นัน้ จะเรียก
ไพศาล ประชากรสือ่ สารและติดต่อถึงกันได้ยากท�ำให้แต่ละ ว่าวงกาเมลัน มังแกง (Gamelan Munggang) โดยประกอบ
ภูมภิ าค ต่างก็มรี ปู แบบวัฒนธรรมเป็ นของตนเอง สอดคล้อง ด้วยเครือ่ งดนตรี 4 ชนิดเท่านัน้ คือ 1) โบนัง (Bonang) ฆ้อง
กับจรรย์สมร ผลบุญ (2558 : 102) ทีก่ ล่าวว่า วัฒนธรรมแต่ละ ขนาดใหญ่ วางเรียงกันบนแคร่ 2 แถว แบ่งเป็ นแถวละ 3 ใบ
สังคมย่อมมีความแตกต่างกันตามความเชือ่ ค่านิยม และวิถี ตัง้ เสียงห่างกันหนึ่งช่วงเสียง จ�ำนวน 2 ชุด 2) ก็องอาเก็ง
ชีวติ ของคนในสังคม บางครัง้ อาจมีการน�ำเอาวัฒนธรรมของ (Gong ageng) ฆ้องใบใหญ่ มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1
กลุม่ อื่นเข้ามาให้เข้ากับวัฒนธรรมของตนเองอยูเ่ สมอ ด้วย เมตรขึน้ ไป ซึง่ ให้เสียงทีม่ คี วามถีต่ ่ำ� มาก 3) โรเจะ (Rojeh) ฉิง่
เหตุน้ี จึงปรากฏลักษณะของวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม คูเ่ ช่นเดียวกับของไทย และ 4) เก็นดัง (Kendang) กลองใบ
ประเพณี และภาษาพูดทีเ่ หมือนและผิดแผกแตกต่างกันออก ใหญ่ วางตัง้ บนขาหยัง่ 2 ใบ ทัง้ นี้ โดยภาพรวมของเสียงทีไ่ ด้
ไป แต่อย่างไรก็ตามโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมของ จากการบรรเลงของวงกาเมลัน มังแกง (Gamelan Munggang)
อินโดนีเซีย ก็ยงั พอทีจ่ ะแสดงให้เห็นถึงแก่นของความเป็ น จะมีเสียงทีต่ ่ำ� มาก ซึง่ เครือ่ งดนตรีทม่ี นี ้อยชิน้ นี้ จึงเป็ นการ
ชนชาติ รวมถึงเอกลักษณ์ทางความคิด จิตวิญญาณ วิถกี าร รวมวงดนตรีทไ่ี ม่มคี วามสลับซับซ้อนเท่าใดนัก และยังพบว่ามี
ด�ำเนินชีวติ และประวัตศิ าสตร์ความเป็ นมาของชาว การน�ำวงกาเมลัน มังแกง (Gamelan Munggang) ไปใช้เพือ่
อินโดนีเซีย โดยการสืบทอดมาอย่างยาวนาน และถูกน�ำเสนอ ประกอบพิธกี รรมโบราณบางอย่างในหมูเ่ กาะชวา (ปญั ญา
ผ่านวงดนตรีทเ่ี รียกว่า “กาเมลัน” (Gamelan) รุง่ เรือง, 2551 : 46)
28

ภาพที่ 3 เก็มปูล (Kempul)


ภาพที่ 2 แจ๊บ คุนส์ (Jaap Kunst) ที่มา : http://collections.nmmusd.org
ที่มา : http://www.folkworld.de/34/p/jaap.jpg
1.2 เก็มปูล (Kempul) เป็ นฆ้องใช้แขวนกับขาตัง้ มี
เครื่องดนตรีของวงกาเมลัน (Gamelan Instruments) ขนาดเล็กจนถึงใหญ่ไล่เรียงกัน มีหลายระดับเสียงตัง้ แต่ 3 ใบ
ถึง 6 ใบ แขวนเรียงกัน
การจัดกลุ่มเครื่องดนตรีเป็ นสิง่ ทีม่ นุ ษย์คดิ ค้นขึน้ มา
อย่างเป็ นระบบ โดยกลุม่ ชนทีไ่ ม่มเี ครือ่ งดนตรีกจ็ ะไม่มกี ารจัด
กลุม่ ของเครือ่ งดนตรีนนั ้ ไว้ เมือ่ วัฒนธรรมต่างๆ ในโลกได้ม ี
การพัฒนาเพิม่ ขึน้ จึงเกิดเครือ่ งดนตรีต่างๆ ทีส่ ามารถจ�ำแนก
และจัดกลุม่ ได้มากขึน้ ถึงแม้จะไม่มใี ครทราบว่าการแบ่ง
ประเภทของเครือ่ งดนตรีเกิดขึน้ ได้อย่างไร แต่เราก็สามารถ
วิเคราะห์ได้ตามความต้องการของเรา โดยการแบ่งประเภท
เครื่องดนตรีกเ็ พื่อความเป็ นระเบียบในการจดจ�ำและง่ายต่อ ภาพที่ 4 เคนอง (Kenong)
การศึกษา ซึง่ จะช่วยให้เราเข้าใจและสามารถจดจ�ำเครือ่ ง ที่มา : http://collections.nmmusd.org
ดนตรีนนั ้ ๆ ได้อย่างลึกซึง้ มากยิง่ ขึน้
การจัดกลุ่มเครื่องดนตรีของประเทศอินโดนีเซียครัง้ 1.3 เคนอง (Kenong) เป็ นฆ้องขนาดใหญ่ มี
นี้ ได้ใช้ระบบการจัดประเภทของเครือ่ งดนตรีตามระบบของ ขอบฉัตรยาวและปุม่ นูนสูง คล้ายกับบาตรพระทีก่ ำ� ลังคว�่ำอยู่
ฮอนบอสเทล - ซัคส์ (Hornbostel – Sachs) นักมานุษยดุรยิ าง ใช้ไม้ตเี น้นลูกตกในท�ำนองหลักตามวรรคต่างๆ เล่นสลับ
ควิทยา ผูค้ ดิ ค้นการแบ่งประเภทเครือ่ งดนตรีออกเป็ นกลุม่ จังหวะกับเก็มปูล (Kempul) ตัง้ เสียงทัง้ ระบบเปล๊อก (Pelog)
ต่างๆ โดยระบบนี้ ถือเป็ นทีน่ ิยมและใช้กนั มากในปจั จุบนั โดย และสเลนโดร (Slendro) แต่ละลูกวางตัง้ บนเชือกทีร่ อ้ ยใน
เครื่องดนตรีในหมู่เกาะชวาส่วนใหญ่จะเป็ นเครื่องดนตรีทท่ี �ำ เฟรมขนาดใหญ่ มีหลายระดับเสียง
มาจากโลหะ ไม้ และไม้ไผ่ โดยเครือ่ งดนตรีแต่ละชนิด ก็จะมี
ลักษณะทีห่ ลากหลายและแตกต่างกันออกไป ซึง่ สามารถแบ่ง
ประเภทของเครือ่ งดนตรีได้เป็ นกลุม่ ต่างๆ ดังนี้
1. เครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบหรือเครื่อง
ตี (Idiophones)

