Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 199

การวางกรอบข่ าวอาชญากรรมที่ประกอบสร้ างผู้หญิงที่เป็ นผู้ต้องหา

กรณีคดี "นางสาวปรียานุช โนนวังชัย”

เบญจพร ศรีดี

วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
พ.ศ.2561

Framing of Crime News which Constructed Woman Suspect


in the Case of "Preyanuch Nonwangchai"

Benjaporn Sidee

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of Requirements


for the Degree of Master of Communication Arts
Department of Communication Arts
Faculty of Communication Arts, Dhurakij Pundit University
2018

หัวข้อวิทยานิพนธ์ การวางกรอบข่าวอาชญากรรมที่ประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ น


ผูต้ อ้ งหา กรณี คดี "นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
ชื่อผูเ้ ขียน เบญจพร ศรี ดี
อาจารย์ที่ปรึ กษา ดร.ชนัญสรา อรนพ ณ อยุธยา
สาขาวิชา นิเทศศาสตร์
ปี การศึกษา 2560

บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่ องการวางกรอบข่าวอาชญากรรมที่ประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา


กรณี คดี "นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย” มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการวางกรอบข่าว และศึกษาปั จจัย
ภายใน และภายนอกที่ส่งผลต่อการวางกรอบข่าวของเว็บไซต์ข่าวสด ในการนาเสนอข่าวกรณี คดี
นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย รวมถึง เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะ และแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรม ในการ
นาเสนอคดีที่ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหา โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative research) ด้วย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมู ล 2 วิธี คื อการวิเคราะห์การวางกรอบ (Frame Analysis)ในเชิ งพรรณนา
วิ เ คราะห์ โดยท าการศึ ก ษาเว็ บ ไซต์ ข่ า วสดตามช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด เหตุ 3 ช่ ว งเหตุ ก ารณ์
ประกอบด้วย ช่ วงเหตุ ก ารณ์ ที่ 1 เว็บ ไซต์ข่า วสดนาเสนอข่ า วเกี่ ย วกับ นางสาววริ ศ รา กลิ่ นจุ ้ย
ผูเ้ สี ยชี วิต โดยยังไม่ทราบว่าใครเป็ นผูก้ ่อเหตุฆาตกรรม ช่วงที่ 2 เป็ นช่วงเหตุการณ์ที่ทราบแล้วว่าผู ้
ก่อเหตุฆาตกรรมคือนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย และช่วงที่ 3 คือ ที่นาเสนอข่าวหลังตารวจสามารถ
จับกุมนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัยกับพวกได้ รวม 8 ข่าว ร่ วมกับการสัมภาษณ์ เชิ งลึ ก (In-depth
Interview) ผู ้ป ฏิ บ ัติ ง านข่ า วของข่ า วสดออนไลน์ องค์ ก รวิ ช าชี พ สื่ อ และนั ก วิ ช าการด้ า น
สื่ อสารมวลชน
ผลการศึกษาพบว่าเว็บไซต์ข่าวสดมีการวางกรอบข่าวตามแนวคิดของ Entman ใน
ข่าวทั้ง 8 ข่าว แตกต่างกัน โดยพบว่ากรอบเนื้ อหาด้านความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ภายนอกถูกนามาใช้
มากที่สุด ในการวางกรอบข่าวกรณี ผูห้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหา และยังพบเรื่ องเพศและความเบี่ยงเบนทาง
เพศ และไม่ใช่ตวั การกระทาความผิดหรื อการสร้างความสมเหตุสมผล ซึ่ งส่ งผลมาจากปัจจัยภายใน
และภายนอกของผูเ้ กี่ ย วข้องในกระบวนการท าข่ า ว และยัง พบการประกอบสร้ า งผูห้ ญิ ง ที่ เป็ น
ผูต้ อ้ งหาว่าผูห้ ญิงว่าเป็ นเพศที่อ่อนแอ เป็ นวัตถุทางเพศ และลดคุณค่าของผูห้ ญิงที่ถูกกล่าวถึงในข่าว
ซึ่ งภาพของผูห้ ญิงที่ติดลบในข่าวถูกพบตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั การศึกษานี้ ยงั ได้เสนอแนวปฏิบตั ิ
ทางจริ ยธรรมในการนาเสนอข่าวคดีที่ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาสาหรับสื่ อมวลชนเพื่อใช้เป็ นแนวทางใน

การปฏิบตั ิงานและการพัฒนามาตรฐานทางวิชาชี พสื่ อมวลชน ส่ วนแนวทางการพัฒนาที่ยงั่ ยืนนั้น


คือการปรับเปลี่ยนวิธีคิดของสื่ อมวลชนเกี่ยวกับประเด็นเรื่ องเพศหญิงให้มีความเข้าใจมากยิง่ ขึ้น

Thesis Framing of Crime News which Constructed Woman Suspect


in the Case of "Preyanuch Nonwangchai"
Author Benjaporn Sridee
Advisor Dr. Chanansara Oranop Na Ayutthaya
Department Communication of Arts
Academic Year 2017

ABATRACT

The purpose of this research aimed to study (1) news framing and (2) its internal and
external factors affecting to the news framing of Khaosod in case of Preeyanuch Nonwangchai’s
crime case news reporting. This study also aimed to gather the feedback and ethical guidelines in
news reporting crime case with female suspect. The study was a qualitative research conducted by
using frame analysis method in term of descriptive analysis on 8 news pieces on Khaosod website
according to 3 periods of the incidents including 1) The period when Khaosod website reporting
news about the death of Warisara Klinjui, the victim without knowing the suspect. 2) The period
when Preeyanuch Nonwangchai was known as a murderer and 3) The period when Preeyanuch
Nonwangchai and her accomplices were arrested by the police. In addition, the research used
interview method on Khaosod website news personnel, professional journalism organizations and
journalism professor.
The result found that Khaosod website used different news framing on these 8 news
pieces according to Entman framing theory where physical attractiveness frame was most used on
the case with female suspect. Moreover, sexuality and sexual deviance, non-agents and justification
are the frames that media frequently use on female suspect case. The reasons behind that are from
internal and external factors of people involving in news process. Besides, the result found that
there is the construction of female suspect in news report to be weakling, sex object and underrated
woman from time to time. Finally, this study proposes ethical guidelines in case of news reporting
the case with female suspect for media to use as a model practice to improve professional journalism
standard and to have the sustainable improvement by making media think about female with more
understanding in the future.

กิตติกรรมประกาศ

วิท ยานิ พ นธ์ ฉบับ นี้ สาเร็ จลุ ล่วงตามเป้ าหมายเนื่ องจากได้รับความช่ วยเหลื อแนะนา
ข้อมูลในการค้นคว้าซึ่ งเป็ นประโยชน์อย่างยิ่งต้องขอขอบพระคุณ ดร.ชนัญสรา อรนพ ณ อยุธยา
อาจารย์ที่ปรึ กษาที่ประสิ ทธิ์ ประสาทวิชาความรู ้ ทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจให้คาปรึ กษาแนะนาตลอด
ระยะเวลาการทาวิทยานิพนธ์ และขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.พิทกั ษ์ศกั ดิ์ ทิศาภาคย์ และ ผศ.ดร.บุบผา
เมฆศรี ทองคา ประธานและคณะกรรมการที่เมตตา ให้คาแนะนา ติชม ให้ความรู ้ทาให้วทิ ยานิพนธ์
ฉบับนี้ ถูกปรับแก้จนดี ข้ ึ น และขอขอบคุ ณ ดร.มนต์ ขอเจริ ญ ผูอ้ านวยการมหาบัณฑิ ต สาขาวิชา
นิเทศศาสตร์ ที่เมตตาให้กาลังใจลูกศิษย์คนนี้มาโดยตลอด
สิ่ งสาคัญที่สุดคือคุ ณพ่อคุณแม่ ครอบครัว “ศรี ดี” และครอบครัว “อยู่สุข” โดยเฉพาะ
“คุ ณพี่ ” ที่ ให้ก าลังใจ ช่ วยเหลื อทุ ก ๆด้าน และผลักดันให้ก ารศึกษาระดับ ปริ ญญาโทและการท า
วิท ยานิ พ นธ์ ส าเร็ จ และขอขอบคุ ณ เพื่ อนๆรหัส การศึ ก ษา 2559 ทุ ก คนที่ ช่วยเหลื อกัน มาตลอด
รวมถึงเพื่อนร่ วมงานในบริ ษทั มติชน จากัด (มหาชน) รวมถึงนางสาวเกศินี แตงเขียว หรื อ คุณแม่เก
และครอบครัว “นักข่าวศาล” ที่คอยส่ งกาลังใจ สนับสนุนการเรี ยนปริ ญญาโทในครั้งนี้ และเพื่อนๆ
ชาวรังสิ ตทุกคน ที่คอยช่วยเหลือสนับสนุนการเรี ยนในครั้งนี้
ความสาเร็ จ ประโยชน์ และคุณค่าที่ได้จากวิทยานิ พนธ์ฉบับนี้ ผูว้ ิจยั ขอมอบให้คณะ
อาจารย์ผใู ้ ห้ความรู ้ และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด ส่ วนความบกพร่ องที่เกิดขึ้นในวิทยานิพนธ์ฉบับ
นี้ผวู ้ จิ ยั ขอรับไว้เพียงผูเ้ ดียว

เบญจพร ศรี ดี

สารบัญ
หน้ า
บทคัดย่อภาษาไทย ฆ
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ จ
กิตติกรรมประกาศ ช
สารบัญตาราง ฌ
สารบัญภาพ ญ
บทที่
1. บทนา 1
1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา 1
1.2 ปัญหานาวิจยั 13
1.3 วัตถุประสงค์ของการวิจยั 13
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 13
1.5 ขอบเขต 14
1.6 นิยามศัพท์ 14
1.7 กรอบแนวคิด 16
2. แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 17
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการนาเสนอข่าวผ่านสื่ อออนไลน์ 18
2.2 แนวคิดเรื่ องการวางกรอบข่าว 20
2.3 แนวคิดเรื่ องปั จจัยที่มีผลต่อการทางานขององค์การสื่ อสารมวลชน 24
2.4 แนวคิดเกี่ยวกับข่าวอาชญากรรมและคุณค่าข่าว 27
2.5 แนวคิดเรื่ องสื่ อกับการประกอบสร้างความหมาย 29
2.6 แนวคิดการประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นอาชญากรผ่าน
การรายงานข่าวอาชญากรรม 33
2.7แนวคิดเกี่ยวกับจริ ยธรรมสื่ อมวลชนในการนาเสนอประเด็นเรื่ องเพศ 37
3. ระเบียบวิธีวจิ ยั 41
3.1 การวิเคราะห์การวางกรอบ (Frame Analysis) 42
3.2 การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) 48

สารบัญ (ต่ อ)

บทที่ หน้ า
4. ผลการศึกษา 59
4.1 ส่ วนที่ 1 ผลการศึกษาจากการวิเคราะห์การวางกรอบข่าว 59
4.2 ส่ วนที่ 2 ผลการศึกษาจากสัมภาษณ์เชิงลึกบุคลากรเว็บไซต์ข่าวสด 117
4.3 ส่ วนที่ 3 ผลการศึกษาจากการสัมภาษณ์กลุ่มองค์กรวิชาชีพที่กากับ
ดูกนั เองในกลุ่มสื่ อมวลชน และ นักวิชาการ 131
4.4 ส่ วนที่ 4 แนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่าว
ผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา 142
5. สรุ ป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 157
5.1 สรุ ปผลการวิจยั 157
5.2 อภิปรายผล 169
5.3 ข้อเสนอแนะ 174
บรรณานุกรม 176
ภาคผนวก 183

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้ า
3.1 ตารางวิเคราะห์การวางกรอบข่าวของ Entman 43
3.2 ตารางคัดเลือกข่าวตามกรณี ที่ระบุไว้ในแต่ละช่วงเหตุการณ์ 46
3.3 ตารางแสดงรายละเอียดข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 1 48
3.4 ตารางแสดงรายละเอียดข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 2 49
3.5 ตารางแสดงรายละเอียดข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 3 50
3.6 ตารางบันทึกข้อมูลเพื่อวิเคราะห์การวางกรอบข่าวของเว็บไซต์ข่าวสด
กรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย 52
3.7 ตารางบันทึกข้อมูลเพื่อวิเคราะห์กลวิธีในรู ปแบบข่าวของเว็บไซต์
ข่าวสดกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ในการวางกรอบเนื้ อหาข่าวสาร 53
3.8 ตารางบันทึกข้อมูลวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าว
อาชญากรรม 53
4.1 ตารางสรุ ปการวางกรอบข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 1 70
4.2 ตารางสรุ ปการวางกรอบข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 2 82
4.3 ตารางสรุ ปการวางกรอบข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 3 102
4.4 ตารางสรุ ปการวางกรอบข่าว กลวิธี และวิธีที่สื่อประกอบสร้าง106
ผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา ในช่วงเหตุการณ์ที่ 1,2 และ 3 106
4.5 ตารางสรุ ปสรุ ปความคิดเห็นองค์กรวิชาชีพที่กากับดูกนั เองในกลุ่ม
สื่ อมวลชน และ นักวิชาการต่อ(ร่ าง)ข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิ
ทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา 150
4.6 ตารางเปรี ยบเทียบ (ร่ าง) ข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิ
ทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา
และแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่าว
ผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา 154
5.1 สรุ ปผลการศึกษา 107

สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้ า
1.1 ตัวอย่างการนาเสนอข่าวกรณี คดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 31 พฤษภาคม 2560 5
1.2 ตัวอย่างการนาเสนอข่าวกรณี คดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
เว็บไซต์ผจู ้ ดั การ วันที่ 2 มิถุนายน 2560 6
1.3 ตัวอย่างการนาเสนอข่าวกรณี คดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
เว็บไซต์กรุ งเทพธุ รกิจ วันที่ 15 มิถุนายน 2560 6
1.4 การนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
เว็บไซต์กรุ งเทพธุ รกิจ วันที่ 15 มิถุนายน 2560 7
1.5 ตัวอย่างการนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 4 มิถุนายน 2560 7
1.6 ตัวอย่างการนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
เว็บไซต์ผจู ้ ดั การ วันที่ 5 มิถุนายน 2560 8
1.7 ตัวอย่างการนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 3 มิถุนายน 2560 11
1.8 ตัวอย่างการนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 3 มิถุนายน 2560 12
1.9 กรอบแนวคิดการรายงานข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
ในข่าวสดออนไลน์ 16
2.1 แสดงกระบวนการสื่ อข่าวที่ใช้สื่อใหม่ 18
2.2 แบบจาลองกระบวนการวางกรอบในระบบการสื่ อสารมวลชน 22
2.3 ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อองค์กรสื่ อมวลชน 25
2.4 แบบจาลองผลกระทบของสื่ อมวลชน 31
3.1 ขั้นตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูล 41
4.1 ภาพปกของข่าวพบศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์ข่าวสด
วันที่ 25 พฤษภาคม 2560 60

สารบัญภาพ (ต่ อ)

ภาพที่ หน้ า
4.2 ภาพพาดหัวข่าวของข่าวพบศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์ข่าวสด
วันที่ 25 พฤษภาคม 2560 61
4.3 ภาพเว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวพบศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์ข่าวสด
วันที่ 25 พฤษภาคม 2560 64
4.4 ภาพปกของข่าวตารวจสอบสวนสามีของนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์ข่าวสด
วันที่ 27 พฤษภาคม 2560 65
4.5 ภาพพาดหัวข่าวของข่าวตารวจสอบสวนสามีของนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 27 พฤษภาคม 2560 66
4.6 เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวตารวจสอบสวนสามีของนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 27 พฤษภาคม 2560 69
4.7 ภาพปกของข่าวเผยโฉมผูต้ อ้ งหาฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้
เว็บไซต์ข่าวสด 29 พฤษภาคม 2560 72
4.8 ภาพพาดหัวข่าวของข่าวเผยโฉมผูต้ อ้ งหาฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 29 พฤษภาคม 2560 73
4.9 เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวเผยโฉมผูต้ อ้ งหาฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 29 พฤษภาคม 2560 75
4.10 ภาพนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 29 พฤษภาคม 2560 76
4.11 ภาพนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 29 พฤษภาคม 2560 76
4.12 ภาพนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 29 พฤษภาคม 2560 77
4.13 ภาพปกของข่าวมารดานางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย วอนลูกสาวมอบตัว
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 2 มิถุนายน 2560 77
4.14 ภาพพาดหัวข่าวของข่าวมารดานางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย วอนลูกสาวมอบตัว
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 2 มิถุนายน 2560 78
4.15 เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวมารดานางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย วอนลูกสาวมอบตัว
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 2 มิถุนายน 2560 81
4.16 ภาพปกของข่าว ผบ.ตร.สอบปากคาผูต้ อ้ งหา เว็บไซต์ข่าวสด
วันที่ 4 มิถุนายน 2560 84

สารบัญภาพ (ต่ อ)

ภาพที่ หน้ า
4.17 ภาพปกของข่าว ผบ.ตร.สอบปากคาผูต้ อ้ งหา เว็บไซต์ข่าวสด
วันที่ 4 มิถุนายน 2560 85
4.18 เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าว ผบ.ตร. สอบปากคาผูต้ อ้ งหา เว็บไซต์ข่าวสด
วันที่ 4 มิถุนายน 2560 87
4.19 ภาพพาดหัวข่าวแม่คา้ ออนไลน์แห่ซ้ือสิ นค้าแบบเดียวกับนางสาวปรี ยานุช
โนนวังชัย ใช้ เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 4 มิถุนายน 2560 89
4.20 ภาพเว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวแม่คา้ ออนไลน์แห่ซ้ือสิ นค้าแบบเดียวกับ
นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ใช้ เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 4 มิถุนายน 2560 91
4.21 ภาพปกของข่าวส่ งนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัยกับพวกผูต้ อ้ งหาเข้าเรื อนจา
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 6 มิถุนายน 2560 92
4.22 ภาพพาดหัวข่าวของข่าวส่ งนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัยกับพวกผูต้ อ้ งหาเข้าเรื อนจา
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 6 มิถุนายน 2560 93
4.23 ภาพเว็บไซต์ข่าวสด นาเสนอข่าวส่ งนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัยกับพวกผูต้ อ้ งหา
เข้าเรื อนจา เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 6 มิถุนายน 2560 95
4.24 ภาพปกของข่าวคุมตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ขึ้นศาล เว็บไซต์ข่าวสด
วันที่ 23 สิ งหาคม 2560 97
4.25 ภาพพาดหัวข่าวคุมตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ขึ้นศาล เว็บไซต์ข่าวสด
วันที่ 23 สิ งหาคม 2560 98
4.26 เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวคุมตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ขึ้นศาล
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 23 สิ งหาคม 2560 99
4.27 ภาพประกอบในข่าวคุมตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ขึ้นศาล
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 23 สิ งหาคม 2560 101
4.28 ภาพประกอบในข่าวคุมตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ขึ้นศาล
เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 23 สิ งหาคม 2560 101
บทที่ 1
บทนำ

1.1 ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปัญหำ


ข่าวอาชญากรรมเป็ นข่าวที่สะท้อนปั ญหาที่ เกิ ดขึ้ นในสังคม หากข่าวอาชญากรรมมี
ปริ มาณและความรุ นแรงมากขึ้น ก็จะทาให้สังคมตระหนักได้วา่ กาลังมีปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข
และตั้งแต่อดี ตจนถึ งปั จจุบนั ข่าวอาชญากรรมยังได้รับการนาเสนออย่างต่อเนื่ องมาเป็ นระยะเวลา
ยาวนานจากสื่ อมวลชน สาเหตุประการหนึ่ งเนื่ องจากเป็ นประเภทข่าวที่ตอบสนองความอยากรู ้
อยากเห็นซึ่ งเป็ นความต้องการขั้นพื้นฐานของผูค้ นในสังคม มีคุณค่าของข่าวในแง่มุมของความใกล้
ตัว เร้าอารมณ์ของประชาชน หลายครั้งก็มีผลกระทบและมีองค์ประกอบเรื่ องเงื่อนงาด้วย (อรอนงค์
โฆษิตพิพฒั น์ , 2559)
การนาเสนอข่าวอาชญากรรมเปรี ยบเสมือนดาบสองคม คมหนึ่งใช้เพื่อแจ้งข่าวสารและ
แจ้งเตือนให้ระวังภัย แต่อีกคมหนึ่งก็อาจจะย้อนกลับไปทาร้ายผูอ้ ่าน หรื อ ผูร้ ับชมข่าวอาชญากรรม
เอง หากข่าวมีการนาเสนอเนื้ อหาที่มีความรุ นแรงหรื อรายละเอียดของเหตุการณ์มากจนเกินไป เด็ก
หรื อบุคคลที่มีปัญหาทางจิต อาจจดจาและเกิดพฤติกรรมเลียนแบบได้ บุญรอด พัวศรี (2546) พบว่า
ข่าวอาชญากรรม มีท้ งั ประโยชน์และผลเสี ยต่อประชาชน ข้อมูลที่นาเสนออย่างละเอียดนอกจาก
กระทบต่อบุคคลที่ตกเป็ นข่าวแล้ว ยังกระทบต่อเด็กที่เรี ยนรู ้พฤติกรรมการก่ออาชญากรรมจากข่าว
ที่นาเสนอ เช่ นเดี ยวกับ ศิรัฐประภากรณ์ รัตนพานิ ช (2551) ได้อธิ บายถึงผลกระทบที่เกิ ดจากการ
นาเสนอข่าวอาชญากรรมไว้ 3 ประการ ประกอบด้วย
1. ผลกระทบต่อสิ ทธิ มนุษยชน และศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ของผูต้ อ้ งหาและผูเ้ สี ยหาย
ในคดีอาญา ซึ่ งในส่ วนผูต้ อ้ งหาย่อมได้รับการสันนิษฐานว่าเป็ นผูบ้ ริ สุทธิ์ จนกว่าจะมีคาพิพากษาถึง
ที่สุดว่ากระทาความผิด ส่ วนผูเ้ สี ยหายหากสื่ อมวลชนมีการเผยแพร่ ภาพ หรื อสัมภาษณ์ถามย้ าถึ ง
เรื่ องราวที่ เกิ ดขึ้ น รวมถึ งการอธิ บายขั้นตอนการประกอบอาชญากรรมโดยละเอีย ด บางกรณี มี
ผลกระทบต่อศักดิ์ศรี ของผูเ้ สี ยหายในคดีอาญา ซ้ าเติมความเจ็บปวดทางจิตใจของผูเ้ สี ยหาย
2.ผลกระทบต่อกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เนื่องจากการนาเสนอข่าวอาชญากรรม
อาจมีการนาเสนอข้อมูลที่เป็ นความจริ ง และข้อมูลที่เป็ นเพียงแค่ความคิดเห็นหรื อข้อสันนิ ษฐาน
เบื้องต้น อาจมีท้ งั ข้อเท็จจริ งบางส่ วน ซึ่ งอาจนาไปเป็ นพยานหลักฐานในชั้นศาลได้
2

3. ผลกระทบต่อสังคมในการลอกเลียนแบบอาชญากรรม ซึ่ งผลการวิจยั ตั้งแต่อดีตจนถึง


ปั จจุบนั ได้แสดงให้เห็ นว่าสื่ อมวลชนมีอิทธิ พลต่อพฤติกรรมการแสดงออกของมนุษย์ โดยเฉพาะ
การนาเสนอข่าวอาชญากรรมที่อธิ บายขั้นตอนการประกอบอาชญากรรมโดยละเอียดทาให้เกิดการ
ทาตามจนทาให้เป็ นการก่ออาชญากรรมแบบเดียวกันซ้ าขึ้นอีก
ตัวอย่างการรายงานข่าวอาชญากรรมที่ส่งผลกระทบต่อสังคมในการลอกเลียนแบบ อาทิ
ในปี พ.ศ. 2552 สื่ อมวลชนมีการนาเสนอข่าวเกี่ ยวกับแก๊งปาหิ น และพบว่ามีกลุ่มวัยรุ่ นในจังหวัด
ชุ มพร เลี ยนแบบพฤติกรรมก่อเหตุปาหิ นติดต่อกันหลายครั้งในพื้นที่ และกรณี ล่าสุ ดการนาเสนอ
ข่าวนายเสกสรร ศุขพิมาย หรื อ เสก โลโซ นักร้องชื่ อดังยิงปื นขึ้นฟ้ า เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ.
2560 หลังนาเสนอข่าวนี้ มีวยั รุ่ นในพื้นที่จงั หวัดนครราชสี มา ได้ก่อเหตุยิงปื นขึ้นฟ้าเช่นกัน โดยรับ
สารภาพว่าเลียนแบบพฤติกรรมของเสก โลโซ
จากผลกระทบการนาเสนอข่าวอาชญากรรมที่ระบุมาข้างต้น ประชัน วัลลิโก และคณะ
(2547) ได้มีการกาหนดแนวทางในการนาเสนอข่าวอาชญากรรมไว้ 7 ข้อ ประกอบด้วย
1. การนาเสนอข่าวอาชญากรรมต้องระมัดระวังในการนาเสนอเนื้ อหาและภาพที่ เป็ น
การละเมิดสิ ทธิ ส่วนบุคคล
2. การนาเสนอข่าวอาชญากรรมไม่ควรทาให้เกิ ดพฤติกรรมการเลียนแบบ ควรเสนอ
ข้อเท็จจริ งและรายละเอียดเท่าที่จาเป็ น โดยไม่ตอ้ งบรรยายขั้นตอนการกระทา
3. สื่ อมวลชนและสังคมต้องช่ วยกันสร้างทัศนคติต่อต้านการประกอบอาชญากรรม ที่
เป็ นผลร้ายต่อสังคมและส่ วนรวม เน้นให้เห็นถึงผลที่ผปู ้ ระกอบอาชญากรรมต้องรับการลงโทษตาม
กฎหมาย
4.การนาเสนอข่าวอาชญากรรมต้องระมัดระวังการชี้ เบาะแสให้คนร้ายหลบหนี หรื อนา
ผลร้ายมาสู่ บุคคลในครอบครัว คนใกล้ชิด หรื อ พยาน
5. การนาเสนอข่าวอาชญากรรมต้องระมัดระวังไม่ให้ผูอ้ ่านรู ้สึกว่าผูก้ ระทาผิดเป็ นคน
เก่งหรื อเป็ นวีรบุรุษ เพราะอาจทาให้เห็นใจและเกิดการเลียนแบบในภายหลังได้
6. พยายามหาข้อเท็จจริ งจากเหตุการณ์ หรื อพยานที่รู้เห็นเหตุการณ์มากกว่าคาบอกเล่า
จากพยานแวดล้อม
7. ระมัดระวังความถูกต้องของข้อมูลที่ได้รับ ก่อนรายงานข้อมูลไปสู่ ประชาชน
อย่างไรก็ตามที่ ผ่านมาการนาเสนอข่าวอาชญากรรมของสื่ อมวลชนไทย ถู กวิพากษ์
วิจารณ์ ถึ งคุ ณค่าข่าวและประโยชน์ที่สาธารณชนได้รับจากการนาเสนอข่าวอาชญากรรม ว่าควร
รายงานต่อสาธารณะและเป็ นประโยชน์หรื อไม่ รวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมซึ่ งเป็ นผลกระทบ
ด้า นลบ ยกตัวอย่า งในปี พ.ศ.2559 ได้เกิ ด 2 เหตุ ก ารณ์ ที่ ท าให้สื่อมวลชนถู กตั้ง ค าถามถึ ง ความ
3

เหมาะสมในการทาหน้าที่สื่อมวลชน คือ กรณี สื่อมวลชนรุ มเบียดเสี ยดครอบครัวของ นายทฤษฎี


สหวงษ์ หรื อ ปอ ทฤษฎี นัก แสดงชื่ อดัง เพื่ อให้ไ ด้ภาพแบบใกล้ชิดมากที่ สุด ซึ่ งนายบรรยงค์
สุ วรรณผ่อง ประธานกรรมการจริ ยธรรมวิชาชี พ สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย กรรมการ
ควบคุ มจริ ยธรรม สมาคมนักข่าวนักหนังสื อพิมพ์แห่ งประเทศไทย ได้เผยแพร่ บทความเรื่ องกรณี
การรายงานข่าวและภาพการเสี ยชี วิตของ ปอ ทฤษฎี ว่ามีการตาหนิ จากสังคมถึงการรายงานข่าว
ของสื่ อมวลชนจานวนมาก เช่ น “สื่ อมวลชน หรื อ อี แร้ง เข้าแย่งชิ ง จรรยาบรรณถูกทิ้งไว้ที่ไหน”
“เขาสู ญเสี ย ยังไม่พอ อีกหรื อไร พวกมักได้ เห็นแต่ ประโยชน์ตน” เป็ นต้น (“สื่ อมวลชนหรื ออี
เเร้ง? คาถามจากสังคม กรณี ปอ ทฤษฎี ” ,2559) และกรณี สื่อมวลชนถ่ายทอดสดเหตุการณ์ปิดล้อม
จับ ดร.วันชัย ดนัยตโมนุท อาจารย์ประจาวิทยาลัยการฝึ กหัดครู สาขาการบริ หารการศึกษา หลักสู ตร
ปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูต้ อ้ งหาซึ่ งยิงตัวตาย ซึ่ งมีการตั้งกระทูพ้ นั ทิปไว้อาลัยการ
ทาหน้าที่ของสื่ อมวลชนไทย ที่ถ่ายทอดสดเหตุการณ์น้ ี มีสมาชิกพันทิป 60 คน แสดงความคิดเห็น
ส่ ว นใหญ่ ต่ อ ว่ า การท างานของสื่ อ ว่ า ไร้ จ รรยาบรรณในการน าเสนอข่ า ว (“ขอไว้อ าลัย ต่ อ
จรรยาบรรณของสื่ อไทย...กรณี ดอกเตอร์ วนั ชัย”,2559)
นอกจากนี้ จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ผูว้ จิ ยั พบว่าจากงานวิจยั ที่ผา่ นมาระบุ
ถึงปั ญหาในการรายงานข่าวอาชญากรรมของสื่ อมวลชนไทย ดังนี้
1.ปั ญหาการนาเสนอภาพ และรายละเอียดการประกอบอาชญากรรมมากจนเกินไป อาจ
ก่ อ ให้ เ กิ ด การลอกเลี ย นแบบพฤติ ก รรม เช่ น การโจรกรรมรถยนต์ และรายละเอี ย ดการก่ อ
อาชญากรรมยังแสดงให้เห็นถึงความรุ นแรง เป็ นปัญหาที่สาคัญที่เกิดขึ้นมาโดยตลอด ดังที่ ศรี
ลักษณ์ ศิ ลปี (2539) ได้สะท้อนความคิดเห็ นของนักหนังสื อพิมพ์พบว่า ปั ญหาการรายงานข่าว
อาชญากรรม ประกอบด้วย การนาเสนอรายละเอียดของผูต้ กเป็ นข่าว และภาพในคดีทางเพศ เช่ น
คดีข่มขืน หรื อกระทาอนาจาร โดยเฉพาะคดีที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชนรวมถึงฐิติพชั ร์ จารุ พูนผล
(2549) ก็พบว่ากลุ่มตัวอย่างของประชาชนในเขตกรุ งเทพมหานคร เห็นว่า ภาพข่าวอาชญากรรมใน
หนังสื อพิมพ์มีการนาเสนอภาพการชาแหละศพ การผ่าตัดเห็นอวัยวะเครื่ องใน และเลือด มีความ
รุ นแรงมากที่สุด ควรมีการเพิ่มความเข้มงวด เซ็นเซอร์ หรื อ ตัดทอน ภาพข่าวอาชญากรรมบางส่ วน
2. ปั ญหาการละเมิ ดสิ ทธิ ม นุ ษยชน และสิ ทธิ ส่วนบุคคลของผูต้ อ้ งหา และผูเ้ สี ยหาย
โดยเฉพาะเด็ก และสตรี ซึ่ งอาจเข้าข่ายความผิดตามกฎหมาย ซึ่ งบุญรอด บัวศรี (2546) พบว่า
ผลกระทบต่อบุคคลที่ตกเป็ นข่าวโดยเฉพาะเด็กและสตรี การนาเสนอข่าวโดยมีภาพและข้อมูลโดย
ละเอียดไม่ปกป้ องเด็กและสตรี อย่างเพียงพอนับเป็ นการละเมิดอย่างรุ นแรง เป็ นผลกระทบที่สาคัญ
และถู กกล่ าวถึ งมากที่ สุดในการนาเสนอข่าวอาชญากรรม เช่ นเดี ยวกับ วิศิษฎ์ ชวนพิพฒั น์พงศ์
(2555) พบว่า ข่าวอาชญากรรมทางหนังสื อพิมพ์มีลกั ษณะหมิ่นเหม่ต่อการละเมิดบทบัญญัติใน
4

มาตรา 27 ตามพระราชบัญญัติคุม้ ครองเด็ก พ.ศ.2546 ไม่เป็ นไปตามหลักความรับผิดชอบด้านการ


คานึงถึงหลักสิ ทธิ มนุษยชนและสิ ทธิส่วนบุคคลของผูอ้ ื่น
3.ปั ญ หาความเป็ นกลางในการน าเสนอข่ า ว กรณี ร ายงานข่ า วการเกิ ด ข้อ พิ พ าท
โดยเฉพาะขณะเกิดสถานการณ์ขดั แย้ง ยกตัวอย่าง ในการรายงานข่าวในสถานการณ์การชุมนุ มทาง
การเมืองในประเทศไทย ซึ่ งนักข่าวอาชญากรรม ก็มีหน้าที่ รายงานข่าวการชุ มนุ มด้วย โดยพบว่า
การชุ มนุ มเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2556 ผูเ้ ข้าร่ วมชุ มนุ มที่มีชื่อกลุ่มว่า กปปส. พยายามทาร้าย
ร่ า งกายผูส้ ื่ อข่ า วส านัก ข่ า วไทย (“ม็อบ กปปส.พยายามท าร้ า ยนัก ข่ า วช่ อง9-ช่ อง3” ,2556)โดย
กล่าวหาว่ามีการรายงานจานวนผูช้ ุ มนุมที่นอ้ ยเกินไป ดังนั้น การรายงานข่าวกรณี การเกิดข้อพิพาท
หรื อ เหตุการณ์ความขัดแย้ง จึงต้องรายงานสถานการณ์การชุมนุมโดยไม่มีอคติ ไม่ลาเอียง รายงาน
ข่าวด้วยความถู กต้องไม่ให้เกิ ดความผิดพลาด และระมัดระวังการนาเสนอข่าว ไม่เช่ นนั้นก็อาจ
ก่อให้เกิดความขัดแย้งของผูช้ ุมนุมแต่ละฝ่ าย และส่ งผลกระทบต่อสื่ อมวลชน
4.ปั ญหาการนาเสนอข่าวอาชญากรรมที่ส่งให้ผูอ้ ่าน หรื อ ผูช้ ม รู ้สึกว่าผูก้ ระทาผิดเป็ น
วีรบุรุษ อาทิ งานของอารยา ถาวรวันชัย (2539) ที่พบว่าสื่ อมวลชนมีกระบวนการสร้างผูท้ ี่มีชื่อเสี ยง
ให้กลายเป็ นวีรบุรุษได้ โดยศึกษากรณี “หนู เชิ ญยิม้ ” อดีตดาราตลกชื่ อดังที่เคยติดยาเสพติด และ
กรณี “สุ ริยนั ศักดิ์ไธสง” นักเขียนนวนิยายที่มีประวัติเป็ นนักเลง และเป็ นนักโทษข้อหาฆ่าคนตาย
โดยเจตนา ผลการศึกษาพบว่า สื่ อมวลชนได้นาเสนอข่าวว่าการกลับใจของทั้งสองคนว่าเป็ นผูก้ ล้า
ยอมรั บ ผิด กล้า เปลี่ ย นแปลงตนเองให้เ ป็ นคนดี เป็ นแบบอย่า งของคนที่ ล้ม แล้ว ลุ ก ได้ถื อ เป็ น
อุทาหรณ์ และเป็ นตัวอย่างที่จะป้ องกันและแก้ไขการกระทาผิดให้กบั บุคคลอื่น ทาให้ภาพลักษณ์
ของบุคคลทั้งสองปรากฏต่อสังคมในภาพของผูท้ ี่เป็ นแบบอย่าง เป็ นตัวอย่างที่เป็ นประโยชน์ต่อ
สังคม แต่การนาเสนอข่าวลักษณะนี้ อาจทาให้สังคมเกิดความสับสนว่าจะยึดแบบอย่างใดเป็ นหลัก
ในการดาเนิ นชี วิต ควรเริ่ มจากการเป็ นคนเลวก่ อนหรื อไม่ เพราะถึ งอย่างไรสังคมก็ให้อภัย ให้
โอกาส และยังยกย่องผูท้ ี่สามารถกลับใจได้
นอกจากปั ญหาที่ ผูว้ ิจยั พบจากการทบทวนวรรณกรรมดัง กล่ าวข้างต้นแล้ว ผูว้ ิจยั ยัง
พบว่ามีปัญหาใหม่จากการรายงานข่าวอาชญากรรมของสื่ อมวลชนไทย ในคดีฆ่าหั่นศพนางสาว
วริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อ แอ๋ ม โดยมีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว เป็ นผูต้ อ้ งหา
สาหรับคดี ของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ถู กนาเสนอผ่านสื่ อมวลชน
หลังจากชาวบ้านในพื้นที่บา้ นโนนสง่า ตาบลคาม่วง อาเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น พบศพ
หญิงสาวถูกฆ่าหัน่ ชิ้นส่ วนแยกเป็ นสองท่อน โดยแยกชิ้นส่ วนใส่ ถงั ดาสองใบฝังดินเพื่ออาพรางศพ
เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 และทราบในเวลาต่อมาว่าผูเ้ สี ยชีวิต คือ นางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อ
แอ๋ ม พนักงานร้านคาราโอเกะ ในช่วงแรกของคดีตารวจมุ่งเป้ าไปที่ประเด็นการก่อคดีฆาตกรรม 3
5

ประเด็น ได้แก่ ประเด็นชู ้สาว เนื่ องจากนางสาววริ ศรา มีสามีแล้วแต่ยงั พบว่ามีสาวหล่ อมาสนิ ท
สนมหลายคน ประเด็นต่อมาคือประเด็นชิงทรัพย์ ที่ตารวจพบว่ามีการกดเงินจากบัญชีธนาคารของ
นางสาววริ ศรา ในช่ วงวันที่ นางสาววริ ศรา หายตัวไปก่อนพบศพในภายหลัง และประเด็นความ
ขัดแย้งส่ วนตัว โดยการสื บสวนสอบสวนคดี น้ ี ตารวจได้เรี ยกครอบครัวของนางสาววริ ศรา สามี
และบุคคลใกล้ชิดซึ่ งเป็ นสาวหล่ อ และผูต้ อ้ งสงสัยอีกหลายคนมาสอบสวน ก่อนที่ตารวจจะพบ
หลักฐานสาคัญคือภาพจากกล้องวงจรปิ ด ว่านางสาววริ ศรา ผูเ้ สี ยชีวติ ได้ข้ ึนรถยนต์ ฮอนด้า ซีอาร์ วี
ก่อนหายตัวไป ตารวจจึงสื บสวนจากรถยนต์ที่พบจนสามารถจับกุมนายวศิน นามพรหม ผูต้ อ้ งหา
ร่ วมในคดีได้ ซึ่ งนายวศิน ให้การซัดทอดว่านางสาวปรี ยานุช ซึ่ งรู ้จกั กับนางสาววริ ศรา เป็ นผูล้ งมือ
ฆ่าเนื่องจากความแค้นส่ วนตัวที่นางสาววริ ศรา เคยแจ้งเบาะแสให้ตารวจจับนางสาวปรี ยานุช ในคดี
ยาเสพติ ด แต่นางสาวปรี ยานุ ช ได้หลบหนี ไปที่ประเทศเมียนมาแล้ว ตารวจจึงได้ประสานงาน
ประเทศเมียนมาจนสามารถจับนางสาวปรี ยานุช และผูต้ อ้ งหาร่ วมในคดีได้ท้ งั หมด
การนาเสนอข่าวคดี น้ ี สื่อมวลชนมีได้นาเสนอรายละเอียดเกี่ ยวกับชี วิตส่ วนตัวของใน
หลายด้าน อาทิ นางสาวปรี ยานุ ช เป็ นคนกตัญญู ส ร้ างบ้านให้มารดา ทาให้มีบุคคลบางกลุ่ ม ได้
แสดงออกผ่านทางโซเชี ยลมีเดียในลักษณะชื่นชมนางสาวปรี ยานุช และยังเลียนแบบการใช้สิ่งของ
แบบเดียวกับนางสาวปรี ยานุชด้วย ขณะที่เว็บไซต์คมชัดลึก ได้นาเสนอบทสัมภาษณ์วยั รุ่ น 4 คน ถึง
ความคิ ดเห็ นเกี่ ย วกับ คดี นางสาวปรี ย านุ ช แม้ทุ ก คนจะให้ค วามเห็ นตรงกันว่า สื่ อนาเสนอข่ า ว
นางสาวปรี ยานุ ช อย่างละเอียดมากจนเกินไป และกลัวว่าเด็กและเยาวชนจะลอกเลียนแบบ แต่บาง
คนยังให้ความเห็นอีกว่านางสาวปรี ยานุช แม้จะเป็ นผูต้ อ้ งหาแต่ก็มีเรื่ องดีๆในตัว เช่น สร้างบ้านให้
แม่ และมีความกตัญญู (“วัยรุ่ น' คิดยังไง กับ 'ข่าวเปรี้ ยว”,2560)