ภาพที่ 5 เคตุ๊ก (Ketuk)


ที่มา : http://www.seasite.niu.edu
1.4 เคตุ๊ก (Ketuk) มีลกั ษณะเช่นเดียวกับเคนอง
(Kenong) แต่จะมีขนาดเล็กกว่า ส่วนใหญ่มใี บเดียววางบน
เชือกทีแ่ ขวนอยูบ่ นกล่องไม้เล็กๆ หรือวางบนไม้แกะสลักเป็ น
ภาพที่ 2 ก็องอาเก็ง (Gong – Ageng) รูปกบ ข้อแตกต่างระหว่างเคตุ๊ก (Ketuk) กับเคนอง (Kenong)
ที่มา : https://gamlan.files.wordpress.com คือ ขอบลูกฆ้องทีต่ ่างกัน ขอบของเคนอง (Kenong) จะสูงกว่า
ในขณะทีข่ อบของเคตุ๊ก (Ketuk) จะสัน้ และบางกว่า ส่วนฉัตร
1.1 ก็องอาเก็ง (Gong Ageng) เป็ นฆ้องประเภท ส่วนบนของลูกฆ้องก็จะแบนกว่าเช่นกัน
แขวนกับขาตัง้ ทีม่ ขี นาดใหญ่ มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1
เมตรขึน้ ไป ซึง่ ให้ความถีเ่ สียงทีต่ ่ำ� มาก โดยประมาณ 30-40
Hz
29

แบบนี้ หากตีโน้ตตัวใดลงไปแล้ว ต้องใช้มอื จับห้ามเสียง


กังวานพร้อมกันกับตีโน้ตตัวต่อไป

ภาพที่ 6 เคมยัง (Kempyang)


ที่มา : http://collections.nmmusd.org
ภาพที่ 9 เก็นเดอ บารัง (Gender barung)
1.5 เคมยัง (Kempyang) เป็ นฆ้องมีปมุ่ ขนาดเล็ก มี ที ่ ม า : https://homepagez.files.wordpress.com
ลูกฆ้อง 2 ลูก วางคูก่ นั โดยมีลกั ษณะป้อมเล็กกะทัดรัดกว่า เค
ตุ๊ก (Ketuk) และมีระดับเสียงทีส่ งู กว่า ใช้สำ� หรับระบบเสียง 1.8 เก็นเดอ (Gender) เป็ นระนาดโลหะ โดยวางเรียง
แบบเปล็อก (Pelog) เท่านัน้ กันเป็ นแผงบนราง เก็นเดอ (Gender) จะมี 3 ขนาด แบ่งตาม
ช่วงระดับเสียงสูงต�่ำ โดยขนาดใหญ่สดุ เรียกว่า “เก็นเดอ ปา
เนมบัง” (Gender panembung) ขนาดกลางเรียกว่าเก็นเดอ
บารัง (Gender barung) และขนาดเล็กเรียกว่า เก็นเดอ พาเน
รัส (Gender panerus) โดยทัวไปแล้ ่ วจะพบขนาดกลางและ
ขนาดเล็กมากกว่า ใช้ไม้ตหี วั กลมแบน ตีลงบนลูกระนาด และ
ใช้เทคนิคการห้ามเสียงทีซ่ บั ซ้อนมาก
ภาพที่ 7 โบนัง (Bonang)
ที่มา : http://collections.nmmusd.org

1.6 โบนัง (Bonang) คือ ฆ้องราง มีลกู ฆ้องหลาย


ระดับเสียง วางเรียงกันเป็ นแถวยาวจ�ำนวน 2 แถว มี 10-12
ลูกฆ้อง ใช้ไม้ขนาดยาวพันเชือกหุม้ ปลายแบบไม้ฆอ้ งมอญ ตี
สลับมือซ้ายขวาหรือพร้อมกัน บรรเลงเป็ นท�ำนอง โบนัง ภาพที่ 10 กัมบัง (Gambang)
(Bonang) มี 3 ขนาด แบ่งตามช่วงเสียงสูงต�่ำ ขนาดทีใ่ หญ่ ที่มา : http://collections.nmmusd.org
ทีส่ ดุ เรียกว่าโบนัง ปาเนมบุง (Bonang panembung) ขนาด
กลางเรียกว่าโบนัง บารัง (Bonang barung) และขนาดเล็ก 1.9 กัมบัง (Gambang) มีลกั ษณะเหมือนกับระนาด
เรียกว่าโบนัง ปาเนรุส (Bonang panerus) ทีน่ ิยมใช้มากคือ ไม้ มี 17-23 ลูก ลูกระนาดท�ำด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้สนทะเล
ขนาดกลางและขนาดเล็ก ไม้บุนนาค (ไม้หมอนรถไฟ) แขวนบนรางไม้แกะสลักอย่าง
สวยงาม ไม้ตที ำ� ด้วยเขาควายมี 2 อัน ลูกระนาดในแต่ละชุดมี
ช่วงเสียงมากกว่า 3 ช่วงเสียง เวลาตีไม่ตอ้ งกดเสียง

ภาพที่ 8 ซารอน (Saron)