ภำพที่ 1.1 ตัวอย่าง การนาเสนอข่าวที่เน้นรู ปลักษณ์ภายนอกของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ


เปรี้ ยว เว็บไซต์ข่าวสด เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2560 พาดหัวข่าวว่า “เปรี้ ยว”สวยหัน่ ศพ ทีมฆ่า
ซัด บีบคอ”แอ๋ ม”คามือ “วศิน”จนมุมลาว-แฉจุดชาแหละ หมายจับเพิ่มคนที่5-ล่า”สาวแจ้”
6

ภำพที่ 1.2 ตัวอย่าง การนาเสนอข่าวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ว่ามีความกตัญญูต่อ


มารดา โดยเว็บไซต์ผจู ้ ดั การ เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2560 ได้พาดหัวข่าวว่า “ยังรู ้จกั กตัญญู! เปิ ด
แปลนบ้าน “เปรี้ ยว” ตั้งใจสร้างให้แม่” ขณะที่ในเนื้ อหามีการนาเสนอข้อความว่า “ถึงเธอจะเป็ น
ฆาตกร แต่ก็ยงั มีความกตัญญูต่อบุพการี อยู่ เพราะเธอได้วางแผนสร้างบ้านให้แม่ของเธอ”

ภำพที่ 1.3 ตัวอย่าง เว็บไซต์กรุ งเทพธุรกิจ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2560 ได้นาเสนอข่าวว่าสังคมใน


ทวีตเตอร์ ติดมีการติดแฮชแท็กทีมนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว
7

ภำพที่ 1.4 ตัวอย่าง เว็บไซต์กรุ งเทพธุรกิจ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2560 ได้นาเสนอข่าวว่าสังคมใน


ทวีตเตอร์ ติดมีการติดแฮชแท็กทีมนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว

ภำพที่ 1.5 ตัวอย่าง การนาเสนอข่าวการขายสิ นค้าชนิดเดียวกันกับนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ


เปรี้ ยว ใช้ โดยเว็บไซต์ข่าวสด เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ.2560 พาดหัวข่าวว่า “กระแสแรง! ไม่ตอ้ ง
โฆษณา แม่คา้ ออนไลน์แห่ซ้ื อเพียบ ยอดขายพุง่ กระฉูด”
8

ภำพที่ 1.6 ตัวอย่างการนาเสนอข่าวการขายสิ นค้าชนิดเดียวกันกับนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ


เปรี้ ยว ใช้

ขณะที่เว็บไซต์ผจู ้ ดั การได้นาเสนอข่าว เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2560 เกี่ยวกับการขาย


สิ นค้าที่เหมือนกับนางสาวปรี ยานุชใช้ ทั้งพวงกุญแจ ซึ่ งเป็ นอาวุธสังหารที่ใช้หนั่ ศพ รวมไปถึงขนม
ที่นางสาวปรี ยานุช ทานระหว่างถูกคุมตัว โดยพาดหัวข่าวว่า “ สิ นค้าใหม่! “พวงกุญแจเลื่อย” ติดรู ป
“เปรี้ ยว ฆ่าหั่นศพ” 190 บาท สะพัดโซเชี ยล” ในเนื้ อหาระบุถึงกระแสวิพากษ์วิจารณ์ ว่า นางสาว
ปรี ยานุช โด่งดังมากมีการเลียนแบบสิ นค้าและขนมเสมือนเน็ตไอดอล
ปั ญหาการรายงานข่าวอาชญากรรมในคดีของนางสาวปรี ยานุ ช หรื อ เปรี้ ยว นี้ มีความ
แตกต่างจากการศึกษากรณี หนู เชิ ญยิ้ม และ สุ ริยนั ต์ ศักดิ์ ไธสง เนื่ องจากทั้งสองคนนี้ เป็ นผูท้ ี่มี
ชื่ อเสี ยงอยูแ่ ล้ว เป็ นที่รู้จกั ของคนทัว่ ไป เมื่อสื่ อนาความจริ งอีกด้านของคนดังเหล่านี้ ที่สังคมยังไม่รู้
มาเปิ ดเผยจึงเป็ นที่ น่าสนใจ แต่กรณี ของนางสาวปรี ยานุ ช นั้นเป็ นบุคคลทัว่ ไปแต่สื่อมวลชนให้
ความสาคัญกับคดีน้ ี โดยเฉพาะรายละเอียดเกี่ยวกับรู ปลักษณ์ภายนอกและเรื่ องส่ วนตัวของนางสาว
ปรี ยานุ ช ที่ถูกนาเสนออย่างละเอียดต่อเนื่ องกันหลายสัปดาห์ จนได้รับความสนใจจากประชาชน
เป็ นข่าวอันดับหนึ่งที่ประชาชนให้ความสนใจมากที่สุดในขณะนั้น ซึ่ งสวนดุสิตได้สารวจพบว่าข่าว
นี้มีประชาชนสนใจมากที่สุดคิดเป็ นร้อยละ 84.52 (“ข่าวอาชญากรรมในสังคมไทย ณ วันนี้”, 2560)
ขณะที่สื่อมวลชนหลายสานัก อาทิ ข่าวสด ได้จดั ลาดับให้คดีของนางสาวปรี ยานุช เป็ นคดีดงั อันดับ
หนึ่ ง แห่ ง ปี พ.ศ.2560 โดยระบุ รายละเอี ย ดว่า คดี น้ ี เป็ นคดี ที่ เกิ ดปรากฏการณ์ ต้ งั คาถามถึ ง ความ
เหมาะสมในการรายงานข่าวของสื่ อมวลชนเกี่ยวกับการนาเสนอภาพลักษณ์ของนางสาวปรี ยานุช
(“คดีฆ่าหัน่ ศพปรากฏการณ์สวยสังหาร”,2561) ขณะที่ช่อง 7 ได้จดั ให้คดีน้ ีเป็ นหนึ่ งในคดีดงั แห่งปี
(“สรุ ปข่าวเด่น 7*5 35 – สรุ ปข่าวเด่นภูมิภาค ปี 60” , 2560) เช่นเดียวกับ นิวส์ทีวี ได้จดั ลาดับให้คดี
9

ของนางสาวปรี ยานุ ช อยูใ่ นลาดับที่ 5 ของข่าวอาชญากรรมแห่ งปี พ.ศ.2560 (“10 ข่าวอาชญากรรม


ปี ” , 2560)
การนาเสนอข่าวอาชญากรรมกรณี คดีนางสาวปรี ยานุ ช ยังส่ งผลให้รัฐบาล นักวิชาการ
สังคม และสื่ อมวลชนเอง ได้เล็งเห็นถึงปั ญหาในการรายงานข่าว และวิพากษ์วิจารณ์ ถึงความไม่
เหมาะสมในการรายงานข่าว รวมถึงการทาหน้าที่ของสื่ อมวลชน โดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา
นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ หรื อ คสช. ตาหนิ การทาหน้าที่รายงาน
ข่าวของสื่ อมวลชนหลายครั้ง โดยระบุวา่ ประชาชนจานวนมากร้องเรี ยนผ่านรัฐบาล ว่าสื่ อมวลชน
รายงานข่าวคดีนางสาวปรี ยานุช อย่างละเอียด คนเสพสื่ อ หรื อ เด็กๆ อาจหลงคิดว่าผูต้ อ้ งหาเป็ นฮีโร่
และซึ บซับความรุ นแรง จนมีการกล่าวถึงกฎหมายการควบคุมสื่ อมวลชน ขณะที่พล.อ.ต.เฉลิ มชัย
เครื องาม สมาชิ ก สภาขับเคลื่ อนการปฏิ รูปประเทศ หรื อ สปท. ได้แสดงความคิดเห็ นก่ อนการ
ประชุม สปท. ว่าเป็ นห่วงการนาเสนอข่าวคดีนางสาวปรี ยานุช อาจจะนาไปสู่ การชื่นชมผูต้ อ้ งหา จึง
ขอให้คณะกรรมาธิ การขับเคลื่อนการปฏิรูปด้านสื่ อสารมวลชนออกแถลงการณ์หรื อดาเนินการใน
เรื่ องนี้เพื่อป้ องกันเยาวชนลอกเลียนแบบผูต้ อ้ งหา
ขณะที่นกั วิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จดั เวทีจุฬาฯ เสวนา เรื่ อง “ฆ่า หรื อ
ค่า : สื่ อกับดราม่าความรุ นแรงในสังคมไทย” เพื่อถอดบทเรี ยนและเสนอความเห็นด้านวิชาการต่อ
ประเด็นการนาเสนอคดี ข องนางสาวปรี ยานุ ช โดยอาจารย์สมโภชน์ เอี่ยมสุ ภาษิต อาจารย์คณะ
จิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เห็นว่า แม้ปรากฏการณ์ฆาตกรรมเป็ นเหตุการณ์ปกติที่เกิดขึ้นใน
สังคม แต่การนาเสนอข้อมูลผ่านทางสังคมออนไลน์ที่ขาดการคานึงถึงผลกระทบด้านลบกับเยาวชน
หรื อบุคคลที่อยู่ระหว่างค้นหาตัว ในอนาคตจะกลายเป็ นเรื่ องที่อนั ตรายได้ เพราะความทรงจาถูก
บันทึกไว้ให้กลายเป็ นพฤติกรรมเคยชินต่อความรุ นแรง และอาจส่ งผลต่อการนิยมความรุ นแรงและ
พฤติกรรมก้าวร้าวของคนในสังคมในอนาคต ด้าน ผศ.ดร.เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์ เลขาธิการมูลนิธิ
สื่ อมวลชนศึ ก ษา เห็ นว่า การนาเสนอข่ า วได้เซตภาพของผูห้ ญิ งสวย ผูห้ ญิ งร้ า ย แล้วจะโด่ งดัง
(“ถอดบทเรี ยนคดีเปรี้ ยวฆ่าหั่นศพ มุมมองนักวิชาการ-คนรุ่ นใหม่” ,2560) ส่ วนสื่ อสาธารณะอย่าง
ไทยพี บี เ อส ได้น าเสนอความคิ ด เห็ น ของนัก วิช าการด้า นนิ เ ทศศาสตร์ ถึ ง การท าหน้า ที่ ข อง
สื่ อมวลชน ว่าต้องการตอบสนองความสนใจของประชาชนเพื่อช่ วงชิงเรตติ้ง ที่นามาสู่ รายได้ของ
สานักข่าว พร้อมแนะนาประชาชนให้ปฏิเสธสื่ อที่นาเสนอข่าวไม่เหมาะสมด้วย (“ปรากฏการณ์สื่อ
กับคดีฆ่าหัน่ ศพ”,2560)
ขณะเดี ยวกันสื่ อมวลชนก็ยงั วิพากษ์วิจารณ์การทาหน้าที่ของสื่ อมวลชนเองด้วย โดย
ปราปต์ บุ นปาน ในฐานะคอลัม น์ นิสต์บ ริ ษทั มติ ช น จากัด (มหาชน) ได้นาเสนอความคิ ดเห็ น
ปรากฏการณ์ความสนใจคดีของนางสาวปรี ยานุช โดยตั้งข้อสังเกตว่าสังคมให้ความสนใจนางสาว
10

ปรี ยานุ ช เนื่ องจากการนาเสนอผ่านพลังของโซเชี ยลมีเดีย ที่มีความรวดเร็ ว มากกว่าสื่ ออื่นๆ เป็ น


พื้นที่ที่ผชู ้ มสามารถร่ วมแสดงความคิดเห็นของตัวเองกับการรายงานข่าวดังกล่าว และในเนื้อหาข่าว
ยังนาเสนอรายละเอียดปลีกย่อยเกี่ยวกับเรื่ องราวชีวิตของนางสาวปรี ยานุช ถูกขยายความทาให้เกิด
อารมณ์ความรู ้สึกร่ วมเป็ นเซเลบออนไลน์กา้ วข้ามเส้นความเหมาะสม (“ข่าวเปรี้ ยว โดย ปราปต์ บุน
ปาน”,2560) ขณะที่ คอลัมน์ของส านักข่า วเนชั่น ได้มีเนื้ อหาในทานองเตื อนสติ ว่า แม้ผูห้ ญิ ง จะ
หน้าตาสวย แต่อย่าลืมว่าหญิงสาวคนนี้เป็ นผูต้ อ้ งหาในคดีฆาตกรรม และการฉวยโอกาสของพ่อค้า
แม่คา้ โลกออนไลน์ที่นาของใช้ของผูต้ อ้ งหา อาทิ หมอนผ้าห่ ม เสื้ อผ้า หมวก แว่นตา หรื อ ขนม ที่
ผูต้ อ้ งหากิ น มาขาย อาจทาให้เกิ ดพฤติกรรมการลอกเลียนแบบผูต้ อ้ งหาได้ (“ปรากฏการณ์ "สวย
สังหาร"อย่าทาให้ผตู ้ อ้ งหา กลายเป็ นเน็ตไอดอล”,2560)
การรายงานข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย สื่ อมวลชนได้มีการวางกรอบข่าว
โดยประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา ซึ่ง Jewkes (2004)ได้มีการอธิบายถึงวิธีการที่สื่อมวลชนใช้
ประกอบสร้ า งผูห้ ญิ ง ที่ เป็ นผูต้ ้องหา ว่า สื่ อมวลชนจะมี ก ารเน้นประเด็นนาเสนอใน 8 ประเด็น
ประกอบด้วย 1) เพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ (sexuality and sexual deviance) 2) ความดึงดูดทาง
รู ปลักษณ์ภายนอก (physical- attractiveness) 3) การเป็ นภรรยาที่ไม่ดี (bad wives) 4) การเป็ นแม่ที่
ไม่ดี (bad mother) 5) สัตว์ประหลาดในตานาน (mythical monster) 6) วัวคลัง่ (mad cows) 7) คน
ที่ ช อบบงการผูอ้ ื่ น (evil manipulators) และ 8)ไม่ ใ ช่ ตวั การกระท าผิด (non-agents) ซึ่ งวิธี ก ารที่
สื่ อมวลชนใช้ประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหามีความสอดคล้องกับกรณี ที่ผวู ้ ิจยั ศึกษาโดยเฉพาะ
ประเด็นความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ภายนอก ซึ่ ง Jewkes ได้อธิ บายไว้วา่ ผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหาในคดี
ฆาตกรรมหรื อเกี่ ย วข้องกับคดี ร้ายแรงอื่นๆ มักจะตกเป็ นประเด็นให้พูดถึ ง เกี่ ยวกับเรื่ องรู ป ร่ า ง
หน้าตาและเสน่ ห์ของพวกเธอ ซึ่ งสื่ อเกี่ ยวข้องในการประกอบสร้ างเรื่ องเพศ ผ่านมุมมองที่มีต่อ
ผูห้ ญิง เช่ น อายุยงั น้อย รู ปร่ างผอมเพรี ยว หรื ออื่นๆ และไม่ได้รายงานเหตุการณ์ จากความจริ งที่
เกิดขึ้น แต่ประกอบสร้างความจริ งขึ้นมา ซึ่งการวางกรอบข่าวด้วยวิธีการประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ น
ผู ต้ ้อ งหาในลัก ษณะดัง กล่ า วนี้ อาจส่ ง ผลต่ อ ทัศ นคติ และพฤติ ก รรม โดยเฉพาะเด็ ก ที่ เ รี ย นรู ้
พฤติกรรมการก่ออาชญากรรมจากข่าว ดังที่ Scheufele (1999, อ้างถึงในดวงกมล เทวาพิทกั ษ์, 2554)
ได้เสนอไว้วา่ กรอบของสื่ อมีอิทธิ พล และส่ งผลต่อกรอบของผูร้ ับสารทาให้เกิดพฤติกรรม ทัศนคติ
และการรับรู ้ในเรื่ องราวต่างๆของแต่ละบุคคล ดังนั้นหากสื่ อมวลชนมีการรายงานข่าวในลักษณะนี้
ซ้ าๆ อาจเกิดค่านิยมและบรรทัดฐานทางสังคม ว่าถ้ามีหน้าตาดีจะได้รับความสนใจ ได้รับความชื่น
ชอบจากสังคม และหากเป็ นคนกตัญญูก็สามารถกระทาความผิดได้ เป็ นต้น
ดังนั้นเมื่อกรอบของสื่ อมีอิทธิ พลต่อกรอบของผูร้ ับสาร การศึกษาในครั้งนี้ จึงได้เลือก
ศึกษาข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช ที่นาเสนอผ่านทางเว็บไซต์เนื่องจากพบว่าการศึกษาเกี่ยวการวาง
11

กรอบข่าวที่ผา่ นมา ส่ วนใหญ่จะศึกษาการวางกรอบข่าวของหนังสื อพิมพ์ แต่กรณี คดีนางสาวปรี ยา


นุ ช สื่ อมวลชนในปั จจุ บนั ได้เน้นนาเสนอผ่านทางออนไลน์เป็ นหลักเพื่อให้เข้าถึ ง ผูค้ นได้อย่า ง
รวดเร็ วที่สุด โดยเลือกศึกษา เว็บไซต์ข่าวสด เนื่องจากมีผเู ้ ข้าชมเว็บไซต์เฉลี่ยวันละ 2,475,708 ครั้ง
(สถิติเว็บไทย,2561) ซึ่ งเป็ นเว็บไซต์ของสานักข่าวที่มีผูเ้ ข้าชมมากที่สุด และจากข้อมูลเมื่อเดือน
กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 พบว่าในเฟซบุ๊กข่าวสดมีผูต้ ิดตามเป็ นอันดับหนึ่งมากกว่า 12 ล้านคน ถือเป็ น
สานักข่าวที่ได้รับความนิยม มีผคู ้ นเข้าถึงมากที่สุด

ภำพที่ 1.7 ตัวอย่างแสดงจานวนการเข้าถึงข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ผ่าน


ทางเฟซบุก๊ ข่าวสด เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2560 มีผเู ้ ข้าถึงข่าวจานวน 8,998,460 คน ซึ่ งข่าวที่
นาเสนอผ่านทางเฟซบุก๊ ข่าวสด เมื่อกดรับชม หรื อ อ่านรายละเอียดข่าว จะเป็ นการเชื่อมต่อให้เข้า
ไปรับชม หรื อ อ่านรายละเอียดในเว็บไซต์ของข่าวสดทันที
12

ภำพที่ 1.8 ตัวอย่างแสดงจานวนการเข้าถึงข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ผ่าน


ทางเว็บไซต์ข่าวสด ซึ่ งมีตวั เลขผูแ้ ชร์ข่าวนี้ถึง 94 k หรื อ 94,000 คน (จับแล้ว แก๊งสวยหัน่ ศพ เปรี้ ยว
เอิร์น แจ้ ตม.ข้ามรับตัวจากเมียนมา ,2560)

นอกจากนี้ ผูว้ ิจยั ยัง พบว่า มาตรฐานทางจริ ย ธรรมวิช าชี พ สื่ อมวลชนที่ ระบุ เกี่ ย วกับ
ประเด็นเรื่ องเพศนั้น ยังกาหนดไว้กว้างๆ อาทิ แนวทางนาเสนอเรื่ องเพศ เพื่อพัฒนาการนาเสนอข่าว
ประเด็นเกี่ยวกับผูห้ ญิงของสมาคมนักข่าวนักหนังสื อพิมพ์แห่งประเทศไทย (2549) โดยยกตัวอย่าง
ข่าวที่สื่อมวลชนนาเสนอเกี่ยวกับผูห้ ญิงประกอบด้วย ข่าวข่มขืน การตั้งท้องเมื่อไม่พร้อม ทาแท้ง
ทิ้งเด็ก ความรุ นแรงในชี วิตคู่ เพศกับวัยรุ่ น และข่าวคนรักเพศเดียวกัน โดยวิเคราะห์ให้เห็นอิทธิพล
ของการพาดหัวข่ า ว และภาษาที่ ใ ช้ว่า มี อิท ธิ พ ลต่ อผูอ้ ่ า นอาจท าให้เกิ ดความเชื่ อผิดๆ และการ
นาเสนอการก่ ออาชญากรรมอย่า งละเอี ย ดยัง ส่ ง ผลให้เกิ ดการเลี ย นแบบ จึ ง มี ก ารเสนอแนะให้
นาเสนอข่าวเกี่ ยวกับผูห้ ญิงอย่างสร้างสรรค์ รู ้เท่าทันพลังของภาษาที่ใช้ และสื่ อมวลชนควรเพิ่ม
มุมมองที่หลากหลายเพื่อสร้างคุณค่าข่าว แต่ยงั ไม่พบแนวปฏิบตั ิที่ชดั เจนเกี่ยวกับการนาเสนอข่าว
กรณี ผูห้ ญิงเป็ นต้องหา ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาเพิ่มเติมโดยอาศัยการเรี ยนรู ้จากการรายงานข่ าว
อาชญากรรมกรณี คดีของนางสาวปรี ยานุช
การศึกษาเรื่ องการวางกรอบข่าวอาชญากรรมที่ประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา กรณี
คดี "นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย” จึงมีความสาคัญอย่างยิง่ ที่จะศึกษาเพื่อถอดบทเรี ยนการนาเสนอ
ข่าวอาชญากรรมกรณี ผหู ้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา โดยผูว้ ิจยั เลือกศึกษาเว็บไซต์ข่าวสดออนไลน์ ว่ามีการ
13

วางกรอบข่าวคดีน้ ี อย่างไร และมีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการวางกรอบข่าวนี้ และการวิจยั ในครั้งนี้


ยังแสวงหาข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรม เกี่ยวกับการนาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ น
ผูต้ อ้ งหา ผลการศึกษาที่ได้จะนามาใช้เพื่อเพิ่มมาตรฐานการรายงานข่าวในวิชาชีพสื่ อและคุณภาพ
ในการทางานของสื่ อมวลชนไทย

1.2 ปัญหำนำวิจัย
1) เว็บไซต์ข่าวสดมีการวางกรอบข่าวในการนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
อย่างไร
2) ปั จจัย ภายใน และภายนอกใดที่ ส่ ง ผลต่ อ การวางกรอบข่ า วในการนาเสนอข่ า วกรณี ค ดี
นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ของเว็บไซต์ข่าวสด
3) สื่ อมวลชนไทยควรมีแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรม ในการนาเสนอข่าวคดีที่ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหา
อย่างไร

1.3 วัตถุประสงค์ ของกำรวิจัย


1) เพื่ อศึ ก ษาการวางกรอบข่ า วในการนาเสนอกรณี ค ดี นางสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย ของ
เว็บไซต์ข่าวสด
2) เพื่อศึกษาปั จจัยภายใน และภายนอกที่ส่งผลต่อการวางกรอบข่าวของเว็บไซต์ข่าวสด ใน
การนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
3) เพื่ อ รวบรวมข้อ เสนอแนะ และแนวปฏิ บ ัติ ท างจริ ย ธรรมของสื่ อ มวลชนไทย ในการ
นาเสนอข่าวคดีที่ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหา

1.4 ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ำจะได้ รับ


การวิจยั ในครั้งนี้มุ่งหวังผลการศึกษาที่จะมีประโยชน์ต่อการสื่ อสารมวลชน ดังนี้
1) ผลการวิจยั สามารถทราบถึงการวางกรอบข่าวกรณี ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาของสื่ อออนไลน์
2) ผลการวิจยั สามารถทราบถึงปั จจัยภายในและภายนอกที่สื่อมวลชนประกอบสร้างผูห้ ญิงที่
เป็ นผูต้ อ้ งหา
3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากผลการวิจยั สามารถนาไปใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิ ในการนาเสนอข่าวผูห้ ญิง
ที่เป็ นผูต้ อ้ งหาเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทางานของสื่ อมวลชนไทย
14

1.5 ขอบเขต
การศึกษาเรื่ อง การวางกรอบข่าวอาชญากรรมที่ประกอบสร้ างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา
กรณี คดี "นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ” ใช้ระเบียบวิธีการวิจยั เชิ งคุณภาพ (qualitative research)
โดยมีขอบเขต ดังนี้
1) ขอบเขตด้านกลุ่มตัวอย่างศึกษาข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ที่นาเสนอผ่านทาง
เว็บไซต์ข่าวสด จานวน 8 ข่าว
2) ขอบเขตด้านวิธีการ การศึกษาวิจยั นี้ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 2 วิธี คือวิเคราะห์การวาง
กรอบ (Frame Analysis) ในเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ร่ วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
โดยวิเคราะห์เนื้ อหาข่าวกรณี คดี ของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ที่นาเสนอผ่านทางเว็บไซด์ ของ
บริ ษทั ข่าวสด จากัด ตั้งแต่วนั ที่ 25 พฤษภาคม - 23 สิ งหาคม พ.ศ. 2560 รวมระยะเวลาการนาเสนอ
ข่าว 3 เดือน

1.6 นิยำมศัพท์
กำรวำงกรอบข่ ำวอำชญำกรรม หมายถึง การนาเสนอเนื้ อหากรณี คดี นางสาวปรี ยานุ ช
โนนวังชัย ผ่านเว็บไซต์ข่าวสด ว่ามีการอธิ บายเหตุการณ์อย่างไร อ้างอิงตามแนวคิดกรอบข่าวของ
Robert Entman (Maher,2001 ; Jone, 2007 อ้างถึงในดวงกมล เทวพิทกั ษ์ ,2554) และ Jewkes (2004)
วิธีการที่สื่อมวลชนใช้ประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหาโดยพิจารณาจาก
1) การกาหนดแก่นเรื่ อง (Theme) วิเคราะห์จากเนื้อหา และภาพ เพื่อระบุถึง
1.1) การนิยามเหตุการณ์ หมายถึง การตีความ และแปลความหมายจากเนื้ อหาข่าวและ
องค์ประกอบข่าวว่าเรื่ องราวที่ถูกนาเสนอนั้นทาให้เข้าใจว่าข่าวนี้มีลกั ษณะอย่างไร
1.2) การวิเคราะห์ว่าอะไรคือสาเหตุของปั ญหา หมายถึง การตีความจากเนื้ อหาข่าวว่า
เรื่ องราวที่ถูกนาเสนอว่าอะไรคือสาเหตุของเรื่ องราวที่เกิดขึ้น
1.3) การประเมินในเชิ งจริ ยธรรมของผูเ้ กี่ ยวข้องในการนาเสนอข่ าว หมายถึ ง การ
ตีความจากเนื้ อหาข่าว และองค์ประกอบข่าวว่ามีความชอบธรรมกับเรื่ องราวและผูท้ ี่ตกเป็ นข่ าว
อย่างไร
1.4) การเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น หมายถึง การพิจารณาจากเนื้ อหาข่าว
ว่าสื่ อมวลชนมีการนาเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากเนื้อหาข่าวที่นาเสนอหรื อไม่ อย่างไร
2) กลวิธีในรู ปแบบ (Style) หมายถึง วิธีการที่ใช้เลือกประเด็นนั้นให้โดดเด่น สังเกตง่าย
และน่าจดจา โดยพิจารณาจาก รู ปแบบการจัดวาง การพาดหัวข่าว การทาซ้ า การใช้สัญลักษณ์ การ
ใช้ภาษาที่ดึงดูดใจ และการใช้เทคนิคการตัดต่อวีดีโอ
15

3) วิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม หมายถึง วิธีการที่สื่อมวลชน


เลือกนาเสนอมุมมองที่มีต่อผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม กรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ซึ่ งมี 8
วิธี ประกอบด้วย เพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ ความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ภายนอก การเป็ นภรรยา
ที่ไม่ดี การเป็ นแม่ที่ไม่ดี สัตว์ประหลาดในตานาน วัวคลัง่ คนที่ชอบบงการผูอ้ ื่น และไม่ใช่ตวั การ
กระทาผิด
ปั จจัยที่ส่งผลต่ อกำรวำงกรอบข่ ำว หมายถึงปั จจัยภายในและภายนอกที่ส่งผลต่อการ
นาเสนอเนื้อหา และวางกรอบข่าวของสื่ อมวลชน
ปัจจัยภายในองค์กร ประกอบด้วย
1) ปั จจัย ด้า นการจัดการ หมายถึ ง การสั่ ง การระหว่างบรรณาธิ การและผูป้ ฏิ บตั ิงาน
นโยบายที่ใช้กาหนดแนวทางในการนาเสนอข่าว
2) ปั จ จัย ด้า นบุ ค ลากรข่ า ว ได้แ ก่ ทัศ นคติ ค่ า นิ ย ม และประสบการณ์ ส่ ว นบุ ค คลที่
แตกต่างกันของบรรณาธิ การข่าว หัวหน้าแอดมิน ผูส้ ื่ อข่าว ส่ งผลต่อการคัดเลือก นาเสนอเนื้ อหา
และการวางกรอบข่าวที่แตกต่างกัน
ปัจจัยภายนอก ประกอบด้วย
1) ผูโ้ ฆษณา ซึ่ งเป็ นรายได้หลักขององค์กรสื่ อมีอิท ธิ พลทั้งทางตรงและทางอ้อมในการ
พิจารณานาเสนอข่าว ล้วนส่ งผลต่อเนื้อหาข่าว และการวางกรอบข่าว
2) คู่แข่ง ทั้งการแข่งขันของสื่ อประเภทเดียวกันและการแข่งขันกับสื่ อต่างประเภท เช่น
สื่ อออนไลน์กบั สื่ อโทรทัศน์ เพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจ
3) บรรทัดฐานทางสังคม หรื อเงื่อนไขทางสังคม เช่น วัฒนธรรม , ความเชื่อ , ศาสนา ,
ค่านิยม ส่ งผลต่อการพิจารณาคัดเลือกและนาเสนอข่าวใดข่าวหนึ่งต่อสังคม
4) ผูร้ ับสาร ซึ่งองค์กรสื่ อจะต้องนาเสนอข้อมูลที่ตอบสนองความต้องการเป็ นหลัก

สื่ อกับกำรประกอบสร้ ำงควำมหมำย หมายถึง การใช้ภาษาในการกาหนดนิยาม อธิ บาย


หรื อนาเสนอข่าวกรณี คดี นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว โดยมีสื่อมวลชนทาหน้าที่เป็ น
ตัวกลางในการรายงานความเป็ นจริ งจากเหตุการณ์ที่เกิ ดขึ้นว่าจะผลิต และสร้างความหมายให้กบั
เหตุการณ์น้ นั อย่างไร ก่อนนาเสนอไปสู่ สังคม
แนวปฏิบัติทำงจริ ยธรรมหมายถึง คาอธิ บายหรื อรายละเอียดเกี่ยวกับการรายงานข่าว
กรณี ผูห้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหา ที่ สื่อมวลชนควรยึดเป็ นแนวปฏิบตั ิในการทางานเพื่อให้มีมาตรฐานทาง
จริ ยธรรม
16

1.7 กรอบแนวคิด

กำรรำยงำนข่ ำวกรณีคดีนำงสำวปรียำนุช โนนวังชัยในข่ ำวสดออนไลน์


ตั้งแต่ วนั ที่ 25 พฤษภำคม - 23 สิงหำคม พ.ศ. 2560

กำรวำงกรอบข่ ำวกรณีคดีนำงสำวปรียำนุช โนนวังชัย พิจำรณำจำก

การกาหนดแก่นเรื่ อง (Theme)
1.การนิยามเหตุการณ์
ปัจจัยภำยใน ปัจจัย
2.การวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหา
1.ปั จจัยด้าน 3.การประเมินในเชิงจริ ยธรรม ภำยนอก
การจัดการ 4.การเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา 1.ผูโ้ ฆษณา
2.ปั จจัยด้าน 2.คู่แข่ง
กลวิธีในรู ปแบบ (Style) 3.บรรทัด
บุคลากรข่าว
1.รู ปแบบการจัดวาง ฐานทาง
2.การพาดหัวข่าว สังคม
3.การทาซ้ า 4.ผูร้ ับสาร
4.การใช้สญ ั ลักษณ์
5.การใช้ภาษาที่ดึงดูดใจ
6.การใช้เทคนิคการตัดต่อวีดีโอ

วิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา


1.เพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ 6.แม่ที่ไม่ดี
2.ภรรยาที่ไม่ดี 7.วัวคลัง่
3.สัตว์ประหลาดในตานาน 8.ไม่ใช่ตวั การกระทาความผิด
4.ผูบ้ งการ
5.ความดึงดูดของรู ปลักษณ์ภายนอก

ข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของ


สื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา

ภำพที่ 1.9 กรอบแนวคิดการรายงานข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ในข่าวสดออนไลน์


บทที่ 2
แนวคิดทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง

ในการศึกษาเรื่ อง การวางกรอบข่าวอาชญากรรมที่ประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา


กรณี คดี "นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว" ได้นาแนวคิดและทฤษฎีมาใช้เป็ นแนวทางใน
การศึกษาวิเคราะห์และอภิปรายผล ดังนี้
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการนาเสนอข่าวผ่านสื่ อออนไลน์
2.2 แนวคิดเรื่ องการวางกรอบข่าว (News Framing)
2.3 แนวคิดเกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อการทางานขององค์กรข่าว(The News Organization
in the Field of Social Force)
2.3.1 ปัจจัยภายใน
2.3.2 ปัจจัยภายนอก
2.4 แนวคิดเกี่ยวกับข่าวอาชญากรรมและคุณค่าข่าว (Crime News and value)
2.5 แนวคิ ด เรื่ อ งสื่ อ กับ การประกอบสร้ า งความหมาย (Media and Construction of
Meaning)
2.6 แนวคิดการประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นอาชญากรผ่านการรายงานข่าวอาชญากรรม
(Construction of women as criminals through crime News)
2.7 แนวคิดเกี่ยวกับจริ ยธรรมสื่ อมวลชนในการนาเสนอประเด็นเรื่ องเพศ

2.1 แนวคิดเกีย่ วกับการนาเสนอข่ าวผ่านสื่ อออนไลน์


แนวคิ ดเกี่ ย วกับ การนาเสนอข่ า วผ่า นสื่ อ ออนไลน์ ถู ก นามาใช้ศึ ก ษากระบวนการ
นาเสนอข่าวของสื่ อมวลชนที่เปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยี โดยสื่ อมวลชนได้ใช้สื่อออนไลน์เป็ น
อีกช่องทางหนึ่ งในการนาเสนอข้อมูลและมัลติมีเดียไปสู่ ผรู ้ ับสาร หรื อ ที่เรี ยกว่าสื่ อสังคมออนไลน์
ที่ ผูส้ ่ งสารได้แบ่งปั นสารซึ่ ง อยู่ใ นรู ปแบบต่างๆ ไปยังผูร้ ับสารผ่านทางเครื อข่ายออนไลน์ โดย
สามารถโต้ตอบกันระหว่างผูส้ ่ งสารและผูร้ ับสาร หรื อ ผูร้ ับสารด้วยกันเอง (พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์
,2554) สาหรับแนวคิดเกี่ยวกับการนาเสนอข่าวผ่านสื่ อออนไลน์ มีรายละเอียด ดังนี้
18

2.1.1 ลักษณะการนาเสนอข่าวผ่านสื่ อออนไลน์


สิ ริ ชัย วงษ์ส าธิ ต ศาสตร์ , 2549 ได้อ ธิ บ ายว่า การน าเสนอข่ า วแบบสื่ อ ดั้ง เดิ ม จะมุ่ ง
นาเสนอข่าวต่อกลุ่มผูอ้ ่านเป็ นหลัก แต่การนาเสนอข่าวผ่านสื่ อออนไลน์เป็ นการสื่ อสารแบบทันต่อ
เหตุการณ์ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1)ตรงกาล (real time) การรายงานข่าวออนไลน์สามารถนาเสนอแบบทันเหตุการณ์
ตามเวลาที่เกิดขึ้นจริ ง หรื อ ควบคู่ไปกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
2)ไร้กาล (shifted time) ไม่มีขอ้ จากัดด้านเวลา สามารถรายงานข่าวทันเหตุการณ์
ค้นหาข่าวย้อนหลัง และที่สาคัญช่ องทางเวิลด์ไวด์เว็บ ก็เป็ นช่ องทางที่สะดวกต่อการใช้งานและ
เข้าถึงข่าวออนไลน์
3)ประสานสื่ อ (multimedia) การรายงานข่าวออนไลน์ตอ้ งใช้องค์ประกอบในด้าน
สื่ อประสม โดยการนาเสนอเนื้อหาในรู ปแบบต่างๆ เช่น ข้อความ รู ปภาพ ภาพนิ่ง
4)ปฏิ สัมพันธ์ (interactive)ข่าวออนไลน์กลุ่ มผูอ้ ่านสามารถเข้ามามี ส่วนร่ วมใน
เนื้ อหาในลัก ษณะแบบปฏิ สัม พันธ์ (interactive) ตอบสนองต่ อบทความหรื อเนื้ อหาข่ า วต่ า งๆที่
นาเสนอบนออนไลน์อย่างทันที
2.1.2 กระบวนการนาเสนอข่าวผ่านสื่ อออนไลน์
สื่ อออนไลน์ถือว่าเป็ นส่ วนหนึ่ งของสื่ อใหม่ที่สื่อมวลชนนิ ยมใช้ในการนาเสนอข่าว
ซึ่ งสกุ ล ศรี ศรี ส ารคาม (2554) ได้ศึ ก ษาการใช้สื่ อ ใหม่ ข องผู ้สื่ อ ข่ า วในประเทศไทยกับ การ
ปรับเปลี่ยนกระบวนการสื่ อข่าว ได้ขอ้ สรุ ปเป็ นโมเดลในการใช้สื่อใหม่ในกระบวนการสื่ อข่าวใน
ประเทศไทย ดังนี้
ผูส้ ื่ อข่าว
สื่ อดั้งเดิม

การรวบรวมและหาข่าว กองบรรณาธิ การข่าว การเผยแพร่ ผูร้ ับสาร


(Editorial) ข่าวสาร (Audience)
(Distribution)

โซเชียลมีเดีย
ทาหน้าที่
ทาหน้าที่ Gatekeeper-สื่ อ
Gatekeeper
ดั้งเดิม
Gate watcher –สื่ อสังคม มิติความเร็ วใช้ มิติความลึก
งานได้มาก ยังใช้นอ้ ย

ภาพที่ 2.1 แสดงกระบวนการสื่ อข่าวที่ใช้สื่อใหม่ (News Reporting Model)


19

จากภาพที่ 2.1 แสดงให้เห็ นว่า สื่ อใหม่ ถู ก นามาใช้ใ นกระบวนการรวบรวมหาข่ า ว


(Newsgathering) โดยผูส้ ื่ อข่าวต้องทาหน้าที่เป็ นนายทวารข่าวสารด้วยตัวเอง เพื่อนาเสนอข้อมูล
บางส่ วนโดยไม่ผา่ นกองบรรณาธิ การ จากนั้นสื่ อสังคมจะถูกนามาใช้ในกระบวนการเผยแพร่ ข่าว
(News Distribution) ซึ่ งสามารถนาเสนอข้อมูลทั้งในมิติความเร็ วและความลึกหากเลือกใช้สื่อสังคม
ให้ถูกประเภท โดยพบว่าประเด็นหลักที่เกิ ดในกระบวนการสื่ อข่าวที่มีสื่อใหม่เป็ นเครื่ องมือและ
เป็ นช่องทาง มีการสื่ อสารในมิติของความเร็ ว และ ลึก ที่ทาให้การรายงานข่าวเปลี่ยนแปลงไป โดย
สื่ อมวลชนเน้นรายงานข่าวทันทีจากจุดเกิ ดเหตุ อัพเดทข้อมูลทันที และรายงานข่าวคืบหน้าอย่าง
ต่อเนื่ องผ่านสื่ อสังคม แต่หลายครั้งภาวะความเร็ วก็ทาให้เกิดข้อผิดพลาดในข้อมูล แต่ผสู ้ ื่ อข่าวต้อง
รั บผิดชอบต่อสิ่ งที่ สื่อสารไปและแก้ไขทันที แต่ผูส้ ื่ อข่าวและองค์กรข่าวยังใช้ประโยชน์จากสื่ อ
สังคมในการส่ งเสริ มการรายงานในมิติลึกอย่างไม่เต็มประสิ ทธิ ภาพในการเชื่อมโยงข้อมูล ต่อยอด
ประเด็น หรื อ สร้างเนื้ อหาข้อมูลใหม่ๆ เนื่องจากข้อจากัดในส่ วนปั จจัยเรื่ องเวลา และรู ปแบบการ
ใช้งาน และมีการเปลี่ยนแปลงบทบาทการเป็ นนายทวารข่าวสารของบรรณาธิ การข่าว แต่เป็ นการ
เปิ ดประตูให้ผอู ้ ่านเข้ามามีส่วนร่ วมในกระบวนการมากขึ้นแทนที่จะเป็ นผูเ้ ลือกเนื้ อหาเพื่อนาเสนอ
ซึ่งบรรณาธิ การจะใช้ผรู ้ ับสารเป็ นส่ วนหนึ่งในการพิจารณาว่าสิ่ งใดควรนาเสนอออกไป
ด้าน Mitchelstein&Boczkowski (2009) อ้างถึงในสกุลศรี ศรี สารคาม (2554) บอกว่า
เครื่ องมื อบนโลกออนไลน์ทาให้นักข่าวต้องทางานหลายอย่างมากขึ้ น (multiple tasks) และต้อง
ผสมผสานเครื่ องมือในการรวบรวมข่าว (newsgathering) และเทคนิคในการเล่าเรื่ อง (story-telling
technique) ผ่ า นช่ อ งทางให้ ไ ด้ อ ย่ า งเหมาะสมจากเดิ ม แต่ ล ะบุ ค คล เช่ น ผู ้สื่ อข่ า ว ช่ า งภาพ
บรรณาธิ การ จะมีหน้าที่เฉพาะของตัวเอง กลายเป็ นว่าทุกคนต้องทาทุกอย่างได้ดว้ ยตัวเอง หรื อที่
เรี ยกว่า Multi-skill journalist
2.1.3 ผลกระทบการนาเสนอข่าวผ่านสื่ อออนไลน์
การนาเสนอข่าวผ่านสื่ อออนไลน์ของสื่ อมวลชนมีผลกระทบหลายด้านโดย สิ ริชยั วงษ์
สาธิ ตศาสตร์ (2549) พบว่าการนาเสนอข่าวออนไลน์ มีท้ งั ผลกระทบต่อวิชาชีพด้านวารสารศาสตร์
และสื่ อสารมวลชน และผลกระทบต่อสิ ทธิส่วนบุคคล โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1)ผลกระทบต่อวิชาชี พด้านวารสารศาสตร์ และสื่ อสารมวลชน โดยลดบทบาทของ
สื่ อมวลชนแบบดั้งเดิ ม กล่าวคือ เมื่อเหตุการณ์หนึ่ งที่สามารถเป็ นข่าวเกิ ดขึ้น การตัดสิ นใจจะเริ่ ม
จากบรรณาธิ การตัดสิ นว่าจะนาเสนอ หรื อ ส่ งผูส้ ื่ อข่าวคนใดไปเก็บข้อมูล แต่ปัจจุบนั กลุ่มบุคคลที่มี
ส่ วนเกี่ ยวข้องใกล้ชิดกับข่าว หรื อกลุ่มที่มีความสนใจต่อหัวข้อข่าวนั้นๆ จะเป็ นผูส้ ่ งข่าวสารผ่าน
ทางอินเทอร์ เน็ตไปสู่ กลุ่มเป้ าหมายของตน แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบวารสารศาสตร์
แบบดั้งเดิมที่ได้รับผลกระทบจากสื่ อออนไลน์ โดยขาดผูเ้ ฝ้าประตู (gatekeeper) ส่ งผลกระทบต่อ
20

รู ปแบบการรายงานข่าวในปั จจุบนั คือ ความเสี่ ยงต่อการผลิตเนื้ อหาข่าวเกินความต้องการ ไม่เป็ นที่


ปรารถนา ไม่เกี่ยวข้อง ไม่มีคุณค่า
2) ผลกระทบต่อสิ ทธิ ส่วนบุคคล และการขาดมาตรการควบคุมทางด้านกฏหมาย การ
รายงานข่าวสะท้อนปั ญหาเกี่ยวกับการล่วงละเมิดสิ ทธิ ของผูอ้ ื่น เนื่องจากความรวดเร็ วในการเก็บ
รวบรวมข้อ มู ล ของบุ ค คลต่ า งๆ โดยผ่า นฐานข้อ มู ล ของคอมพิ วเตอร์ ส่ ง ผลให้เ กิ ด ปั ญ หานี้ ไ ด้
ประกอบกับลักษณะพิเศษของสื่ อออนไลน์ที่เปิ ดโอกาสให้ผูอ้ ่านนาเสนอข้อมูลข่าวสารได้ด้วย
ตนเอง บ่อยครั้งการนาเสนอขาดจรรยาบรรณในเรื่ องของความสานึกรับผิดชอบต่อผลกระทบที่อาจ
เกิดขึ้นต่อสังคม รวมถึงการละเมิดลิขสิ ทธิ์ ดว้ ย
จากการศึ กษาแนวคิ ดการนาเสนอข่ าวผ่านสื่ อออนไลน์ ผูว้ ิจยั ได้นาแนวคิดนี้ มาใช้เ ป็ น
แนวทางในการศึกษาข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ที่นาเสนอผ่านทางเว็บไซต์ข่าวสดว่า
มีกระบวนการรวบรวมข่าวและนาเสนอข่าวกรณี น้ ีอย่างไร

2.2 แนวคิดเรื่ องการวางกรอบข่ าว


แนวคิดเรื่ องการวางกรอบข่าวถูกนามาใช้ในการศึกษาด้านนิเทศศาสตร์ เพื่อศึกษาสื่ อ
จานวนมาก งานวิจยั ชิ้นนี้ จึงได้นาแนวคิดดังกล่าวมาใช้วิเคราะห์การวางกรอบข่าวกรณี คดีนางสาว
ปรี ย านุ ช โนนวัง ชัย โดยพบว่า มี ผูใ้ ห้ค วามหมาย และค านิ ย ามการวางกรอบไว้หลายคนโดยมี
รายละเอียดดังนี้
2.2.1 ความหมายการวางกรอบ
Entman (1993) ระบุวา่ การวางกรอบ คือการนาเสนอความจริ งบางแง่มุมของประเด็น
ที่ ถู ก น ามาคัด เลื อ กมาท าให้ โ ดดเด่ น สั ง เกตง่ า ย และน่ า จดจ าในสายตาของผู ้รั บ สาร (More
Noticeable, Meaningful or Memorable) ผ่านกระบวนการเล่ า เรื่ องเพื่อให้เห็ นถึ งความสาคัญและ
ความน่าสนใจของประเด็นนั้นๆ (ดวงกมล เทวพิทกั ษ์ ,2554)
McComb and Estrada (1977) ระบุว่า การวางกรอบของสื่ อมวลชนสามารถกาหนด
เนื้ อหาและวิธีการนาเสนอว่าจะเบนความสนใจไปในหัวข้ออะไร และในหัวข้อนั้นจะให้สนใจใน
ประเด็นไหน อย่างไร และรู ้สึกอย่างไร (สราธร บุญสิ ทธิ์ , 2560)
ดังนั้นสามารถสรุ ปได้วา่ การวางกรอบข่าวคือ การนาเสนอข่าวที่ผ่านการคัดสรรและ
ทาให้โดดเด่นขึ้นจนเป็ นแก่นของเรื่ อง โดยมีการกาหนดเนื้ อหาและวิธีการนาเสนอบางส่ วนมาทา
ให้โดดเด่น และทาให้ลดความสาคัญของบางส่ วนลง
21

2.2.2 กระบวนการศึกษาการวางกรอบของสื่ อมวลชน


สาหรับการศึกษาเกี่ยวกับการวางกรอบของสื่ อมวลชนมีนกั วิชาการได้ทาการศึกษาไว้
หลายคน Goffman (1971) นักสังคมวิทยา ชาวแคนาดา ได้ทาการศึกษาพบว่า กรอบคือการจัดการ
กับประสบการณ์ หรื อเรื่ องราวต่างๆที่พบเจออยู่ตลอดเวลาในชี วิตประจาวัน เป็ นกระบวนการ
สารวจและทาความเข้าใจกับเหตุการณ์ ช่วยให้บุคคลสามารถวางตาแหน่ง (Locate) รับรู ้ (Perceive)
แยกแยะ (Identity) หรื อให้ชื่อ (Label) กับเหตุการณ์น้ นั ได้ และแน่นอนว่าการวางกรอบของแต่ละ
บุคคลก็ยอ่ มแตกต่างกันออกไป ตามกรอบอ้างอิง (Frame of Reference) ของแต่ละบุคคลที่แตกต่าง
กัน
ขณะที่ Gamson and Modigliani (2016) ได้ทาการศึกษาพบว่ากรอบคือความคิดหลักที่
คนเราใช้ในการทาความเข้าใจต่อเหตุการณ์รอบข้าง และตอบตนเองว่าเรื่ องดังกล่าวคืออะไร จะต้อง
ใช้หลักการหรื อมุมมองใดมาตีความ ดังนั้นแต่บุคคลย่อมมีกรอบของปั จเจกบุคคลที่แตกต่างกันไป
บุคคลในสถานภาพผูส้ ื่ อข่าวก็ย่อมมีกรอบปั จเจกบุคคลอยู่ดว้ ยเช่ นกัน และมันก็เป็ นส่ วนหนึ่ งใน
การสร้างกรอบของสื่ อที่นาเสนอต่อสังคมด้วย (กาญจน์ ทันจิตต์ , 2522)
ด้าน Scheufele (1999) อ้างถึงใน (ดวงกมล เทวพิทกั ษ์, 2554) ได้ศึกษาแนวคิดเรื่ องการ
วางกรอบโดยนาแนวคิดของ McCombs กับแนวคิดของ Goffman พบว่าแนวคิดเรื่ องการวางกรอบ
ของ McCombs ระบุ ว่า การกาหนดข่าวสารเป็ นเรื่ องของการเรี ยงลาดับ จัดระเบียบข่าวสารของ
สื่ อมวลชนเพื่อให้คนในสังคมสนใจประเด็นที่สื่อนาเสนอ และความถี่ของประเด็นจะเพิ่ม ระดับ
ความสาคัญของคุณลักษณะต่างๆ ซึ่ งมาจากความจาของผูร้ ับสาร โดย McCombs อธิ บายไว้ว่าการ
วางกรอบเป็ นส่ วนหนึ่ งของแนวคิดการกาหนดวาระข่าวสาร ด้วยสมมติฐานที่ว่า “ยิ่งสื่ อมวลชน
เลือกนาเสนอข่าวเกี่ยวกับประเด็นปั ญหาใดมาก ก็จะเพิ่มน้ าหนักและความสาคัญของประเด็น ทา
ให้ผูร้ ั บสารตระหนักถึ งความสาคัญของประเด็นปั ญหานั้นมากขึ้นตามไปด้วย” โดยสื่ อจะเป็ นผู ้
เลือกประเด็นใดประเด็นหนึ่งจากเหตุการณ์น้ นั มาจัดวาระความสาคัญนาไปสู่ การรับรู ้ของสังคมใน
ทิศทางที่สื่อวางไว้ โดยสื่ อจะทาหน้าที่ตดั สิ นใจว่าจะบรรยายประเด็นข่าวนั้นอย่างไร เพื่ออธิ บาย
ให้ เ ห็ น ว่า ประเด็ น ที่ จ ัด วาระไปแล้ว มี ค วามส าคัญ อย่า งไร ด้ว ยการบรรจุ ชุ ด เหตุ ผ ล หรื อ แยก
คุณลักษณะบางประการในเนื้ อหาข่าวทาให้โดดเด่นออกมา แต่ Maher (2001) อ้างถึงใน (ดวงกมล
เทวพิ ท กั ษ์, 2554) ปฏิ เสธว่า การวางกรอบเนื้ อหาข่ า วไม่ ใ ช่ ก ารก าหนดวาระข่ า วสาร แต่ อาจมี
บางส่ วนทับซ้อนกันโดยการวางกรอบเนื้ อหาข่าวในขั้นตอนของการกาหนดวาระข่าวสารเป็ นการ
ให้ความหมายถึงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในเนื้ อหาข่าว แตกต่างต่างจากการวางกรอบ
ของ Goffmanที่อธิ บายถึ งความคาดการณ์โดยการกระตุน้ แบบแผนในสมองมนุ ษย์ที่เรี ยกว่าสคีม่า
22

เพื่อตีความให้ความหมายในเรื่ องเหตุการณ์ หรื อประเด็นต่างๆด้วยการใช้คาพูดที่อธิ บายเหตุการณ์


แตกต่างออกไปจากเดิม (ดวงกมล เทวพิทกั ษ์ ,2554)
โดย Scheufele พบว่า ยัง ไม่ มี ก ารอธิ บ ายถึ ง กรอบอย่า งเป็ นระบบ Scheufele จึ ง ได้
อธิ บายการวางกรอบในลักษณะของที่มา (Input) กระบวนการวางกรอบ(Processes) และผลลัพธ์ที่
เกิ ดขึ้น (Outcomes)ซึ่ งเป็ นกระบวนการที่เกิ ดขึ้นอยู่ตลอดเวลา (Continuous Process) และผลลัพธ์
นั้นสามารถกลายเป็ นที่มาให้กบั กระบวนการอื่นๆอีกต่อไปได้ ซึ่ งกระบวนการในการสร้างกรอบ
การกาหนดกรอบ และอิทธิ พลของการวางกรอบในระดับบุคคล และผูส้ ื่ อข่าว ในฐานะที่เป็ นบุคคล
หรื อ เป็ นผู ้รั บ สาร สามารถน ามาเขี ย นเป็ นแบบจ าลองกระบวนการวางกรอบในระบบการ
สื่ อสารมวลชน ดังนี้

ภาพที่ 2.2 แบบจาลองกระบวนการวางกรอบในระบบการสื่ อสารมวลชน

ตามแบบจาลองของ Scheufele ดังภาพที่ 2.2 สามารถอธิ บายความสัมพันธ์ของที่มา


และผลลัพธ์ของแต่ละกระบวนการ ดังนี้
1.) การสร้ า งกรอบ (Framing building) เป็ นกระบวนการที่ โ ครงสร้ า งองค์ก รและ
ค่านิ ยมของนักข่าวมีอิทธิ พลต่อกรอบของสื่ อ กระบวนการสร้างกรอบข่าวของนักข่าวเกิ ดขึ้นจาก
อิทธิ พลจากตัวนักข่าวเอง ซึ่ งแต่ละคนจะสร้างกรอบของตนขึ้นเพื่อที่จะวางโครงร่ างและทาความ
เข้าใจกับข้อมูลที่ได้รับเข้ามาและจัดการกับข้อมูลเหล่านี้ โดยมีปัจจัยในตัวนักข่าว เช่น อุดมการณ์
ทัศนคติแบบแผนที่ยดึ ถือเป็ นแนวปฏิบตั ิทางวิชาชีพ สิ่ งเหล่านี้จะสะท้อนออกไป
23

2.)การก าหนดกรอบ (Framing setting) หลังจากสร้ างกรอบของสื่ อหรื อกรอบของ


องค์กรแล้ว มีการกาหนดกรอบซึ่ งเป็ นกระบวนการที่ผูร้ ับสารได้รับกรอบของสื่ อคือการกาหนด
กรอบให้กบั เรื่ องราวของประเด็นข่าวนั้นๆ ให้ผรู ้ ับสารรู ้
3.)อิทธิ พลในการวางกรอบ (Effect of Framing) กรอบของสื่ อส่ งผลต่อกรอบของผูร้ ับ
สารทาให้เกิดพฤติกรรม ทัศนคติและการรับรู ้ในเรื่ องราวต่างๆของแต่ละบุคคล
4.)นัก ข่ า วในฐานะผูร้ ั บ สาร (Journalists as audience) เป็ นกระบวนการสุ ดท้ายของ
แบบจาลองนี้ ซึ่ งมองว่านักข่าวเหมือนกับผูร้ ับสารคือถือเป็ นปั จเจกบุคคล นักข่าวก็จะได้รับอิทธิ พล
จากกรอบของตัวเองและองค์กรข่าวซึ่ งส่ งผลต่อการทางานข่าว ใช้ในการอธิ บายเหตุการณ์ หรื อ
ประเด็นต่างๆเหมือนกัน
การศึ กษาในครั้ งนี้ จึงได้นากระบวนการวางกรอบในระบบการสื่ อสารมวลชนของ
Scheufele มาใช้เพื่ออภิปรายถึงอิทธิพลการวางกรอบในระดับปัจเจก กรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนน
วังชัย หรื อ เปรี้ ยว ว่าได้รับอิทธิ พลจากกรอบของปัจเจกบุคคล ทั้งอุดมการณ์ ทัศนคติ และแบบแผน
ในวิชาชี พ รวมไปถึ งกรอบขององค์กรข่าวในการเลือกนาเสนอประเด็นผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหาให้
กลายเป็ นคนดัง หรื อไม่อย่างไร
แต่เนื่ องจากมีผูศ้ ึกษาเรื่ องการวางกรอบไว้หลากหลายแนวคิด ในการศึกษาครั้งนี้ ได้
เลื อ กใช้ แ นวทางการศึ ก ษาการวางกรอบตามแนวคิ ด ของ Robert Entmanศาสตราจารย์จ าก
มหาวิทยาลัยจอร์ จ วอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริ กาเป็ นแนวทางหลัก และแนวคิดหลักในการศึกษา
เนื่ อ งจาก Entmanมี ก ารศึ ก ษาการวางกรอบข่ า วในมิ ติ ที่ ลึ ก ซึ้ งกว่ า Scheufele , McCombs และ
Goffman ที่ศึกษาเพียงอิทธิ พลที่ส่งผลต่อการวางกรอบ ขณะที่ Entmanได้กาหนดหน้าที่ของกรอบ
ไว้ 4 ประเภท ประกอบด้วย
1.) การนิยามเหตุการณ์ คือ การอธิบายว่าตัวการในเหตุการณ์น้ นั ๆกาลังทาอะไร
2.) การวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาในสังคม คือ การระบุถึงแรงผลักดันที่ ทาให้เ กิ ด
ปั ญหานั้น
3.) การประเมิ นในเชิ ง จริ ย ธรรมของผูเ้ กี่ ย วข้อ ง คื อ การประเมิ นค่ า ของตัวการใน
เหตุการณ์น้ นั ๆ และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
4.) การแนะทางออกของปัญหา คือ การให้เหตุผลเกี่ยวกับแนวทางในการแก้ปัญหา ละ
การทานายผลที่อาจเกิดขึ้น
การกาหนดหน้าที่กรอบทั้ง 4 แบบของ Entman นั้นมาจากการคัดเลื อกมาทาให้โดด
เด่ น และการใช้องค์ประกอบทาให้โดดเด่ น โดยสร้ างความคิดเห็ นในแง่ มุมต่างๆขึ้ นมาเกี่ ยวกับ
ปั ญหา สาเหตุ การประเมินผล และการแก้ไขปัญหา
24

โดยกลวิธีที่ทาให้โดดเด่ น Entman ระบุว่าจะพิจารณาจาก กลวิธีในรู ปแบบ (Style)


ประกอบด้วย รู ปแบบการจัดวาง การพาดหัวข่าว ความนา ยกคามาพูดมาเน้น การย่อหน้า การทาซ้ า
ใช้สัญลักษณ์ที่คุน้ เคย การกลบความสาคัญของมุมมองอื่น การใช้ภาษาที่ดึงดูดใจ ขณะที่ Tankard ,
Hendrikson , silberman , Bliss and Ghanem (1991) จะใช้วิธี ก ารเลื อกบางแง่ มุ ม การท าเน้น การ
มองข้าม และการขยายความ (ดวงกมล เทวพิทกั ษ์ ,2554) แต่การศึกษาในครั้งนี้ เน้นการศึกษากลวิธี
(Style) ที่ทาให้โดดเด่นจึงเลือกใช้กลวิธีของ Entman เฉพาะรู ปแบบการจัดวาง การพาดหัวข่าว การ
ทาซ้ า ใช้สัญลักษณ์ที่คุน้ เคย การใช้ภาษาที่ดึงดูดใจ ประกอบกับการศึกษาในครั้งนี้เป็ นการวิเคราะห์
ข่าวที่นาเสนอผ่านทางออนไลน์ที่มีการใช้วิธีตดั ต่อภาพและวีดีโอได้ จึงนาเทคนิ คการตัด ต่อภาพ
และวีดีดโอมาใช้ในการศึกษากลวิธีดว้ ย
2.2.3 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
สาหรั บงานวิจยั ที่ เกี่ ยวข้อง ดวงกมล เทวพิทกั ษ์ (2554)ได้ศึกษาเรื่ องการวางกรอบ
เนื้ อหาข่าวของสื่ อเกี่ยวกับความรุ นแรงจากความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย โดยใช้
แนวคิดการวางกรอบข่าวของ Entman มาวิเคราะห์กรอบข่าวของหนังสื อพิมพ์ไทยรัฐ มติชน เว็บ
ไซด์ศูนย์ข่าวอิศรา และสานักข่าวอามาน พบว่าปั จจัยภายในองค์กรสื่ อ กองบรรณาธิ การ มีอิทธิ พล
สู งต่อการกาหนดทิศทางการวางกรอบข่าว และสื่ อต่างประเภทกันจะวางกรอบเนื้ อหาข่าวที่แตกต่าง
กัน โดยพบว่า สื่ อ หนัง สื อ พิ ม พ์ใ ช้ก รอบบทบาทหน้า ที่ เ พื่ อ นิ ย ามเหตุ ก ารณ์ ท าหน้า ที่ อ ธิ บ าย
เหตุ ก ารณ์ ต่อสั ง คม ขณะที่ สื่ อเว็บ ไซด์วางกรอบในบทบาทเสนอทางแก้ไ ขปั ญหาทิ ศ ทางของ
มนุ ษยธรรมและสันติภาพเป็ นกรอบหลัก และแนวทางการเสนอกรอบเนื้ อหาข่าวในเชิงสร้างสรรค์
ไม่มีสูตรตายตัว
สาหรั บงานวิจยั นี้ ผูว้ ิจยั ได้นาแนวความคิดเรื่ องการวางกรอบข่าว มาใช้เป็ นแนวคิด
หลักในการศึกษาข่าวกรณี คดี นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ที่นาเสนอผ่านทางเว็บไซต์ข่าวสด โดย
วิเคราะห์วา่ เว็บไซต์ข่าวสดมีการนาเสนอข่าวนี้ โดยนิยามเหตุการณ์ วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาใน
สังคม ประเมินในเชิงจริ ยธรรมของผูเ้ กี่ยวข้อง และแนะทางออกของปัญหา อย่างไร และใช้กลวิธีใด
ในการนาเสนอ

2.3 แนวคิดเกีย่ วกับปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการทางานขององค์ กรสื่ อสารมวลชน


การท างานของสื่ อ มวลชนในปั จ จุ บ ัน มี รู ป แบบการท างานที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปตาม
เทคโนโลยี สภาพสังคม วัฒนธรรม โดยมีหลายปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการทางานซึ่ งส่ งผลต่อ
เนื้อหาข่าวที่ถูกผลิตออกมาสู่ สังคม ซึ่งเป็ นผลมาจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอก
25

2.3.1 การศึกษาปั จจัยที่ส่งผลต่อการนาเสนอข่าว


Batarfi (1999) ระบุวา่ บทบาทการนาเสนอข่าวของสื่ อนั้นขึ้นอยูก่ บั ปั จจัยหลายด้านทั้ง
ด้านโครงสร้ างองค์กร มูลค่าการโฆษณา บทบาททางเศรษฐกิ จและการตลาดของสื่ อ การควบคุม
นโยบายของเจ้าของสื่ อและรัฐบาล มาตรฐาน ความเชื่อและวัฒนธรรมของแต่ละบุคคลรวมไปถึง
เทคโนโลยีดว้ ย (ดวงกมล เทวพิทกั ษ์ ,2554)
ขณะที่ สุ ภาพร โพธิ์ แก้ว (2542) ได้ระบุถึงการคัดเลือกข่าวเพื่อนาเสนอของสื่ อมวลชน
ว่า มี ข ้อพิ จารณาหลายประการ ตั้ง แต่ คุ ณค่ า ของข่ า ว จุ ดยืนบรรณาธิ ก าร จุ ดยืนของสื่ อ มุ มมอง
ผูส้ ื่ อข่าว และลักษณะองค์กรสื่ อ โดยข่าวจะถูกวางกรอบภายใต้กรอบทางสังคมในฐานะที่ผสู ้ ื่ อข่าว
เป็ นส่ วนหนึ่ งของสังคม ทางเทคนิคข่าวโทรทัศน์ก็จะวางกรอบข่าวแตกต่างจากหนังสื อพิมพ์ การ
ตีความต่างกัน บรรณาธิ การคนเดียวกันแต่ผสู ้ ื่ อข่าวคนละสายงานกันมุมมองที่เห็นก็จะแตกต่างกัน
(ดวงกมล เทวพิทกั ษ์ ,2554)
2.3.2ปั จจัยภายในและภายนอกที่ส่งผลต่อการนาสเนอข่าวของสื่ อมวลชน
สอดคล้องกับแนวคิดของ แมคเควล (1994) เรื่ องปัจจัยที่มีผลต่อการทางานขององค์กร
สื่ อมวลชน (สุ พิชฌาย์ ดวงคาดี ,2554) ระบุว่า การดาเนิ นกิ จการองค์กรธุ รกิ จสื่ อมวลชนมีปัจจัย
หลายประการ ทั้งปั จจัยภายนอกและปั จจัยภายในองค์กร ที่ส่งผลต่อรู ปแบบการจัดการองค์กร และ
เนื้อหาของสื่ อสารมวลชน แสดงตามภาพ

ภาพที่ 2.3 ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อองค์กรสื่ อมวลชน


26

จากภาพที่ 2.3 แสดงให้เห็นถึง ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดการองค์กร และเนื้ อหา


ของสื่ อสารมวลชน ประกอบด้วย
1)ปั จจัยภายในองค์กร คือ ปั จจัยที่องค์กรสื่ อสารมวลชน สามารถควบคุมจัดการได้เอง
ประกอบด้วย
1.1) ปั จจัยด้านการจัดการ (Management) ระบบการวางแผน การบริ หารงาน การ
จัดการองค์กร การควบคุม การสั่งงาน และการทางานขององค์กรสื่ อสารมวลชน รวมถึงการบริ หาร
รายได้ การบริ หารบุคลากร และการบริ หารทรัพยากร โดยองค์กรจะแบ่งเป็ น 2 ลักษณะ คือ องค์กร
ที่ทาเพื่อประโยชน์สาธารณะ และองค์กรธุรกิจ
1.2) ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Techmology) คือ การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆในการผลิตข่าว
และการติดต่อสื่ อสาร
1.3) ปั จจัยด้านบุคลากร (Media Professional) คือ ผูป้ ฏิบตั ิงาน อาทิ ผูผ้ ลิตเนื้ อหา ผู ้
คิดสร้างสรรค์ ผูค้ ดั เลือกเนื้อหา รวมไปถึงจรรยาบรรณสื่ อมวลชน
2) ปั จจัยภายนอก คือปัจจัยที่เกิดขึ้นภายนอกองค์กรสื่ อสารมวลชน และมีผลกระทบทั้ง
ทางตรงหรื อทางอ้อม ต่อการดาเนินงานขององค์กร ประกอบด้วย
2.1) ปั จจัยด้านสังคมและการเมือง (Social and Political Pressures) ได้แก่ ผลกระทบ
ทางการเมื อง กฎหมาย กฎระเบียบ และแนวนโยบายต่างๆ ของรัฐ ที่มีต่อองค์กรสื่ อสารมวลชน
รวมถึงการรวมกลุ่มทางสถาบันสังคมต่างๆ เพื่อเรี ยกร้อง คัดค้าน หรื อ เสนอแนะต่อการทางานของ
องค์กรสื่ อสารมวลชน ย่อมส่ งผลกระทบต่อการดาเนินงานและเนื้อหาของสาร
2.2) ปั จจัยด้านเศรษฐกิ จ (Economic Pressure) เป็ นปั จจัยภาพรวมต่อเศรษฐกิ จของ
ประเทศ
2.3) คู่แข่ง (Competitors) เมื่อคนดูมากก็จะได้โฆษณามาก ผูผ้ ลิตจึงต้องผลิตรายการ
ให้ตรงความสนใจของผูช้ ม
2.4) สานักข่าว (News/Information Agencies) แข่งขันเรื่ องความเร็ วของข่าว ความ
เที่ยงตรง ความน่าเชื่อถือ จะทาให้เกิดความนิยมจากผูช้ มมากขึ้น
2.5) ผูโ้ ฆษณา (Advertisers) สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกบั เอเจนซี่ โฆษณา เพื่อให้ได้มา
ซึ่งแหล่งรายได้ที่เป็ นปั จจัยใหญ่ในการอยูร่ อด
2.6) เจ้าของทุน (Owners)เป็ นผูม้ ีอานาจในการควบคุ มการทางานมีผลกระทบต่ อ
เนื้อหา ซึ่ งอาจหมายถึงเจ้าของสถานีหรื อผูส้ นับสนุนด้านการเงินของสถานี
2.7) สหภาพ (Unions)ผูใ้ ห้เงินทุน ผูส้ นับสนุน ที่ไม่ตอ้ งการเป็ นเจ้าของ
27

2.8) ปั จจัยด้านข่าวสาร และเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมไทย เป็ นปั จจัยสาคัญ


ทางการบริ หาร ที่ทาให้องค์กรสามารถทางานได้ โดยเฉพาะสังคมในปั จจุบนั ที่ขอ้ มูลข่าวสารและ
เหตุการณ์ ต่างๆมีความสาคัญ มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว รวมถึงวัฒนธรรม ความเชื่ อ สิ่ ง
ต่างๆเหล่านี้เป็ นข้อมูลที่องค์กรสามารถนามาใช้ทางาน
2.9) ปั จจัยด้านผูร้ ับสาร (Audience) ผูผ้ ลิตมองว่าผูร้ ับสารก็คือผูบ้ ริ โภค มีผลกระทบ
กระทบต่อการดาเนิ นงานขององค์กรโดยตรงจึงต้องผลิตสิ่ งที่ตรงกับความต้องการของผูร้ ับสารมาก
ที่สุดเพื่อให้ผรู ้ ับสารสนใจหันมาชมรายการซึ่งเป็ นรายได้ขององค์กร
2.3.3 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
งานวิจยั เรื่ อง “กระจก หรื อ ตะเกี ยง” การศึกษาเปรี ยบเทียบบทบาท ของสื่ อกรณี การ
ชุ มนุ มเคลื่อนไหวทางการเมืองในช่วง พ.ศ.2553 ผลการศึกษาพบว่า มีปัจจัยทั้งภายในและภายนอก
ที่ส่งผลต่อการนาเสนอบทบรรณาธิ การของหนังสื อไทยรัฐ ซึ่ งปั จจัยภายใน ประกอบด้วย ความรู ้
ความเข้า ใจของผูเ้ ขี ย น อุ ด มการณ์ ท างการเมื อ ง แรงกดดัน จากองค์ก ร และจรรยาบรรณของ
สื่ อมวลชน ขณะที่ปัจจัยภายนอก คือ สถานการณ์ทางการเมือง ต้องเป็ นสถานการณ์ที่อยู่ในความ
สนใจของประชาชน (พีระวัฒน์ อัฐนาค ,2557)
จากแนวคิดเกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อการทางานขององค์กรสื่ อสารมวลชน จะเห็นได้วา่ มี
ปั จจัยต่างๆที่มีอิทธิ พลต่อการนาเสนอเนื้ อหาข่าวของสื่ อสารมวลชน การศึกษาเรื่ องการวางกรอบ
ข่าวอาชญากรรมที่ประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา กรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย จึงได้นา
แนวคิดนี้ มาใช้เพื่ออธิ บายว่ามีปัจจัยใดบ้างที่ส่งต่อการนาเสนอข่าวอาชญากรรมที่ประกอบสร้ าง
ผูห้ ญิ ง ที่ เป็ นผูต้ ้องหา โดยนาปั จจัย ภายในประกอบด้วย ปั จจัย ด้านการจัดการ และปั จจัย ด้า น
บุคลากรข่าว ปั จจัยภายนอก ประกอบด้วย ผูโ้ ฆษณา คู่แข่ง บรรทัดฐานทางสังคม และผูร้ ับสาร มา
ใช้เป็ นแนวทางการศึกษา

2.4 แนวคิดเกีย่ วกับข่ าวอาชญากรรมและคุณค่ าข่ าว


ข่าวอาชญากรรมเป็ นข่าวที่ ตอบสนองความอยากรู ้ อยากเห็ นของผูค้ นในสังคม ข่าว
อาชญากรรม และเป็ นข่าวที่สะท้อนให้เห็นถึงความผิดปกติของสังคม (พิศิษฐ์ ชวาลาธวัช และคณะ
,2539) แต่ ก ารนาเสนอข่ า วอาชญากรรมก็ ต้องกระท าอย่า งระมัด ระวัง เนื่ อ งจากมี ท้ ัง ผลดี แ ละ
ผลกระทบด้านลบ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
2.4.1 ผลกระทบการนาเสนอข่าวอาชญากรรม
อรอนงค์ โฆษิตพิพฒั น์ (2559) ข่าวอาชญากรรม เป็ นประเภทข่าวที่ได้รับความนิยม
อย่างมาก เนื่ องจากมีคุณค่าของข่าวในเรื่ องของความใกล้ตวั น่าสนใจ ตอบสนองความอยากรู ้ เร้า
28

อารมณ์ บางครั้ งก็ มี องค์ป ระกอบเรื่ องเงื่ อนงาด้วย แต่ ถึ ง แม้จะมี ป ระโยชน์ต่อสัง คม แต่ ถ้า การ
รายงานข่าวทาไปโดยไม่ระมัดระวังก็อาจทาให้ผปู ้ ระสบเหตุและสังคมเจ็บปวดเช่นกัน
ด้าน ศิรัฐประภากรณ์ รัตนพานิช (2551) ยังพบว่าการนาเสนอข่าวอาชญากรรมมีการ
เจาะลึ กรายละเอี ยดของข่าวมากเกิ นความจาเป็ นโดยไม่คานึ งถึงความรู ้ สึกของสาธารณชน และ
ผลกระทบของเยาวชนที่อาจลอกเลียนแบบโดยรู ้เท่าไม่ถึงการณ์
ดังนั้นการนาเสนอข่าวอาชญากรรมแม้จะเป็ นข่าวที่สะท้อนปั ญหาของสังคม มีความ
ดึ ง ดู ด ท าให้ เ กิ ด ความสนใจ ตอบสนองความอยากรู ้ อ ยากเห็ น ส่ ง ผลกระทบต่ อ อารมณ์ ข อง
ประชาชน โดยใช้ ภ าษาหวื อ หวาเพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด อารมณ์ ร่ ว ม แต่ ย งั พบว่ า ในการรายงานข่ า ว
อาชญากรรมมักจะเกิ ดปั ญหา ทั้งปั ญหาด้านเนื้ อหาที่นาเสนอรายละเอีย ดขั้นตอนการประกอบ
อาชญากรรมมากเกินไป สิ ทธิ ส่วนบุคคล และความรับผิดชอบต่อสังคม
2.4.2 คุณค่าข่าวอาชญากรรม
ข่าวอาชญากรรมเป็ นข่าวที่มีคุณค่าของข่าวสู งมาก สะท้อนความผิดปกติของสังคม
โดยการดึงดูดความสนใจของผูอ้ ่าน มีองค์ประกอบของข่าวชัดเจนหลายๆด้าน
1) ผลกระทบ
2) ความมีเงื่อนงา
3) ความขัดแย้ง
4) เพศ
5) ความสาคัญของบุคคล
6) สถานที่ที่เกี่ยวข้อง
7) ความแปลก
ในการรายงานข่าวอาชญากรรมมักใช้องค์ประกอบเหล่านี้ มาดึ งดู ดความสนใจของ
ผูอ้ ่าน แต่ข่าวอาชญากรรมเปรี ยบเสมือนดาบสองคม คมหนึ่ งทาหน้าที่เป็ นบทบาทผูแ้ จ้งข้อมู ล
ข่าวสาร และเตือนภัยให้กบั ประชาชนระมัดระวังตนเอง แต่อีกคมหนึ่ งกลับทาร้ ายตัวผูอ้ ่าน เช่ น
ผูอ้ ่านที่ มีความผิดปกติ ทางจิ ตอาจจะจดจารายละเอียดต่างๆ และนาไปเลี ยนแบบ หลายครั้ งข่าว
อาชญากรรมยังเป็ นประโยชน์ให้กบั ผูก้ ระทาความผิดหลบหนีไปด้วย (ปริ ณดา เริ งศักดิ์ ,2553)
2.4.3 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
งานวิจยั เรื่ องข่าวอาชญากรรมกับการเล่าเรื่ องผ่านหนังสื อพิมพ์ ผลการศึกษาพบว่าข่าว
อาชญากรรมส่ งผลให้เกิดการเลียนแบบ หากนาเสนอรายละเอียดขั้นตอนประกอบอาชญากรรมมาก
เกิ นไป ซึ่ ง ผูอ้ ่ า นยัง มี ค วามเห็ น ว่า นับ วันข่ า วอาชญากรรมจะมี จานวนมากและรุ น แรงมากขึ้ น
29

หนังสื อพิมพ์ควรลดปริ มาณของข่าวอาชญากรรมที่เกี่ ยวกับความรุ นแรงและข่มขืนให้ลดน้อยลง


(ปริ ณดา เริ งศักดิ์ ,2553)
การศึกษาวิจยั เรื่ องการวางกรอบข่าวอาชญากรรมที่ประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา
จึงได้นาแนวคิดนี้ มาใช้เพื่อศึกษาคุ ณค่าข่าวอาชญากรรมกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย และ
ผลกระทบที่ส่งผลจากการนาเสนอกรณี คดีน้ ี

2.5 แนวคิดเรื่ องสื่ อกับการประกอบสร้ างความหมาย


แนวคิดเรื่ องสื่ อกับการประกอบสร้างความหมาย หรื อ การประกอบสร้างความจริ งทาง
สัง คม มี ค วามคิ ด พื้ นฐานที่ ว่า “ความเป็ นจริ ง ” (Reality) นั้นไม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่มี อยู่แล้ว แต่ เป็ นสิ่ ง ที่ ถูก
ประกอบสร้ า งขึ้ น มา (Construct) ซึ่ งมี ผูอ้ ธิ บ ายและให้ค วามหมายเกี่ ย วกับ การประกอบสร้ า ง
ความหมายทางสังคมไว้หลายคน โดยมีรายละเอียด ดังนี้
2.5.1 ความหมายสื่ อกับการประกอบสร้าง
กาญจนา แก้วเทพ (2547) ได้อธิบายถึงการประกอบสร้างความหมายทางสังคมในด้าน
สื่ อมวลชน หรื อ สิ่ งที่เรี ยกว่า “ข่าว” ว่าไม่ใช่ การรายงานความเป็ นจริ งที่เกิ ดขึ้นเป็ นเหตุการณ์ แต่
เป็ นการสร้ า งความเป็ นจริ ง จากเหตุ ก ารณ์ น้ ันขึ้ นมา เนื่ องจากเหตุ ก ารณ์ มี หลายมิ ติข้ ึ นอยู่ก ับ ว่า
นักข่าวจะหยิบเอาเหตุการณ์น้ นั มาสร้างเป็ นข่าวอย่างไร ซึ่ งในปั จจุบนั สื่ อมวลชนมีบทบาทที่สาคัญ
อย่างยิง่ ในการสร้างความหมายทางสังคมขึ้นมาแวดล้อมบุคคล
ขณะที่ เบอร์เกอร์ และลัคแมน (1966) มีความเห็นว่ามนุษย์ไม่สามารถรับรู ้ “ความจริ ง”
ของโลกภายนอกตัว เขาได้ โ ดยตรงแต่ ต้อ งกระท าผ่ า น “ตัว กลาง” คื อ ประสาทสั ม ผัส และ
กระบวนการรับรู ้ทางจิตใจของมนุษย์ซ่ ึ งถูกหล่อหลอมโดยสังคมมาก่อน ( จิรวรา อุษยากุล ,2536)
เช่นเดียวกับอัลเฟรต ชูทซ์ (1970) ที่ได้อธิบายถึงความหมายการสร้างความเป็ นจริ งทาง
สังคมเพิ่มเติมว่า ความหมายและความเข้าใจทั้งหลายของเรานั้น เกิดจากการสื่ อสารของเรากับคน
อื่น แสดงให้เห็ นว่าการรับรู ้ และเข้าใจความหมายของสิ่ งต่างๆในโลก หรื อ “ความเป็ นจริ ง” ของ
มนุษย์เกิดจากการสื่ อสาร (อภิรัตน์ รัทยานนท์ , 2547)
2.5.2 การศึกษาเรื่ องสื่ อกับการประกอบสร้างความหมาย
สาหรับแนวคิดเรื่ องสื่ อกับการประกอบสร้างความหมาย กาญจนา แก้วเทพ (2547)ได้
อธิบายถึงการสร้างความหมายทางสังคมให้แก่ความเป็ นจริ งออกเป็ น 3 ทัศนะ ประกอบด้วย
30