ทีม่ า : http://collections.nmmusd.org

1.7 ซารอน (Saron) คือ ระนาดเหล็ก มี 3 ขนาด ใช้ ภาพที่ 11 สเลนทุม (Slenthum)
เล่นท�ำนองหลักของเพลง ขนาดใหญ่สดุ เรียกว่า ซารอน เดมุง ที่มา : http://www.mimo-db.eu
(Saron demung) ขนาดกลางเรียกว่าซารอน บารัง (Saron
barung) และขนาดเล็กเรียกว่าซารอน ปาเนรุส หรือเปกิง 1.10 สเลนทุม (Slenthum) ระนาดท่อใหญ่ ลักษณะ
(Saron panerus or Peking) แต่ละขนาดมีลกู ระนาด 7 ลูก (1 เป็ นลูกระนาดโลหะแผ่นบาง 7 ลูก วางเรียงเป็ นแผงบนราง มี
Octave) จึงมีเสียงทีล่ ดหลันกั
่ นไป ซารอน (Saron) ขนาดใหญ่ ท่อไม้ไผ่หรือท่อเหล็กรองรับข้างใต้เพือ่ ช่วยขยายความกังวาน
และกลางจะใช้ไม้ตี รูปร่างเป็ นค้อนไม้ หัวกลมมน ส่วนขนาด ของเสียงแบบระนาดฝรัง่ มีเสียงทุม้ ต�่ำใช้ไม้ตหี วั กลมแบน
เล็กใช้ไม้ตรี ปู ค้อนแหลมท�ำจากเขาสัตว์ ซารอน (Saron) ทัง้ 3 ขนาดใหญ่ ใช้วธิ ตี แี ละห้ามเสียงแบบซารอน (Saron)
30

2 . เ ค รื่ อ ง ด น ต รี ป ร ะ เ ภ ท เ ค รื่ อ ง ส า ย 3. เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่ า (Aerophones)


(Chordophones)

ภาพที่ 12 รีบบั (Rebab)


ที่มา : https://upload.wikimedia.org ภาพที่ 15 ซูลงิ (Suling)
ที่มา : http://3.bp.blogspot.com
2.1 รีบบั (Rebab) มีลกั ษณะคล้ายซอสามสายของ
ไทย โดยตัง้ เสียงเป็ นคู่ 5 คันชักอิสระจากตัวเครือ่ ง ในอดีต 3.1 ซูลงิ (Suling) คือ ขลุย่ ไม้ไผ่มปี าก ใช้เปา่ ในแนว
กะโหลกซอจะท�ำและแกะจากไม้เนื้อแข็ง แต่ในปจั จุบนั ท�ำจาก ดิง่ มีหลายขนาดต่างกันออกไป เป็ นเครือ่ งดนตรีทเ่ี ล่นเสียงสูง
กะลามะพร้าว ในวงกาเมลันเต็มรูปแบบจะมีการใช้รบี บั ประดับประดาช่วงสัน้ ๆ โดยเล่นไม่ตรงจังหวะ ซึง่ ถือว่าเป็ น
(Rebab) จ�ำนวน 2 คัน โดยตัง้ เสียงเป็ นระบบสเลนโดร เครื่องเป่าเพียงชนิดเดียวทีย่ งั พบเห็นประกอบอยู่ในวงกาเม
(Slendro) และระบบเปล็อค (Pelog) อย่างละคัน แต่การเล่น ลันปจั จุบนั
นัน้ จะไม่เล่นทัง้ สองคันแบบพร้อมกัน
4 . เ ค รื่ อ ง ด น ต รี ป ร ะ เ ภ ท เ ค รื่ อ ง ห นั ง
(Membranophones)

ภาพที่ 13 เซเลมปงั (Celempung)


ที่มา : http://larkinam.com/litmimages/str213.jpg
ภาพที่ 16 เก็นดัง (Kendang)
2.2 เซเลมปงั (Celempung) เป็ นเครือ่ งดนตรี ที่มา : http://collections.nmmusd.org
ประเภททีใ่ ช้ดดี มีสาย 26 สาย จับคูเ่ ป็ น 13 คูเ่ สียง มีหย่อง
ตรงกลาง รูปลักษณะได้รบั อิทธิพลมาจากอาหรับ เป็ นเครือ่ ง 4.1 เก็นดัง (Kendang) เป็ นกลองสองหน้าท�ำจากไม้
ดนตรีทป่ี ระกอบอยูใ่ นวงกาเมลัน หากเป็ นการรวมวงขนาด ขนุน ขึงตึงด้วยหนังวัวหรือแกะ มีหลายขนาดแตกต่างกัน โดย
ใหญ่และสมบูรณ์แบบ จะใช้เซเลมปงั (Celempung) จ�ำนวน 2 ใบใหญ่สดุ เรียกว่าเก็นดัง เก็นดิง (Kendhang Kendhing) ใบ
ตัว โดยจะตัง้ เสียงทัง้ แบบระบบแบบเปล็อค (Pelog) และแบบ กลางเรียกว่าซิบลอน (Ciblon) และใบเล็กเรียกว่าเคติปงั
สเลนโดร (Slendro) หากเป็ นการรวมวงโดยทัวไปอาจจะมี ่ (Ketipung) กลองใบใหญ่และใบกลางจะวางตัง้ บนขาหยัง่ ส่วน
หรือไม่มกี ไ็ ด้ ใบเล็กจะวางบนตักใช้มอื ตี โดยส่วนใหญ่เล่นโดยผูน้ �ำวงเพือ่
เป็ นการให้สญ
ั ญาณกับนักดนตรี ก�ำหนดการเปลีย่ นจังหวะ

ภาพที่ 14 เคซาปี (Kecapi)


ที่มา : http://peluangbisnis89.files.wordpress.com

2.3 เคซาปี (Kecapi) เป็ นเครือ่ งสายชนิดหนึ่งของชน


เผ่าบาตัก (Batak) อาศัยอยูใ่ นแถบเกาะสุมาตรา มีสาย 2 สาย
สูงประมาณ 31 นิ้ว บางอันด้านหัวและด้านท้ายมีการแกะสลัก
เป็ นรูปนักรบโบราณ ภาพที่ 17 เบ็ดฮัก (Bedhug)
ที่มา : http://collections.nmmusd.org
31