1.การอธิบายของภาษาศาสตร์
นักภาษาศาสตร์ ได้นาเสนอแนวคิดสาคัญๆ เกี่ยวกับบทบาทของภาษากับความเป็ นจริ ง
ว่า ภาษาเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการสร้างแนวคิด (Concept) เกี่ยวกับความเป็ นจริ ง เพราะเราใช้ภาษา
ในการเรี ยกความเป็ นจริ งต่างๆ ภาษาจึงทาหน้าที่นาทางไปสู่ ความเป็ นจริ ง
ผลการศึกษาเปรี ยบเทียบอินเดียนแดงหลายเผ่าของ Sapir (อ้างถึงในกาญจนา แก้วเทพ
,2547) พบว่าไม่เพียงแต่ภาษาของแต่ละเผ่าจะแตกต่างกัน แต่การเข้าใจโลกของแต่ละเผ่าก็แตกต่าง
กันไปตามภาษาที่ใช้ดว้ ย เช่นบางเผ่ามีความใส่ ใจกับแมลง โลกสังคมแวดล้อม ธรรมเนียมประเพณี
ภาษาที่ใช้ก็จะเกี่ ยวข้องกับแมลงด้วย โดยพบว่าภาษาที่เราใช้พูดคุยกันอยู่ทุกวันนี้ ลว้ นเกิ ดมาจาก
สื่ อมวลชนเป็ นแหล่งใหญ่ ดังนั้นสื่ อมวลชนจึงเป็ นตัวสร้างความหมายของโลกทางสังคมโดยผ่าน
กลไกทางภาษาดังที่ได้กล่าวมาแล้ว
2.การอธิบายของทฤษฎีปรากฏการณ์นิยม
นักทฤษฎีรุ่นแรกๆ ของสานักปรากฏการณ์นิยม เช่น อัลเฟรด ชูทซ์ (Schutz , A.) สนใจ
คาถามหลัก 3 คาถาม คือ
(1) คนเราสร้างความหมาย (Make sense) กับโลกรอบตัวได้อย่างไร เช่น ทาไมเรา
รู ้สึกว่าศักดิ์ศรี สาคัญกว่าเงิน หรื อ ในทางตรงกันข้าม
(2)คนเราก่ อ สร้ า ง ดัด แปลง สร้ า งใหม่ และรื้ อซ่ อ ม (Construct / Reconstruct /
Deconstruct) ชี วิตประจาวันของตนเองได้อย่างไร เนื่องจากนักปรากฏการณ์นิยมเห็นว่าวัฒนธรรม
ที่เป็ นรู ปธรรมมากที่สุด คือ วิถีชีวติ (way of life) ของคนเรานี่เอง
(3) คนเราสามารถทาอะไรไปได้โดยปริ ยาย โดยไม่ตอ้ งหยุดคิดหรื อหยุดตั้งคาถาม
ได้อย่างไร (Taken for Granted) เช่น เรารู ้โดยปริ ยายว่าขึ้นรถเมล์ตอ้ งจ่ายสตางค์ถึงที่หมายก็ตอ้ งลง
เจ้านายดุตอ้ งทาหน้าสลด เป็ นต้น
จากคาถามหลักทั้ง 3 ข้อนี้ นักปรากฏการณ์นิยมตอบว่าที่เราทาได้ท้ งั หมดนั้นเพราะเรา
แต่ละคนมี “คลังแห่งความรู ้ทางสังคม” (Stock of Social Knowledge) เป็ นคู่มือ เมื่อเราเผชิญกับโลก
เราจึ งสามารถเปิ ดคลังแห่ งความรู ้ ของเราออกมาใช้ภายในพริ บตาจนดู คล้ายทาได้โดยอัตโนมัติ
สามารถสร้างความหมายให้กบั สิ่ งรอบตัวได้ถูกจัดเก็บในรู ปแบบของภาษา การเรี ยนรู ้ระหว่างภาษา
กับความเป็ นจริ งจะเกิ ดในลักษณะเชื่ อมโยงกัน (Correspondence) และทุกวันนี้ เราจะพบตัวอย่าง
การประยุกต์ใช้เรื่ องภาษาคลังความรู ้อยูใ่ นวงการสื่ อสารมวลชนอยูต่ ลอดเวลา
3.การอธิบายแบบทฤษฎีสื่อมวลชน
แนวคิ ดเรื่ องการสร้ างความหมายทางสังคม ได้อธิ บายในด้านสื่ อสารมวลชนว่าการ
สร้างความหมายนั้นเป็ นผลกระทบที่เกิดขึ้นในระยะยาวอย่างหนึ่ ง ทุกครั้งที่สื่อมวลชนเผยแพร่ งาน
31

ของตนก็จะสร้ างผลกระทบได้ในหลายๆ ระลอก คือ มีท้ งั ผลในระยะสั้น กลาง และยาว ดังภาพ


แบบจาลองนี้

Source Content 1st Effect 2nd Effect 3 rd Effect


ข่าวสารที่มี ผลลัพธ์ข้ นั ที่1 ผลลัพธ์ข้ นั ที่ 2 ผลลัพธ์ข้ นั ที่ 3
สื่ อมวลชน โครงสร้าง -สร้างคลังความรู ้ -มีปฏิกิริยา -สร้างโลกทาง
โดยทัว่ ไป แน่นอน -สร้างทัศนคติ ต่างๆกัน สังคมแห่ง
และมีระบบ -สร้างค่านิยม
ความเป็ นจริ ง
-แพร่ กระจาย
ความรู ้

ภาพที่ 2.4 แบบจาลองผลกระทบของสื่ อมวลชน (กาญจนา แก้วเทพ ,2547, น. 328)

ภาพดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงผลกระทบที่เกิ ดขึ้นอย่างหลายๆชั้น ทั้งผลกระทบระยะ


สั้น (ขั้นแรก) ระยะกลาง (ขั้นที่ สอง) และระยะยาว (ขั้นที่สาม) เช่ น หลังจากรับข่าวสารไปแล้ว
ผลกระทบระยะแรกก็ คื อ การเก็ บ เข้า สู่ ค ลังความรู ้ ทัศ นคติ และค่ า นิ ย มต่ างๆ หลัง จากนั้นเป็ น
ขั้นตอนที่มีปฏิกิริยาตอบสนอง และเมื่อเวลาค่อยๆผ่านไปข้อมูลข่าวสารที่ถูกสะสมกันมากเข้าก็จะ
ถูกจัดระบบ และห่อหุ ม้ ผูร้ ับสารกลายเป็ นโลกแห่งความเป็ นจริ งที่ถูกสร้างขึ้น
จากแนวคิดที่เชื่อว่าสังคมในยุคปัจจุบนั นี้สื่อมวลชนเป็ นสถาบันสาคัญที่จดั วางรู ปแบบ
(Structure) ความเป็ นจริ งทางสังคมรอบๆ ตัวเรา ทาให้มีการศึกษาว่ากรอบแห่ งความเป็ นจริ งแบบ
ไหนที่สื่อมวลชนใช้วางล้อมรอบตัวคน และมีการศึกษาพบว่าเด็กๆได้บทเรี ยนเกี่ยวกับการดาเนิ น
ชี วิตจากการเปิ ดรับสื่ อมวลชน เมื่อสื่ อมวลชนได้นาเสนอภาพชีวิตและภาพของโลกที่สามารถหล่อ
หลอมความคาดหวัง (เด็กๆจากชนบทคาดหวังจะเข้ามาหางานทาที่สุขสบายกว่า และได้เงินใช้เป็ น
ประจากว่าการทาไร่ ทานา) และยังเป็ นแรงบันดาลใจ (เมื่อสมรักษ์ คาสิ งห์ ชกมวยชนะเลิศเหรี ยญ
ทองโอลิ มปิ ก ประกายแห่ งความหวังของเด็ก หนุ่ ม อีสานก็ รุ่ง โรจน์ข้ ึ นมาทันที) การหล่ อหลอม
ดังกล่าวครอบคลุมเกือบจะทุกมิติของชีวิต ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องอาชีพ เพศ ทัศนะทางการเมือง และมิติ
อื่นๆที่เป็ นวัฒนธรรมของสังคม
2.5.3 ปั จจัยที่ส่งผลต่อคลังแห่งความรู ้
สาหรับกระบวนการนาเสนอข่าวของหนังสื อพิมพ์ก็มกั จะพบว่าเนื้ อหาที่ถูกใช้สร้ าง
คลังแห่ งความรู ้ของคนในสังคมนั้นมักจะลักษณะคล้ายคลึงกันเริ่ มตั้งแต่เรื่ องที่จะนามาเสนอมักจะ
32

เป็ นเรื่ อ งเดี ย วกัน ใช้แหล่ ง ข่ า วเดี ย วกัน เนื้ อหาข่ า วก็ ค ล้า ยๆกัน รวมทั้ง วิธี ก ารให้ข ้อสรุ ป ก็ ย งั
คล้ายคลึงกันอีก ลักษณะเช่นนี้ ทาให้เกิดแบบแผนที่เป็ นไปในทิศทางเดียวกันหมด ที่เรี ยกว่ามีอคติ
เชิงโครงสร้าง (Structural bias) และเมื่อวิเคราะห์เจาะลงไปหาปั จจัยที่ทาให้คลังแห่ งความรู ้ มีอคติ
เชิงโครงสร้างดังกล่าว จะพบว่ามีปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายประการ เช่น
1) แนวโน้มขององค์ก รเอง (organization tendency) วิธีการจัดตั้งองค์ก ร โครงสร้ า ง
องค์กร ระบบการแบ่งงานกันทาขององค์กรสื่ อ จะมีแบบแผนหลักๆ ที่คล้ายกัน ดังนั้นกระบวนการ
ทางานและผลงานที่ออกมาจึงคล้ายกัน
2) การฝึ กฝนทางวิช าชี พ (occupational practice) เนื่ องจากนัก สื่ อสารมวลชนมัก จะ
ได้รับการฝึ กฝนทักษะมาจากสถาบันเดียวกัน หรื อสถาบันประเภทเดียวกัน และเมื่อมาปฏิบตั ิงาน
จริ งก็จะได้รับการฝึ กฝนให้ปฏิบตั ิงานด้วยระบบที่คล้ายๆ กัน เช่น สาหรับนักการเมืองจะมีวิธีการ
สัมภาษณ์อย่างไร เมื่อไปในงานสัมมนาควรจะถ่ายภาพใคร จะมีวิธีการเขียนข่าวอย่างไร ฯลฯ ผล
จากการฝึ กฝนทางวิชาชี พที่คล้ายคลึงกันทาให้ผลงานที่ออกมาจึงไม่แตกต่างกันในองค์ประกอบ
ใหญ่ๆ
3) การยึดถื อค่านิ ยม กรอบความคิด และรู ปแบบเดียวกัน การปฏิบตั ิงานสื่ อมวลชน
เป็ นวิชาชีพที่มีลกั ษณะลงตัวอย่างหนึ่ ง จึงได้มีการสลักดาบรรดาค่านิยม กรอบแนวคิด และรู ปแบบ
ที่แน่นอนเอาไว้แล้ว เช่น การยึดหลัก “คุณค่าของข่าว ความเป็ นกลาง”
4) ขี ดจากัดด้า นเทคโนโลยี (technological limitations) ระดับขี ดความสามารถของ
เครื่ องมือ และข้อจากัดด้านเทคนิ คทาให้องค์กรที่ใช้เครื่ องมือในระดับเดียวกันผลิตงานออกมาได้
ในระดับที่ใกล้เคียงกัน
2.5.4 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องโดย ณัชชา อาจารยุตต์ (2547) ได้ศึกษาเรื่ องการประกอบสร้างความ
จริ งในข่าวสงครามระหว่างประเทศสหรั ฐอเมริ กากับประเทศอิรักของหนังสื อพิมพ์ไทย พบว่า
หนังสื อพิมพ์ 4 ฉบับ ที่นามาใช้ศึกษามีการประกอบสร้างเนื้อหาข่าวสงครามโดยให้ความหมายผ่าน
การใช้ภาษาทั้งเชิ งบวกและเชิ งลบเกี่ยวกับสงคราม และไม่ได้ให้ความหมายในเชิงเจาะจงว่าฝ่ ายใด
เป็ นพระเอกหรื อผูร้ ้าย และยังพบว่ามีปัจจัยที่ใช้ประกอบสร้างความจริ งในข่าวสงคราม 4 ปัจจัย คือ
แหล่งข่าวที่นามาใช้ในการรายงานข่าว มุมมองและทัศนคติส่วนตัวของผูส้ ื่ อข่าว ประสบการณ์ใน
การทาข่าวและความรู ้เท่าทันสื่ อของผูส้ ื่ อข่าว และวิธีการที่ทาให้ข่าวดูตื่นเต้นน่าสนใจ
ขณะที่ บงกช เศวตามร์ (2533) ศึ ก ษาเรื่ อง “การสร้ างความเป็ นจริ งทางสังคมของ
ภาพยนต์ไทย กรณี ตวั ละครหญิงที่มีลกั ษณะเบี่ยงเบนปี พ.ศ.2528-2530” โดยศึกษาเรื่ องคลังแห่ ง
ความรู ้ทางสังคมที่บรรจุในภาพยนต์ไทยในหัวข้อที่วา่ ด้วย “ผูห้ ญิง” เพื่อดูวา่ ในภาพยนต์ไทยนั้นมี
33

ผูห้ ญิงแบบไหนบ้าง พบว่าภาพยนต์ไทยนิยามว่าผูห้ ญิง คือ ช้างเท้าหลัง ผูเ้ สี ยสละ ผูด้ ูแลครอบครัว
และยังมีการให้นิยาม “ผูห้ ญิงดีๆ” “ความสุ ขของผูห้ ญิง” และ “ชะตากรรมของผูห้ ญิง” ด้วย
ด้า น จิ ร วรา อุ ษ ยากุ ล (2536) ได้ศึ ก ษาเรื่ อ งการสร้ า งภาพความเป็ นจริ ง ทางอาชี พ
สื่ อสารมวลชนของนิสิตคณะนิ เทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี การศึกษา 2532-2535 พบว่า
นิ สิตมีกระบวนการสร้ างภาพความเป็ นจริ งทางอาชี พสื่ อสารมวลชน 2 กระบวนการ คือ รับรู ้ผ่าน
ประสบการณ์โดยอ้อม หรื อ ตัวกลางต่างๆ ประกอบด้วย ครอบครัว การศึกษา สื่ อมวลชน และภาพ
ความเป็ นจริ งที่รับรู ้ จากประสบการณ์โดยตรงของตัวเอง ประกอบด้วย การฝึ กงานตามหลักสู ตร
การศึกษา การฝึ กงานด้วยตนเอง การทางานจริ ง ซึ่ งกระบวนการสร้ างความเป็ นจริ งนั้นเกิ ดจาก
กระบวนการทางความคิดของนิ สิตเอง ที่ได้รับรู ้ ภาพความเป็ นจริ งจากประสบการณ์ ในรู ปแบบ
ต่างๆ
ดังนั้นผูว้ จิ ยั จึงได้นาแนวคิดสื่ อกับการประกอบสร้างความหมาย มาเป็ นแนวทางศึกษา
วิเคราะห์กรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย และอภิปรายผลว่าสื่ อมีการประกอบสร้างความหมาย
กรณี คดีน้ ีอย่างไร

2.6 แนวคิดการประกอบสร้ างผู้หญิงทีเ่ ป็ นอาชญากรผ่านการรายงานข่ าวอาชญากรรม


การน าเสนอข่ า วเกี่ ย วกับ ผู ้ห ญิ ง พบว่ า ส่ ว นใหญ่ ผู ้ห ญิ ง จะถู ก น าเสนอในฐานะ
ผูถ้ ูกกระทามากกว่า โดยพบว่าในข่าวหน้าหนึ่ งซึ่ งถือว่าเป็ นข่าวที่มีความสาคัญมากที่สุด แต่มีข่าว
เกี่ยวกับผูห้ ญิงน้อยมาก และภาพของสตรี ที่ปรากฏในข่าวหน้าหนึ่ งนั้น ส่ วนใหญ่การนาเสนอข่าว
เกี่ ยวกับผูห้ ญิ งเป็ นภาพติ ดลบ ผูห้ ญิงจะเป็ นข่าวได้ก็ต่อเมื่อถูกทาร้ าย หรื อ เป็ นเป้ าของการข่มขู่
ฯลฯ และ สองในสามของผูห้ ญิงที่เป็ นข่าวหน้าหนึ่ งถูกนาเสนอว่าเป็ นผูอ้ ่อนแอ โง่เขลา(กาญจนา
แก้วเทพ ,2543) ซึ่ งสอดคล้องกับ วรมน เมตไตรพันธ์ (2554) ที่พบว่าการนาเสนอข่าวอาชญากรรม
เกี่ยวกับความรุ นแรงต่อสตรี ในปั จจุบนั ยังมีความไม่เหมาะสม โดยเฉพาะพาดหัวข่าว และความนา
ข่าวที่ ใช้ภาษาที่ สื่ อถึ ง ความรุ นแรง และการนาเสนอประเด็นเรื่ องเพศอย่างเด่ นชัด เหตุก ารณ์ ที่
เกิดขึ้นมากเกินไป การนาเสนอข่าวไม่เหมาะสมอาจส่ งผลต่อการเลียนแบบได้ ส่ วนความคาดหวัง
ต่อการรายงานข่าวอาชญากรรมเกี่ยวกับความรุ นแรงต่อสตรี พบว่า หนังสื อพิมพ์ควรพัฒนารู ปแบบ
การนาเสนอให้มีค วามหลากหลายทางข้อมูล มากขึ้น กว่าปั จจุบนั ที่มุ่งนาเสนอรายละเอีย ดของ
เหตุการณ์ แต่ในส่ วนผูห้ ญิงที่เป็ นผูก้ ระทาผิด หรื อ ผูต้ อ้ งหา สื่ อมวลชนก็มีวิธีการประกอบสร้ าง
ผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหาในหลายด้าน ดังนี้
34

2.6.1 วิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา


Jewkes (2547) ได้ศึกษาเรื่ องอาชญากรรม (criminology) แบบดั้งเดิ ม มีมุมมองแบบ
ชายเป็ นศูนย์กลาง จนกระทัง่ ทศวรรษ 1970 มุมมองสตรี นิยมเริ่ มเข้ามามีบทบาทในการศึกษาเรื่ อง
อาชญากรรม โดยในช่วงต้นนั้นถูกนามาพิจารณาในการศึกษาการประกอบสร้างเรื่ องเพศในฐานะ
ผูห้ ญิงที่เป็ นเหยื่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในคดีที่ผูช้ ายกระทาความรุ นแรงต่อผูห้ ญิง ต่อมาเริ่ มขยายสู่
การพิจารณาในการศึกษาการประกอบสร้างเรื่ องเพศในฐานะผูห้ ญิงที่เป็ นผูก้ ระทาความผิด
ในการรายงานข่าวอาชญากรรมกรณี ที่ผูห้ ญิงที่เป็ นผูก้ ระทาความผิดโดยเฉพาะกรณี
อาชญากรรมร้ายแรงนั้น สื่ อมวลชนมีแนวทางอย่างจากัดที่จะอธิ บายหรื อรายงานความรุ นแรงและ
ความโหดของผูห้ ญิง ซึ่ งเป็ นเพศที่สังคมมองว่าเป็ นเพศที่เชื่ อมโยงกับ “ความดี” เช่น ในฐานะเพศ
แม่ จึงทาให้สื่อมวลชนมักจะเสนอผูห้ ญิงที่ทาอาชญากรรมร้ายแรงว่าเป็ น “คนร้ายที่บริ สุทธิ์ ” (pure
evil) ซึ่ งมีแนวการรายงานที่สะท้อนภาพตัวแทนดังต่อไปนี้
1.เพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ (sexuality and sexual deviance) เมื่อเปรี ยบเทียบกับ
ผูก้ ระทาผิดที่เป็ นเพศชายแล้ว ในการกระทาผิดแบบเดียวกัน เพศหญิงจะถูกทาให้เกิดความเป็ นจริ ง
(over dramatized) ในสื่ อ นอกจากนี้ การนาประเด็นความเบี่ยงเบียนทางเพศมาใช้ในการรายงาน
ข่าวผูห้ ญิงที่ก่ออาชญากรรมร้ ายแรง ความชอบทางเพศ (sexual preference) หรื อ ความไร้อารมณ์
ทางเพศ (frigidity) ถูกนามาใช้อย่างยาวนานในการรายงานข่าวเพื่อลดความเป็ นมนุษย์ (demonize)
ของผูห้ ญิงที่ก่ออาชญากรรมร้ายแรง และประกอบสร้างในการรายงานข่าวในนามของ “คนโหดร้าย
ป่ าเถือน หรื อ สัตว์ประหลาด” (monster)
2.ความดึงดูดของรู ปลักษณ์ภายนอก (physical attractiveness) สื่ อมวลชนมักจะรายงาน
ข่าวโดยรับเอาวิธีคิดในสังคมที่ประกอบสร้างให้คุณค่าผูห้ ญิงคือ ความเยาว์วยั หุ่ นดี หน้าตาดี และ
ลักษณะอื่นๆ ที่เหมาะกับการ “จ้องมองของผูช้ าย” (male gaze)
3.ภรรยาที่ ไ ม่ ดี (bad wives) และ แม่ ที่ ไ ม่ ดี (bad mothers) เมื่ อ ผู ห้ ญิ ง มี พ ฤติ ก รรมที่
เบี่ยงเบนไปจากอุดมคติความเป็ นผูห้ ญิงของสังคม ผูห้ ญิงก็มกั จะถูกตัดสิ นว่าเป็ น ภรรยาที่ไม่ดี หรื อ
แม่ที่ไม่ดี รวมถึงในการรายงานข่าวของสื่ อมวลชนด้วย ในกรณี ผหู ้ ญิงก่ออาชญากรรมกับ คู่รัก และ
ลูกหรื อเด็กในปกครอง
4.สั ต ว์ ป ระหลาดในต านาน ( Mythical monsters) ด้ ว ยอิ ท ธิ พลจากเทพนิ ยาย
(mythology) ศาสนาคริ สต์ รวมถึ ง วรรณกรรมต่างๆ ทาผูห้ ญิงที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนออกไปจาก
พฤติกรรมในอุดมคติของผูห้ ญิง มักจะถูกประทับภาพว่าเป็ น แม่มด ซาตาน แวมไพร์ หรื อ ความชัว่
ร้ายของผูห้ ญิงที่เป็ นบาปกาเนิด (original sin)
35

5.วัว คลั่ง (mad cows) จากผลการศึ ก ษาทางพยาธิ วิ ท ยาของผู ้ห ญิ ง ของ Freud ใน


ศตวรรษที่ 19 ทาให้ทนายส่ วนใหญ่มกั แนะนาให้ผหู ้ ญิงที่ก่อฆาตกรรมใช้เหตุผลว่ามีความผิดปกติ
จากจิ ตเป็ นข้อแก้ตวั ต่อศาล ส่ งผลต่อภาพประทับของผูห้ ญิงที่ถูกนาเสนอผ่านสื่ อว่าผูห้ ญิงที่ ก่ อ
ฆาตกรรมนั้นมีความผิดปกติทางจิต ประหนึ่งวัวคลัง่
6.ผู ้บ งการ (evil manipulators) ในกรณี ที่ ผู ้ห ญิ ง ก่ อ อาชญากรรมร่ วมกั บ ผู ้ ช าย
สื่ อมวลชนก็จะนาเสนอในประเด็นความเบี่ยงเบนทางเพศไม่ได้ จึงนาเสนอแทนว่าผูห้ ญิงนั้นเป็ นผู ้
บงการผูช้ ายในการลงมือก่ออาชญากรรม ไม่ใช่ผลู ้ งมือเอง เพื่อไม่ให้ขดั แย้งกับภาพ “ความดี” ของ
เพศหญิงที่ยดึ ถือในสังคม
7.ไม่ใช่ ตวั การกระทาผิด (Non-agents) ข้อสรุ ปของงานวิชาการที่เพิ่มขึ้นจานวนมาก
พบว่า ทั้งกลุ่มนักวิชาการสตรี นิยมและสังคมโดยส่ วนใหญ่ยงั ไม่พร้อมที่จะเผชิ ญความเป็ นจริ งว่า
ผูห้ ญิ งนั้นเป็ นเพศที่ อาจมี ความโหดร้ าย ซาติสม์ และรุ นแรงได้ ความจริ งที่ว่าผูช้ ายนั้นก้า วร้ า ว
รุ นแรงกว่าผูห้ ญิงไม่เพียงแค่ก่อให้เกิดความเพิกเฉยทางวัฒนธรรมเกี่ยวกับข้อเท็จจริ งที่วา่ ผูห้ ญิงก็มี
ศักยภาพที่ จะกระทารุ นแรงได้ แต่ยงั นาไปสู่ การปฏิ เสธว่าผูห้ ญิงสามารถเป็ นฆาตกรได้ ในการ
รายงานข่าวของสื่ อมวลชน จึงเกิดการเลือกนาเสนอการเข้าไปเกี่ยวข้องในอาชญากรรมของผูห้ ญิง
เพียงบางส่ วน หรื อการหาความสมเหตุสมผลบางประการเพื่อสนับสนุ นว่าผูห้ ญิงไม่ได้กระทาการ
รุ นแรงโดยไร้สาเหตุ
2.6.2 ตัวอย่างคดีที่สื่อมวลชนประกอสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา
ยกตัวอย่าง คดีที่ 1 คดีน้ ี ที่เกิดขึ้นในปี 1993 คาร่ า โฮมอลก้า (Karla Homolka) ผูห้ ญิง
ชาวแคนาดา สมรู ้ ร่วมคิ ดกับ พอล เบอร์ นาร์ โด (Paul Bernardo) สามี ก่ อคดี เหตุ ฆาตกรรมและ
ข่มขื นหญิ งสาววัยรุ่ น 2 ราย และยังบังคับ แทมมี่ (Tammy) น้องสาวอายุ 15 ปี ของเธอให้เสพยา
ก่อนร่ วมกันข่มขืน ซึ่ งเป็ นคดีฆาตกรรมสุ ดโหด แต่สื่อมวลชนให้ความสนใจและนาเสนอเกี่ยวกับ
ความสวยของคาร่ า โฮมอลก้า หนังสื อพิมพ์เดอะวอชิงตันโพสต์ ระบุถึง คาร่ า โฮมอลก้า ว่าเธอมี
รอยยิม้ ที่สดใสในวันที่เธอแต่งงานกับ พอล เบอร์นาร์ โด เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 1991 พร้อมบรรยาย
ชุ ดที่เธอสวมใส่ วา่ ทาให้เธอดู เหมือนกับซิ นเดอเรล่า ขณะที่ GeorgieBinkผูส้ ื่ อข่าวได้ระบุวา่ คาร่ า
โฮมอลก้า ใช้ความสวยของเธอเป็ นประโยชน์ และคุณไม่สามารถตาหนิที่เธอใช้ความสวยของเธอ
เป็ นเครื่ องมือ คุณทาได้เพียงแต่โทษสังคมที่มกั ยกย่องให้ผหู ้ ญิงสวยให้อยูเ่ หนือทุกสิ่ ง”
คดีที่ 2 ได้เล่าถึงคดีของเทรซี่ แอนดริ ว (Tracie Andrews) ผูต้ อ้ งหาฆาตกรรม ลี ฮาร์ วี
(Lee Harvey) แฟนหนุ่ มของเธอเมื่อปี 1996 สื่ อให้ความสาคัญและสนใจคดีน้ ี เนื่ องจาก เทรซี่ เคย
เป็ นอดีตนางแบบที่มีผลงานมากมาย แม้กระทัง่ หนังสื อพิมพ์เดอะซันก็พาดหัวข่าวว่า "ปริ ศนาการ
ตาย Tracie ที่ทรงเสน่ห์" พร้อมกับตีพิมพ์ภาพประกอบผลงานการถ่ายแบบของเธอ ก่อนที่จะเกิดคดี
36

ดังกล่ าวขึ้ น ขณะที่ ในวันตัดสิ นคดี หนังสื อพิมพ์แท็บลอยด์เดอะเดลี่สตาร์ พาดหัวข่าวว่า 'ผมบ


ลอนด์จากนรก' และ 'สวยสังหาร' “ ด้วย (Crime,justice and the media ,1991)
คดีที่ 3 เกิ ดขึ้นในปี 2009 อแมนด้า น็อกซ์ (Amanda Knox) นักศึกษาชาวอเมริ กนั ที่
ร่ วมกับแฟนหนุ่ มสังหารเมอร์ ริดิธ เคิร์ชเชอร์ (Meredith Kercher) นักศึกษาซึ่ งเป็ นเพื่อนร่ วมห้อง
ชาวอิตาลี หนังสื อพิมพ์องั กฤษได้ต้ งั ชื่อให้เธอว่า "Koxyx" โดยมีหวั ข้อข่าวเช่น 'Foxy Knoxyหรื อ
ผูห้ ญิงที่สวยแต่ดุ : (Daily Mail, 2550) อย่างไรก็ตามในสหรัฐอเมริ กา ผูอ้ ยูอ่ าศัยในซี แอตเติล (บ้าน
เกิ ดของ Amanda) ได้ก่อตั้งกลุ่มสนับสนุ น Friends of Amanda ขึ้นในปี พ. ศ. 2551 และมีหัวข้อ
ข่าวเช่น อแมนด้า เป็ นความบริ สุทธิ์ของการฆาตกรรมที่โหดร้าย, Retirement FBI Agent Claims'
2.6.3 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
จันทกร บุญเลิศกุล (2549) ศึกษาเรื่ องการพาดหัวข่าวหน้าหนึ่งของหนังสื อพิมพ์กบั การ
คุ กคามทางเพศที่เกิ ดขึ้นกับสตรี กรณี ศึกษา เฉพาะหนังสื อพิมพ์ไทยรัฐ เดลินิวส์ คม ชัด ลึก ในปี
พ.ศ.2548 โดยพบว่า บรรณาธิ ก ารข่ า วหนัง สื อพิ ม พ์ค านึ ง ถึ ง ความนิ ย มของข่ า วเป็ นส าคัญ โดย
นาเสนอข่าวที่ประชานส่ วนใหญ่ให้ความสนใจ ส่ วนข่าวที่เกี่ยวข้องกับผูห้ ญิงก็คานึงในการเลือกใช้
คาและรู ปภาพประกอบข่าวมากขึ้น ขณะที่กลุ่มสิ ทธิ สตรี เห็นว่าประเด็นการขายข่าวโดยมุ่งหวังผล
ยอดจาหน่ายหนังสื อพิมพ์มากกว่าความรับผิดชอบที่มีต่อสังคมยังไม่เหมาะสม และต้องการให้การ
นาเสนอข่าวที่เกี่ยวกับผูห้ ญิงควรนาเสนออย่างเป็ นธรรม ไม่คุกคามทางเพศ บางครั้งมีการใช้ถอ้ ยคา
พาดหัวที่รุนแรงบางข่าวมีการนาเสนอผูห้ ญิงที่เป็ นผูเ้ คราะห์ร้ายกลายเป็ นผูไ้ ด้รับความเสี ยหาย ข่าว
มีลกั ษณะลาเอียงเข้าข้างผูช้ าย
นอกจากนี้ ชเนตตี ทิ น นาม (2551) อ้า งถึ ง ในชเนตตี ทิ น นาม (2559) ระบุ ไ ว้ว่ า
สื่ อมวลชนควรทาการวิเคราะห์และสร้างความข้าใจเรื่ องระบบโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงอานาจ
ระหว่างหญิงชาย ว่าส่ งผลต่อปั ญหาความรุ นแรงต่อผูห้ ญิงอย่างไร สื่ อต้องทาหน้าที่อย่างต่อเนื่ อง
แบบกัดไม่ปล่อย แต่ตอ้ งอ่านเกมให้ออกว่าเรื่ องราวข่าวสารที่เกิดขึ้นนั้นมีฐานความเชื่อเรื่ องอานาจ
ระหว่างหญิงชายแฝงตัวอยูห่ รื อไม่ เพื่อนาไปสู่ การปรับเปลี่ยนทัศคติเรื่ องความสัมพันธ์เชิงอานาจ
ให้นาไปสู่ ความเท่าเทียม
กุลวดี พรหมมินทร์ (2549) และTinnam (2015) อ้างถึงใน ชเนตตี ทินนาม (2559) ระบุ
ว่าเสนอให้สื่อมวลชนเน้นนาเสนอเนื้ อหาการสร้างความเสมอภาคทางเพศ และเน้นการนาเสนอ
ภาพพจน์ของผูห้ ญิงในแง่มุมหลากหลายโดยปราศจากอคติ
ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้ จึงได้นาแนวคิดการประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นอาชญากรผ่าน
การรายงานข่าวอาชญากรรม เป็ นแนวทางศึกษาว่าสื่ อมวลชนมีการประกอบสร้างกรณี คดีนางสาว
ปรี ยานุช โนนวังชัย ผ่านการนาเสนอข่าวอย่างไร
37

2.7 แนวคิดเกีย่ วกับจริยธรรมสื่ อมวลชนในการนาเสนอประเด็นเรื่ องเพศ


หลักจริ ยธรรมสื่ อมวลชนมีความสาคัญอย่างยิ่งในการกากับนักวิชาชี พสื่ อมวลชนให้
ตระหนักถึงแนวปฏิบตั ิทางด้านพฤติกรรมและความคิด ในการรายงานข่าวสารและข้อเท็จจริ งออก
ไปสู่ สาธารณชน
2.7.1 ความหมาย จริ ยธรรม
ราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายคาว่า จริ ยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็ นข้อประพฤติ
ปฏิบตั ิ, ศีลธรรม, กฎศีลธรรม
ด้านบุปผา บุญสมสุ ข (2558) ได้ให้ความหมายคาว่า จริ ยธรรม ว่าหมายถึง สิ่ งที่บุคคล
หรื อสังคมยึดถือเป็ นเครื่ องมือช่วยตัดสิ นและกาหนดการกระทาของตนเอง
ดังนั้น จริ ยธรรม หมายถึง หลักความประพฤติและหลักความคิดที่ใช้ยึดในจิตใจและ
แยกแยะว่า สิ่ ง ใดควรท าหรื อสิ่ ง ใดไม่ ค วรท า ซึ่ ง สุ ภา ศิ ริม านนท์ (2490) ได้ระบุ ถึ งหลัก ความ
ประพฤติ ที่สาคัญของนักสื่ อสารมวลชน ว่าประกอบด้วย หลักว่าด้วยความจริ งแท้ , หลักว่าด้วย
ความสัตย์จริ ง , หลักว่าด้วยความบังควรและไม่บงั ควรซึ่ งมนุษย์พึงปฏิบตั ิต่อมนุษย์ และหลักว่าด้วย
การลอกคัด เรื่ องของคนอื่นแล้วก็ทึกทักเอาเป็ นของตัว และจากหลักความประพฤติดงั กล่าวได้ถูก
นามาขยายเป็ นจรรยาบรรณวิชาชี พสื่ อมวลชน ให้เกิ ดการรับทราบร่ วมกันซึ่ งอาจเขียนเป็ นลาย
ลักษณ์อกั ษรหรื อไม่ก็ได้ (บุปผา บุญสมสุ ข ,2558)
ขณะที่ ส มาคมนัก ข่ า วนัก หนัง สื อ พิ ม พ์แ ห่ ง ประเทศไทย พ.ศ.2534 ก็ ไ ด้ก าหนด
จริ ย ธรรมของวิช าชี พ เพื่อให้ตระหนัก ภาระหน้า ที่ข องตนเองที่จะต้องรั บ ผิดชอบต่ อประชาชน
ประกอบด้วย
1.ส่ งเสริ มและรักษาไว้ซ่ ึ งเสรี ภาพของการเสนอข่าวและความคิดเห็น
2.ให้ประชาชนทราบข่าวเฉพาะที่เป็ นจริ ง การเสนอข่าวใดๆ ออกพิมพ์โฆษณาเผยแพร่
ถ้าปรากฏว่าไม่ตรงต่อความเป็ นจริ ง ต้องรี บจัดการแก้ไขให้ถูกต้องโดยเร็ ว
3.ในการได้มาซึ่ ง ข่าว ภาพ หรื อ ข้อมูลอื่นใด มาเป็ นของตน ต้องใช้วธิ ีการที่สุภาพและ
ซื่ อสัตย์เท่านั้น
4.เคารพในความไว้วางใจของผูใ้ ห้ข่าว และรักษาไว้ซ่ ึ งความลับของแหล่งข่าว
5.ปฏิบตั ิหน้าที่ของตนโดยมุ่งหวังต่อสาธารณประโยชน์ ไม่ใช่ตาแหน่งหน้าที่ แสวงหา
ผลประโยชน์ส่วนตน หรื อ หมู่คณะโดยไม่ชอบธรรม
6.ไม่กระทาการอันเป็ นการบัน่ ทอนเกียรติคุณของวิชาชีพ หรื อความสามัคคีของเพื่อน
ร่ วมวิชาชีพ
38

2.7.2 แนวปฏิบตั ิการนาเสนอข่าวเรื่ องเพศ


จากการรวบรวมแนวปฏิ บ ั ติ ก ารน าเสนอข่ า วเรื่ องเพศ จากสมาคมนั ก ข่ า ว
นักหนังสื อพิมพ์แห่ งประเทศไทย (2549) ที่จดั ทาขึ้นเพื่อเป็ นคู่มือและแนวทางในการเขียนข่าวของ
สื่ อมวลชนเกี่ยวกับเรื่ องเพศในสังคมไทยซึ่ งละเอียดอ่อนก่อนรายงานสู่ สาธารณชนโดยเสนอให้ทา
ข่าวอย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วย
1.การนาเสนอข่าวเรื่ องเพศของวัยรุ่ น
1.1 เพิ่มมุมมองใหม่ๆในการนาเสนอข่าว
1.2 นาเสนอข้อมูลทุกด้านของมุมมองนั้น
1.3 ระวังการใช้คา หรื อ ภาษา เลี่ยงการใช้คากล่าวโทษฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง
2.การนาเสนอข่าวข่มขืน
2.1 ไม่ใช้คาที่อธิ บายถึงคุณลักษณะทางร่ างกาย เช่น รู ปร่ างหน้าตา , การแต่งกาย ,
การเน้นย้าเพศสรี ระเพื่อดึงดูดความสนใจ ,ไม่ใช้สมญานามเรี ยกผูก้ ระทาความผิดที่บ่งบอกถึงความ
โหดเหี้ ยมผิดมนุ ษย์ จะทาให้เข้าใจว่ามีแต่ผจู ้ ิตใจผิดปกติที่เป็ นก่อเหตุ ,ไม่เรี ยกผูถ้ ูกกระทาว่าเหยื่อ
เพราะเป็ นการตอกย้าการล่วงละเมิดทางเพศ
2.2 ทาข่าวอยู่ในกรอบสิ ทธิ มนุ ษยชน ไม่บรรยายหรื อให้รายละเอียดเกี่ยวกับการ
ลงมือข่มขืนมากจนเกินไป ซึ่ งถือว่าเป็ นการข่มขืนซ้ า และไม่คานึงถึงจิตใจของผูถ้ ูกกระทา
2.3 ทาข่าวโดยไม่ผลิตซ้ าความรู ้ความเข้าใจที่ผิดเกี่ยวกับปั ญหาข่มขืน ไม่บรรยาย
สถานที่เกิดเหตุอย่างละเอียด ทาให้ผอู ้ ่านเข้าใจว่าการข่มขืนจะเกิดขึ้นที่มืด หรื อ เปลี่ยวเท่านั้น , ไม่
ชี้ นาว่าการข่มขืนผูห้ ญิงสามารถทาได้เพื่อสั่งสอนผูห้ ญิงที่ไม่ปฏิบตั ิตามค่านิ ยมของสังคม ซึ่ งการ
ข่มขืนไม่ควรเกิ ดขึ้น ไม่ว่าผูห้ ญิงจะแต่งกายอย่างไร มีอาชี พอะไร หรื อมีพฤติกรรมอย่างไร , ไม่
เบี่ยงเบนความผิดของผูก้ ระทาไปที่สื่อโป๊ การเสพยา หรื อ การดื่มสุ รา ซึ่ งทาให้รู้สึกว่าการกระทา
ความผิดนั้นเบาลง และต้องลดความเข้าใจผิดว่าความต้องการทางเพศของผูช้ ายเป็ นเรื่ องธรรมชาติที่
ควบคุมไม่ได้
2.4 เพิ่มมุมมองที่ขาดหายไป โดยขยายมิติข่าวประเด็นการข่มขืนให้มากกว่าข่าว
อาชญากรรม เช่น ทัศนคติ ค่านิยมเรื่ องเพศของสังคม ให้สังคมเข้าใจต่อปั ญหาการข่มขืนมากยิ่งขึ้น
สะท้อนให้เห็นว่าปั ญหาของสังคม ไม่ใช่ชะตากรรมส่ วนบุคคล
3.การนาเสนอข่าวความรุ นแรงในชีวติ คู่
3.1 หลีกเลี่ยงการใช้คาที่สื่อว่าความรุ นแรงในชีวติ คู่เป็ นปั ญหาส่ วนตัว , ไม่ตอกย้ า
ค่านิ ยมผิดๆ ว่าภรรยาเป็ นสมบัติของสามี , ไม่ใช้คาที่ตดั สิ นถึงความมีคุณค่าในตัวตนของผูห้ ญิง ,
หลีกเลี่ยงการใช้คาที่แสดงให้เห็นว่าผูห้ ญิงเป็ นเพศที่ใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล
39

3.2 เพิ่มมุมมองเกี่ยวกับกลไกนโยบายภาครัฐในการแก้ไขปัญหาชีวติ คู่


4.ข่าวท้องไม่พร้อมและทาแท้ง
4.1 เพิ่มมิติในการมองปั ญหาและการนาเสนอข่าว เงื่อนไขชีวิต ความรู ้สึกของผูท้ ี่
ประสบปั ญหา เช่น ความรู ้ความเข้าใจในการวางแผนครอบครัว , แรงกดดันที่ส่งผลต่อการตัดสิ นใจ
เมื่อเกิดปั ญหา , ผลกระทบทางสุ ขภาพที่ผูห้ ญิงจะได้รับ , สวัสดิการและการช่ วยเหลือเมื่อประสบ
ปั ญหาท้องเมื่อไม่พร้อม
4.2 ให้พ้ืนที่และความสาคัญกับเสี ยงของผูห้ ญิงมากขึ้น
4.3 ใช้มุมมองเพศภาวะเพื่อวิเคราะห์และทาความเข้าใจ ระบบโครงสร้างอานาจ
และความสัมพันธ์ชายหญิงในสังคม
5.ข่าวคนรักเพศเดียวกัน
5.1 หลี กลี่ ยงการใช้คาที่เน้นว่าคนรักเพศเดียวกันเป็ นคนที่มีอารมณ์รุนแรง หรื อ
เป็ นผูผ้ ดิ ปกติ โดยไม่ใช้การระบุลกั ษณ์เช่น ทอม ,ดี้,ตุด๊
5.2 ไม่มุ่งเน้นนาเสนอเพียงมิติทางเพศ
นอกจากนี้ ยงั พบว่าสภาการหนังสื อพิมพ์แห่ งชาติ ได้ออกแนวปฏิบตั ิฯ เรื่ อง การเสนอ
ข่าว เนื้ อหาข่าว การแสดงความคิ ดเห็ น และภาพข่าว ผูห้ ญิงและเด็กถู กล่ วงละเมิดทางเพศ พ.ศ.
2560 แทนแนวปฏิบตั ิเดิมในปี พ.ศ.2559 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. การเสนอข่าว เนื้ อหาข่าว และการแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับผูห้ ญิงและเด็กถูกล่วง
ละเมิดทางเพศ
1.1 หนังสื อพิมพ์ตอ้ งไม่ตีพิมพ์ชื่อ ชื่ อสกุล หรื อตาบลที่อยู่ของผูห้ ญิงและเด็กที่ถูก
ล่วงละเมิดทางเพศ รวมทั้งชื่ อ ชื่ อสกุล และตาบลที่อยูข่ องผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ไม่วา่ กรณี ใด ๆ หรื อสิ่ งที่ทา
ให้รู้หรื อสามารถรู ้ได้ เช่น ข้อมูลสถานศึกษา หรื อที่ทางานของผูเ้ สี ยหาย