4.2 เบ็ดฮัก (Bedhug) เป็ นกลองสองหน้าขนาดใหญ่ แตกต่างๆ กัน และมีระดับเสียงทีต่ ่างกัน ระนาดกัมบัง
หน้ากลองขึงด้วยหนังวัวหรือหนังควาย ยึดหน้ากลองโดยการ (Gambang) หลายช่วงเสียง เซเลมปงั (Celempung) และกล
ั่
ตอกหมุดฝงตรงขอบกลอง รูปร่างลักษณะเหมือนกับกลองทัด องเก็นดัง (Kendang)
ของไทย และใช้ไม้ตเี หมือนกลองทัวๆ ่ ไป โดยจะใช้บรรเลง 2. วงกาเมลัน เจมบลัง (Gamelan
ร่วมในวงกาเมลัน มังแกง (Gamelan Munggang) ซึง่ เป็ นวง jemblung) ประกอบด้วย ปี่ไม้ไผ่บมั บัง (Bumbung) ซารอน
ดนตรีแบบโบราณ บางโอกาสใช้ตปี ระกอบการเต้นทีเ่ รียกว่า (Saron) เคนอง (Kenong) เคตุ๊ก (Ketuk) ปล้องไม้ไผ่ใช้เคาะ
Male Combat Dance หรือใช้ในการประกอบเพลงละครฟ้อนร�ำ และกลองเก็นดัง (Kendang)
3. วงกาเมลัน กัมเบง (Gamelan gumbeng)
การรวมวงกาเมลัน (Gamelan ensembles) ประกอบด้วย ปี่ไม้ไผ่บมั บัง (Bumbung) ปล้องไม้ไผ่ใช้เคาะ
และเครื่องสายทีข่ งึ สายบนกระบอกไผ่ใช้ไม้ตที ส่ี ายเรียกว่าเค
การรวมวงกาเมลัน (Gamelan ensembles) จะมี เต็ง เคเต็ง (Keteng – Keteng)
การน�ำเอาเครือ่ งดนตรี 2 กลุม่ เข้ามาประกอบ ดังนี้ นอกจากนี้ ยังพบว่ามีวงดนตรีพน้ื บ้านอืน่ ๆ อีก เช่น
1. กลุม่ เครือ่ งหนัก จะมีเสียงทีค่ อ่ นข้างทุม้ และ วงคาลุง (Calung) ใช้ระนาดทีเ่ รียกว่ากาลุง 3 ตัว กลองเก็นดัง
ดัง ประกอบด้วย เก็มปูลและก็องอาเก็ง (Kempul and Gong (Kendang) และปี่ไม้ไผ่เสียงต�่ำแทนฆ้อง หรือ วงเคโตปรัก
ageng) เคนอง (Kenong) เคตุ๊ก (Ketuk) เคมยัง (Kempyang) (Ketoprak) ใช้ในการแสดงการละเล่นของชาวบ้าน มีการ
โบนัง (Bonang) และซารอน (Saron) นอกจากนี้ ยังมีเครือ่ ง พัฒนาจากการใช้เพียงสากต�ำข้าว 3 – 5 แท่ง ในระดับเสียง
ดนตรีประเภทกลองอีกหลายขนาด เช่น เก็นดัง เก็นดิง ต่างๆ กัน และขลุย่ ซูลงิ (Suling) มาผสมเครือ่ งดนตรี เช่น
(Kendhang Kendhing) ซิบลอน (Ciblon) เคติปงั (Ketipung) ฆ้องเคนอง (Kenong) กลองเก็นดัง (Kendang) และซอรีบบั
และเบ็ดฮัก (Bedhug) เป็ นต้น (Rebub) เป็ นต้น วัฒนธรรมไม้ไผ่ในวงพืน้ บ้านอีกชนิดทีพ่ บ
2. กลุม่ เครือ่ งเบา จะมีเสียงทีค่ อ่ นข้างเบานุ่ม ได้ทวไปในหมู
ั่ เ่ กาะอินโดนีเซียก็คอื วงอังกะลุง (Angklung
นวล ประกอบด้วย กัมบัง (Gambang) ซูลงิ (Suling) รีบบั ensemble) โดยอังกะลุง เป็ นเครือ่ งดนตรีดงั ้ เดิมของชวา ท�ำ
(Rebab) เซเลมปงั (Celempung) ซิเตอร์ (Siter) สเลนทุม ด้วยกระบอกไม้ไผ่มขี นาดต่างๆ และในปจั จุบนั ได้มกี ารพัฒนา
(Slenthum) เก็นเดอ (Gender) เป็ นต้น ปรับเสียงของอังกาลุงให้เป็ นแบบตะวันตก คือ มีระบบครึง่
ทัง้ นี้ วงกาเมลัน (Gamelan ensembles) เครือ่ งหนัก เสียง (Semitone) ซึง่ สามารถเขย่าเป็ นคูเ่ สียงและคอร์ดได้ใน
เสียงดัง จะเป็ นกลุม่ เครือ่ งดนตรีทน่ี �ำไปใช้ในการประโคมใน ชิ้นเดียวกันและยังเป็ นเครื่องดนตรีชนิดเดียวกันกับอังกะลุง
พิธมี งคลต่างๆ โดยใช้บรรเลงในปริมณฑลของราชส�ำนัก เรียก ของไทยทีไ่ ทยได้รบั เอาแบบอย่างมาจากอินโดนีเซีย อังกะลุง
ว่า “เกราติน” (Keratin) และตามสถานทีเ่ ป็ นทางการทัวไป ่ ของชวาจะต่างจากอังกะลุงไทย คือ จะมีแค่ 2 กระบอก แต่ของ
รวมถึงเป็ นวงที่ใช้ประโคมส�ำหรับการร่ายร�ำชัน้ สูงและการ ไทยมี 3 กระบอก โดยการถือด้วยมือแล้วใช้อกี มือแกว่งไป
แสดงหนังเงาของวงวายัง กูลติ (Wayang Kulit) ในฉากทีเ่ น้น ข้างๆ ไม่ใช้การเขย่าแบบของไทย วงดนตรีพน้ื บ้านมักจะใช้
ความดุเดือดเร้าใจ ส่วนกลุม่ เครือ่ งเบาเสียงเบา จะใช้ประกอบ ตัง้ แต่ 4 ตัวขึน้ ไป จนถึงวงขนาดใหญ่ทม่ี มี ากกว่า 40 ชิน้ ใน
การขับร้องเดีย่ วของนักร้อง การอ่านท�ำนองเสนาะทีเ่ รียกว่า ปจั จุบนั
“มาคาปตั ” (Macapat) ประกอบการเล่นเพลงแสดงทักษะชัน้ วงดนตรีพน้ื เมืองในชวาตะวันตก
สูงและการแสดงหนังเงาในฉากทีเ่ น้นความสงบสุขุมหรือการ เขตชวาตะวันตก จะเป็ นวัฒนธรรมดนตรี
บรรยายทีต่ อ้ งใช้สมาธิในการฟงั สูง ท�ำนองทีพ่ วกเครือ่ งเบา ของชาวซุนดรา (Sudanese music) วงกาเมลันแบบซุนดรา
เล่นมักจะเป็ นท�ำนองทีส่ วยงาม ในขณะทีท่ ำ� นองทีพ่ วกเครือ่ ง จะใช้เครือ่ งดนตรีของชวากลาง คือ ซารอน (Saron) กัมบัง
เสียงดังบรรเลงมักจะเป็ นท�ำนอกหลักและเสียงตกส�ำคัญของ (Gambang) โบนิง (Boning) เก็นเดอ (Gender) ฆ้องขนาด
เพลง ใหญ่ (Gong) หรือ ฆ้องเก็มปูล (Kempul) นอกจากนัน้ ยังใช้
นอกจากการรวมวงในราชส�ำนักแล้ว ในรูปแบบของ เครือ่ งดนตรีประเภทจะเข้ (Zither) ทีเ่ รียกว่าคาซาปี (Kacapi)
การเล่นดนตรีของชาวบ้าน ก็มกี ารรวมวงทีห่ ลากหลายเช่นกัน ขลุย่ ซูลงิ (Suling) ซอรีบบั (Rebub) และซอไม้ทเ่ี รียกว่าทารา
ข้อแตกต่างทีส่ ำ� คัญประการหนึ่งก็คอื วงดนตรีกาเมลัน วังซา (Tarawangsa)
(Gamelan ensembles) แบบชาวบ้าน มักจะไม่ได้มเี ครือ่ ง วงดนตรีพน้ื เมืองในชวาตะวันออก
ดนตรีสมั ฤทธิเป็ ์ นหลักแบบราชส�ำนัก แต่จะใช้วสั ดุพน้ื บ้านที่ เขตชวาตะวันออก มักเรียกรูปแบบของ
ส�ำคัญก็คอื ไม้ไผ่ (Bamboo) ซึง่ ได้เข้ามาเป็ นวัสดุพน้ื บ้านที่ ดนตรีราชส�ำนักว่า กาเมลัน ฮาลัส (Gamelan halus) ซึง่
ชาวบ้านน�ำมาใช้ประกอบเป็ นเครือ่ งดนตรี จนกลายมาเป็ น เป็ นการรวมวงแบบเดียวกันกับวงดนตรีราชส�ำนักในชวากลาง
วัฒนธรรมทีเ่ รียกว่า Bamboo culture ซึง่ ก็เป็ นเอกลักษณ์ท่ี และจะเรียกวงกาเมลันพืน้ บ้านว่ากาเมลัน คาเซอ (Gamelan
ส�ำคัญอีกประการหนึ่งของวิถชี วี ติ ในชนบทแถบเอเชียตะวัน kaser) วงดนตรีประเภทคาเซอ (Kaser) นี้ มักจะแบ่งไปตาม
ออก (Terry Miller and Andrew Shahriari, 2006 : 144-145) การละเล่นหรือการแสดงต่างๆ เช่น กาเมลัน เรยอก (Gamelan
ลักษณะวงดนตรีพน้ื เมืองบนเกาะชวา reyog) จะใช้ประกอบการแสดงเรยอก ซึง่ ประกอบด้วย ปี่เซล
วงดนตรีพน้ื เมืองบนเกาะชวากลาง ประกอบด้วย อมเปต (Selompret) อังกะลุง 2 ตัว กลองสามชนิด คือ เก็นดัง
1. วงกาเมลัน บัมบัง (Gamelan bumbung) (Kendang) เทอบัง (Terbang) เคติปงั (Ketipung) เคนอง
ประกอบด้วย ปล่องไม้ไผ่ทใ่ี ช้เคาะจ�ำนวนมาก โดยมีขนาดที่ (Kenong) และเคตุ๊ก (Ketuk) นอกจากนี้ ยังมีวงดนตรีทเ่ี รียก
32

ว่ากาเมลัน ซาโรเนน (Gamelan saronen) ทีใ่ ช้สำ� หรับในการ ของดนตรี จะขึน้ อยูก่ บั กลุม่ วัฒนธรรมต่างๆ ทีจ่ ะสามารถ
แข่งขันวัวชนของชาวชวาตะวันออก โดยมีเครือ่ งดนตรีชนิด แสดงเอกลักษณ์ ของกลุ่มชาติพนั ธุ์ตนเองได้จากเสียงโหมด
ต่างๆ เช่น ปี่ซาโรเนน (Saronen) เคตุ๊ก (Ketuk) เก็นดัง (Mode) และบันใดเสียง (Scale) การตัง้ เสียงให้เข้ากันมักเป็ น
(Kendang) และขลุย่ บัมบัง (Bumbung) อิทธิพลทีม่ าจากตระกูลของนักดนตรี กลุม่ ช่างดนตรี หมูบ่ า้ น
นอกจากวงดนตรีพ้นื บ้านดังกล่าวข้างต้นในทัวทุ ่ ก กลุม่ ชน ตลอดจนราชส�ำนักทีส่ ำ� คัญๆ เป็ นหลัก นอกจากนี้
ภูมภิ าคของเกาะชวาแล้ว ยังปรากฏพบลักษณะของการรวม ภาษาของแต่ละเชือ้ ชาติ ก็ยงั ส่งผลต่อระบบเสียงดนตรี ถึง
วงดนตรีในรูปแบบง่ายๆ เพือ่ ใช้ในการบรรเลงเพลงพืน้ บ้าน แม้วา่ บางระบบเสียงดนตรีอาจดูคล้ายกันมาก แต่ในด้าน
ทัวไปอี
่ กมากมาย ตามประเพณีและวัฒนธรรมของหมูบ่ า้ น ความถีแ่ ล้วแตกต่างกันออกไป โดยระบบเสียงดนตรีของ
หรือกลุม่ ชนต่างๆ ตลอดจนการน�ำเอาเครือ่ งดนตรีตะวันตก อินโดนีเซีย จะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ สเลนโดร (Slendro)
ต่างๆ เข้ามาผสมผสาน รวมถึงเครือ่ งดนตรีจากอาหรับ อินเดีย และ เปล็อค (Pelog) (Terry Miller and Sean William, 1998:
และจีน เป็ นทีน่ ่าสังเกตว่า ดนตรีในชวาจะไม่มกี ารใช้แคน ซึง่ 656-657)
เป็ นเครื่องดนตรีลมทีอ่ าศัยการสันของลิ
่ น้ ทีเ่ ป็ นโลหะมักจะท�ำ 1. ระบบเสียงแบบสเลนโดร (Slendro)
จากเงินหรือสัมฤทธิ ์ ดังนัน้ วัฒนธรรมดนตรีแคน จึงมิได้ขา้ ม เป็ นระบบเสียงทีม่ คี วามเก่าแก่ทส่ี ดุ โดย
ทะเลไปถึงยังหมูเ่ กาะชวา อินโดนีเซีย แต่พบการใช้แคนใน สัน นิ ษ ฐานว่ า น่ า จะมีก ารเริ่ ม ต้ น ใช้ ง านมาตัง้ แต่ ใ นสมัย
กลุม่ คาบสมุทรมลายูและเกาะบอร์เนียว ไปจนถึงภาคพืน้ ที่ ศตวรรษที่ 6-7 ซึง่ พัฒนามาจากระบบ 3 เสียงเดิม โดยในหนึ่ง
เป็ นแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชียเท่านัน้ (Terry Miller and ช่วงเสียง (Octave) จะแบ่งออกเป็ น 5 เสียง (Pentatonic
Andrew Shahriari, 2006: 148-149) Scale) โดยเสียงทุกเสียง เกือบจะมีระยะความห่างของเสียง
เท่าๆ กันหมด เสียงทีเ่ กิดขึน้ จะให้ความรูส้ กึ มีชวี ติ ชีวาและ
ระบบเสียงกาเมลัน (Gamelan Tuning Systems) โดยปกติแล้ว ระบบเสียงแบบสเลนโดร (Slendro) นี้ จะใช้
ประกอบการแสดงหนังตะลุงหรือหุ่นกระบอกในเรื่องรามาย
ระบบเสียงดนตรีของวงกาเมลัน (Gamelan) ประเทศ ณะและมหาภารตะเป็ นส่วนใหญ่ โดยลักษณะของระบบเสียง
อินโดนีเซีย มีลกั ษณะทีแ่ ตกต่างจากระบบเสียงดนตรีของ แบบสเลนโดร (Slendro) จะมีลกั ษณะโครงสร้างของเสียงเมือ่
ตะวันตก เช่นเดียวกับลักษณะทางดนตรีของกลุม่ ประเทศ เทียบกับระบบเสียงแบบโครมาติก (Chromatic) ของดนตรี
ต่างๆ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวคือการตัง้ เสียง ตะวันตก ตามระบบการวัดแบบ Cent จะได้ ดังนี้