1.2 ในกรณี ผูห้ ญิงและเด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศได้รับอันตรายถึงแก่ ชีวิต ให้ถือ


ปฏิบตั ิเช่นเดียวกับข้อ 1.1 เว้นแต่การเผยแพร่ ขอ้ มูลนั้น เป็ นประโยชน์ต่อสาธารณะ
1.3 การพาดหัวข่ า ว โปรยข่ า ว ตลอดจนเนื้ อ หาข่ า ว และการแสดงความคิ ด เห็ น
เกี่ยวกับผูห้ ญิงและเด็กถูกล่วงละเมิดทางเพศ จะต้องกระทาด้วยความระมัดระวัง ทั้งในเรื่ องการใช้
ภาษา การให้รายละเอียดเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในที่เกิดเหตุ และพฤติกรรมเกี่ยวกับการล่วงละเมิด
ทางเพศ โดยต้องคานึงถึงหลักสิ ทธิมนุษยชน หรื อความเสี ยหายแก่จิตใจ ชื่อเสี ยงเกียรติคุณผูเ้ สี ยหาย
และไม่ตอกย้ าให้เกิดความเข้าใจผิดเกี่ยวกับทัศนคติเรื่ องเพศอันเนื่องมาจากการล่วงละเมิดทางเพศ
นั้น
40

2. การเสนอภาพข่าวผูห้ ญิงและเด็กถูกล่วงละเมิดทางเพศ
2.1 หนังสื อพิมพ์ตอ้ งไม่ตีพิมพ์ภาพข่าวของผูห้ ญิงและเด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ
รวมถึงภาพข่าวใด ๆ ที่จะทาให้รู้ได้ เช่น ภาพผูเ้ กี่ยวข้อง ภาพที่เกิดเหตุ สถานศึกษา สถานที่ทางาน
ไม่วา่ กรณี ใด ๆ และไม่วา่ ผูท้ ี่ถูกล่วงละเมิดทางเพศนั้นจะเสี ยชีวติ หรื อไม่ก็ตาม
2.2 ในกรณี ผูห้ ญิงและเด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศได้รับอันตรายถึงแก่ ชีวิต ให้ถือ
ปฏิ บตั ิเช่ นเดี ยวกับข้อ 2.1 เว้นแต่การเผยแพร่ ขอ้ มูลนั้น เป็ นประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยสามารถ
นาเสนอได้เฉพาะภาพหน้าตรงของผูเ้ สี ยชีวติ ขณะมีชีวติ อยูเ่ ท่านั้น
จากการรวบรวมแนวปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้องกับการนาเสนอข่าวเกี่ ยวกับผูห้ ญิง ไม่พบว่ามี
แนวปฏิ บ ัติ ที่ เ ฉพาะเจาะจงกรณี ผูห้ ญิ ง เป็ นผูต้ ้อ งหา การศึ ก ษาครั้ งนี้ จึ ง ได้น าแนวคิ ด เกี่ ย วกับ
จริ ยธรรมสื่ อมวลชนในการนาเสนอประเด็นเรื่ องเพศ มาใช้เป็ นแนวทางในการศึกษา เพื่อจัดทาแนว
ปฏิบตั ิในการนาเสนอข่าวกรณี ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหา
บทที่ 3
ระเบียบวิธีวจิ ยั

ระเบียบวิธีวิจยั ในการศึกษาวิจยั เรื่ อง การวางกรอบข่าวอาชญากรรมที่ประกอบสร้าง


ผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา กรณี คดี "นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย” เป็ นการศึกษาวิจยั ที่ใช้ระเบียบวิธีวิจยั
เชิ ง คุ ณภาพ (Qualitative research) ด้วยวิธี การเก็ บ รวบรวมข้อมู ล 2 วิธี คื อการวิเคราะห์ ก ารวาง
กรอบ (Frame Analysis) ในเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ร่ วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
โดยมีข้ นั ตอนการวิจยั แบ่งเป็ น 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4
วิเคราะห์การวาง สัมภาษณ์เชิงลึก สัมภาษณ์องค์กร จัดทาแนวปฏิบตั ิทาง
กรอบข่าว บุคลากรเว็บไซต์ วิชาชีพที่กากับ จริ ยธรรมของ
ข่าวสด ดูแลกันเองใน สื่ อมวลชนไทยใน
กลุ่มสื่ อมวลชน การนาเสนอข่าว
และนักวิชาการ ผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา
นาผลการ
วิเคราะห์กรอบ นาผลวิเคราะห์กรอบ ข้อเสนอแนะการวาง
ข่าว และนา ข่าว และสรุ ปผลสัม กรอบข่าว และปั จจัย
แนว คิดเรื่ อง ภาษณ์เชิงลึกบุคลา กร ที่ส่งผลต่อการทางาน
ปั จจัยที่มีผลต่อ เว็บไซต์ข่าวพร้อม ของสื่ อมวลชน และ
การทางานของ จัดทา(ร่ าง)แนวปฏิบตั ิ ข้อเสนอแนะแนว
องค์กรข่าว ทางจริ ยธรรมของ ปฏิบตั ิทางจริ ยธรรม
จัดทาคาถาม สื่ อมวลชนไทยในการ ของสื่ อมวลชนไทย
สัมภาษณ์ นาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่ ในการนาเสนอข่าว
เป็ นผูต้ อ้ งหา มาจัดทา ผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา
คาถามสัมภาษณ์

ตอบคาถาม ตอบคาถาม ตอบคาถามวิจยั ตอบคาถาม


วิจยั ข้อที่ 1 วิจยั ข้อที่ 2 ข้อที่ 1,2,3 วิจยั ข้อที่ 3

ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนการวิเคราะห์ ข้อมูล


42

3.1 การวิเคราะห์ การวางกรอบ (Frame Analysis)


การวิเคราะห์การวางกรอบตามแนวคิดของ Entman ที่ผวู ้ จิ ยั นามาศึกษา คือ รู ปแบบการ
วิเคราะห์ที่แสดงให้เห็นถึงวัตถุประสงค์เบื้องหลังเนื้อหาของข่าวที่อยูใ่ นสื่ อต่างๆ เป็ นการวิเคราะห์
การวางกรอบที่นามาจากประเด็นหรื อความจริ งที่ถูกวางกรอบโดยสื่ อ นามาทาความเข้าใจเนื้ อหา
และจึงตีความหมายที่อยู่ในนั้น (Eriyanto, 2012, น.3-10) โดยในวารสารวิชาการ เรื่ อง “Framing:
Toward Clarification of Fractured Paradigm” ของ Entman ในปี 1993 ได้กล่าวไว้วา่ การวางกรอบ
เป็ นเครื่ องมือยอดนิยมที่ถูกนามาใช้อย่างกว้างขวางในการวิจยั เกี่ยวกับกระบวนการสื่ อสาร โดยการ
วิเคราะห์ ก ารวางกรอบมัก จะศึ ก ษาเกี่ ย วข้องกับ แนวความคิ ดในการท าข่ า วที่ ถู ก ถ่ า ยทอดผ่ า น
ตัว อัก ษร ศึ ก ษาผลกระทบของข่ า วที่ ถู ก สรรสร้ า งขึ้ นและผลกระทบของข่ า วนั้ น ๆ ที่ มี ต่ อ
แนวความคิ ดของผูร้ ั บชม ทั้งนี้ สาระสาคัญของการวิเคราะห์การวางกรอบ มี 2 ปั จจัย (Eriyanto,
2012, น.222) ได้แก่ 1) การคัดเลือกประเด็น ผ่านกระบวนการคัดเลือกข้อเท็จจริ งจากความเป็ นจริ ง
ที่หลากหลาย เพื่อให้เห็นถึงกระบวนการที่เรื่ องราวหรื อประเด็นต่างๆ ถูกตีความ ถูกนามาเกี่ยวข้อง
กับส่ วนที่จะถู กนาเสนอออกมาเป็ นข่าว และไม่นาเสนอ และ 2) การวิเคราะห์การให้น้ าหนักของ
การเขียนข้อเท็จจริ ง การใช้คา ประโยค หรื อรู ปภาพที่นามาสนับสนุนเนื้อหาในการเขียน
ซึ่งการวิเคราะห์การวางกรอบข่าวของ Entman ยังใช้เพื่อวิเคราะห์การนาเสนอประเด็น
ที่นกั ข่าวใช้ในการก่อร่ างเรื่ องราวต่างๆ วางกรอบข่าวและนาเสนอเพื่อให้ข่าวนั้นๆ เป็ นที่น่าสนใจ
มีความหมายและสะดุดใจผูร้ ับชมซึ่ งแนวคิดของ Entman สามารถนามาอ้างอิงถึงแนวปฏิบตั ิเพื่อ
ดาเนินการวิจยั ได้ โดย Entman ได้สรุ ปหน้าที่การวางกรอบแบ่งเป็ น 4 ส่ วน ประกอบด้วย การนิยาม
เหตุการณ์ การวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาในสังคม การประเมินในเชิงจริ ยธรรมผูเ้ กี่ยวข้อง และการ
แนะทางออกของปั ญหา นอกจากนี้ Entman ยังวิเคราะห์กลวิธี 6 กลวิธีประกอบด้วย รู ปแบบการจัด
วาง การพาดหัวข่าว การทาซ้ า การใช้สัญลักษณ์ การใช้ภาษาที่ดึงดูดใจ และในการศึกษาครั้งนี้ เป็ น
การศึกษาข่าวที่นาเสนอทางเว็บไซต์จึงนากลวิธีดา้ นเทคนิคการตัดต่อวีดีโอมาทาการศึกษาในส่ วน
กลวิธีดว้ ย โดยมีรายละเอียดดังนี้
43

ตารางที่ 3.1 ตารางวิเคราะห์ การวางกรอบข่ าวของ Entman


การนิยามเหตุการณ์ เป็ นส่ วนแรกของการวางกรอบ จะแสดงให้
เห็นวิธีการที่เรื่ องราวต่างๆ ถูกทาความเข้าใจ
ไม่วา่ จะเป็ นข่าวที่มีลกั ษณะไปในเชิงบวกหรื อ
ลบ
การวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาในสังคม การหาสาเหตุจะเป็ นการหาว่าเรื่ องราวนี้จะถูก
ทาความเข้าใจได้อย่างไร มีอะไรเกิดขึ้น หรื อ
ใครเป็ นสาเหตุของปัญหานั้นๆ
การประเมินในเชิงจริ ยธรรมของผูเ้ กี่ยวข้อง การประเมินค่านิยมทางศีลธรรมที่ใช้เพื่อสร้าง
ความชอบธรรมหรื อโต้แย้งการกระทาหรื อ
ความคิดที่ถูกสร้างขึ้น
การแนะทางออกของปั ญหา ความพยายามหรื อแนวทางการแก้ไขปัญหาที่
ถูกนาเสนอและทาเพื่อแก้ไขปัญหา ซึ่ งขึ้นอยู่
กับประเด็นนั้นๆ และใครที่เป็ นผูก้ ่อให้เกิด
ปัญหา
กลวิธี พิจารณาเนื้อหาและองค์ประกอบข่าวโดย
วิเคราะห์จาก 6 กลวิธี ประกอบด้วย
รู ปแบบการจัดวาง การพาดหัวข่าว การทาซ้ า
การใช้สัญลักษณ์ การใช้ภาษาที่ดึงดูดใจ

นอกจากนี้ การวางกรอบข่ าวในกรณี น้ ี ยงั นาแนวคิ ดวิธีการที่สื่ อประกอบสร้ า งผูห้ ญิ ง ที่ เ ป็ น


ผูต้ อ้ งหาของ Jewkes มาใช้เป็ นกรอบวิเคราะห์เพิ่มเติม ประกอบด้วย เพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ
ภรรยาที่ไม่ดี สัตว์ประหลาดในตานาน ผูบ้ งการ ความดึงดูดของรู ปลักษณ์ภายนอก แม่ที่ไม่ดี วัว
คลัง่ และไม่ใช่ตวั การกระทาความผิด มาใช้ศึกษาด้วย
3.1.1 ประชากรและตัวอย่างในการวิเคราะห์
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ เว็บไซต์ข่าวที่นาเสนอกรณี คดี นางสาวปรี ยานุช โนน
วังชัย โดยเลื อกตัวอย่างแบบเจาะจงจากเว็บไซต์ข่า วที่นาเสนอข่าวดังกล่ า วอย่างต่อเนื่ องและมี
ประชาชนเข้า ถึ ง มากที่ สุ ด ทั้ง ช่ องทางเว็บ ไซต์และสื่ อสัง คมออนไลน์ เฟซบุ๊ก ซึ่ ง สอดคล้องกับ
พฤติกรรมของผูค้ นที่การเปลี่ยนแปลงไปที่นิยมเปิ ดรับข่าวสารผ่านเว็บไซต์และสื่ อสังคมออนไลน์
44

ตัวอย่างที่เลือกในการศึกษานี้ คือ เว็บไซต์ข่าวสดออนไลน์ ซึ่ งเป็ นเว็บไซต์ข่าวที่มีผเู ้ ข้า


ไปอ่ า นและติ ดตามมากที่ สุดในประเทศไทยตั้ง แต่ พ.ศ.2557 โดยมี ผูต้ ิ ดตามในเฟซบุ๊ กข่ าวเป็ น
อันดับหนึ่งในประเทศไทยเกือบ 13 ล้านคน ซึ่ งข่าวที่นาเสนอผ่านทางเฟซบุ๊ก เมื่อผูอ้ ่านกดอ่านจะ
ถู กเชื่ อมต่อมายังเว็บไซด์ของข่าวสดออนไลน์ และจากสถิติเข้าชมเว็บไซต์พบว่าข้อมูลเมื่อเดื อน
กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 มีผเู ้ ข้าชมเว็บไซต์ ข่าวสดออนไลน์มากเป็ นอันดับหนึ่งเฉลี่ยวันละ 2,475,708
ครั้ง (สถิติเว็บไทย ,2561)
หน่วยการวิเคราะห์คือ ข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ที่นาเสนอทางเว็บไซต์
ข่ า วสดออนไลน์ ตั้ง แต่ วนั ที่ 25 พฤษภาคม ถึ ง 23 สิ งหาคม พ.ศ.2560 โดยการเลื อกหน่ วย ใน
การศึกษาเพื่อวิเคราะห์การวางกรอบแบ่งเป็ น 4 ขั้นตอน
1) ค้นหาข่าวกรณี คดี นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย โดยใช้คาค้นหากว่า “หั่นศพ” และ
“ปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว” ในเว็บไซต์ข่าวสด พบข่าวกรณี คดีน้ ี รวม 129 ข่าว
2) แบ่งข่าวตามช่วงเหตุการณ์กรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย โดยแบ่งเป็ น 3 ช่วง
เหตุการณ์ ประกอบด้วย
2.1) ช่วงเหตุการณ์ที่ 1 พบศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อ แอ๋ ม และยังไม่ทราบว่าผู ้
ก่อเหตุคือใคร พบข่าวจานวน 15 ข่าว
2.2) ช่วงเหตุการณ์ที่ 2 ทราบว่าผูก้ ่อเหตุคือนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว
พบข่าวจานวน 53 ข่าว
2.3) ช่วงเหตุการณ์ที่ 3 ตารวจสามารถจับกุมนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว
พบข่าวจานวน 61 ข่าว
3) จัดกลุ่มข่าวในแต่ละช่วงเหตุการณ์ตามประเด็นหลักที่ถูกนาเสนอ โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
ช่วงเหตุการณ์ที่ 1 ระหว่างวัน 25 พฤษภาคม - 28 พฤษภาคม พ.ศ.2560 จานวน 16 ข่าว
สามารถจัดกลุ่มข่าวแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย
1. กรณี ที่ 1 พบศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อ แอ๋ ม มีจานวน 1 ข่าว
2 กรณี ที่ 2 ตารวจเร่ งสื บสวนและสอบสวนหาตัวผูก้ ่อเหตุฆาตกรรม มีจานวน 14
ข่าว
ช่วงเหตุการณ์ที่ 2 ระหว่างวันที่ 29 พฤษภาคม – 3 มิถุนายน พ.ศ.2560 สามารถจัดกลุ่ม
ข่าวออกเป็ น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย
1 กรณี ที่ 1 ทราบว่านางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว คือผูต้ อ้ งหา จานวน
39 ข่าว
45

2 กรณี ที่ 2 สื่ อมวลชนนาเสนอเรื่ องราวส่ วนตัวและผลการสื บสวนสอบสวนคดี


นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย จานวน 14 ข่าว
ช่วงเหตุการณ์ที่ 3 ระหว่างวันที่ 4 มิถุนายน – 23 สิ งหาคม พ.ศ. 2560 สามารถจัดกลุ่ม
ข่าวออกเป็ น 4 กลุ่ม ประกอบด้วย
1 กรณี ที่ 1 ตารวจสามารถจับกุมนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย จานวน 40 ข่าว
2 กรณี ที่ 2 สื่ อมวลชนนาเสนอข่าวว่าเกิดพฤติกรรมลอกเลียนแบบนางสาวปรี ยา
นุช โนนวังชัย จานวน 4 ข่าว
3 กรณี ที่ 3 ส่ งตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย เข้าเรื อนจา จานวน 11 ข่าว
4 กรณี ที่ 4 คุมตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย มาขึ้นศาลครั้งแรก จานวน 5 ข่าว
4) คัดเลื อกข่าวตามกรณี ที่เกิ ดขึ้ นในแต่ละช่ วงเหตุการณ์ โดยพบว่าในแต่ละกรณี มี
เนื้ อ หาข่ า วที่ ค ล้า ยกัน บางข่ า วมี ก ารเพิ่ ม รายละเอี ย ดเพี ย งเล็ ก น้อ ย จึ ง ท าการเลื อ กข่ า วแบบ
เฉพาะเจาะจงจากการพิจารณารายละเอียดข่าวที่ครอบคลุมตามกรณี ที่เกิ ดขึ้นมาทาการศึกษาโดย
เลือกกรณี ละ 1 ข่าว รวมทั้งหมด 8 ข่าว โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ตารางที่ 3.2 คัดเลือกข่ าวตามกรณีทรี่ ะบุไว้ในแต่ ละช่ วงเหตุการณ์

ช่วงเหตุการณ์ กรณี ยอ่ ย ข่าวที่เลือก


ช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ 1 กรณี ที่ 1 สื่ อมวลชนนาเสนอข่าว -พาดหั ว ข่ า ว “ผงะฆ่ า ทารุ ณสาว
จานวน 15 ชิ้น พบศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ หน้า ตาดี ฆาตกรแค้นโหดหั่นศพ 2
มีจานวน 1 ข่าว ท่อน ใส่ ถุงดา-ยัดถัง!”
นาเสนอข่าววันที่
25 พฤษภาคม - 28 -นาเสนอข่าว 25 พฤษภาคม พ.ศ.
พฤษภาคม พ.ศ. 2560
2560 กรณี ที่ 2 สื่ อมวลชนนาเสนอข่าว -พาดหัว ข่ า ว “ผัว รู ้ เ มี ย ชอบทอมยัง
ตารวจเร่ งสื บสวนสอบสวนหาผู ้ รั ก !แฉ “เบน” ทอมอี ก คนเคยซ้ อ ม
ก่อเหตุ มีจานวน 14 ข่าว “น้องแอ๋ ม”ปางตาย”

-น าเสนอข่ า ว 27 พฤษภาคม พ.ศ.


2560
46

ตารางที่ 3.2 (ต่อ)

ช่วงเหตุการณ์ กรณี ยอ่ ย ข่าวที่เลือก


ช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ 2 กรณี ที่ 1 สื่ อมวลชนนาเสนอข่าว -พาดหัวข่าว “เผยโฉม “เอิร์น-เปรี้ ยว”
จานวน 53 ชิ้น ว่ า รู ้ ตั ว ผู ้ ก่ อเหตุ ฆ่ า หั่ น ศพ มี 2 ใน 4 ผูต้ อ้ งหาฆ่าน้องแอ๋ ม โซเชียล
จานวน 39 ข่าว สะพรึ ง “สวยหัน่ ศพ!””
นาเสนอข่าววันที่
29 พฤษภาคม – 3 -น าเสนอข่ า ว 29 พฤษภาคม พ.ศ.
มิถุนายน พ.ศ.2560 2560
กรณี ที่ 2 สื่ อมวลชนน าเสนอ -พาดหัวข่าว “แม่เปรี้ ยวหัน่ ศพ เครี ยด
ร า ย ล ะ เ อี ย ด ชี วิ ต ค ร อ บ ค รั ว หนัก อยากให้มอบตัวห่ วงต้องหนีหวั
นางสาวปรี ย านุ ช โนนวัง ชัย มี ซุกหัวซุน ชี้ตอ้ งหยุดสร้างบ้าน ขาดที่
จานวน 14 ข่าว พึ่ง”

-นาเสนอข่าว 2 มิถุนายน พ.ศ.2560


ช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ 3 กรณี ที่ 1 สื่ อมวลชนนาเสนอข่าว -พาดหั ว ข่ า ว “เปรี้ ยว” ให้ ก ารกั บ
จานวน 61 ชิ้น การจับกุมนางสาวปรี ยานุ ช โนน ผบ.ตร. ท าไมถึ ง หั่น ศพ “แอ๋ ม ” ไม่
วังชัย มีจานวน 40 ข่าว นาไปถ่วงน้ า?”
นาเสนอข่าววันที่
4 มิ ถุ น ายน – 23 -นาเสนอข่าว 4 มิถุนายน พ.ศ.2560
สิ งหาคม พ.ศ. 2560
47

ตารางที่ 3.2 (ต่อ)

ช่วงเหตุการณ์ กรณี ยอ่ ย ข่าวที่เลือก


ช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ 3 กรณี ที่ 2 สื่ อมวลชนนาเสนอข่าว -พาดหัว ข่ า ว “กระแสแรง! ไม่ ต้อ ง
จานวน 61 ชิ้น เกี่ ย วกับ พฤติ ก รรมลอกเลี ย น มี โฆษณา แม่คา้ ออนไลน์แห่ ซ้ื อเพียบ
จานวน 4 ข่าว ยอดขายพุง่ กระฉูด”
นาเสนอข่าววันที่
4 มิ ถุ น ายน – 23 -นาเสนอข่าว 4 มิถุนายน พ.ศ.2560
สิ งหาคม พ.ศ. 2560
กรณี ที่ 3 สื่ อมวลชนนาเสนอข่าว -พาดหัวข่าว “นอนคุกคืนแรกแก๊งหัน่
ส่ ง นางสาวปรี ย านุ ช โนนวัง ชัย ศ พ เ ค รี ย ด จั ด “เ ป รี้ ย ว ”ร้ อ ง ไ ห้
เข้าเรื อนจา มีจานวน 11 ข่าว ตลอดเวลา “แจ้”สารภาพเสพยาเสพ
ติด”

-นาเสนอข่าว 6 มิถุนายน พ.ศ.2560


กรณี ที่ 4 สื่ อมวลชนนาเสนอข่า ว -พาดหัวข่าว “เปิ ดโฉมล่าสุ ด “เปรี้ ยว-
นางสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย ถู ก หั่นศพ” ทาปากชมพูข้ ึนศาลนัด แรก
คุมตัวมาขึ้นศาลครั้งแรก มีจานวน หลังอัยการสั่งฟ้อง 5 ข้อหา”
5 ข่าว
-นาเสนอข่าว 23 สิ งหาคม พ.ศ.2560

สรุ ปทั้ง 3 ช่วงเหตุการณ์สามรถคัดเลือกข่าวได้ท้ งั หมด 8 ข่าว แบ่งเป็ นช่วงเหตุการณ์ที่ 1 จานวน 2


ชิ้น ช่วงเหตุการณ์ที่ 2 จานวน 2 ชิ้น และช่วงเหตุการณ์ที่ 3 จานวน 4 ชิ้น โดยมีรายละเอียดข่าวใน
แต่ละช่วงเหตุการณ์ดงั นี้
ช่ วงที่ 1 การนาเสนอข่าวเกี่ ยวกับนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ ที่นาเสนอผ่านทางเว็บไซต์
ข่าวสด ระหว่างวันที่ 25-28 พฤษภาคม 2560 จานวน 2 ชิ้น มีรายละเอียด ดังนี้
48

ตารางที่ 3.3 แสดงรายละเอียดข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 1


ข่าวที่ ประเด็นข่าว ภาพปก เนื้อหาข่าว
ภาพ พาดหัวในภาพ พาดหัวข่าว รายละเอียด มัลติมีเดีย
กรณี ที่ 1 พบศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้
1 พบศพนางสาว ภาพผูเ้ สี ยชีวติ ฆ่าทารุ ณสาว ผงะฆ่าทารุ ณสาว รายละเอียดของ ภาพนิ่ง
วริ ศรา กลิ่นจุย้ หน้าตาดี หัน่ หน้าตาดี ฆาตกร ผูเ้ สี ยชีวติ รอยสัก
หรื อ แอ๋ ม ศพใส่ถุงดายัด แค้นโหดหัน่ ศพ 2 การแต่งกาย
ถัง! ท่อน ใส่ถุงดา-ยัด และการสื บสวน
ถัง! ของตารวจ
วันที่นาเสนอข่าว 25พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ที่มา : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_366435
ข่าว ประเด็นข่าว ภาพปก เนื้อหาข่าว
ที่ ภาพ พาดหัวในภาพ พาดหัวข่าว รายละเอียด มัลติมีเดีย
กรณี ที่ 2 ตารวจเร่ งสื บสวนสอบสวนหาผูก้ ่อเหตุ
2 การสื บสวน ภาพสามี ผัว “น้องแอ๋ ม” ผัวรู ้เมียชอบทอมยัง การสื บสวนของ คลิปวีดีโอ
และสอบสวน ผูเ้ สี ยชีวติ และ แฉเอง! “เบน” รัก!แฉ “เบน” ทอม ตารวจ และการ
หาสาเหตุ ภาพผูเ้ สี ยชีวติ ทอมอีกคนเคย อีกคนเคยซ้อม “น้อง สอบปากคาสามี
ฆาตกรรม กับสาวหล่อ ซ้อมเมีย แอ๋ ม”ปางตาย ของผูเ้ สี ยชีวติ
วันที่นาเสนอข่าว 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ที่มา : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_368625

ช่วงที่ 2 การนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ที่นาเสนอระหว่างวันที่


29 พฤษภาคม – 3 มิถุนายน 2560 จานวน 2 ชิ้น ดังนี้
49

ตารางที่ 3.4 แสดงรายละเอียดข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 2


ข่าวที่ ประเด็นข่าว ภาพปก เนื้อหาข่าว
ภาพ พาดหัวใน พาดหัวข่าว รายละเอียด มัลติมีเดีย
ภาพ
กรณี ที่ 1 รู ้ตวั ผูก้ ่อเหตุฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้
1 ตารวจสื บสวน นางสาวปรี ยา เผยโฉม เผยโฉม “เอิร์น- นาเสนอภาพถ่าย ภาพถ่าย
ทราบว่า นุช กับพวก ผูต้ อ้ งหาฆ่า เปรี้ ยว” 2 ใน 4 ของนางสาวปรี ย
นางสาวปรี ยา “น้องแอ๋ ม” ผูต้ อ้ งหาฆ่าน้อง นุช ที่โพสต์ในเฟ
นุช โนนวังชัย สวยหัน่ ศพ! แอ๋ ม โซเชียลสะ ซบุ๊กส่วนตัว
เป็ น 1 ใน พรึ ง “สวยหัน่ ศพ!”
ผูต้ อ้ งหา
วันที่นาเสนอข่าว 29 พฤษภาคม พ.ศ.2560
ที่มา : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_372225
กรณี ที่ 2 สื่ อมวลชนนาเสนอชีวติ ครอบครัวของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยวว่าเลี้ยงดูมารดา
2 มารดานางสาว ภาพนางสาว แม่เปรี้ ยวร่ า แม่เปรี้ ยวหัน่ ศพ มารดานางสาว คลิปวีดีโอ
ปรี ยานุช เล่าว่า ปรี ยานุช และ ไห้ วอน เครี ยดหนัก อยาก ปรี ยานุช เล่าว่า
นางสาวปรี ยา ภาพมารดาที่ กลับมามอบ ให้มอบตัวห่วงต้อง นางสาวปรี ยานุช
นุช เป็ นคน กาลังเช็ด ตัว หนีหวั ซุกหัวซุน ชี้ เป็ นคนกตัญญู
กตัญญู น้ าตา ต้องหยุดสร้างบ้าน ช่วยเหลือ
ขาดที่พ่ งึ ครอบครัว
วันที่นาเสนอข่าว 2 มิถุนายน พ.ศ.2560
ที่มา : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_378543

ช่วงที่ 3 การนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ระหว่างวันที่ 4 มิถุนายน


– 23 สิ งหาคม 2560 จานวน 4 ชิ้น ดังนี้
50

ตารางที่ 3.5 แสดงรายละเอียดข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 3


ข่าว ประเด็นข่าว ภาพปก เนื้อหาข่าว
ที่ ภาพ พาดหัวใน พาดหัวข่าว รายละเอียด มัลติมีเดีย
ภาพ
กรณี ที่ 1 ตารวจสามารถจับตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว กับพวกได้
1 นางสาวปรี ยา ผูบ้ ญั ชาการ เปรี้ ยวให้การ “เปรี้ ยว” ให้การกับ ชนวนเหตุ ภาพนิ่ง
นุช โนนวังชัย ตารวจ กับ ผบ. ทาไม ผบ.ตร. ทาไมถึงหัน่ ฆาตกรรม
ให้ปากคากับผู ้ แห่งชาติ ถึงฆ่าหัน่ ศพ ศพ “แอ๋ ม” ไม่นาไป และชี้แจงกรณี คลิป
บัญชาการ สอบปากคา ไม่ถ่วงน้ า! ถ่วงน้ า? นางสาวปรี ยานุช เฟซบุ๊กไลฟ์
ตารวจแห่ง ถึง นางสาวปรี ยา แต่งหน้า ใน
สาเหตุ นุช ห้องควบคุมตัว
ฆาตกรรม
วันที่นาเสนอข่าว 4 มิถุนายน พ.ศ.2560
ที่มา : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_381187
กรณี ที่ 2 พ่อค้าแม่คา้ ขายสิ นค้าเลียนแบบสิ่ งของที่นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ใช้
2 ขายหมอนผ้า ไม่มี ไม่มี กระแสแรง! ไม่ตอ้ ง รายละเอียด คลิปวีดีโอ
ห่มแบบเดียว โฆษณา แม่คา้ หมอนผ้าห่ม
กับนางสาว ออนไลน์แห่ซ้ือ แบบที่นางสาว
ปรี ยานุช ใช้ มี เพียบ ยอดขายพุง่ ปรี ยานุชใช้ และ
ยอดขายเพิ่มขึ้น กระฉูด ยอดขายที่เพิ่ม
มากขึ้น
วันที่นาเสนอข่าว 4 มิถุนายน พ.ศ.2560
ที่มา : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_381303
กรณี ที่ 3 ส่งนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว เข้าเรื อนจา
3 นางสาวปรี ยา นางสาวปรี ยา หวัน่ เปรี้ ยวฆ่า นอนคุกคืนแรกแก๊ง การคุมตัวนาง คลิปวีดีโอ
นุช ถูกควบคุม นุช กับพวก ตัวตาย หัน่ ศพเครี ยดจัด สาวปรี ยานุชใน
ในเรื อนจา พร้อมอาวุธที่ “เปรี้ ยว”ร้องไห้ เรื อนจา อย่าง
ใช้ฆาตกรรม ตลอดเวลา “แจ้” เข้มงวดป้ องกัน
สารภาพเสพยาเสพ ผูต้ อ้ งหาฆ่าตัว
ติด ตาย
วันที่นาเสนอข่าว 6 มิถุนายน พ.ศ.2560
ที่มา : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_383761
51

ตารางที่ 3.5 (ต่ อ)

ข่าว ประเด็นข่าว ภาพปก เนื้อหาข่าว


ที่ ภาพ พาดหัวใน พาดหัวข่าว รายละเอียด มัลติมีเดีย
ภาพ
กรณี ที่ 4 นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยวถูกคุมตัวมาขึ้นศาลครั้งแรก
4 ความคืบหน้า นางสาวปรี ยา เปิ ดโฉม เปิ ดโฉมล่าสุด รายละเอียด ภาพนิ่ง
การดาเนินคดี นุช เปรี้ ยว-หัน่ ศพ “เปรี้ ยว-หัน่ ศพ” ทา ขั้นตอนการ
กับนางสาว ทาปากสี ชมพู ปากชมพูข้ ึนศาลนัด ดาเนินคดีกบั คลิปวีดีโอ
ปรี ยานุช ขึ้นศาล แรก หลังอัยการสัง่ นางสาวปรี ยานุช
ฟ้อง 5 ข้อหา
วันที่นาเสนอข่าว 23 สิ งหาคม พ.ศ.2560
ที่มา : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_483098

3.1.2 การเก็บข้ อมูลและเครื่ องมือในการเก็บข้ อมูล


ผู ้วิ จ ัย ใช้ต ารางลงรหัส (coding sheet) ในการบัน ทึ ก ข้อ มู ล โดยศึ ก ษาเนื้ อ หาการ
นาเสนอข่าวของสื่ อมวลชนว่ามีทิศทางการอธิ บายเหตุการณ์อย่างไร ซึ่ งการวิเคราะห์การวางกรอบ
ข่าว แบ่งเป็ น 3 ส่ วน
1.การกาหนดแก่นเรื่ อง (Theme) วิเคราะห์จากเนื้อหา และภาพ ตามแนวคิดของ Robert
Entman โดยการนิ ยามเหตุการณ์ ,การวิเคราะห์ว่าอะไรคือสาเหตุของปั ญหา , การประเมินในเชิ ง
จริ ยธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องในการนาเสนอข่าว และการเสนอแนะแนวทางแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึ้น มาใช้
เป็ นเกณฑ์ในการวิเคราะห์
52

ตารางที่ 3.6 ตารางบันทึกข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ การวางกรอบข่าวของเว็บไซต์ข่าวสดกรณี คดีนางสาว


ปรี ยานุช โนนวังชัย

กรณี ที่ (1) ตัวบ่งชี้


ข่าวที่...
วันที่นาเสนอข่าว.... ภาพปก เนื้อหาข่าว
ประเด็นข่าว......
พาดหัวใน รายละเอียด
(2) บทวิเคราะห์ ภาพ พาดหัวข่าว มัลติมีเดีย
ภาพ ข่าว
1. การนิยาม
เหตุการณ์
2. การ
วิเคราะห์วา่
อะไรคือ
สาเหตุของ
ปั ญหา
3. การ
ประเมินใน
เชิงจริ ยธรรม
4. การ
เสนอแนะ
แนว
ทางแก้ไข
ปั ญหา

2. การวิเคราะห์กลวิธี (Style) พิจารณาจาก รู ปแบบการจัดวาง การพาดหัวข่าว การ


ทาซ้ า การใช้สัญลักษณ์ การใช้ภาษาที่ดึงดูดใจ และการใช้เทคนิคการตัดต่อวีดีโอ
53

ตารางที่ 3.7 ตารางบันทึกข้อมูล เพื่ อวิเคราะห์ ก ลวิธีใ นรู ปแบบ ข่าวของเว็บไซต์ข่า วสดกรณี ค ดี
นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ในการวางกรอบเนื้อหาข่าวสาร

ช่วง รู ป แ บ บ ก า ร พ า ด การทาซ้ า การใช้ การใช้ การใช้


เหตุการณ์ การจัดวาง หัวข่าว สัญลักษณ์ ภาษาที่ เทคนิคการ
ดึงดูดใจ ตัดต่อ
วีดีโอ

ช่วง
เหตุการณ์
ที่…..
กรณี ที่…..