ตารางที่ 1 ตารางเปรียบเทียบระบบเสียงสเลนโดร (Slendro) กับระบบเสียงโครมาติก (Chromatic)

ที่มา : ปญั ญา รุง่ เรือง. (2551). เอกสารประกอบการสอนวิชาดนตรีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบระดับเสียงระหว่างระบบเสียงสเลนโดร (Slendro) กับระบบเสียงโครมาติก (Chromatic)

ที่มา : ตารางโดยผูเ้ ขียน อาทิตย์ โพธิศรี


์ ทอง
33

2. ระบบเสียงแบบเปล็อค (Pelog)
ค�ำว่า “เปล็อค” (Pelog) เป็ นค�ำทีเ่ พีย้ นมาจากค�ำว่า “เปแล็ก” (Pelag) ซึง่ เป็ นภาษาชวาดัง้ เดิม หมายถึง ดี
สวยงาม วิจติ ร ใช้เรียกระบบเสียงทีพ่ ฒ
ั นามาจากระบบสเลนโดร (Slendro) โดยมีการเริม่ ใช้มาตัง้ แต่สมัยศตวรรษที่ 12 โดยหนึ่ง
ช่วงเสียง (Octave) แบ่งออกเป็ น 7 เสียงย่อย เสียงทีเ่ กิดขึน้ จะมีลกั ษณะคล้ายกับระบบเสียงไมเนอร์ (Minor) ของดนตรีตะวันตก
โดยลักษณะของระบบเสียงเปล็อค (Pelog) จะมีลกั ษณะโครงสร้างของเสียงเมือ่ เทียบกับระบบเสียงแบบโครมาติก (Chromatic)
ของดนตรีตะวันตก ตามระบบการวัดแบบ Cent จะได้ ดังนี้

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบระบบเสียงเปล็อค (Pelog) กับระบบเสียงโครมาติก (Chromatic)

ที่มา : ปญั ญา รุง่ เรือง. (2551). เอกสารประกอบการสอนวิชาดนตรีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ตารางที่ 4 เปรียบเทียบระดับเสียงระหว่างระบบเสียงเปล็อค (Pelog) กับระบบเสียงโครมาติก (Chromatic)

ที่มา : ตารางโดยผูเ้ ขียน อาทิตย์ โพธิศรี


์ ทอง

ระบบกลุ่มเสียง (Mode) 1.2 ปาเต็ด เนม (Patet Nem)


ใช้เสียงต�ำแหน่งที่ 2-1-6-5
ระบบกลุม่ เสียง (Mode) ของดนตรีกาเมลัน 1.3 ปาเต็ด บารัง (Patet barang)
(Gamelan) จะมีการสร้างกลุม่ เสียงทัง้ ของระบบแบบสเลนโดร ใช้เสียงต�ำแหน่งที่ 3-2-7-6
(Slendro) และแบบเปล็อค (Pelog) เพือ่ ใช้ในการบรรเลงเพลง การแบ่งกลุม่ เสียง (Mode) ในระบบเสียงของดนตรี
โดยแยกออกเป็ นระบบละ 3 รูปแบบ ดังนี้ อินโดนีเซียจะมีอยูห่ ลายรูปแบบ ทัง้ นี้ เพราะการแสดงหนัง
1. กลุม่ เสียง (Mode) ระบบสเลนโดร (Slendro) ของชวาและการบรรเลงดนตรีในแต่ละกลุม่ เสียง (Mode) จะ
แบ่งได้ ดังนี้ ต้องมีความสัมพันธ์กบั ช่วงเวลาและสถานที่ ส่วนการเปลีย่ น
1.1 ปาเต็ด เนม (Patet Nem) ระบบเสียงจะสามารถช่วยเปลีย่ นอารมณ์ความรูส้ กึ ของผูฟ้ งั
ใช้เสียงต�ำแหน่งที่ 6-5-3-2 ดนตรีได้ ทัง้ นี้ โดยปกติ ปาเต็ด (Patet) แต่ละระบบของระบบ
1.2 ปาเต็ด เซนโก (Patet Sango) เสียงแบบสเลนโดร (Slendro) จะใช้บรรเลงช่วงเวลาย�่ำค�่ำถึง
ใช้เสียงต�ำแหน่งที่ 2-1-6-5 รุง่ สาง บางปาเต็ด (Patet) อาจจะใช้บรรเลงยาวเป็ นพิเศษแตก
1.3 ปาเต็ด แมนยูรา (Patet Manyura) ต่างกันไป (Terry Miller and Sean William, 1998: 657)
ใช้เสียงต�ำแหน่งที่ 3-2-1-6
2. กลุม่ เสียง (Mode) ระบบเปล็อค (Pelog)) อัตราจังหวะ (Tempo) ของวงดนตรีกาเมลัน (Gamelan
แบ่งได้ ดังนี้ Ensemble)
1.1 ปาเต็ด ลิมา (Patet Lima)
ใช้เสียงต�ำแหน่งที่ 5-4-2-1 หรือ 5-3-2- อัตราจังหวะ (Tempo) ของวงดนตรีกาเมลัน
1 (Gamelan Ensemble) ได้มกี ารก�ำหนดรูปแบบและกรอบของ
34