3.การวิเคราะห์ วิธีการที่สื่อประกอบสร้ างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหาในข่าวอาชญากรรม


ตามแนวคิดของ Jewkes ที่พบว่าสื่ อมีแนวการรายงานที่สะท้อนภาพตัวแทนผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา
ประกอบด้วยเพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ ความดึงดูดของรู ปลักษณ์ภายนอก ภรรยาที่ไม่ดี แม่ที่
ไม่ดี สัตว์ประหลาดในตานาน วัวคลัง่ ผูบ้ งการ ไม่ใช่ตวั การกระทาผิด

ตารางที่ 3.8 ตารางบันทึกข้อมูลวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม

ช่วงเหตุการณ์ บทวิเคราะห์วธิ ีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม


เพศและ ภรรยาที่ สัตว์ ผูบ้ งการ ความ แม่ ที่ ไ ม่ วัวคลัง่ ไม่ใช่
ความ ไม่ดี ประหลาด ดึงดูด ดี ตัวการ
เบี่ยงเบน ใน ของ กระทา
ทางเพศ ตานาน รู ปลักษณ์ ความผิด
ภายนอก
ช่วงเหตุการณ์ที่…..
กรณี ที่…..
54

3.1.3 การตรวจสอบเครื่ องมือ


หลังจากผูว้ จิ ยั ได้ทบทวนแนวคิดและทฤษฏีต่างๆ ผูว้ จิ ยั ได้ทาการบันทึกข้อมูลวิเคราะห์การวาง
กรอบข่าว กลวิธีในการนาเสนอข่าว และวิธีที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา และนาผลที่ได้
วิเคราะห์ ความตรงด้า นโครงสร้ าง (Construct validity) ว่ามีความถู กต้องครอบคลุ มตามแนวคิ ด
ทฤษฏี โดยมีอาจารย์ที่ปรึ กษาเป็ นผูต้ รวจสอบ ก่อนทาการปรับปรุ งตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่
ปรึ กษา
3.1.4 การวิเคราะห์ ข้อมูลการวางกรอบข่ าว
1) การจัดประเภทข้อมูล ผูว้ ิจยั ได้นาการศึกษาการวางกรอบข่าว โดยแบ่งประเภทของ
ข้อมูลต่างๆที่เก็บรวบรวมมา เพื่อให้อ่านง่ายและชัดเจน โดยแยกผลการศึกษาแบ่งเป็ น 8 ข่าว และ
แบ่งสัดส่ วนในแต่ละข่าวออกเป็ น 3 ส่ วน ประกอบด้วยส่ วนที่ 1 ผลการศึกษาการวิเคราะห์ตาม
แนวคิด Entman ส่ วนที่ 2 ผลการศึกษากลวิธีที่ใช้ และส่ วนที่ 3 ผลการศึกษาวิธีการที่สื่อประกอบ
สร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา ตามแนวคิดของ Jewkes
2) การดาเนินการวิเคราะห์ ตีความ และเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆเข้าด้วยกัน ผูว้ จิ ยั ได้นาผล
การศึกษา 3 ส่ วน ประกอบด้วยส่ วนที่ 1 ผลการศึกษาการวิเคราะห์ตามแนวคิด Entman ส่ วนที่ 2
ผลการศึกษากลวิธีที่ใช้ และส่ วนที่ 3 ผลการศึกษาวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา
ตามแนวคิดของ Jewkes มาจัดทาตารางสรุ ปผลการศึกษาตามสัดส่ วนทั้ง 8 ข่าว
3) จัดทาข้อสรุ ปและข้อสันนิษฐานที่คน้ พบจากการศึกษาการวางกรอบข่าว

3.2 การสั มภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)


การสัมภาษณ์ เชิ งลึกเป็ นการสัมภาษณ์ ผใู ้ ห้ขอ้ มูลสาคัญ 3 กลุ่ม คือ สื่ อมวลชนซึ่ งเป็ น
บุ ค ลากรที่ ท าหน้า ที่ นาเสนอข่ า วในเว็บ ไซต์ข่ า วสด องค์ก รวิช าชี พ ที่ ก ากับ ดู แลกัน เองในกลุ่ ม
สื่ อมวลชน และกลุ่มนักวิชาการ หรื อ ผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นสื่ อสารมวลชน เพื่อเก็บข้อมูลคุณภาพตอบ
คาถามวิจยั ในข้อที่ 1 ,2 และ3
3.2.1 ผู้ให้ ข้อมูลสาคัญ (Key informant interview)
ผูว้ ิจยั จะทาการสัมภาษณ์ผใู ้ ห้ขอ้ มูลสาคัญ (Key Informants) โดยแบ่งเป็ น 3 กลุ่ม ตาม
ตาแหน่งที่ระบุไว้ได้ ดังนี้
55

1.สื่ อมวลชน เป็ นกลุ่มที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการรายงานข่าวในเหตุการณ์ที่ศึกษา โดย


มี เกณฑ์ว่า จะต้องเป็ นผูม้ ี ป ระสบการณ์ ใ นการท าข่ า วคดี ข องนางสาวปรี ย านุ ช โนนวัง ชัย ของ
เว็บไซต์ข่าวสด ประกอบด้วย
นายวิชญศักดิ์ สุ วรรณทัต บรรณาธิการข่าวสดออนไลน์
น.ส.เมธาวี มัชฌันติกะ หัวหน้าแอดมินข่าวสดออนไลน์
นายจักรพันธ์ นาทันริ ผูส้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่น
เพื่ อ ตอบค าถามวิ จ ัย ข้อ ที่ 1 และ 2 ว่า ข่ า วสดออนไลน์ มี ก ารวางกรอบข่ า วในการ
นาเสนอกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย อย่างไร และมีปัจจัยภายใน และภายนอกใดที่ส่งผลต่อ
การวางกรอบข่าวในการนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
2.องค์กรวิชาชีพที่กากับดูแลกันเองในกลุ่มสื่ อมวลชนประกอบด้วย
นายบรรยงค์ สุ วรรณผ่อง ประธานกรรมการจริ ยธรรมวิชาชีพสื่ อ สมาคม
นักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย
นายก้าวโรจน์ สุ ตาภักดี นายกสมาคมผูผ้ ลิตข่าวออนไลน์
3.นัก วิ ช าการ หรื อ ผู ้ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด้า นสื่ อ สารมวลชน ที่ มี บ ทบาทเด่ น ชัด ในการ
ตรวจสอบและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการรายงานข่าวของสื่ อมวลชน ประกอบด้วย
ผศ.สกุลศรี ศรี สารคาม หัวหน้าสาขาวารสารศาสตร์ คอนเวอร์เจ้นท์
คณะนิเทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญา
ภิวฒั น์
ผศ. ดร.วิไลวรรณ จงวิไลเกษม อาจารย์ประจาคณะวารสารศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดร.ชเนตตี ทินนาม อาจารย์ประจาคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
เพื่ อ ตอบค าถามวิจ ัย ข้อ ที่ 3 ว่า สื่ อ มวลชนไทยควรมี แ นวปฏิ บ ตั ิ ต ามหลัก จริ ย ธรรมในการ
นาเสนอข่าวกรณี ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาอย่างไรเป็ นหลัก และยังแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมในประเด็น
ที่เกี่ยวข้องกับคาถามวิจยั ข้อที่ 1 และ 2
3.2.2 เครื่ องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
ในการวิเคราะห์ ปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการวางกรอบข่าวจะใช้คาถามในการสัม ภาษณ์
เป็ นเครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่ งแนวทางคาถามที่จะใช้ในการสัมภาษณ์ผูว้ ิจยั ได้นาผล
การศึกษาการวางกรอบข่าวตามแนวคิดในการวางกรอบข่าวของ Scheufele และของ Entman รวม
ไปถึงแนวคิดเรื่ องปั จจัยที่เกี่ยวข้องในการทาหน้าที่ของสื่ อของ McQuail และมิติดา้ นการประกอบ
56

สร้างความหมายของ กาญจนา แก้วเทพ มาเป็ นแนวทางในการตั้งคาถามเพื่อสัมภาษณ์เจาะลึก ผูใ้ ห้


ข้อมูลทั้ง 3 กลุ่ม โดยมีประเด็นสัมภาษณ์กลุ่มสื่ อมวลชน แยกจากกลุ่มองค์กรวิชาชี พที่กากับดูแล
กันเองในกลุ่มสื่ อมวลชน และกลุ่มนักวิชาการ หรื อ ผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นสื่ อสารมวลชน โดยมีประเด็น
สัมภาษณ์ตามผลวิเคราะห์การวางกรอบข่าว ดังนี้
1) กลุ่มสื่ อมวลชน ประเด็นคาถามประกอบด้วย
1.1) รู ปแบบการจัดวางข่าวของเว็บไซต์ข่าวสดในแต่ละหมวดหมู่มีความแตกต่าง
กันอย่างไร
1.2) การนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ทั้ง 3 ช่วง มีการนาเสนอ
ข่าวอย่างไร และแตกต่างกันอย่างไร
1.3) การนาเสนอข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 1 เกี่ยวกับนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ ว่าเป็ น
หญิงสาวหน้าตาดีพิจารณาจากองค์ประกอบใดบ้าง
1.4) เหตุใดจึงมีการนาเสนอประเด็นเรื่ องเพศและความเบี่ยงเบนทางเพศในช่ วง
เหตุการณ์ที่ 1
1.5) เหตุใดเมื่อทราบว่าผูก้ ่อเหตุคือนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย จึงเลือกนาเสนอ
โดยเน้นไปที่ผตู ้ อ้ งหา
1.6) เหตุใดจึงมีการตั้งสมญานามให้กบั นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ว่า “สวยหัน่
ศพ”
1.7) เหตุใดจึงเลือกนาเสนอเรื่ องราวชีวิตส่ วนตัวของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
อย่างละเอียด
1.8) หลังเกิดกระแสวิพากษ์วจิ ารณ์การทาหน้าที่นาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยา
นุ ช โนนวัง ชัย ว่า ขาดการค านึ ง ถึ ง ผลกระทบด้า นลบเว็บ ไซต์ข่า วสดมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นวิธี ก าร
นาเสนอหรื อไม่ อย่างไร
1.9) หากผูต้ อ้ งหาในคดี เป็ นผูช้ ายและมีพฤติการณ์ แบบเดียวกับนาสาวปรี ยานุ ช
โนนวังชัย เว็บไซต์ข่าวสดจะนาเสนอข่าวนี้อย่างไร
1.10) เหตุ ใดการนาเสนอข่ าวเกี่ ยวกับ นางสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย จึงเน้นไปที่
รู ปลักษณ์ภายนอก
1.11) เหตุใดจึงเน้นการนาเสนอไปที่รายละเอียดการก่อเหตุกรณี คดีนางสาวปรี ยา
นุช โนนวังชัย มากกว่ารายละเอียดการหลบหนีขา้ มชาติ
1.12) เหตุใดจึงเลือกนาเสนอว่าเกิดกระแสเลียนแบบนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
1.13) การใช้สัญลักษณ์ในข่าวมีความหมายอย่างไร
57

1.14) มีมุมมองต่อการทาข่าวอาชญากรรมที่มีผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาอย่างไร


1.15) ปั จจัยต่าง ประกอบด้วยปั จจัยด้านการจัดการ บุคลากรข่าว ผูโ้ ฆษณา คู่แข่ง
บรรทัดฐานทางสังคม และผูร้ ับสาร ส่ งผลต่อการวางกรอบข่าวอย่างไร
2) องค์ ก รวิ ช าชี พ ที่ ก ากับ ดู แ ลกัน เองในกลุ่ ม สื่ อ มวลชน และนัก วิ ช าการ หรื อ
ผูท้ รงคุ ณวุฒิด้านสื่ อสารมวลชน ซึ่ งประเด็นสัมภาษณ์ เป็ นผลมาจากการศึกษาการวางกรอบข่าว
และผลสัมภาษณ์กลุ่มสื่ อมวลชน โดยมีรายละเอียดคาถามดังนี้
2.1) สื่ อ มวลชนควรเลื อ กใช้เ กณฑ์ใ ดในการน าเสนอข้อ มู ล จากต ารวจ ที่ เ ป็ น
แหล่งข่าวสาคัญ และสื่ อมวลชนเชื่อว่ามีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ
2.2) สื่ อมวลชนควรมีวธิ ีการนาเสนอข้อมูลที่ได้จากแหล่งข่าวอย่างไร ไม่ให้กระทบ
ต่อผูต้ กเป็ นข่าว และวิธีนาเสนอข้อมูลที่จะไม่ทาให้เกิดความเข้าใจผิดในสังคม
2.3) สื่ อมวลชนควรมีวิธีจดั การและนาเสนอข้อมูลที่ได้รับมาจากโซเชี ยลมีเดีย ซึ่ ง
สื่ อมวลชนมองว่าเป็ นแหล่งข้อมูลสาคัญในการนาเสนอข่าวในการนาเสนอข่าวออนไลน์ อย่างไร
2.4) สื่ อมวลชนควรมี การสร้ างสมดุ ล อย่างไรในการนาเสนอข่ าวท่า มกลางการ
แข่งขัน ที่สื่อมวลชนมองว่าไม่ได้แข่งขันกันเฉพาะสื่ อหลักแต่มองว่าเพจต่างๆในโซเชียลมีเดียก็คือ
คู่แข่งเช่นกัน
2.5) สื่ อมวลชนควรมีวิธีการและข้อควรระวังอย่างไรในการใช้สรี ระของผูห้ ญิงทั้ง
ภาพ และภาษา มาเป็ นจุดดึงดูดความสนใจในข่าว
2.6) สื่ อมวลชนควรมีวิธีการและข้อควรระวังอย่างไรในการตั้งสมญานามให้กบั
ผูต้ อ้ งหาที่เป็ นผูห้ ญิงโดยใช้ประเด็นเรื่ องเพศมาดึงดูดความสนใจ
นอกจากนี้ ผวู ้ ิจยั ได้จดั ทา (ร่ าง) ข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของ
สื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหาให้องค์กรวิชาชีพที่กากับดูแลกันเองในกลุ่ม
สื่ อ มวลชน และนัก วิ ช าการ หรื อ ผู ้ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด้า นสื่ อ สารมวลชน แสดงความคิ ด เห็ น และ
ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุ งแนวปฏิบตั ิฯด้วย
3.2.3 การตรวจสอบเครื่ องมือ
หลังจากผูว้ ิจยั ได้ทบทวนนิ ยามศัพท์และแนวคิดทฤษฏีและผลการวิเคราะห์การวาง
กรอบข่าว ผูว้ ิจยั ได้ทาการวิเคราะห์ความตรงด้านเนื้ อหา (Content validity) โดยมีอาจารย์ที่ปรึ กษา
เป็ นผูต้ รวจสอบแนวคาถามสัมภาษณ์วา่ ครอบคลุมตามแนวคิดทฤษฎีหรื อไม่ ก่อนจัดทาแนวคาถาม
ของกลุ่มสื่ อมวลชน เมื่อได้ผลการสัมภาษณ์กลุ่มสื่ อมวลชนแล้ว ผูว้ จิ ยั ได้จดั ทาแนวคาถามของกลุ่ม
องค์ก รวิ ช าชี พ ที่ ก ากับ ดู แ ลกัน เองในกลุ่ ม สื่ อ มวลชน และนัก วิช าการ หรื อ ผูท้ รงคุ ณ วุฒิ ด้า น
สื่ อสารมวลชน พร้อมจัดทา (ร่ าง) ข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชน
58

ไทยในการนาเสนอข่าวผูห้ ญิง โดยปรับปรุ งให้เหมาะสมและถูกต้องตามคาแนะนาของอาจารย์ที่


ปรึ กษา
3.2.4 การเก็บรวบรวมข้ อมูล
ผูว้ ิจยั ท าการติ ด ต่ อผูใ้ ห้ข ้อ มู ล ส าคัญ โดยขอใบอนุ ญาตจากทางมหาวิท ยาลัย ธุ ร กิ จ
บัณฑิตย์ เพื่อขอสัมภาษณ์ผใู ้ ห้ขอ้ มูลแบบตัวต่อตัว กรณี ผใู ้ ห้ขอ้ มูลไม่สะดวกให้สัมภาษณ์แบบตัว
ต่อตัว ผูว้ จิ ยั ได้ปรึ กษากับอาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์พิจารณาสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์
3.2.5. การวิเคราะห์ ข้อมูล
1)การจัดประเภทข้อมูล ผูว้ ิจยั นาผลการสัมภาษณ์ เชิ งลึกมาจัดประเภทตามกลุ่ มผูใ้ ห้
ข้อมูล ซึ่ งประกอบไปด้วย กลุ่มสื่ อมวลชน หรื อ บุคลากรในเว็บไซต์ข่าวสด และองค์กรวิชาชีพที่
กากับดูแลกันเองในกลุ่มสื่ อมวลชน รวมถึงนักวิชาการ หรื อ ผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นสื่ อสารมวลชน
2)ผู ้วิ จ ัย ได้ แ ยกแยะประเภทข้ อ มู ล โดยแบ่ ง ตามประเด็ น ที่ ท าการศึ ก ษาตาม
วัตถุประสงค์การวิจยั ประกอบด้วยผลการสัมภาษณ์การวางกรอบข่าว ผลการสัมภาษณ์ปัจจัยภายใน
และภายนอกที่ส่งผลต่อการวางกรอบข่าว ผลการสัมภาษณ์วิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ น
ผูต้ อ้ งหา และผลการสัมภาษณ์ องค์กรวิชาชีพที่กากับดูแลกันเองในกลุ่มสื่ อมวลชน และนักวิชาการ
ที่ให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการจัดทา (ร่ าง) แนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทย
ในการนาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา
3)สรุ ปผลการสัมภาษณ์ และข้อสันนิษฐานที่คน้ พบ
59

บทที่ 4
ผลการศึกษา

ในบทนี้เป็ นการนาเสนอผลการวิจยั เรื่ องการวางกรอบข่าวอาชญากรรมที่ประกอบสร้าง


ผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา กรณี คดี "นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ” โดยผูว้ ิจยั จะรายงานผล โดยแบ่งผล
การศึกษาออกเป็ น 4 ส่ วนตามขั้นตอนดาเนินงานวิจยั ประกอบด้วย
ส่ วนที่ 1 วิเคราะห์ การวางกรอบข่าว เพื่อตอบวัตถุ ประสงค์การวิจยั ข้อที่ 1 เพื่อศึกษา
การวางกรอบข่าวในการนาเสนอกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ของเว็บไซต์ข่าวสด
ส่ วนที่ 2 สัมภาษณ์เชิงลึกบุคลากรเว็บไซต์ข่าวสด เพื่อตอบวัตถุประสงค์การวิจยั ข้อที่ 2
ว่ามี ปั จจัยภายใน และภายนอกที่ส่งผลต่อการวางกรอบข่าวของเว็บไซต์ข่าวสด ในการนาเสนอข่าว
กรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
ส่ ว นที่ 3 สั ม ภาษณ์ อ งค์ ก รวิ ช าชี พ ที่ ก ากั บ ดู แ ละกัน เองในกลุ่ ม สื่ อมวลชน และ
นัก วิช าการหรื อ ผูท้ รงคุ ณ วุฒิ เพื่ อ ตอบวัต ถุ ป ระสงค์ก ารวิจยั ข้อที่ 1 , 2 และข้อ 3 เพื่ อ รวบรวม
ข้อเสนอแนะ และแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทย ในการนาเสนอข่าวคดีที่ผหู ้ ญิงเป็ น
ผูต้ อ้ งหา และ
ส่ วนที่ 4 แนวปฏิ บตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ น
ผูต้ อ้ งหา
ดังรายละเอียดต่อไปนี้

4.1 ส่ วนที่ 1 ผลการศึกษาจากการวิเคราะห์ การวางกรอบข่ าว


สาหรับ ผลการศึกษาในขั้นตอนที่ 1 เป็ นผลการศึกษาจากการวิเคราะห์การวางกรอบ
(Frame Analysis) โดยน าเสนอผลการวิจยั ด้วยวิธี พ รรณนาวิเคราะห์ เพื่ อตอบปั ญ หาวิจ ัย ข้อ ที่ 1
เว็บไซต์ข่าวสดมีการวางกรอบข่าวในการนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย อย่างไร
โดยการวิเคราะห์การวางกรอบข่าวเลือกศึกษาข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ที่นาเสนอ
ทางเว็บไซต์ข่าวสดแบ่งเป็ น 3 ช่วงเหตุการณ์ โดยมีผลการศึกษาแบ่งตามช่วงเหตุการณ์ ดังต่อไปนี้
60

ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1
ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ศึ กษาการนาเสนอข่าว ระหว่างวัน 25 พฤษภาคม - 28 พฤษภาคม
พ.ศ.2560 มี 2 ข่าว ประกอบด้วย
ข่าวที่ 1 ข่าวพบศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อ แอ๋ ม ถูกฆ่าและหัน่ แยกชิ้นส่ วนเป็ น 2
ท่อน โดยนาไปอาพรางที่ จ.ขอนแก่น
ข่าวที่ 2 ข่าวตารวจเร่ งสื บ สวนสอบสวนหาผูก้ ่ อเหตุ ฆ่านางสาววริ ศ รา กลิ่ นจุย้ หรื อ
แอ๋ ม โดยยังไม่ทราบว่าผูก้ ่อเหตุคือนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว
ผลการศึกษาแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วนที่ 1 บทวิเคราะห์การวางกรอบข่าว ส่ วนที่ 2
บทวิเคราะห์กลวิธีในการนาเสนอข่าว และส่ วนที่ 3 บทวิเคราะห์วิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิง
ในข่าวอาชญากรรม โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
4.1.1 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ข่ าวที่ 1
ประเด็นข่ าวพบศพ นางสาววริศรา กลิน่ จุ้ยหรื อ แอ๋ม
4.1.1.1บทวิเคราะห์ การวางกรอบข่ าว
การนิยามเหตุการณ์
จากการนาเสนอข่าวนี้ เว็บไซต์ข่าวสดได้นิยามเหตุการณ์ น้ ี ว่าเป็ นการฆาตกรรมหญิ ง
สาวหน้าตาดีดว้ ยความโหดเหี้ ยมและน่าสะพรึ งกลัว โดยสะท้อนให้เห็นในองค์ประกอบของข่าวทั้ง
สองส่ วน ดังนี้
1.ภาพปก และพาดหัวในปก

ภาพที่ 4.1 ภาพปกของข่าวพบศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 25 พฤษภาคม 2560

ทีม่ า: https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_366435

เว็ บ ไซต์ ข่ า วสดเลื อ กใช้ ภ าพปกเป็ นภาพของนางสาววริ ศ รา กลิ่ น จุ ้ย หรื อ แอ๋ ม


ผูเ้ สี ย ชี วิต ที่ มี ล ักษณะดู ดี เซ็ กซี่ สวมใส่ เสื้ อสายเดี่ ยว ประกอบกับ พาดหัวในปกยังใช้วลี ว่า “ฆ่ า
61

ทารุ ณสาวหน้าตาดี ” เป็ นการเน้นย้ าว่าเหตุการณ์น้ ี เป็ นการฆาตกรรมที่เกิ ดขึ้นกับหญิงสาวหน้าตาดี


นอกจากนี้จากพาดหัวในปกเว็บไซต์ข่าวสดยังใช้วลีวา่ “หั่นศพใส่ ถงุ ดำยัดถัง!”ซึ่งอธิบายถึงศพที่ถูก
อาพรางด้วยวิธีการหัน่ แยกชิ้นส่ วนใส่ ถุงดาและยัดถัง ซึ่ งเป็ นลักษณะของการฆ่าที่มีความโหดเหี้ ยม
2.พาดหัวข่าวและเนื้อหาข่าว
ในพาดหัวข่าว เว็บไซต์ข่าวสดยังคงเลือกพาดหัวด้วยวลี ว่า “ฆ่ ำทำรุ ณสำวหน้ ำตำดี ”
และ “โหดหั่ นศพ 2 ท่ อน ใส่ ถุงดำ-ยัดถัง” เหมือนกับส่ วนพาดหัวในปก อีกทั้งยังใช้คาว่า “ผงะ”
และเครื่ อ งหมายอัศ เจรี ย ์ (!) ในตอนท้า ยของพาดหัว ซึ่ งให้ ค วามหมายว่าเหตุ ก ารณ์ น้ ี เป็ นการ
ฆาตกรรมที่ น่ าสะพรึ งกลัว และน่ าตกใจอย่างมาก ประกอบกับ การใช้ค าว่า “ฆำตกรแค้ น ” เพื่ อ
ชี้ให้เห็นถึงสาเหตุการฆาตกรรมว่ามาจากความเคียดแค้นส่ วนตัวของผูก้ ่อเหตุที่มีต่อนางสาววริ ศรา

พาดหัวข่าว

ภาพที่ 4.2 ภาพพาดหัวข่าวของข่าวพบศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 25


พฤษภาคม 2560

ทีม่ า: https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_366435

เช่นเดียวกับในเนื้อหาข่าวที่ยงั อธิบายถึงพฤติการณ์อาพรางศพของผูก้ ่อเหตุวา่ ได้หนั่ ศพ


นางสาววริ ศรา ออกเป็ นสองท่อนแบ่งใส่ ถงั 2 ใบ และฝังดินไว้ แสดงให้เห็นว่าผูก้ ่อเหตุมีพฤติการณ์
ที่โหดเหี้ ยมสามารถหัน่ ร่ างนางสาววริ ศรา ออกเป็ น 2 ท่อนได้ดงั รายละเอียดเนื้อหาข่าวต่อไปนี้
“เจ้ ำหน้ ำที่พบร่ องรอยกำรขุดดิ นฝั งไว้ 2 จุดไม่ ห่ำงกันมำกนัก โดยมี
สังกะสี ปิดทับเอำไว้ จึงทำกำรตรวจสอบพบถังสี ดำ ถูกฝั งกลบอยู่ โดย
ไม่ ปิดฝำ ข้ ำงในถังมีถงุ ขยะสี ดำบรรจุศพคนตำย แยกใส่ ในถัง 2 ใบ ฝั ง
ใกล้ ๆกัน ถังแรกใส่ ชิ้นส่ วนร่ ำงกำยท่ อนบน ถังใบที่สองชิ ้นส่ วนท่ อน
ล่ ำง”
62

การวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหา
เว็ บ ไซต์ ข่ า วสด น าเสนอสาเหตุ ข องเหตุ ก ารณ์ น้ ี ว่ า เป็ นการฆาตกรรมที่ เกิ ด จาก
ความแค้นส่ วนตัว โดยปรากฏในพาดหัวข่าวที่ใช้คาว่า “ฆาตกรแค้น” และจากเนื้ อหาข่าวที่ เลื อก
นาเสนอค าให้สั มภาษณ์ ข อง พันตารวจเอกภาคภู มิ พิส มัย ผูก้ ากับ การ สภ.เขาสวนกวาง ซึ่ งเป็ น
ผูบ้ งั คับบัญชาสู งสุ ดใน สภ.เขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น โดยตารวจได้มีขอ้ สันนิษฐานว่าสาเหตุ
การฆาตกรรมเกิดจากความแค้นส่ วนตัว ผูก้ ่อเหตุน่าจะมี 1 ถึง 3 คน ได้ลวงนางสาววริ ศราไปฆ่าและ
หั่นศพ โดยจุดที่ พบศพเป็ นเพียงจุดนาศพมาอาพรางคดี แต่ไม่ใช่ จุดที่ลงมือฆ่านางสาววริ ศรา ดัง
รายละเอียดเนื้อหาข่าวต่อไปนี้
“…ผกก.สภ.เขำสวนกวำง กล่ ำวต่ ออีกว่ ำ หญิงสำวรำยถูกฆ่ ำหั่ นศพ
มำจำกที่อื่นแล้ วใส่ ถุงดำ ใส่ ถังดำ นำขึ น้ รถยนต์ มำฝั งในท้ องที่ สภ.
เขำสวนกวำง โดยคนร้ ำยน่ ำจะมีป ระมำณ 1-3 คน หนึ่ งในคนร้ ำย
อำจจะมีควำมแค้ นส่ วนตัวกับผู้ตำย จึ งวำงแผนฆ่ ำ หรื ออำจจะมีเพียง
คนเดีย ว ที่ แค้ น แล้ วลวงหญิ งสำวไปฆ่ ำก่ อนจะหั่ น ศพ เพรำะจำก
สภำพศพเป็ นกำรหั่ น ศพที่ ไ ม่ ช ำนำญกำร เชื่ อ ว่ ำเป็ นควำมแค้ น
ส่ วนตัว เมื่ อสบโอกำสจึ งลงมื อฆ่ ำ จำกนั้นก็ล งมื อหั่ นศพเป็ นสอง
ท่ อน ใส่ ถงุ ดำแล้ วใส่ ในถังดำนำมำฝั งดิน”
การประเมินในเชิงจริยธรรม
การนาเสนอเหตุการณ์น้ ี ของเว็บไซต์ข่าวสดมีการประเมินในเชิ งจริ ยธรรมว่า ผูก้ ่อเหตุ
เป็ นฆาตกรที่โหดเหี้ ยม และกระทาการด้วยความทารุ ณต่อนางสาววริ ศรา สะท้อนให้เห็นได้จากพาด
หัวในปกที่เลือกใช้คาว่า “ฆ่าทารุ ณ” และพาดหัวข่าวที่เลือกใช้คาว่า“ฆาตกรแค้นโหด” ประกอบกับ
เนื้ อหาข่าวที่ นาเสนอข้อสันนิ ษฐานของตารวจที่ระบุว่าผูก้ ่ อเหตุมีความแค้นอย่างมากต่อนางสาว
วริ ศรา จึงลวงหญิงสาวไปฆ่า ดังรายละเอียดเนื้อหาข่าวต่อไปนี้
“คนร้ ำยน่ ำจะมีประมำณ 1-3 คน หนึ่ งในคนร้ ำย อำจจะมีควำมแค้ น
ส่ วนตัวกับผู้ตำย จึงวำงแผนฆ่ ำ หรื ออำจจะมีเพียงคนเดียว ที่แค้ นแล้ ว
ลวงหญิงสำวไปฆ่ ำก่ อนจะหั่นศพ”
การเสนอแนะแนวทางแก้ไข
เว็บไซต์ข่าวสดได้นาเสนอแนวทางแก้ไขปั ญหาในเหตุการณ์ น้ ี โดยการนาเสนอแนว
ทางการสื บ สวนของตารวจที่ จะดาเนิ นการต่ อหลังจากนี้ สะท้อนให้เห็ น จากเนื้ อ หาข่ าวที่ เลื อ ก
นาเสนอบทสั มภาษณ์ ของเจ้าหน้าที่ ตารวจว่าจะใช้อตั ลักษณ์ ของศพเพื่อยืนยันผูเ้ สี ยชี วิต ซึ่ งเป็ น
จุดเริ่ มต้นในการสื บสวนคดีต่อไป ดังรายละเอียดเนื้อหาข่าวต่อไปนี้
63

“พ.ต.อ.ภำคภู มิ พิ ศ มั ย ผกก.สภ.เขำสวนกวำง กล่ ำวว่ ำ จำกกำร


ตรวจสอบจุดที่ที่เกิ ดเหตุพบศพคนตำย เป็ นหญิ งสำวอำยุ ประมำณ
20 ปี สูงประมำณ 155 ซม. จำกกำรตรวจสอบร่ ำงของผู้ตำยพบ มีรอย
สั กภำษำอังกฤษ ที่หน้ ำอกซ้ ำย คำว่ ำ poppy ใส่ เสื ้อลักษณะชุ ดแซก
เปิ ดหลังสีแดง สวมเสื ้อยกทรงสีดำ ท่ อนล่ ำงใส่ กำงเกงในตัวเดียว”
อัต ลัก ษณ์ บุ ค คลของนางสาวริ ศ รา กลิ่ น จุ ้ย ถื อ เป็ นจุ ด เริ่ ม ต้น ของการสื บ สวนคดี
เนื่ องจากในช่วงแรกของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นยังไม่มีการยืนยันว่าผูเ้ สี ยชีวิตคือใคร ดังนั้นเว็บไซต์ข่าว
สดได้นาเสนอบทสัมภาษณ์ ของเจ้าหน้าที่ตารวจเกี่ ยวกับอัตลักษณ์ของศพที่พบเนื่องจากหากทราบ
แล้วว่าผูเ้ สี ยชีวติ เป็ นใครก็จะเป็ นจุดเริ่ มต้นที่ตารวจในการสื บสวนคดีฆาตกรรม
สรุ ป การวางกรอบข่ า วในช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ 1 ข่ า วที่ 1 เว็บ ไซต์ข่ า วสดมี ก ารนิ ย าม
เหตุการณ์ วา่ เป็ นการฆาตกรรมหญิงสาวหน้าตาดีดว้ ยความโหดเหี้ ยมและน่ าสะพรึ งกลัว วิเคราะห์
สาเหตุของปัญหาเป็ นการฆาตกรรมที่เกิดจากความแค้นส่ วนตัว ประเมินในเชิงจริ ยธรรมว่าผูก้ ่อเหตุ
เป็ นฆาตกรที่ โหดเหี้ ยม และกระท าการด้วยความทารุ ณ และเสนอแนะแนวทางแก้ไขโดยการ
นาเสนอแนวทางการสื บสวนของตารวจที่จะดาเนินการต่อหลังจากนี้ โดยมีกลิวธีที่ข่าวสดออนไลน์
ใช้ในการางกรอบข่าวนี้ มีรายละเอียดดังปรากฏในส่ วนที่ 2
4.1.1.2บทวิเคราะห์ กลวิธีในการนาเสนอข่ าว
1.รู ปแบบการจัดวาง
เว็บ ไซต์ข่าวสดจัดวางข่ าวเหตุ ก ารณ์ พ บศพนางสาววริ ศ รา กลิ่ น จุย้ ไว้ในหมวดหมู่
“ข่าวด่วน” ซึ่ งเป็ นหมวดหมู่ข่าวแรกในเว็บไซต์ข่าวสด จะแสดงให้เห็นทันทีเมื่อเข้าสู่ หน้าเว็บไซต์
ของข่ า วสด นอกจากนี้ ยัง มี ก ารจัด ท ารู ป ภาพหน้า ปกของข่ า วโดยใช้ภ าพของนางสาววริ ศ รา
ผูเ้ สี ยชี วิตที่มีลกั ษณะดูดีเป็ นภาพแรกใส่ กรอบสี ดา พร้อมใส่ ตวั อักษรหนาทึบสี ขาวขอบสี ดาแสดง
ข้อความพาดหัวในปกว่า “ฆ่าทารุ ณสาวหน้าตาดี หัน่ ศพใส่ ถุงดายัดถัง!” ทาให้เห็นเด่นชัดขึ้น
64

หมวดหมูข่ า่ ว พาดหัวข่าว

ภาพปก
พาดหัวในปก

ภาพที่ 4.3 ภาพเว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวพบศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 25


พฤษภาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_366435

2.การทาซ้า
พาดหัวในปกและพาดหัวข่าวยังใช้วลีซ้ ากันคือคาว่า “ฆ่ ำทำรุ ณสำวหน้ ำตำดี” เป็ นการ
เน้นย้ าให้เห็นว่าผูเ้ สี ยชี วิตเป็ นหญิงสาวที่มีหน้าตาดี เน้นให้เห็นถึงรู ปลักษณ์ภายนอกของนางสาวว
ริ ศรา อีกทั้งยังใช้วลีซ้ าว่า “หั่ นศพ ใส่ ถุงดำ ยัดถัง” ในพาดหัวในปก พาดหัวข่าว และเนื้ อหาข่าวยัง
พบค าว่า “หั่นศพ” อี ก 4 ครั้ง ค าซ้ าที่ ป รากฏเป็ นการย้ าถึ งวิธี ก ารอาพรางศพด้วยการหั่นศพเป็ น
ชิ้นส่ วนที่ผกู ้ ่อเหตุใช้ในหลังจากฆาตกรรม
3.การใช้ สัญลักษณ์ ทคี่ ้ ุนเคย
การใช้สัญลักษณ์ในข่าว พบว่าในพาดหัวในปกมีการใช้เครื่ องหมาย อัศเจรี ย ์ (!) ซึ่ งเป็ น
เครื่ องหมายที่ ใช้เขี ย นหลัง ค า วลี หรื อประโยคที่ เป็ นค าอุ ท าน แสดงอาการตกใจ ไว้ใ ช้ต่ อท้า ย
ข้อความ หรื อใช้เขียนหลังข้อความเพื่อแสดงให้เห็นว่าเป็ นเหตุการณ์ที่น่าตระหนกตกใจ
4.การใช้ ภาษาทีด่ ึงดูดใจ
พาดหัวข่าวมี การใช้คาว่า “ผงะ” ซึ่ งพจนานุ กรมราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมาย
ของคาว่า “ผงะ”ไว้วา่ เป็ นอาการชะงักงันและถอยหลังไปเล็กน้อย เมื่อประสบเหตุประจันหน้าที่เป็ น
อันตราย น่ าขยะแขยง หรื อ น่ ากลัว โดยกะทันหันไม่ทนั รู ้ตวั หรื อคาดหมายมาก่อนแสดงให้เห็นว่า
เหตุการณ์น้ ีเป็ นเรื่ องที่น่าตกใจเป็ นอย่างมาก
65

4.1.1.3บทวิเคราะห์ วธิ ีการทีส่ ื่ อประกอบสร้ างผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม


การนาเสนอข่าวในช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ข่าวที่ 1 ของเว็บ ไซต์ข่าวสดมีวิธีก ารนาเสนอ
ผู ้ห ญิ ง ในข่ า วอาชญากรรมคื อ นางสาววริ ศ รา กลิ่ น จุ ้ย ซึ่ งเป็ นผู ้เสี ยหายที่ ถู ก ฆาตกรรมใน
อาชญากรรมนี้ โดยให้ความสาคัญกับ “ความดึงดูดทางรู ปลักษณภายนอก” ด้วยการเลือกใช้วความ
ดึ ง ดู ด ทางรู ป ลัก ษณ์ ภ ายนอกเป็ นวิธี ก ารประกอบสร้ า งผูห้ ญิ ง ในข่ าวอาชญากรรม โดยข่ าวสด
ออนไลน์สะท้อนให้เห็นด้วยการเลือกคาว่า “สาวหน้าตาดี” มาใช้อธิบายผูเ้ สี ยชีวิตคือ นางสาววริ ศรา
โดยใช้ท้ งั ในพาดหัวในปก และพาดหัวข่าว นอกจากนี้ ยงั เลือกภาพหน้าปกเป็ นภาพของนางสาวว
ริ ศรา ผูเ้ สี ยชีวติ ที่มีลกั ษณะดูดี เซ็กซี่ สวมใส่ เสื้ อสายเดี่ยว
4.1.2 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ข่ าวที่ 2
ประเด็น ตารวจเร่ งสื บสวนสอบสวนหาผู้ก่อเหตุ
4.1.2.1บทวิเคราะห์ การวางกรอบข่ าว
นิยามเหตุการณ์
เว็บไซต์ข่าวสดนิ ยามเหตุการณ์ในข่าวนี้ วา่ นางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ ผูเ้ สี ยชีวิต เป็ นหญิง
สาวที่ เจ้า ชู ้มี รสนิ ยมรั ก ร่ วมเพศ และเคยถู ก สาวหล่ อท าร้ า ยร่ างกายจนได้รับ บาดเจ็บ สาหัส โดย
สะท้อนให้เห็นจากองค์ประกอบของข่าวทั้ง 2 ส่ วน ดังนี้
1.ภาพปกและพาดหัวในปก

ภาพที่ 4.4 ภาพปกของข่าวตารวจสอบสวนสามีของนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 27


พฤษภาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_368625

เว็บไซต์ข่าวสดเลือกใช้ภาพปกโดยแบ่งเป็ นสองส่ วน ส่ วนที่หนึ่งเป็ นภาพของนายศักดิ์


ชัย บาทเต็มดี สามีของนางสาววริ ศรา ผูเ้ สี ยชีวิต ส่ วนที่สองเป็ นภาพของนางสาววริ ศรา ที่ถ่ายภาพคู่
กับสาวหล่อในลักษณะสนิ ทสนม และใช้พาดหัวในปกว่า“ผัว “น้ องแอ๋ ม” แฉเอง! “เบน”ทอมอีก
66

คนเคยซ้ อมเมีย” ซึ่ งอธิ บายถึงพฤติกรรมของนางสาววริ ศรา ในอดีตว่าเคยมีความสัมพันธ์รักร่ วม


เพศกับสาวหล่อ และพาดพิงสาวหล่อว่าเคยทาร้ายร่ างกายผูเ้ สี ยชีวติ ทาให้อนุมานได้วา่ ชนวนเหตุใน
การฆาตกรรมครั้ งนี้ อาจเกิ ด จากปั ญ หาความขัด แย้ง เรื่ องความสั ม พัน ธ์ ใ นครอบครั ว และ
ความสัมพันธ์เรื่ องชูส้ าว
2.พาดหัวข่าวและเนื้อหาในข่าว
เว็บไซต์ข่าวสดยังคงเลือกพาดหัวข่าวคล้ายกับพาดหัวในปกด้วยคาว่า “ผัวรู้ เมียชอบ
ทอมยังรั ก ! แฉ “เบน” ทอมอี ก คนเคยซ้ อม “น้ องแอ๋ ม ” ปำงตำย” อนุ ม านได้ว่าครอบครัวของ
นางสาววริ ศรา ผูเ้ สี ยชี วิตมีปัญหา ซึ่ งเกิดจากนางสาววริ ศรา ที่มีพฤติกรรมเจ้าชู ้มีสามีแล้วยังคบหา
สาวหล่ออีกหลายคน

พาดหัวข่าว

ภาพที่ 4.5 ภาพพาดหัวข่าวของข่าวตารวจสอบสวนสามีของนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์ข่าวสด


วันที่ 27 พฤษภาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_368625

เช่นเดียวกับ ในเนื้ อหาข่าวที่นาเสนอบทสัมภาษณ์พนั ตารวจเอกภาคภูมิ พิศมัย ผูก้ ากับ


การ สภ.เขาสวนกวางและสามีของนางสาววริ ศรา ที่อธิ บายถึงพฤติกรรมของนางสาววริ ศรา ภรรยา
ว่ามีพฤติกรรมรักร่ วมเพศ และแอบคบหากับสาวหล่อ ดังรายละเอียดเนื้อหาข่าวต่อไปนี้
“...ผู้ก ำกั บ กำร สภ.เข้ ำสวนกวำง ระบุว่ำหลังจำกกำรแต่ งงำนแล้ ว
ประมำณ 3 เดือนผู้ตำยก็ขอกลับมำอยู่กับญำติและทำงำนที่ขอนแก่ น
และก็กลับไปคบกับสำวทอมอีก จนกระทั่งมีผ้ ูมำพบเป็ นศพถูกฆ่ ำ
เสียชีวิต”
67

“..สำมีของนำงสำววริ ศรำ ระบุว่ำ ป๊ อปปี ้ คือทอมสำวที่มำติดพันและ


ผมก็ท รำบว่ ำ ภรรยำคุ ยอยู่กั บเพื่ อนสำวคนนีอ้ ยู่ที่ จ.ขอนแก่ น แต่
ก่ อนหน้ ำนีใ้ นเดื อน เม.ย. นั้นสำวทอมชื่ อ “เบน” ซึ่ งอยู่ที่ จ.ชั ยนำท
นั้นได้ มำติดพันกับภรรยำ และได้ มีกำรทำร้ ำยร่ ำงกำยภรรยำจนได้ รับ
บำดเจ็บอำกำรสำหัส”
การวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหา
เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอสาเหตุของปั ญหานี้ ว่าเกิดจากประเด็นความขัดแย้งเรื่ องชูส้ าว
เนื่องจากนางสาววริ ศรา มีนิสัยเจ้าชูค้ บหากับสาวหล่อหลายคนทั้งที่มีสามีอยูแ่ ล้ว สะท้อนให้เห็นได้
จากเนื้อหาข่าว ที่นาเสนอบทสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ตารวจที่สันนิษฐานว่าเป็ นชนวนเหตุฆาตกรรม
“พล.ต.ต.เจริ ญวิ ท ย์ ศรี ว นิ ช ย์ รอง ผบช.ภ.4 ระบุ ว่ ำขณะนี ้แ นว
ทำงกำรสื บสวนเน้ นที่ประเด็นชู้สำว ที่มีบุคคลเข้ ำมำพัวพันกับผู้ตำย
ซึ่ งเจ้ ำ หน้ ำที่ ไ ด้ ส อบปำกค ำทั้ ง สำวทอมและสำมี ผ้ ู ต ำย ซึ่ งกำร
สอบสวนยังคงไม่ พ บพิ รุธ แต่ รำยละเอียดอื่ นๆ ไม่ ส ำมำรถเปิ ดเผย
ได้ ”
การประเมินในเชิงจริยธรรม
การนาเสนอเหตุการณ์น้ ี ของเว็บไซต์ข่าวสดมีการประเมินในเชิงจริ ยธรรมว่านางสาวว
ริ ศรา ผูเ้ สี ยชี วติ เป็ นผูห้ ญิงที่ไม่ดี มีพฤติกรรมนอกใจสามีของตัวเอง สะท้อนให้เห็นได้จากการพาด
หัวข่าวที่ เลื อกใช้คาว่า “ผัวรู้ เมียชอบทอมยังรั ก ” และเนื้ อหาข่าวที่เลื อกนาเสนอบทสัมภาษณ์ ของ
สามีผเู ้ สี ยชี วิต ที่อธิ บายว่าตัวเองรักภรรยามากแม้ภรรยาจะนอกใจไปหาคนอื่นดังรายละเอียดเนื้ อหา
ข่าวต่อไปนี้
“รู้ มำตลอดว่ ำน้ องแอ๋ มชอบคบหำกับทอมและพูดคุยกับทอมหลำย
คนตั้งแต่ ก่อนแต่ งงำน แต่ เพรำะรั กและไม่ คิดอะไร แต่ เพรำะตั้งหน้ ำ
ตั้งตำทำงำนหำเงินเพื่อสร้ ำงครอบครั ว จึงต่ ำงคนต่ ำงทำงำน”
การเสนอแนะแนวทางแก้ไข
เว็บ ไซต์ข่ าวสดได้เสนอแนวทางแก้ไ ขปั ญ หา โดยน าเสนอบทสัม ภาษณ์ เจ้าหน้าที่
ตารวจที่ทาการสื บสวนสอบสวนคดีฆาตกรรมนางสาววริ ศรา โดยอธิ บายถึงแนวทางการสื บสวนใน
ขั้นตอนต่อไป เพื่อคลี่คลายคดี และติดตามผูก้ ่อเหตุฆาตกรรมนางสาววริ ศรา ดังรายละเอียดเนื้ อหา
ข่าวต่อไปนี้
“กำรสอบปำกคำเสร็ จสิ ้นไปแล้ ว 7 ปำก โดยเฉพำะทอมสำว ที่ชื่อ ป๊
อปปี ้ และ สำมีของ ผู้ตำย ไม่ พบปมพิรุธแต่ อย่ ำงใด ขณะที่เจ้ ำหน้ ำที่
68