อัตราจังหวะไว้อย่างชัดเจน โดยอัตราจังหวะต่างๆ นัน้ จะถูก กลาง โดยจะต้องเล่นท�ำนองเพลงให้ได้ 4 ตัวโน้ต ต่อการตี


ก� ำ หนดด้ ว ยกลุ่ ม เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทกลองเก็ น ดั ง เครือ่ งควบคุมจังหวะ 1 ครัง้
(Kendhang) และกลุม่ เครือ่ งประกอบจังหวะต่างๆ เช่น เคนอง 3. อัตราจังหวะไอรามะ ดาโดส หรือ ดาดิ (Irama
(Kenong) เก็มปูล (Kempul) ฆ้อง (Gong) เคมยัง (Kempyang) dados or dadi) เป็ นลักษณะอัตราจังหวะระดับปานกลางไม่ชา้
เป็ นต้น โดยอัตราจังหวะแต่ละประเภทนัน้ จะต้องมีความ และเร็วจนเกินไป โดยจะต้องเล่นท�ำนองเพลงให้ได้ 8 ตัวโน้ต
สัมพันธ์กบั ลักษณะของท่วงท�ำนองทีเ่ ป็ นท�ำนองหลัก ซึง่ อัตรา ต่อการตีเครือ่ งควบคุมจังหวะ 1 ครัง้
จังหวะนัน้ ชาวชวาจะเรียกว่า “อิรามะ” (Irama) โดยสามารถ 4. อัตราจังหวะไอรามะ ไวเลท (Irama Wilet)
แบ่งออกเป็ น 5 ระดับ ดังนี้ เป็ นลักษณะอัตราจังหวะระดับทีค่ อ่ นข้างช้าไม่รบี ร้อน โดยจะ
1. อัตราจังหวะไอรามะ ลันกา (Irama Lancar) ต้องเล่นท�ำนองเพลงให้ได้ 16 ตัวโน้ต ต่อการตีเครือ่ งควบคุม
เป็ นลักษณะอัตราจังหวะทีม่ คี วามเร็วมากทีส่ ดุ โดยจะต้องเล่น จังหวะ 1 ครัง้
ท�ำนองเพลงให้ได้ 2 ตัวโน้ต ต่อการตีเครือ่ งควบคุมจังหวะ 1 5. อัตราจังหวะไอรามะ รังเคป (Irama rangkep)
ครัง้ เป็ นลักษณะอัตราจังหวะทีอ่ ยูใ่ นระดับช้ามาก โดยจะต้องเล่น
2. อัตราจังหวะไอรามะ ทังกัง (Irama ท�ำนองเพลงให้ได้ 32 โน้ต ต่อการตีเครือ่ งควบคุมจังหวะ 1
Tanggung) เป็ นลักษณะอัตราจังหวะทีม่ คี วามเร็วระดับปาน ครัง้

ตารางที่ 5 อัตราจังหวะ (Tempo) ของวงดนตรีกาเมลัน (Gamelan Ensemble)