แกะรอยตำมเส้ นทำงของผู้ตำย ตั้งแต่ ภำพวงจรปิ ดที่พบที่ติดตั้งอยู่ที่


ร้ ำนสะดวกซื ้อแห่ งหนึ่ง ริ ม ถ.เหล่ ำนำดี เขตเทศบำลนครขอนแก่ น ที่
เห็นผู้ตำยยืนคุยโทรศัพท์ อยู่ไปจนพบรถ ต้ องสงสัย ที่คำดว่ ำจะรั บตัว
ผู้ตำยไป ซึ่ งจะได้ สืบสวนหำข้ อมูลต่ อไป”
สรุ ป การวางกรอบข่ า วในช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ 1 ข่ า วที่ 2 เว็บ ไซต์ข่ า วสดมี ก ารนิ ย าม
เหตุการณ์วา่ นางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ ผูเ้ สี ยชีวิต เป็ นหญิงสาวที่เจ้าชูม้ ีรสนิยมรักร่ วมเพศ และเคยถูก
สาวหล่อทาร้ายร่ างกายจนได้รับบาดเจ็บสาหัส วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาว่าเกิ ดจากประเด็นความ
ขัดแย้งเรื่ องชูส้ าว เนื่ องจากนางสาววริ ศรา มีนิสัยเจ้าชูค้ บหากับสาวหล่อหลายคนทั้งที่มีสามีอยูแ่ ล้ว
ประเมินในเชิ งจริ ยธรรมว่านางสาววริ ศรา ผูเ้ สี ยชีวิต เป็ นผูห้ ญิงที่ไม่ดี มีพฤติกรรมนอกใจสามีของ
ตัวเองและเสนอแนะแนวทางแก้ไขโดยนาเสนอบทสัมภาษณ์ เจ้าหน้าที่ ตารวจที่ ท าการสื บสวน
สอบสวนคดี ฆาตกรรมนางสาววริ ศรา โดยอธิ บ ายถึ งแนวทางการสื บสวนในขั้นตอนต่อไป เพื่ อ
คลี่คลายคดี และติดตามผูก้ ่อเหตุ โดยมีกลวิธีที่เว็บไซต์ข่าวสดใช้ในการางกรอบข่าวนี้ มีรายละเอียด
ดังปรากฏในส่ วนที่ 2
4.1.2.2 บทวิเคราะห์ กลวิธีในการนาเสนอ
1.รู ปแบบการจัดวาง
เว็บ ไซต์ ข่ า วสดได้จ ัด วางข่ า วเหตุ ก ารณ์ น้ ี ไว้ใ นหมวดหมู่ “เด่ น ออนไลน์ ” ซึ่ งเป็ น
หมวดหมู่ที่สองของเว็บไซต์ข่าวสด ไม่สามารถมองเห็นได้ทนั ทีเมื่อเข้ามาในเว็บไซต์จะต้องเลือก
ไปที่ หมวดหมู่เด่นออนไลน์ก่อนจึงพบข่าวนี้ นอกจากนี้ ยงั มีการจัดทาภาพหน้าปกของข่าวโดยใช้
ภาพของนายศักดิ์ชยั บาทเต็มดี สามีของนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ ผูเ้ สี ยชี วิต ในภาพมีสายตาที่กาลัง
จ้องมองไปที่ภาพอีกส่ วนหนึ่งของภาพหน้าปกคือภาพของ นางสาววริ ศรา ผูเ้ สี ยชีวิต ที่ถ่ายภาพคู่กบั
สาวหล่ อในลัก ษณะสนิ ท สนมพร้ อมใส่ ตวั อัก ษรหนาทึ บ สี แดงที่ ข ้อความพาดหัวในปกว่า “ผัว
“น้ องแอ๋ ม” แฉเอง!“เบน” ทอมอีกคนเคยซ้ อมเมีย”
69

หมวดหมูข่ า่ ว
พาดหัวข่าว

ภาพปก
พาดหัวในปก

ภาพที่ 4.6 เว็บไซต์ขา่ วสดนาเสนอข่าวตารวจสอบสวนสามีของนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์


ข่าวสด วันที่ 27 พฤษภาคม 2560

ทีม่ า: https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_368625
2.การทาซ้า
พาดหัวในปกและพาดหัวข่าว ยังใช้ประโยคซ้ ากันว่า “ผัวแฉ“เบน”ทอมอีกคนเคยซ้ อม
เมีย”เป็ นการเน้นย้ าให้เห็ นว่าสาวหล่ อที่มีความสัมพันธ์กบั นางสาววริ ศรา ผูเ้ สี ยชี วิตเคยใช้ความ
รุ น แรงท าร้ ายร่ างกายนางสาววริ ศ รา ท าให้เชื่ อมโยงกับ ประเด็น การสื บ สวนคดี น้ ี ว่าสาเหตุ ก าร
ฆาตกรรมเกิดจากความขัดแย้งเรื่ องชูส้ าว
3.การใช้ สัญลักษณ์ ทคี่ ้ ุนเคย
การใช้สั ญ ลัก ษณ์ ในข่ าวพบว่าพาดหัวในปก และพาดหัวข่ าว มี ก ารใช้เครื่ องหมาย
อัศเจรี ย ์ (!) ซึ่ งเป็ นเครื่ องหมายที่ใช้เขียนหลังคาวลี หรื อประโยคที่เป็ นคาอุทาน แสดงอาการตกใจ
ไว้ใช้ต่อท้ายข้อความหรื อเขียนหลังข้อความว่าเป็ นเหตุที่น่าตกใจ หรื อ แปลกใจ
นอกจากนี้ ในพาดหัวในปกและพาดหัวข่าวยังพบการใช้เครื่ องหมายอัญประกาศ หรื อคาพูด (“ ”)
เน้นที่ชื่อของนางสาววริ ศรา ผูเ้ สี ยชี วิต และ “เบน” สาวหล่อ ซึ่ งเป็ นเครื่ องหมายที่ใช้สาหรับเขียน
คร่ อมคา หรื อประโยคเพื่อแสดงว่าข้อความนั้นเป็ นคาพูด หรื อเพื่อเน้นคาให้เด่นชัดขึ้น
4.การใช้ ภาษาทีด่ ึงดูดใจ
ภาษาที่ใช้ในพาดหัวข่าว และพาดหัวในปกมีการใช้คาว่า “ผัว เมีย” แทนคาว่า “สามี
ภรรยา”และใช้คาว่า “แฉ” ซึ่ งตามพจนานุ กรมราชบัณฑิ ตยสถาน ให้หมายความถึงการตีแผ่ หรื อ
การเปิ ดเผย เพื่อดึงดูดให้ผอู ้ ่านเกิดความสนใจ
5.การใช้ เทคนิคตัดต่ อวีดีโอ
70

เว็บ ไซต์ข่าวสดได้นาเสนอคลิ ป วีดีโอประกอบเนื้ อหาข่าว ซึ่ งคลิ ปวีดีโอมี ความยาว


07.25 นาที สามารถแบ่งรายละเอียดในคลิปได้เป็ น 2 ส่ วน ส่ วนที่หนึ่งคือภาพบรรยากาศการทางาน
ของตารวจซึ่ งมี ความยาวประมาณ 40 วินาที และส่ วนที่สองเป็ นภาพและเสี ยงสัมภาษณ์ สามีของ
นางสาววริ ศรา มีความยาวกว่า 6 นาทีแสดงให้เห็นว่าให้ความสาคัญกับคาบอกเล่าของสามีผเู ้ สี ยชีวติ
4.1.2.3 บทวิเคราะห์ วธิ ีการทีส่ ื่ อประกอบสร้ างผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
การนาเสนอข่ าวในช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ข่ าวที่ 2 ของเว็บ ไซต์ข่าวสดมี วิธีการนาเสนอ
ผู ้ห ญิ ง ในข่ า วอาชญากรรมคื อ นางสาววริ ศ รา กลิ่ น จุ ้ย ซึ่ งเป็ นผู ้เสี ยหายที่ ถู ก ฆาตกรรมใน
อาชญากรรมนี้ โดยให้ความสาคัญกับ เพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ มาใช้วิธีการประกอบสร้าง
ผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม โดยเว็บไซต์ข่าวสดเลือกใช้ประโยคว่า “ผัวรู้ เมียชอบทอม” ในพาดหัว
ข่าวและในเนื้ อหายังนาเสนอบทสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ตารวจและสามีของผูเ้ สี ยชิวติ รวมถึง คลิปวิดีโอ
เสี ยงสัมภาษณ์ของสามีความยาวกว่า 6 นาที ที่ให้ขอ้ มูลสอดคล้องกันว่า นางสาววริ ศรา มีพฤติกรรม
รักร่ วมเพศ ซึ่ งประเด็นการเบี่ ยงเบนทางเพศของนางสาววริ ศรา ที่สื่อมวลชนนาเสนอไม่ใช่ เพียง
ความสัมพันธ์ของผูห้ ญิ ง กับผูห้ ญิงเท่านั้น แต่เป็ นความสัมพันธ์ของผูช้ าย กับผูห้ ญิง ที่มีผหู ้ ญิงอีก
หลายคนเข้ามาเกี่ยวข้องอีก
นอกจากนี้ ยงั พบว่ามีการใช้ความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ ภายนอก โดยเว็บไซต์ข่าวสดยัง
เลือกใช้ภาพหน้าปกซึ่งเป็ นภาพของนางสาววริ ศรา ซึ่งเป็ นภาพที่มีลกั ษณะดูดี สวมใส่ เสื้ อสายเดี่ยว
สรุ ปบทวิเคราะห์
การวางกรอบข่าว กลวิธีในการนาเสนอข่าว และวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงใน
ข่าวอาชญากรรม ในช่วงเหตุการณ์ที่ 1 ซึ่งมี 2 ข่าว ดังนี้

ตารางที่ 4.1 สรุ ปการวางกรอบข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 1

การวิเคราะห์ กรอบ ข่ าวที่ 1 ข่ าวที่ 2


ข่ าว
นิยามเหตุการณ์ เป็ นการฆาตกรรมหญิงสาวหน้าตาดี นางสาววริ ศรา กลิ่ นจุย้ ผูเ้ สี ยชี วิต เป็ น
ด้วยความโหดเหี้ ยมและน่า คนเจ้าชู ้ มีรสนิยมรักร่ วมเพศ
สะพรึ งกลัว
วิเคราะห์ สาเหตุ การฆ าตกรรมเกิ ด จากความแค้ น การฆาตกรรมเกิ ด จากประเด็ น ความ
ของปัญหาใน ส่ วนตัว ขัดแย้งเรื่ องชูส้ าว
สั งคม
71

ตารางที่ 4.1 (ต่อ)

ประเมินในเชิง ผู ้ ก่ อ เห ตุ เป็ น ฆ าต ก ร ที่ มี ค ว า ม นางสาววริ ศรา กลิ่ นจุย้ ผูเ้ สี ยชี วิต เป็ น
จริยธรรมของ โหดเหี้ ยมและกระท าการด้ว ยความ ผูห้ ญิงที่ไม่ดี มีพฤติกรรมนอกใจสามี
ผู้เกีย่ วข้ อง ทารุ ณ
แนะทางออก โดยน าเสนออัต ลัก ษณ์ ศ พที่ พ บเพื่ อนาเสนอแนวทางการสื บสวนสอบสวน
ของปัญหา ยื น ยัน ผู ้ เสี ยชี วิ ต เป็ นจุ ด เริ่ มต้ น ใช้
ในขั้ น ตอนต่ อ ไปของ ต ารวจ เพื่ อ
สื บสวนสอบสวนของตารวจ ติดตามผูก้ ่อเหตุมาดาเนินคดี
กลวิธีการ จัดวางในหมวดหมู่ “ข่าวด่วน” จัดวางในหมวดหมู่ “เด่นออนไลน์”
นาเสนอ ใช้คาซ้ าในพาดหัวในปก และพาดหัว ใช้คาซ้ าในพาดหัวในปก พาดหัวข่าว
ข่าว ใช้สั ญ ลัก ษณ์ เครื่ อ งหมายอัศเจรี ย ์ (!)
ใช้สัญลักษณ์ เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ (!)
และอัญประกาศ(“ ”)
ใช้คาว่า “ผงะ” เป็ นภาษาที่ดึงดูดใจ ใช้คาว่า “แฉ” เป็ นภาษาที่ดึงดูดใจ
ใช้เทคนิ ค ตัดต่ อวีดีโอความยาว 07.25
น. แบ่งเป็ น 2 ส่ วน
-ภาพบรรยากาศตารวจทางานความยาว
40 วินาที
-ภาพและเสี ยงสัมภาษณ์ สามีผูเ้ สี ยชี วิต
ความยาว 6.45 น.
วิธีการทีส่ ื่ อ ความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ภายนอก เพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ
ประกอบสร้ าง -เว็บไซต์ข่าวสดใช้คาว่า “สาวหน้าตา” -พาดหั ว ข่ า วเว็บ ไซต์ข่ า วสดใช้ ค าว่ า
ผู้หญิงในข่ าว ทั้งพาดหัวในปก และพาดหัวข่าว “ผัวรู ้เมียชอบทอม”
อาชญากรรม -ภาพผูเ้ สี ยชี วิต สวมใส่ เสื้ อสายเดี่ยว มี -รายละเอียดข่าวนาเสนอบทสัมภาษณ์
ลักษณะดูดี ต ารวจ แ ล ะ ส ามี ผู ้ เ สี ย ชี วิ ต ย้ าว่ า
ผูเ้ สี ยชีวติ มีรสนิยมรักร่ วมเพศ
-คลิ ป วี ดี โ อน าเสนอภาพและเสี ยง
สัมภาษณ์สามีผเู ้ สี ยชีวติ
ความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ภายนอก
-ภาพปกเป็ นภาพของผูเ้ สี ยชีวิต สวมใส่
เสื้ อสายเดี่ยวมีลกั ษณะที่ดูดี
72

ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2
ช่ วงเหตุ การณ์ ที่ 2 ศึ กษาการนาเสนอข่ าว ระหว่างวันที่ 29 พฤษภาคม – 3 มิ ถุนายน
พ.ศ.2560 มี 2 ข่าว ประกอบด้วย
ข่าวที่ 1 สื่ อมวลชนทราบว่าผูต้ อ้ งหาที่ก่อเหตุฆ่านางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อ แอ๋ ม คือ
นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว
ข่าวที่ 2 สื่ อมวลชนนาเสนอรายละเอียดของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว
โดยผลการศึกษาแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วนที่ 1 บทวิเคราะห์การวางกรอบข่าว ส่ วน
ที่ 2 บทวิเคราะห์ กลวิธีในการนาเสนอข่าว และส่ วนที่ 3 บทวิเคราะห์วิธีการที่สื่ อประกอบสร้าง
ผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
4.1.3 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ข่ าวที่ 1
ประเด็นสื่ อมวลชนทราบว่าผูต้ อ้ งหาที่ก่อเหตุฆ่านางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อ แอ๋ ม คือ
นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว
4.1.3.1 บทวิเคราะห์ การวางกรอบข่ าว
การนิยามเหตุการณ์
จากการนาเสนอข่ าวนี้ เว็บ ไซต์ข่าวสดได้นิยามเหตุ การณ์ น้ ี ว่าผูต้ อ้ งหาคดี ฆ่ าหั่นศพ
นางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ มีหน้าตาที่สวยมาก จนทาให้โซเชียลตกตะลึงในความสวยของผูต้ อ้ งหา โดย
สะท้อนให้เห็นในองค์ประกอบข่าว 2 ส่ วน ดังนี้
1.ภาพปกและพาดหัวในปก

ภาพที่ 4.7 ภาพปกของข่าวเผยโฉมผูต้ อ้ งหาฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์ข่าวสด 29


พฤษภาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_372225
73

เว็บ ไซต์ข่าวสดเลื อกใช้ภาพหน้าปกเป็ นภาพของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ


เปรี้ ยว และนางสาวกวิตา ราชดา หรื อ เอิร์นผูต้ อ้ งหาคดีฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อแอ๋ ม
ในลักษณะที่ดูเซ็กซี่ สวมใส่ เสื้ อสายเดี่ยวเห็นเนินอก ประกอบกับพาดหัวในปกยังพาดหัวด้วยวลีวา่
“เผยโฉมผู้ต้ อ งหำฆ่ ำ “น้ อ งแอ๋ ม ” สวยหั่ น ศพ!” เป็ นการอธิ บ ายรู ป ลัก ษณ์ ข องผูต้ ้อ งหาในคดี
ฆาตกรรมนางสาววริ ศรา ว่าผูต้ อ้ งหาในคดีน้ ีมีหน้าตาสวย
2.พาดหัวข่าว
เว็บไซต์ข่าวสด ยังคงเลือกพาดหัวด้วยคาว่า“เผยโฉม “เอิ ร์น-เปรี ้ยว” 2 ใน 4 ผู้ต้องหำ
ฆ่ ำน้ องแอ๋ ม โซเชียลสะพรึ ง “สวยหั่ นศพ!” เหมือนกับพาดหัวในปก โดยมีการตั้งสมญานามให้กบั
ผูต้ อ้ งหาว่า “สวยหั่นศพ” พร้อมใส่ เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ (!) ตอนท้ายของคาว่า “สวยหัน่ ศพ” ซึ่ งให้
ความหมายว่ารู ้สึกตกใจมากที่ผตู ้ อ้ งหาในคดีฆาตกรรมมีหน้าตาดีมาก
พาดหัวข่าว

ภาพที่ 4.8 ภาพพาดหัวข่าวของข่าวเผยโฉมผูต้ อ้ งหาฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์ข่าว


สด วันที่ 29 พฤษภาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_372225

การวิเคราะห์ ถึงสาเหตุของปัญหา
เว็บไซต์ข่าวสดวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหานี้ วา่ โซเชียลตกตะลึงความสวยของผูต้ อ้ งหา
เนื่ องจากก่อนหน้านี้ ผคู ้ นในโซเชี ยลมีเดีย มีการค้นหารู ปภาพของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ
เปรี้ ยว กับพวกผูต้ อ้ งหา และนามาเผยแพร่ จึงทาให้เกิดเกิ ดการวิพากษ์วิจารณ์ดงั รายละเอียดเนื้ อหา
ข่าวต่อไปนี้
“ล่ ำสุ ด ชำวโซเชี ย ลขุ ด ภำพและประวั ติ ต่ ำงๆ จำกเฟซบุ๊ กของ
“เป รี ้ ย ว ” แ ล ะ “เอิ ร์ น ” 2ผู้ ต้ อ งห ำใน ค ดี ฆ่ ำหั่ น ศ พ ทั้ งยั ง
วิพำกษ์ วิจำรณ์ อย่ ำงกว้ ำงขวำง”
74

การประเมินในเชิงจริยธรรม
เว็บไซต์ข่าวสดมีการนาเสนอเหตุการณ์น้ ี โดยเน้นไปที่รูปลักษณ์ภายนอกของผูต้ อ้ งหา
ว่าผูต้ อ้ งหามีหน้าที่สวยงาม พร้อมตั้งสมญานามให้กบั ผูต้ อ้ งหาว่า “สวยหัน่ ศพ” ในพาดหัวข่าวและ
พาดหัวในปก
การเสนอแนะแนวทางแก้ไข
เว็บไซต์ข่าวสดไม่มีการเสนอแนะทางแก้ไขในข่าวนี้
สรุ ป การวางกรอบข่ า วในช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ 2 ข่ า วที่ 1 เว็บ ไซต์ข่ า วสดมี ก ารนิ ย าม
เหตุการณ์ว่า ผูต้ อ้ งหาคดี ฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่ นจุย้ มีหน้าตาที่สวยมาก จนทาให้โซเชี ยลตก
ตะลึงในความสวยของผูต้ อ้ งหา วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาว่าก่อนหน้านี้ผคู ้ นในโซเชียลมีเดีย มีการ
ค้นหารู ปภาพของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว กับพวกผูต้ อ้ งหา และนามาเผยแพร่ จึงทา
ให้เกิ ดการวิพากษ์วิจารณ์ ประเมิ นในเชิ งจริ ยธรรมว่านาเสนอเหตุการณ์ น้ ี โดยเน้นไปที่รูปลักษณ์
ภายนอกของผูต้ อ้ งหา ว่าผูต้ อ้ งหามีหน้าที่สวยงาม พร้อมตั้งสมญานามให้กบั ผูต้ อ้ งหาว่า “สวยหั่น
ศพ” และไม่มีการเสนอแนะแนวทางแก้ไขโดยมีกลิวธี ที่ข่าวสดออนไลน์ใช้ในการางกรอบข่าวนี้ มี
รายละเอียดดังปรากฏในส่ วนที่ 2
4.1.3.2 บทวิเคราะห์ กลวิธีในการนาเสนอ
1.รู ปแบบการจัดวาง
เว็บไซต์ข่าวสดได้จดั วางข่าวนี้ ในหมวดหมู่ของ “เด่นออนไลน์” ซึ่ งเป็ นหมวดหมู่ที่ 2
ของเว็บไซต์ข่าวสด เมื่อเข้าสู่ เว็บไซต์ตอ้ งเลือกที่หมวดหมู่เด่นออนไลน์จึงจะพบข่าวนี้ พร้อมจัดทา
ภาพปกซึ่ งเป็ นภาพของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว กับนางสาวกวิตา ราชดา หรื อ เอิร์น
ผูเ้ สี ยชีวติ ในลักษณะเซ็กซี่ เป็ นภาพแรก พร้อมใส่ ตวั อักษรหนาทึบสี แดงแสดงข้อความพาดหัวในปก
“เผยโฉมผู้ต้องหำฆ่ ำ “น้ องแอ๋ ม” สวยหั่นศพ!”
75

หมวดหมูข่ า่ ว
พาดหัวข่าว

ภาพปก
พาดหัวในปก

ภาพที่ 4.9เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวเผยโฉมผูต้ อ้ งหาฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เว็บไซต์


ข่าวสด วันที่ 29 พฤษภาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_372225

2.การทาซ้า
พาดหัวในปกและพาดหัวข่ าวยังใช้ค าซ้ ากันคื อ “สวยหั่นศพ” เป็ นเน้นย้ าให้เห็ นว่า
ผูต้ อ้ งหาเป็ นหญิงสาวหน้าตาดี เน้นให้เห็นถึงรู ปลักษณ์ภายนอกของผูต้ อ้ งหา
3.การใช้ สัญลักษณ์ ทคี่ ้ ุนเคย
การใช้สัญลักษณ์ ในข่าวพบว่า ในพาดหัวในปกและพาดหัวข่าว มีการใช้เครื่ องหมาย
อัญ ประกาศ หรื อ เครื่ อ งหมายค าพู ด (“ ”) ซึ่ งเป็ นเครื่ อ งหมายที่ ใ ช้ส าหรั บ เขี ย นคร่ อ มค า หรื อ
ประโยคเพื่อแสดงว่าข้อความนั้นเป็ นคาพูด หรื อเพื่อเน้นความให้เด่นชัดขึ้น ที่ชื่อของผูต้ อ้ งหา และ
คาว่า สวยหั่นศพ และมี เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ (!) หลังคาว่าสวยหั่นศพด้วย ซึ่ งเป็ นเครื่ องหมายที่ใช้
เขียนหลังคาวลี หรื อประโยคที่เป็ นคาอุทาน แสดงอาการตกใจ ไว้ใช้ต่อท้ายข้อความหรื อเขียนหลัง
ข้อความว่าเป็ นเหตุที่น่าตกใจ หรื อ แปลกใจ แสดงให้เห็นว่าหน้าตาของผูต้ อ้ งหาสวยจนน่าตกใจ
4.การใช้ ภาษาทีด่ ึงดูดใจ
ภาษาที่ใช้ในพาดหัวข่าว ข่าวสดออนไลน์เลือกใช้คาว่า “สะพรึ ง” ซึ่ งมีความหมาย ว่า
น่ากลัว น่ าสยดสยอง โดยใช้คาว่า “สะพรึ ง” ในพาดหัวข่าวว่า “โซเชี ยลสะพรึ งสวยหั่ นศพ”แสดง
ให้เห็นว่าผูต้ อ้ งหามีหน้าตาสวยแต่มีพฤติกรรมก่อเหตุที่น่ากลัว และน่าสยดสยอง
4.1.3.3 บทวิเคราะห์ วธิ ีการทีส่ ื่ อประกอบสร้ างผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
76

การนาเสนอข่าวในช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ข่าวที่ 1 ของเว็บ ไซต์ข่าวสดมีวิธีก ารนาเสนอ


ผูห้ ญิ งในข่าวอาชญากรรมคือ นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว และ นางสาวกวิตา ราชดา
หรื อ เอิ ร์น ผูต้ ้องหาหญิ งในคดี อาชญากรรมนี้ โดยให้ค วามส าคัญ กับ ความดึ งดู ดทางรู ปลัก ษณ์
ภายนอก สะท้อนให้เห็นจากเว็บไซต์ข่าวสดได้เลือกใช้คาว่า “สวยหัน่ ศพ” อธิ บายว่า นางสาวปรี ยา
นุ ช กับนางสาวกวิตา ว่ามี หน้าตาสวย โดยใช้ท้ งั ในพาดหัวข่าวและพาดหัวในปก นอกจากนี้ ยงั
เลื อกภาพหน้าปก และภาพประกอบในเนื้ อหาข่าวเป็ นภาพของผูต้ อ้ งหาที่สวมใส่ เสื้ อสายเดี่ ยว มี
ลักษณะที่เซ็กซี่ เห็นแผ่นหลัง รอยสัก และเนินอก

ภาพที่ 4.10 ภาพนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 29 พฤษภาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_372225

ภาพที่ 4.11ภาพนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 29 พฤษภาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_372225
77

ภาพที่ 4.12 ภาพนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 29 พฤษภาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_372225

4.1.4 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ข่ าวที่ 2


ประเด็นข่าวสื่ อมวลชนนาเสนอรายละเอียดของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ
เปรี้ ยว
4.1.4.1 บทวิเคราะห์ การวางกรอบข่ าว
การนิยามเหตุการณ์
จากการนาเสนอข่าวนี้ เว็บไซต์ข่าวสดได้นิยามเหตุการณ์น้ ี วา่ นางสาวปรี ยานุช โนนวัง
ชัย หรื อ เปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหาในคดี ฆ่าหั่นศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อ แอ๋ ม เป็ นหญิงสาวที่มีความ
กตัญญู เป็ นที่พ่ งึ ของแม่และครอบครัว โดยสะท้อนให้เห็นในองค์ประกอบข่าวทั้ง 2 ส่ วน ดังนี้

1.ภาพปกและพาดหัวในภาพปก

ภาพที่ 4.13 ภาพปกของข่าวมารดานางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย วอนลูกสาวมอบตัว เว็บไซต์ข่าวสด


วันที่ 2 มิถุนายน 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_378543
78

เว็บไซต์ข่าวสดจัดทาภาพปกโดยแบ่งเป็ นสองส่ วน ส่ วนแรกเป็ นภาพของนางสาวปรี ยา


นุช โนนวังชัย หรื อเปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหา ส่ วนที่สองเป็ นภาพของนางสาคร ภาษี มารดานางสาวปรี ยานุ ช
ที่เช็ดน้ าตาที่หน้า ในภาพหน้าปกยังพาดหัวด้วยข้อความว่า “แม่ เปรี ้ยวร่ำไห้ วอนกลับมำมอบตัว ”
ซึ่งอธิ บายถึงความรักของมารดาที่เป็ นห่วงลูกสาวให้กบั มามอบตัวกับเจ้าหน้าที่ตารวจ
2.พาดหัวข่าว และเนื้อข่าว
เว็บไซต์ข่าวสดยังคงเลือกพาดหัวข่าวด้วยคาว่า “แม่ เปรี ้ยวหั่ นศพ เครี ยดหนัก อยำกให้
มอบตัวห่ วงต้ องหนีหัวซุ กหั วซุ น ชี ต้ ้ องหยุดสร้ ำงบ้ ำน ขำดที่พึ่ง ”เหมือนกับพาดหัวในปก ซึ่ งให้
ความหมายถึ งผลกระทบที่ เกิ ด ขึ้ น กับ ครอบครั วของผูต้ ้องหา และแสดงให้ เห็ น อี ก ว่า ที่ ผ่านมา
นางสาวปรี ยานุช เป็ นบุคคลที่มีความกตัญญูสร้างบ้านและเลี้ยงดูมารดา

พาดหัวข่าว

ภาพที่ 4.14 ภาพพาดหัวข่าวของข่าวมารดานางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย วอนลูกสาวมอบตัว เว็บไซต์


ข่าวสด วันที่ 2 มิถุนายน 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_378543

เช่ นเดี ยวกับในเนื้ อหาข่าวที่เว็บไซต์ข่าวสดเลือกนาเสนอบทสัมภาษณ์ของเพื่อนบ้าน


และบทสัมภาษณ์ มารดาของนางสาวปรี ยานุ ช ที่อธิ บายว่านางสาวปรี ยานุ ช เป็ นคนกตัญญู และยัง
แสดงให้เห็นถึงผลกระทบว่าหากครอบครัวนี้ขาดนางสาวปรี ยานุช ไปจะทาให้ได้รับความเดือดร้อน
ต้องอยูใ่ ช้ชีวติ อย่างลาบากดังรายละเอียดเนื้อหาข่าวต่อไปนี้
“..เพื่ อนบ้ ำน ระบุ ว่ำ ตอนเด็กๆ เปรี ้ยวเป็ นคนนิ สั ยดี น่ ำรั ก ไม่ เคย
สร้ ำงควำมเดือดร้ อนให้ กับพ่ อแม่ และไม่ เคยมีชื่อเสี ยงในด้ ำนที่ไม่ ดี
ซึ่ งในสั งคมไทบ้ ำนหำกลูกบ้ ำนไหนทำตัวไม่ ดี ชำวบ้ ำนก็จะรู้ กันทั่ว
79

แต่ สำหรั บเปรี ้ยวไม่ เคยมีชื่อเสี ยงในด้ ำนไม่ ดีเลย แต่ พอเขำโตขึน้ ก็
ออกไปเรี ยนและไปทำงำนที่ตัวจังหวัด นำนๆ จะกลับมำที โดยเอำ
เงิ น มำจุ น เจื อ ครอบครั ว ให้ พ่ อแม่ ใ ช้ จ่ำ ย ถื อว่ ำเป็ นเด็ก กตัญ ญู ค น
หนึ่ง”
“..มำรดำ ระบุว่ำเมื่อวันที่ไทบ้ ำนมำบอกข่ ำวว่ ำเปรี ้ยวฆ่ ำคนแม่ ล้มลง
ทันที หัวใจไม่ ร้ ู ว่ ำตกหำยไปไหน จำกนั้นมำก็นอนไม่ ค่อยได้ ต้องกิน
ยำนอนหลับเป็ นกำๆ เพื่ อให้ นอนได้ แม้ หมอจะบอกไม่ ให้ กินเยอะ
แต่ กต็ ้ องกินเพื่อให้ นอนหลับ เพรำะถ้ ำไม่ ได้ นอนก็จะคิดถึงแต่ เรื่ องที่
เกิ ดขึ น้ ตอนนีค้ ิ ดถึ งลูกมำก เขำเป็ นลูกคนเล็กที่พึ่ งพำอำศัยได้ มำก
ที่ สุ ด และถ้ ำขำดเปรี ้ยวไปทุ ก อย่ ำงในชี วิตเหมื อนพั งทลำย บ้ ำนที่
สร้ ำงอยู่ก็คงไม่ เสร็ จ และต้ องอยู่ในสภำพนีเ้ พรำะเรำก็ไม่ มีปัญญำ
สร้ ำงต่ อได้ ”
การวิเคราะห์ ถึงสาเหตุของปัญหา
เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอสาเหตุของเหตุการณ์ น้ ี ว่าฐานะทางบ้านของนางสาวปรี ยานุ ช
โนนวัง ชัย หรื อ เปรี้ ยว ยากจน ท าให้ เปรี้ ยวต้อ งท างานหาเงิ น ตั้ง แต่ เด็ ก เพื่ อ เลี้ ยงดู ต ัว เองและ
ครอบครัวโดยนาเสนอบทสัมภาษณ์มารดาของนางสาวปรี ยานุช ผูต้ อ้ งหา ว่านางสาวปรี ยานุ ช เกิ ด
มาในครอบครัวที่ยากจน และต้องใช้ชีวิตอย่างดิ้นรนโดยทางานหาเงินตั้งแต่ยงั เด็ก ทาให้อนุมานได้
ว่านางสาวปรี ยานุ ช เป็ นคนสู ้ ชีวิต และเป็ นบุคคลที่เข้มแข็ง พยายามทางานทุกอย่างเพื่อหาเงินมา
ดูแลครอบครัว ถูกผลักดันจากโครงสร้างเศรษฐกิจจนในที่สุดกลายเป็ นผูต้ อ้ งหาในคดีอาชญากรรม
ดังรายละเอียดเนื้อหาข่าวต่อไปนี้
“เขำเป็ นคนที่ต้องต่ อสู้ มำตั้งแต่ เด็ก เขำไปรั บจ้ ำงซั กผ้ ำที่ตลำด และ
หลังเลิ กรำกับแฟนเก่ ำก็ไปร้ องเพลงคำรำโอเกะ ได้ เงิ นมำให้ พ่อ แม่
และย่ ำ”
การประเมินในเชิงจริยธรรม
การนาเสนอเหตุการณ์ น้ ี ของเว็บไซต์ข่าวสดมีการประเมินในเชิ งจริ ยธรรมว่าก่อนเกิ ด
เหตุฆาตกรรมที่ผา่ นมานางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหาเป็ นคนดีมาโดยตลอด สะท้อนให้เห็น
จาก พาดหัวข่าวที่เลือกใช้คาว่า “ชี้ตอ้ งหยุดสร้างบ้านขาดที่พ่ งึ ”
เช่นเดียวกับในเนื้อหาข่าวที่ได้อธิบายถึงลักษณะนิสัยของนางสาวปรี ยานุช ผูต้ อ้ งหา ว่า
เป็ นคนดี มีนิสัยน่ ารัก และมี ความกตัญญู สะท้อนจากบทสัมภาษณ์ ของเพื่อนบ้านและมารดาของ
นางสาวปรี ยานุช ที่เว็บไซต์ข่าวสดเลือกมานาเสนอ ดังรายละเอียดเนื้อหาข่าวต่อไปนี้
80

“..เพื่ อนบ้ ำน ระบุว่ำ เพื่ อนบ้ ำน ที่อำศัยอยู่ในละแวกใกล้ เคียง ทรำบ


ว่ ำ ตอนเด็กๆ เปรี ้ยวเป็ นคนนิสัยดี น่ ำรั ก ไม่ เคยสร้ ำงควำมเดือดร้ อน
ให้ กับพ่ อแม่ และไม่ เคยมีชื่อเสียงในด้ ำนที่ไม่ ดี”
“..มำรดำ ระบุว่ำ เปรี ้ยว เป็ นคนสุดท้ อง แต่ กเ็ หมือนเป็ นหั วหน้ ำครอบครั ว
และเป็ นคนกตัญญูกับพ่ อแม่ มำกที่สุดเมื่อเทียบกับลูกคนอื่นๆ”
การเสนอแนะแนวทางแก้ไข
เว็บไซต์ข่าวสดได้นาเสนอแนวทางแก้ไขปั ญหาในเหตุการณ์น้ ี โดยนาเสนอให้นางสาว
ปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหาเข้ามอบตัว ผ่านพาดหัวข่าว พาดหัวในปก และบทสัมภาษณ์ของมารดา
นางสาวปรี ยานุช ดังนี้
“แม่ ของเปรี ้ยว กล่ ำวอีกว่ ำ อยำกให้ ลูกมำมอบตัวเมื่อเรำทำควำมผิด
แล้ ว เขำคงไม่ มำทำอะไรโหดร้ ำยกับเรำ ตอนนีเ้ ป็ นห่ วงลูกมำก กลัว
ลูกไม่ ได้ กินข้ ำว เพรำะมัวแต่ หนีหัวซุกหัวซุน”
สรุ ป การวางกรอบข่ า วในช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ 2 ข่ า วที่ 2 เว็บ ไซต์ข่ า วสดมี ก ารนิ ย าม
เหตุการณ์ วา่ นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหาในคดีฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่ น
จุย้ หรื อ แอ๋ ม เป็ นหญิ งสาวที่ มี ความกตัญญู เป็ นที่พ่ ึงของแม่และครอบครัว วิเคราะห์ส าเหตุของ
ปั ญหาว่าฐานะทางบ้านของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ยากจน ทาให้เปรี้ ยวต้องทางาน
หาเงินตั้งแต่เด็กเพื่อเลี้ยงดูตวั เองและครอบครัว ประเมินในเชิงจริ ยธรรมว่าก่อนเกิดเหตุฆาตกรรมที่
ผ่านมานางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหาเป็ นคนดี มาโดยตลอด และเสนอแนะแนวทางแก้ไข
โดยนาเสนอให้นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหาเข้ามอบตัว โดยมีกลวิธีที่เว็บไซต์ข่าวสดใช้ใน
การวางกรอบข่าวนี้ มีรายละเอียดดังปรากฏในส่ วนที่ 2
4.1.4.2 บทวิเคราะห์ กลวิธี
1.รู ปแบบการจัดวาง
เว็บไซต์ข่าวสดได้จดั วางข่าวเหตุการณ์ น้ ี ไว้ในหมวดหมู่ “ข่าวด่วน” ซึ่ งเป็ นหมวดหมู่
ข่าวแรกที่แสดงในเว็บไซต์ข่าวสด นอกจากนี้ ยงั มีการจัดทารู ปภาพหน้าปกของข่าวโดยแบ่งรู ปภาพ
หน้าปกเป็ นสองส่ วน ส่ วนที่หนึ่ งเป็ นภาพของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา ส่ วนที่สองเป็ น
ภาพของมารดานางสาวปรี ยานุ ช ที่กาลังเช็ดน้ าตา พร้อมใส่ ตวั อักษรหนาทึ บสี แดงแสดงข้อความ
พาดหัวในปกว่า “แม่ เปรี ้ยวร่ำไห้ วอนกลับมำมอบตัว”
81

หมวดหมูข่ า่ ว
พาดหัวข่าว

ภาพปก
พาดหัวในปก

ภาพที่ 4.15 เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวมารดานางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย วอนลูกสาวมอบตัว


เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 2 มิถุนายน 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_378543

2.การทาซ้า
พาดหัวในปก พาดหัวข่ าว มี ก ารใช้ค าว่า “มอบตัว” เป็ นการเน้นย้ าให้ผูต้ ้องหาเดิ น
ทางเข้ามามอบตัวกับเจ้าหน้าที่ตารวจ นอกจากนี้ ในเนื้ อหาข่าวยังนาเสนอบทสัมภาษณ์ มารดาของ
นางสาวปรี ยานุช ที่วงิ วอนให้นางสาวปรี ยานุช เข้ามามอบตัวกับเจ้าหน้าที่ตารวจ
3.การใช้ สัญลักษณ์ ทคี่ ้ ุนเคย
เว็บไซต์ข่าวสดไม่มีการใช้สัญลักษณ์ในข่าวนี้
4.การใช้ ภาษาทีด่ ึงดูดใจ
เว็บไซต์ข่าวสดไม่มีการใช้ภาษาที่ดึงดูดใจ
5.การใช้ เทคนิคตัดต่ อวีดีโอ
เว็บไซต์ข่าวสดได้นาเสนอคลิ ปวีดีโอแทรกอยู่ในเนื้ อหาข่าว โดยนาเสนอคลิ ปวีดีโอ
ความยาว 4.12 นาที ซึ่ งตลอดทั้งคลิปเป็ นภาพและเสี ยงสัมภาษณ์มารดาของนางสาวปรี ยานุช
4.1.4.3 บทวิเคราะห์ วธิ ีการทีส่ ื่ อประกอบสร้ างผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
การนาเสนอข่าวในช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ข่าวที่ 2 ของเว็บ ไซต์ข่าวสดมีวิธีก ารนาเสนอ
ผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรมคือ นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหาในคดีอาชญากรรม
นี้ โดยให้ความสาคัญกับเรื่ องไม่ใช่ตวั การกระทาความผิด สะท้อนให้เห็นจากข่าวสดออนไลน์ที่ได้
82

เลื อกนาเสนอเรื่ องราวชี วิตของนางสาวปรี ยานุ ช ผูต้ อ้ งหา ผ่านบทสัมภาษณ์ เพื่อนบ้าน และมารดา
ของนางสาวปรี ยานุช แสดงให้เห็นว่านางสาวปรี ยานุช เป็ นคนดี กตัญญู เลี้ยงดูแม่ และครอบครัวมา
โดยตลอด ซึ่ งเป็ นการหาเหตุผลให้กบั ผูต้ อ้ งหาว่ามีวยั เด็กที่ลาบาก ต้องต่อสู ้ชีวติ ทาให้นางสาวปรี ยา
นุช เป็ นคนที่ต่อสู ้ ดิ้นรน
สรุ ปบทวิเคราะห์
การวางกรอบข่าว กลวิธีในการนาเสนอข่าว และวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงใน
ข่าวอาชญากรรม ในช่วงเหตุการณ์ที่ 2 ซึ่ งมี 2 ข่าว ดังนี้