ที่มา : https://en.wikipedia.org/wiki/Irama

บทสรุป ensembles) นัน้ พบว่า ได้มกี ารน�ำเอาเครือ่ งดนตรี 2 กลุม่


เข้ามาประกอบรวมกันเป็ นวงดนตรีขน้ึ มา คือ กลุม่ เครือ่ ง
ประเทศอินโดนีเซีย เป็ นประเทศทีม่ คี วามหลาก ดนตรีเครือ่ งหนักทีม่ เี สียงค่อนข้างทุม้ ดัง และกลุม่ เครือ่ งดนตรี
หลาย ประกอบไปด้วยดินแดนสองส่วนใหญ่ คือ ดินแดนภาค เครือ่ งเบาทีม่ เี สียงทีค่ อ่ นข้างเบานุ่มนวล
พืน้ ทวีป (Mainland Southeast Asia) และดินแดนภาคพืน้ ส�ำหรับระบบเสียง (Tuning Systems) ของวงดนตรี
มหาสมุทร (Peninsular Southeast Asia) มีหมูเ่ กาะต่างๆ กาเมลัน (Gamelan Ensemble) ก็ถอื ว่ามีความโดดเด่นเป็ น
มากมายกว่า 17,508 เกาะ และมีประชากรกระจายตัวกันอยู่ เอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยจะแบ่งระบบเสียงทีใ่ ช้ในการบรรเลง
ในหมูเ่ กาะต่างๆ อยูเ่ ป็ นจ�ำนวนมาก และเนื่องด้วยลักษณะ ออกเป็ น 2 ระบบตามงานแสดงหรือพิธกี าร คือ ระบบสเลนโดร
ทางภูมศิ าสตร์ทม่ี คี วามแตกต่างกันมาก จึงท�ำให้ประเทศ (Slendro) ซึง่ เป็ นระบบเสียงทีม่ คี วามเก่าแก่ทส่ี ดุ โดยในหนึ่ง
อินโดนีเซียมีความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม ความเป็ น ช่วงทบเสียง (Octave) จะแบ่งเสียงออกเป็ น 5 เสียง
อยู่ เชือ้ ชาติ ศาสนา และวิถชี วี ติ แต่สงิ่ หนึ่งทีส่ ะท้อนให้เห็นถึง (Pentatonic Scale) โดยเสียงทุกเสียงจะมีระยะห่างของเสียง
เอกลัก ลัก ษณ์ แ ละความเป็ น ประเทศอิน โดนี เ ซีย ได้อ ย่ า ง เท่ากันหมด ซึง่ ระบบนี้จะมีลกั ษณะการวางระบบเสียงเช่น
ชัดเจนก็คอื “กาเมลัน” (Gamelan) เดียวกับระบบเสียงของไทยในบางบทเพลง คือ ระบบ 5 เสียง
กาเมลัน (Gamelan) คือ วงดนตรีประจ�ำชาติของ (Pentatonic Scale)และระบบเสียงแบบเปล็อค (Pelog)
ประเทศอินโดนีเซีย เป็ นวงดนตรีทม่ี เี อกลักษณ์ทงั ้ ทางด้าน เป็ นการพัฒนาระบบเสียงมาจากระบบสเลนโดร (Slendro)
เครื่องดนตรีและรูปแบบการบรรเลงที่มคี วามประณีตงดงาม โดยในหนึ่งช่วงทบเสียง (Octave) จะแบ่งออกเป็ น 7 เสียง
ตามแบบวิถชี วี ติ ของชนชาวอินโดนีเซีย โดยเครือ่ งดนตรีของ (Heptatonic scale) โดยมีระยะความห่างของเสียงทีแ่ ตกต่าง
วงกาเมลัน (Gamelan) เป็ นเครือ่ งดนตรีทพี ฒ ั นามาจากโลหะ กัน ส�ำหรับกลุม่ เสียง (Mode) ของวงดนตรีกาเมลัน (Gamelan
ไม้ ไม้ไผ่ และหนังวัว ซึง่ เป็ นวัสดุทม่ี อี ยูใ่ นพืน้ ที่ ซึง่ เมือ่ แบ่ง Ensemble) จะมีกลุม่ เสียงทีห่ ลากหลายทัง้ ของระบบสเลนโดร
ตามระบบของฮอนบอสเทล - ซัคส์ (Hornbostel – Sachs) จะ (Slendro) และระบบเปล็อค (Pelog) โดยแยกออกเป็ นระบบ
พบว่ามีทงั ้ หมด 4 ประเภท คือ 1) ประเภทเครือ่ งกระทบหรือ ละ 3 รูปแบบ คือ 1) กลุม่ เสียง (Mode) ระบบสเลนโดร
เครือ่ งตี 2) ประเภทเครือ่ งสาย 3) ประเภทเครือ่ งเปา่ และ 4) (Slendro) ประกอบด้วย ปาเต็ด เน็ม (Patet Nem) ปาเต็กลด
ประเภทเครือ่ งหนังโดยการรวมวงกาเมลัน (Gamelan ซานโก (Patet Sango) และปาเต็ด แมนยูรา (Patet Manyura)
35

และ 2) กลุม่ เสียง (Mode) ระบบเปล็อค (Pelog) ประกอบด้วย


ปาเต็ด ลิมา (Patet Lima) ปาเต็ด เน็ม (Patet Nem) และปา
เต็ด บารัง (Patet barang) ส่วนอัตราจังหวะ (Tempo) ของวง
ดนตรีกาเมลัน (Gamelan Ensemble) แบ่งออกเป็ น 5 ระดับ
จากเร็วไปช้า คือ ไอรามะ ลันกา (Irama Lancar) ไอรามะ แทง
กัง (Irama Tanggung) ไอรามะ ดาโดส หรือ ดาดิ (Irama
dados or dadi) ไอรามะ ไวเลท (Irama Wilet) และไอรามะ รัง
เคป (Irama rangkep) จากทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดในข้างต้น เป็ น
เพียงการน�ำเสนอข้อมูลเพียงส่วนน้อยเท่านัน้ แต่กส็ ามารถ
สะท้อนให้เห็นถึงความเป็ นเอกลักษณ์ ของวงดนตรีกาเมลัน
(Gamelan Ensemble) รวมถึงประโยชน์ทางด้านการศึกษาได้
เป็ นอย่างดี โดยยังมีขอ้ มูลอีกมากมายทีย่ งั รอการศึกษา
ค้นคว้าทัง้ ทางด้านประวัตคิ วามเป็ นมา การสร้างเครือ่ งดนตรี
รูปแบบวิธกี ารบรรเลง หรือการประพันธ์เพลง เป็ นต้น ทัง้ นี้ ก็
เพื่อให้เกิดความเข้าใจและประโยชน์ สูงสุดในด้านการศึกษา
ค้นคว้าทางมานุษยดุรยิ างควิทยา (Ethnomusicology) ขัน้ ที่
สูงยิง่ ขึน้ ต่อไป

เอกสารอ้างอิง
จรรย์สมร ผลบุญ. (2558, มกราคม-มิถุนายน). วิวฒ ั นาการ
วัฒ นธรรมการแสดงของคนไทยเชื้อ สายมลายูใ น
จังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารสถาบัน
วัฒนธรรมและศิ ลปะ. 16 (2): 100-115.
Pholboon, Jansamorn. (2015, January–June). Evolution
of Thai - Malay u’s Performances in Border
Provinces of Southern Thailand. Institute of
Culture and Arts Journal. 16 (2): 100-115.

ปญญา รุง่ เรือง. (2551). ประวัติการดนตรีไทย. พิมพ์ครัง้ ที่
5. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช
Rungrueng, Panya. (2009). Thailand music history. (5th
ed.). Bangkok: Thaiwattanapanit
_________. (2551). หลักวิ ชามานุษยดุริยางควิ ทยา.
กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
_________. (2009). Technicality Ethnomusicology.
Bangkok: Kasetsart University
_________ . (2551). เอกสารประกอบการสอนวิ ชาดนตรี
ในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้. กรุงเทพมหานคร :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
_________. (2009). The Course Outline of Music in
Southeast Asia. Bangkok: Kasetsart University
Terry E.Miller and Andrew Shahriari. (2006). World Music
A Global Journey. New York: Taylor & Francis
Group, LLC
Terry E.Miller and Scan Williams. (1998). The Garland
Encyclopedia of World Music. Volume 4
Southeast Asia. New York: Garland publishing,
INC

You might also like