ตารางที่ 4.2 สรุ ปการวางกรอบข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 2

วิเคราะห์ การ ข่ าวที่ 1 ข่ าวที่ 2


วางกรอบข่ าว
นิยาม นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับ พวก นางส าวปรี ยานุ ช โนนวัง ชั ย หรื อ
เหตุการณ์ ผูต้ ้องหาคดี ฆ่ าหั่น ศพนางสาววริ ศ รา เปรี้ ยว เป็ นคนกตัญญู เลี้ ยงดูพ่อแม่และ
กลิ่ น จุ ้ย มี ห น้ า ตาที่ ส วยมาก ท าให้ ครอบครัว
โซ เชี ยล ต ะ ลึ งใน ค วาม ส วยข อ ง
ผูต้ อ้ งหา
วิเคราะห์ การวิพ ากษ์เรื่ อ งหน้าตาผูต้ ้อ งหาเกิ ด ฐานะทางบ้า นของนางสาวปรี ย านุ ช
สาเหตุของ จากผู ้ค นในโซเชี ย ลมี เดี ย น ารู ป ภาพ โนนวัง ชัย หรื อ เปรี้ ยว ยากจน ท าให้
ปัญหาใน ของผูต้ อ้ งหามาเผยแพร่ เปรี้ ยวต้องท างานหาเงิน ตั้งแต่ เด็ก เพื่ อ
สั งคม เลี้ยงดูตวั เองและครอบครัว
ประเมินในเชิง ตั้งสมญานามให้กบั ผูต้ อ้ งหาว่า “สวย ที่ ผ่า นมานางสาวปรี ย านุ ช โนนวัง ชัย
จริยธรรมของ หัน่ ศพ” ผูต้ อ้ งหาเป็ นคนดีมาโดยตลอด
ผู้เกีย่ วข้ อง
แนะทางออก ไม่มี ให้ น างส าว ป รี ย านุ ช โน น วั ง ชั ย
ของปัญหา ผูต้ อ้ งหาเข้ามอบตัวกับตารวจ
83

ตารางที่ 4.2 (ต่ อ)

วิเคราะห์ การ ข่ าวที่ 1 ข่ าวที่ 2


วางกรอบข่ าว
กลวิธีการ จัดวางในหมวดหมู่ “เด่นออนไลน์” จัดวางในหมวดหมู่ “ข่าวด่วน”
นาเสนอ ใช้คาซ้ าในพาดหัวในปกและพาดหัว ใช้ค าซ้ า ในพาดหัวในปกและพาดหัว
ข่าว ข่าว
ใช้สัญลักษณ์ เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ (!) ใช้เทคนิคตัดต่อวีดีโอความยาว 4.12 น.
และอัญประกาศ (“ ”) ทั้ งห มดเป็ น ภาพ แล ะเสี ยงมารดา
ใช้คาว่า “สะพรึ ง” เป็ นภาษาที่ดึงดูดใจ นางสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย ผูต้ ้องหา
ให้สัมภาษณ์
วิธีการทีส่ ื่ อ ความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ภายนอก ไม่ใช่ตวั การกระทาความผิด
ประกอบสร้ าง -พาดหัวข่าวและพาดหัวในปกข่าวข่าว -เนื้ อหาข่ า วน าเส นอบทสั ม ภาษ ณ์
ผู้หญิงในข่ าว สดออนไลน์ใช้คาว่า “สวยหัน่ ศพ” มารดาของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย
อาชญากรรม -ภาพปกและภาพประกอบในเนื้ อหา ผูต้ ้อ งหาว่า ผูต้ ้อ งหาเป็ นคนดี มี ค วาม
เป็ นภาพผูต้ อ้ งหาสวมใส่ เสื้ อสายเดี่ยว กตัญญู เลี้ยงดูมารดา มีฐานะครอบครัว
เห็ นเนิ นอก แผ่ น หลั ง รอยสั ก มี ที่ยากจนจึงต้องต่อสู ้ชีวติ
ลักษณะเซ็กซี่

ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3
ช่ วงเหตุ การณ์ ที่ สาม ศึกษาการนาเสนอข่ าวระหว่างวันที่ 4 มิถุนายน – 23 สิ งหาคม
พ.ศ. 2560 มี 4 ข่าว ประกอบด้วย
ข่าวที่ 1 การรายงานข่าวจับตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว
ข่าวที่ 2การรายงานข่าวเกี่ยวกับการขายสิ นค้าชนิ ดเดียวกับที่นางสาวปรี ยานุช โนนวัง
ชัย หรื อ เปรี้ ยวใช้
ข่าวที่ 3 ส่ งนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว เข้าเรื อนจา
ข่าวที่ 4 นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ถูกคุมตัวมาขึ้นศาลครั้งแรก
โดยผลการศึกษาแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วนที่ 1 บทวิเคราะห์การวางกรอบข่าว ส่ วน
ที่ 2 บทวิเคราะห์ กลวิธีในการนาเสนอข่าว และส่ วนที่ 3 บทวิเคราะห์วิธีก ารที่สื่ อประกอบสร้ าง
ผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
84

4.1.5 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3 ข่ าวที่ 1 ประเด็นข่ าวจับตัวนางสาวปรียานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ยว


4.1.5.1 บทวิเคราะห์ การวางกรอบข่ าว
การนิยามเหตุการณ์
จากการนาเสนอข่าวนี้ เว็บไซต์ข่าวสดได้นิยามเหตุการณ์น้ ี วา่ นางสาวปรี ยานุช โนนวัง
ชัย หรื อ เปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหามีการไตร่ ตรองวิธีอาพรางศพโดยสะท้อนให้เห็นในองค์ประกอบของข่าว
ทั้ง 2 ส่ วน ดังนี้
1.ภาพและพาดหัวในปก

ภาพที่ 4.16 ภาพปกของข่าว ผบ.ตร.สอบปากคาผูต้ อ้ งหา เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 4 มิถุนายน 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_381187

เว็บ ไซต์ ข่ า วสดเลื อ กใช้ ภ าพปกเป็ นภาพของพลต ารวจเอกจัก รทิ พ ย์ ชัย จิ น ดา ผู ้


บัญชาการตารวจแห่ งชาติ ซึ่ งเป็ นผูบ้ งั คับ บัญชาสู งสุ ดของสานักงานตารวจแห่ งชาติ ที่ มีลกั ษณะ
กาลังให้ความสนใจฟั งนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหา ขณะทาการสอบสวน โดย
เลือกใช้ประโยคว่า “เปรี ้ยวให้ กำรกับ ผบ. ทำไมถึงหั่ นศพไม่ ถ่วงนำ้ ” แสดงให้เห็นว่าผูบ้ ญั ชาการ
ตารวจแห่ งชาติกาลังสอบสวนนางสาวปรี ยานุ ช ผูต้ อ้ งหา เกี่ ยวกับประเด็นการอาพรางศพว่ามีการ
ไตร่ ตรองวิธีการโดยเลือกการหัน่ ศพแทนการนาศพไปถ่วงน้ า
2.พาดหัวข่าว และเนื้อข่าว
เว็บไซต์ข่าวสดยังคงเลือกพาดหัวข่าวด้วยประโยคว่า“เปรี ้ยว” ให้ กำรกับ ผบ.ตร. ทำไม
ถึ งหั่ นศพ “แอ๋ ม” ไม่ นำไปถ่ วงนำ้ ?”เหมื อนกับพาดหัวในปก ซึ่ งให้ความหมายเน้นย้ าถึ งวิธีการ
ไตร่ ตรองการอาพรางศพหลังฆาตกรรม
85

พาดหัวข่าว

ภาพที่ 4.17 ภาพปกของข่าว ผบ.ตร.สอบปากคาผูต้ อ้ งหา เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 4 มิถุนายน 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_381187

เช่ นเดี ยวกับ ในเนื้ อหาข่าวที่ อธิ บ ายถึ งการไตร่ ตรองการอาพรางศพ โดยนาเสนอบท
สัมภาษณ์ ผูบ้ ญั ชาการตารวจแห่ งชาติ ว่านางสาวปรี ยานุ ช ผูต้ อ้ งหาสารภาพว่าเป็ นคนฆ่านางสาวว
ริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อ แอ๋ ม ผูเ้ สี ยชีวิต หลังก่อเหตุได้วางแผนนาศพไปถ่วงน้ าแต่ศพแข็งแล้วจึงเลือกวิธี
หัน่ ศพแทน ดังรายละเอียดเนื้อหาข่าวต่อไปนี้
“..ผมถำมเขำเขำก็บอกว่ ำเขำก็ไปไม่ รอดเหมือนกัน ในควำมคิ ดของ
เขำขณะนั้นมันมีแค่ นี ้ มีควำมคิ ดอยู่ 2 อย่ ำง 1 คื อถ่ วงนำ้ 2 คื อเอำไป
หั่น เขำคิดว่ ำตอนนั้นศพเริ่ มแข็งแล้ ว ถ้ ำเอำไปถ่ วงนำ้ เดี๋ยวก็โผล่ ”
การวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหา
เว็บ ไซต์ข่าวสดได้น าเสนอสาเหตุ ข องการฆาตกรรมนางสาววริ ศ รา กลิ่ นจุ ้ย ว่าการ
ฆาตกรรมในครั้งนี้ เกิดจากความขัดแย้งส่ วนตัวยาเสพติดและหนี้ สิน โดยปรากฏในเนื้ อหาข่าวผ่าน
การเลื อกนาเสนอบทสัมภาษณ์ ของผูบ้ ญั ชาการตารวจแห่ งชาติ ที่เปิ ดเผยผลการสอบสวนนางสาว
ปรี ยานุช ผูต้ อ้ งหา ดังรายละเอียดเนื้อหาข่าวต่อไปนี้
“โดย ผบ.ตร. เผยว่ ำผู้ต้องหำให้ กำรว่ ำคดีนีม้ ีปมมำจำกเรื่ องส่ วนตัว
เป็ นเรื่ องยำเสพติ ด และหนี ้สิ น ประมำณ 30,000-40,000 บำท ที่
น.ส.วริ ศรำยื ม ไป แต่ ไ ม่ ใ ช่ เรื่ องขบวนกำรค้ ำยำเสพติ ด ข้ ำมชำติ
เหมื อนที่โซเชี ยลพูดกัน เหตุเกิ ดจำกที่ น.ส.วริ ศรำ หรื อแอ๋ ม ถูกจับ
เมื่ อ ปลำยปี 2559 เจ้ ำหน้ ำที่ ข ยำยผลถึ ง น.ส.ปรี ย ำนุ ช ไม่ ใ ช่ เรื่ อง
กำรค้ ำยำข้ ำมชำติ กลุ่มนีเ้ ขำเสพยำกัน แล้ วน.ส.วริ ศ รำ ถูกจับ ตำรวจ
86

มีกำรขยำยผล ไม่ ใช่ ขบวนกำรค้ ำยำเสพติด และผู้ต้องหำรั บสำรภำพ


ตลอดข้ อกล่ ำวหำ”
การประเมินในเชิงจริยธรรม
การนาเสนอข่าวนี้ เว็บไซต์ข่าวสดมีการประเมินในเชิ งจริ ยธรรมว่า นางสาวปรี ยานุ ช
โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา มีสานึ กผิดจึงเข้ามอบตัวกับเจ้าหน้าที่ตารวจ และมีสามัญสานึ ก ไม่ได้ต้ งั ใจฆ่า
นางสาววริ ศรา ผูเ้ สี ยชี วิต พร้ อมอธิ บายกระแสวิพากษ์วิจารณ์ กรณี นางสาวปรี ยานุ ช แต่งหน้าใน
ห้องควบคุมผูต้ อ้ งหาว่าเป็ นเรื่ องปกติของผูห้ ญิง โดยเว็บไซต์ข่าวสดเลือกนาเสนอบทสัมภาษณ์ของ
ผูบ้ ญั ชาการตารวจแห่งชาติ ที่สอบสวนนางสาวปรี ยานุช ถึงสาเหตุการฆาตกรรมและรายละเอียดใน
คดีน้ ี โดยมีรายละเอียดข่าวดังนี้
“พล.ต.อ.จักรทิ พย์ เผยว่ ำ ผู้ต้องหำระบุว่ำเขำต้ องกำรแค่ จะสั่ งสอน
ไม่ ได้ เจอกันเป็ นปี บังเอิ ญเขำกลับมำจำกต่ ำงประเทศ แล้ วไปเจอที่
จุดนัดพบพอดี จนเกิดเหตุ”
“เขำก็ตัดสิ นใจมอบตัวอยู่ ผมถำมว่ ำสำเหตุที่ มำมอบตัวเพรำะอะไร
เขำบอกว่ ำเขำไม่ อยำกให้ คนที่เขำไปอยู่ด้วยเดื อดร้ อน หลังจำกที่เขำ
ตั้งสติ ไ ด้ แล้ วว่ ำสิ่ งที่ เขำท ำมัน ผิ ด เลยคิ ดจะมอบตัว และได้ ยืน ยัน
หนั ก แน่ น รั บ สำรภำพตลอดข้ อ กล่ ำวหำ” “ส่ วนเรื่ องภำพที่ ห ลุ ด
ออกมำทำงโซเชี ยลที่ผ้ ตู ้ องหำกำลังแต่ งหน้ ำ ผบ.ตร. ระบุว่ำ “ผมว่ ำ
เป็ นเรื่ องปกติ ข องผู้ห ญิ ง แต่ อ ย่ ำงน้ อ ยเขำก็มีส ำมัญ ส ำนึ ก ในกำร
รั บผิดชอบ คือเขำมีควำมตั้งใจที่จะมอบตัว ”
หลังจากสื่ อมวลชนนาเสนอเนื้ อหาข่าวนี้ ได้เกิ ดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ ว่า ผูบ้ ญ ั ชาการ
ตารวจแห่ งชาติ เข้าข้างนางสาวปรี ยานุ ช ผูต้ อ้ งหาหรื อไม่ ทาให้พนั ตารวจเอกกฤษณะ พัฒนเจริ ญ
ในฐานะรองโฆษกส านัก งานตารวจแห่ งชาติ ได้ออกมาแถลงข่าวชี้ แจงต่ อสังคมโดยยืน ยันว่าผู ้
บัญชาการตารวจแห่งชาติ ไม่ได้ปกป้องหรื อเข้าข้างนางสาวปรี ยานุช กับพวกผูต้ อ้ งหาแต่อย่างใด
การเสนอแนะแนวทางแก้ไข
เว็บไซต์ข่าวสดได้นาเสนอแนวทางแก้ไขปั ญหา โดยนาเสนอแนวทางในการดาเนินคดี
ตามขั้น ตอนตามกระบวนการยุ ติ ธ รรมกับ นางสาวปรี ย านุ ช ผูต้ ้อ งหากับ พวก ซึ่ งเป็ นผูก้ ระท า
ความผิด ว่าได้รับบทลงโทษตามกฎหมาย
สรุ ป การวางกรอบข่ า วในช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ 3 ข่ า วที่ 1 เว็บ ไซต์ข่ า วสดมี ก ารนิ ย าม
เหตุการณ์ ว่า นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหามีการไตร่ ตรองวิธีอาพรางศพ วิเคราะห์สาเหตุ
ของปั ญหาว่าการฆาตกรรมในครั้งนี้ เกิ ดจากความขัดแย้งส่ วนตัวยาเสพติดและหนี้ สิน ประเมินใน
87

เชิ งจริ ยธรรมว่านางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา มีสานึ กผิดจึงเข้ามอบตัวกับเจ้าหน้าที่ตารวจ


และมีสามัญสานึก และเสนอแนะแนวทางแก้ไขโดยนาเสนอแนวทางในการดาเนินคดีตามขั้นตอน
โดยมีกลิวธีที่เว็บไซต์ข่าวสดใช้ในการางกรอบข่าวนี้ มีรายละเอียดดังปรากฏในส่ วนที่ 2
4.1.5.2 บทวิเคราะห์ กลวิธีในการนาเสนอ
1.รู ปแบบการจัดวาง
ข่าวประเด็นการจับกุมและสอบสวนนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยวกับพวก
เว็บไซต์ข่าวสดได้จดั วางตาแหน่งไว้ในหมวดหมู่ “ข่าวด่วน”ซึ่ งเป็ นหมวดหมู่แรกของเว็บไซต์ข่าว
สด เมื่อเข้าสู่ เว็บไซต์ข่าวสดจะสามารถเห็นข่าวในหมวดหมู่น้ ีได้ทนั ที นอกจากนี้ ยงั มีการจัดทาภาพ
หน้าปกของข่ าวโดยใช้ภ าพพลต ารวจเอกจัก รทิ พ ย์ ชัยจิ น ดา ผูบ้ ัญ ชาการต ารวจแห่ ง ชาติ ก าลัง
สอบสวนนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา พร้อมใส่ ตวั อักษรหนาทึบสี แดง แสดงข้อความพาด
หัวในปกว่า “เปรี้ ยวให้การกับ ผบ. ทาไมถึงหัน่ ศพไม่ถ่วงน้ า”

หมวดหมูข่ า่ ว
พาดหัวข่าว

ภาพปก
พาดหัวในปก

ภาพที่ 4.18 เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าว ผบ.ตร. สอบปากคาผูต้ อ้ งหา เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 4


มิถุนายน 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_381187

2.การทาซ้า
พาดหัวในปกและพาดหัวข่าว เว็บไซต์ข่าวสดเลือกใช้คาซ้ ากันว่า “ทำไมถึงหั่ นศพไม่
นำไปถ่ วงนำ้ ”เป็ นการเน้นย้ าให้เห็นว่านางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา มีการไตร่ ตรองวิธีการ
88

อาพรางศพ นอกจากนี้ ในรายละเอียดข่าวยังย้ าถึงการไตร่ ตรองวิธีการอาพรางศพว่าศพเริ่ มแข็งจึง


เลือกหัน่ ศพแทน
3.การใช้ สัญลักษณ์ ทคี่ ้ ุนเคย
การใช้สั ญลัก ษณ์ ในข่ าวพบว่าในพาดหัวในข่ าวได้ใช้เครื่ องหมายอัญ ประกาศ หรื อ
เครื่ องหมายค าพู ด (“ ”) ซึ่ งเป็ นเครื่ องหมายที่ ใช้สาหรับ เขี ยนคร่ อมคา หรื อประโยคเพื่อแสดงว่า
ข้อความนั้นเป็ นคาพูด หรื อเพื่ อเน้นความให้เด่ นชัดขึ้ น ที่ ชื่อของผูต้ อ้ งหา และชื่ อของผูเ้ สี ยชี วิต
เครื่ องหมาย ? ปรัศนี ซึ่งไว้ใช้หลังเครื่ องหมายคาถาม
นอกจากนี้ ย งั ใช้เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ (!) หลังค าว่าท าไมถึ งหั่นศพไม่ ถ่ วงน้ า ซึ่ งเป็ น
เครื่ องหมายที่ ใช้เขี ย นหลัง ค าวลี หรื อ ประโยคที่ เป็ นค าอุ ท าน แสดงอาการตกใจ ไว้ใ ช้ต่ อท้า ย
ข้อความหรื อเขียนหลังข้อความว่าเป็ นเหตุที่น่าตกใจ หรื อ แปลกใจ
4.การใช้ เทคนิคตัดต่ อวีดีโอ
เว็บไซต์ข่าวสดได้นาเสนอคลิปวีดีโอการแถลงข่าวของพลตารวจเอกจักรทิพย์ ชัยจินดา
ผูบ้ ญั ชาการตารวจแห่งชาติ หลังสอบสวนนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา มีความยาว 30 นาที
เพื่อให้ผชู ้ มสามารถรับชมการให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับคดีน้ ีได้อย่างละเอียด
4.1.5.3 บทวิเคราะห์ วธิ ีการทีส่ ื่ อประกอบสร้ างผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
การนาเสนอข่าวในช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3 ข่าวที่ 1 ของเว็บ ไซต์ข่าวสดมีวิธีก ารนาเสนอ
ผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรมคือ นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหาในคดีอาชญากรรม
นี้ โดยให้ความสาคัญกับเรื่ องไม่ใช่ ตวั การกระทาผิด สะท้อนให้เห็นจากเว็บไซต์ข่าวสดที่นาเสนอ
บทสัมภาษณ์ ของผูบ้ ญั ชาการตารวจแห่ งชาติ ซึ่ งกล่าวถึ งกระแสวิพากษ์วิจารณ์ ถึงความเหมาะสม
กรณี มี ก ารเผยแพร่ ภ าพนางสาวปรี ย านุ ช กับ พวกผู ้ต้อ งหาซึ่ งเป็ นผู ้ห ญิ ง นั่ ง แต่ ง หน้ า ภายใน
ห้องควบคุมผูต้ อ้ งขังว่าเป็ นเรื่ องธรรมดาปกติของผูห้ ญิง และการเข้ามอบตัวก็แสดงถึงสามัญสานึ ก
รับผิดชอบของนางสาวปรี ยานุชแล้ว
“ส่ วนเรื่ องภำพที่หลุดออกมำทำงโซเชี ยลที่ผ้ ูต้องหำกำลังแต่ งหน้ ำ
ผบ.ตร. ระบุว่ำ “ผมว่ ำเป็ นเรื่ องปกติ ของผู้หญิ ง แต่ อย่ ำงน้ อยเขำก็มี
สำมัญสำนึกในกำรรั บผิดชอบ คือเขำมีควำมตั้งใจที่จะมอบตัว”
4.1.6 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3 ข่ าวที่ 2 ประเด็นข่ าวพ่อค้ าแม่ ค้าขายสิ นค้ าเลียนแบบสิ่ งของที่
นางสาวปรียานุช โนนวังชัย ใช้
4.1.6.1 บทวิเคราะห์ การวางกรอบข่ าว
การนิยามเหตุการณ์
89

จากการนาเสนอข่ าวนี้ เว็บ ไซต์ข่าวสดได้นิยามเหตุก ารณ์ น้ ี ว่าเกิ ดกระแสเลี ยนแบบ


สิ นค้าที่นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหา คดีฆ่าหั่นศพนางสาววริ ศรา กลิ่ นจุย้ ใช้
โดยสะท้อนให้เห็นในองค์ประกอบข่าวดังนี้
1.พาดหัวข่าวและเนื้อหา
เว็บไซต์ข่าวสดเลือกพาดหัวด้วยคาว่า “กระแสแรง! ไม่ ต้องโฆษณำ แม่ ค้ำออนไลน์ แห่
ซื ้อเพียบ ยอดขำยพุ่งกระฉู ด” ซึ่ งให้ความหมายว่าหลังเจ้าหน้าที่ตารวจจับนางสาวปรี ยานุช โนนวัง
ชัย ผูต้ อ้ งหาได้ เกิ ดผลด้านบวกต่ อผูป้ ระกอบการและแม่ คา้ ออนไลน์ที่ ขายสิ นค้าแบบเดี ยวกับ ที่
ผูต้ อ้ งหาใช้

พาดหัวข่าว

ภาพที่ 4.19 ภาพพาดหัวข่าวแม่คา้ ออนไลน์แห่ซ้ือสิ นค้าแบบเดียวกับนางสาวปรี ยานุช


โนนวังชัย ใช้ เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 4 มิถุนายน 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_381303

เช่นเดียวกับเนื้ อหาข่าวที่ที่อธิ บายถึงความต้องการสิ นค้าแบบเดียวกับที่ผตู ้ อ้ งหาใช้และ


มีภาพปรากฏ ทาให้แม่คา้ ออนไลน์ตอ้ งมาซื้อของกักตุนไว้จาหน่าย โดยมีรายละเอียดข่าวดังนี้
“ด้ ำน น.ส.ณั ฐชยำ ประเสริ ฐสม ลูกค้ ำชำว จ.นครปฐม เปิ ดเผยว่ ำ ตน
มีอำชี พขำยสิ นค้ ำออนไลน์ วัน นีม้ ำเลื อกซื ้อตุ๊กตำ เพื่ อนำไปขำยใน
เพจซื ้อขำยสิ นค้ ำของตนเอง ที่เลือกไว้ กม็ ีอยู่หลำยแบบ ซึ่ งส่ วนใหญ่
จะเน้ นควำมน่ ำรั ก และกำรใช้ งำน โดยในวันนีไ้ ด้ เลื อกซื ้อเจ้ ำตุ๊กตำ
ครำฟ โฮลิค ไปเยอะพอสมควร เนื่องจำกกระแสควำมต้ องกำรหมอน
ดังกล่ ำวที่มอี ยู่ในขณะนี ้ และด้ วยสีสันสดใส ประกอบกับสำมำรถใช้
งำนได้ หลำยอย่ ำง ตนคิดว่ ำน่ ำจะสำมำรถขำยได้ เป็ นอย่ ำงดี”
90

การวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหา
เว็บ ไซต์ข่ าวสดน าเสนอสาเหตุ ของเหตุ ก ารณ์ น้ ี ว่า โซเชี ย ลมี เดี ย มี ก ารเผยแพร่ ภาพ
นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับพวกผูต้ อ้ งหา กอดหมอนผ้าห่ มขณะถูกควบคุมตัว ทาให้หมอนผ้า
ห่ มแบบเดียวกับที่ผูต้ อ้ งหาได้รับความสนใจ ทาให้มีผูป้ ระกาศขายสิ นค้าแบบเดียวกันจานวนมาก
ดังรายละเอียดข่าวดังนี้
“ปรำกฏว่ ำมีภ ำพเปรี ้ ย วและเพื่ อนผู้ต้ อ งหำ นั่ งกอดกระเป๋ ำตุ๊ก ตำ
น่ ำรั ก สี สันสวยงำม ถูกเผยแพร่ ในโลกโซเชียลก่ อนจะมีภำพว่ ำทั้ง 3
คนใช้ เป็ นหมอนและผ้ ำห่ มที่หนุนนอนและห่ มขณะนอนอยู่ภำยใน
ห้ องสอบสวนที่ด่ำนตรวจคนเข้ ำเมื องเชี ยงรำย จนชำวโซเซี ยลที่ได้
เห็นต่ ำงสนใจและมีผ้ ปู ระกำศขำยหมอนกันเป็ นจำนวนมำก”
การประเมินในเชิงจริยธรรม
การนาเสนอเหตุการณ์ น้ ี ของเว็บไซต์ข่าวสดมีการประเมินในเชิ งจริ ยธรรมว่ากระแส
เลียนแบบส่ งผลให้ผปู ้ ระกอบการและแม่คา้ ออนไลน์ขายสิ นค้าแบบเดียวกับที่นางสาวปรี ยานุช กับ
พวกผูต้ อ้ งหาใช้ได้จานวนมาก
การเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา
เว็บไซต์ข่าวสดไม่ได้นาเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในข่าวนี้
สรุ ป การวางกรอบข่ า วในช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ 3 ข่ า วที่ 2 เว็บ ไซต์ข่ า วสดมี ก ารนิ ย าม
เหตุ การณ์ ว่า เกิ ดกระแสเลี ยนแบบสิ นค้าที่ นางสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ผูต้ ้องหาใช้
วิเคราะห์ สาเหตุของปั ญหาว่าโซเชี ยลมีเดียมีการเผยแพร่ ภาพนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับพวก
ผูต้ อ้ งหา กอดหมอนผ้าห่ มขณะถูกควบคุมตัว ทาให้หมอนผ้าห่มแบบเดียวกับที่ผตู ้ อ้ งหาได้รับความ
สนใจ ประเมินในเชิ งจริ ยธรรมว่ากระแสเลียนแบบส่ งผลให้ผปู ้ ระกอบการและแม่คา้ ออนไลน์ขาย
สิ นค้าแบบเดี ยวกับที่ นางสาวปรี ยานุ ช กับพวกผูต้ อ้ งหาใช้ได้จานวนมาก และไม่มีการเสนอแนะ
แนวทางแก้ไข โดยมีกลวิธีที่เว็บไซต์ข่าวสดใช้ในการางกรอบข่าวนี้ มีรายละเอียดดังปรากฏในส่ วน
ที่ 2
4.1.6.2 บทวิเคราะห์ กลวิธี
1.รู ปแบบการจัดวาง
เว็บไซต์ข่าวสดไม่มีการจัดทาภาพหน้าปกในข่าวนี้ และได้จดั วางข่าวนี้ไว้ในหมวดหมู่
“เด่นออนไลน์” ซึ่ งเป็ นหมวดหมู่ที่สองของเว็บไซต์ข่าวสด
91
หมวดหมูข่ า่ ว
พาดหัวข่าว

คลิปวีดีโอ ไม่มี
ภาพหน้ าปก

ภาพที่ 4.20 ภาพเว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวแม่คา้ ออนไลน์แห่ซ้ือสิ นค้าแบบเดียวกับนางสาวปรี ยา


นุช โนนวังชัย ใช้ เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 4 มิถุนายน 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_381303

2.การทาซ้า
เว็บไซต์ข่าวสดไม่พบการทาซ้ าในข่าวนี้
3.การใช้ สัญลักษณ์
การใช้สั ญลักษณ์ ในข่าวพบว่าในพาดหัวข่าวมีการใช้เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ (!)ซึ่ งเป็ น
เครื่ องหมายที่ ใ ช้เขี ยนหลังค า วลี หรื อ ประโยคที่ เป็ นค าอุ ท าน แสดงอาการตกใจ ไว้ใ ช้ต่อท้าย
ข้อความเพื่อแสดงให้เห็นว่าเป็ นเหตุการณ์ที่น่าตระหนกตกใจ
4.การใช้ เทคนิคตัดต่ อวีดีโอ
เว็บไซต์ข่าวสดได้นาเสนอคลิปวีดีโอ ความยาว 3.26 น. ซึ่งเป็ นภาพบรรยากาศของร้าน
ขายหมอนผ้าห่มทัว่ ๆไป แต่ไม่มีภาพและเสี ยงสัมภาษณ์ผปู ้ ระกอบการ หรื อ แม่คา้ ออนไลน์
4.1.6.3 บทวิเคราะห์ วธิ ีการทีส่ ื่ อประกอบสร้ างผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
ไม่พบวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม
4.1.7 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3 ข่ าวที่ 3
ประเด็นข่ าวส่ งนางสาวปรียานุช โนนวังชั ย หรื อ เปรี้ยว เข้ าเรื อนจา
4.1.7.1 บทวิเคราะห์ การวางกรอบข่ าว
การนิยามเหตุการณ์
92

จากการนาเสนอข่าวนี้ เว็บไซต์ข่าวสดได้นิยามเหตุการณ์น้ ีวา่ นางสาวปรี ยานุช โนนวัง


ชัย หรื อเปรี้ ยว กับพวกผูต้ อ้ งหาได้รับบทลงโทษหลังก่อเหตุฆาตกรรมนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อ
แอ๋ ม โดยสะท้อนให้เห็นในองค์ประกอบของข่าวทั้ง 2 ส่ วน ดังนี้
1.ภาพปกและพาดหัวในปก

ภาพที่ 4.21ภาพปกของข่าวส่ งนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัยกับพวกผูต้ อ้ งหาเข้าเรื อนจา เว็บไซต์


ข่าวสด วันที่ 6 มิถุนายน 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_383761

เว็บ ไซต์ข่าวสดเลื อกใช้ภาพหน้าปกเป็ นภาพของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ


เปรี้ ยว กับพวกผูต้ อ้ งหาซึ่ งเป็ นผูห้ ญิง 3 คน ที่กม้ หน้ายืนชี้เลื่อย และมีด ที่ใช้ห่นั ศพนางสาววริ ศรา
กลิ่นจุย้ หรื อ แอ๋ ม และภาพกลุ่มผูต้ อ้ งหาหญิงเดินเข้าไปภายในเรื อนจากลางขอนแก่น ในภาพปกยัง
ใช้คาว่า “หวัน่ เปรี ้ยวฆ่ ำตัวตำย”
2.พาดหัวข่าวและเนื้อหาข่าว
เว็บ ไซต์ ข่ า วสดยัง เลื อ กพาดหั ว ด้ว ยค าว่ า “นอนคุ ก คื น แรกแก๊ ง หั่ น ศพเครี ย ดจั ด
“เปรี ้ยว”ร้ องไห้ ตลอดเวลำ “แจ้ ”สำรภำพเสพยำ”เป็ นการแสดงให้เห็นถึงบทลงโทษที่นางสาวปรี ยา
นุช ถูกนาตัวส่ งเข้าเรื อนจาอาจเกิดอาการเครี ยดหนักถึงขั้นฆ่าตัวตาย
93

พาดหัวข่าว

ภาพที่ 4.22 ภาพพาดหัวข่าวของข่าวส่ งนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัยกับพวกผูต้ อ้ งหาเข้าเรื อนจา


เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 6 มิถุนายน 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_383761

เช่ นเดียวกับเนื้ อหาข่าวที่อธิ บายถึงความเครี ยดของนางสาวปรี ยานุ ช กับพวกผูต้ อ้ งหา


หลังถู กส่ งตัวเข้าเรื อนจา ผ่านการนาเสนอบทสัมภาษณ์ นายวีรชัย เพชรรัตน์ ผูบ้ ญ ั ชาการเรื อนจา
กลางขอนแก่น
“ขณะที่สภำพของผู้ต้องหำใหม่ ทั้งหมดนั้นมีควำมเครี ยด โดยเฉพำะ
น.ส.เปรี ้ ย ว ที่ มี อ ำกำรเครี ย ดอย่ ำงเห็ น ได้ ชั ด เนื่ อ งจำกยังคงปรั บ
สภำพร่ ำงกำยไม่ ได้ เมื่ อ ถู ก ส่ งต่ อกำรคุ ม ขั ง มำที่ เรื อนจ ำกลำง
ขอนแก่ น”
การวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหา
เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอสาเหตุของเหตุการณ์น้ ีวา่ นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย กับพวก
เป็ นผูต้ อ้ งขังใหม่ที่ตอ้ งมาใช้ชีวิตขาดอิสรภาพภายในเรื อนจา จึงเกิ ดอาการเครี ยด โดยพาดหัวข่าว
“นอนคุกคืนแรกแก๊ งหั่นศพเครี ยดจัด” ประกอบกับรายละเอียดในเนื้อหาข่าวดังนี้
“ได้ รับ รำยงำนจำกเจ้ ำหน้ ำที่ ว่ ำตลอดกำรซั ก ถำมประวัติ เพื่ อ ท ำ
ประวัติ ผ้ ูต้ องขังนั้ น น.ส.ปรี ย ำนุ ช หรื อเปรี ้ ย ว มีอำกำรร้ องไห้ อยู่
ตลอดเวลำ จนท ำให้ ไม่ ส ำมำรถให้ ข้อมูลกับเจ้ ำหน้ ำที่ได้ ครบถ้ วน
โดยในวันนีท้ ำงเรื อนจำจะส่ งนักจิตวิทยำเข้ ำไปพูดคุยกับผู้ต้องขังทั้ง
3 คน เพื่ อให้ เขำรู้ สึ กผ่ อนคลำย ไม่ เครี ยด เนื่ องจำกผู้ต้องขังทั้งหมด
94

อำจเกิ ดควำมกังวลและควำมกลัวในกำรที่ จะต้ องใช้ ชีวิตอยู่ภำยใน


เรื อนจำ ซึ่ งเป็ นเหมือนผู้ต้องขังใหม่ ทั่วไปที่เพิ่งเข้ ำมำอยู่ในเรื อนจำ”
การประเมินในเชิงจริยธรรม
การนาเสนอเหตุการณ์น้ ี ของเว็บไซต์ข่าวสดมีการประเมินในเชิงจริ ยธรรมว่า นางสาว
ปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับพวกซึ่ งเป็ นผูห้ ญิงอาจมีอาการผิดปกติทางจิต สะท้อนให้เห็นในเนื้ อหาข่าว
ซึ่งเป็ นข้อสันนิษฐานของผูบ้ ญั ชาการเรื อนจากลางขอนแก่น โดยมีรายละเอียดในเนื้อหาข่าวดังนี้
“นำยวีรชั ย กล่ ำวอีกว่ ำ ในวันนีท้ ำงสถำนพยำบำลจะทำหนังสื อไป
ถึงโรงพยำบำลขอนแก่ น เพื่ อขอให้ ส่งนักจิ ตแพทย์ มำทำกำรพูดคุย
และทำประวัติผ้ ูต้องขังทั้ง 3 คนอย่ ำงละเอียด เพื่ อดูพ ฤติ กรรมและ
ควำมคิ ด เนื่องจำกอธิ บดีกรมรำชทัณฑ์ ได้ สั่งกำรลงมำ เพรำะคำดว่ ำ
เขำอำจจะมีควำมคิ ดผิดปกติ ซึ่ งคดีที่เขำก่ อไม่ น่ำเชื่ อว่ ำผู้หญิง จะเป็ น
ผู้กระทำได้ ขนำดนี ้ ดังนั้น คำดว่ ำ 2-3 วัน ทำงจิตแพทย์ คงจะเดินทำง
มำทำกำรตรวจดังกล่ ำว”
การเสนอแนะแนวทางแก้ไข
เว็บไซต์ข่าวสดได้นาเสนอแนวทางแก้ไขปั ญหาในเหตุก ารณ์ น้ ี โดยนาเสนอวิธีการ
ป้ องกันนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับพวกฆ่าตัวตายในเรื อนจากลางขอนแก่น สะท้อนให้เห็นจาก
เนื้อหาข่าวที่นาเสนอบทสัมภาษณ์ผบู ้ ญั ชาการเรื อนจากลางขอนแก่น โดยมีรายละเอียดดังนี้
“ท่ ำนอธิ บดีกรมรำชทัณฑ์ ได้ เน้ นยำ้ แนวทำงกำรปฏิ บัติอย่ ำงรั ดกุม
และให้ มีกำรรำยงำนผลกำรปฏิ บัติ โดยเฉพำะเรื่ องควำมปลอดภัย
ของผู้ต้องหำนั้น ซึ่ งพบว่ ำถูกส่ งตัวมำคุมขัง ที่เรื อนจำแห่ งนีใ้ นคดีดัง
กล่ ำวถึ ง 4 คน ท ำให้ วัน นี ้ทั้ งหมดจะถูก แยกกำรคุ ม ขังในห้ องขั ง
เฉพำะทุกคน มีกำรติดตั้งกล้ องวงจรปิ ดเพื่อตรวจจับควำมเคลื่อนไหว
เพรำะเกรงว่ ำผู้ต้องหำจะคิ ดสั้ น อีกทั้งยังคงมีกำรจัดพี่เลีย้ ง ประกบ
ดูแลและป้ องกันเหตุร้ำย ตลอด 24 ชั่ วโมง เพรำะในทุกช่ วงเวลำนั้น
เจ้ ำหน้ ำที่ไม่ ทรำบถึงควำมคิ ดของผู้ต้องหำทั้งหมด โดยเฉพำะเปรี ้ยว
ที่มอี ำกำรเครี ยดกว่ ำคนอื่นๆ”
สรุ ป การวางกรอบข่ า วในช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ 3 ข่ า วที่ 3 เว็บ ไซต์ข่ า วสดมี ก ารนิ ย าม
เหตุการณ์ ว่า นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อเปรี้ ยว กับพวกผูต้ อ้ งหาได้รับบทลงโทษ วิเคราะห์
สาเหตุ ของปั ญ หาว่านางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับ พวกเป็ นผูต้ อ้ งขังใหม่ ที่ ตอ้ งมาใช้ชีวิตขาด
อิสรภาพภายในเรื อนจา จึงเกิดอาการเครี ยด ประเมินในเชิงจริ ยธรรมว่านางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
95

กับพวกซึ่ งเป็ นผูห้ ญิงอาจมีอาการผิดปกติทางจิต และเสนอแนะแนวทางแก้ไขโดยนาเสนอวิธีการ


ป้ องกันนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับพวกฆ่าตัวตาย โดยมีกลวิธีที่เว็บไซต์ข่าวสดใช้ในการวาง
กรอบข่าวนี้ มีรายละเอียดดังปรากฏในส่ วนที่ 2
4.1.7.2 บทวิเคราะห์ กลวิธีในการนาเสนอ
1.รู ปแบบการจัดวาง
ข่าวประเด็นส่ งนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว เข้าเรื อนจา เว็บไซต์ข่าวสดจัด
วางข่าวไว้ในหมวดหมู่ข่าวด่วน ซึ่ งเป็ นหมวดหมู่ข่าวแรกของเว็บไซต์ข่าวสด จะแสดงให้เห็นทันที
เมื่อเข้าสู่ หน้าเว็บไซต์ข่าวสด นอกจากนี้ยงั มีการจัดทารู ปภาพหน้าปก โดยใช้ภาพของนางสาวปรี ยา
นุ ช โนนวังชัย กับพวกผูต้ อ้ งหา ที่กม้ หน้าชี้อาวุธหัน่ ศพ อีกส่ วนใช้ภาพผูต้ อ้ งหาเดินเข้าเรื อนจาเป็ น
ภาพวงกลมเล็กในมุมขวาของภาพปก พร้อมใส่ อกั ษรตัวหนาทึบสี แดงแสดงข้อความพาดหัวในปก
ว่า “หวัน่ เปรี้ ยวฆ่าตัวตาย”ทาให้เห็นได้อย่างชัดเจน

หมวดหมูข่ า่ ว
พาดหัวข่าว

ภาพปก
พาดหัวในปก

ภาพที่ 4.23 ภาพเว็บไซต์ข่าวสด นาเสนอข่าวส่ งนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัยกับพวกผูต้ อ้ งหาเข้า


เรื อนจา เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 6 มิถุนายน 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_383761

2.การทาซ้า
ไม่พบการทาซ้ า
3.การใช้ สัญลักษณ์
96

การใช้สัญลักษณ์ ในข่าว พบว่าในพาดหัวข่าวมีการใช้เครื่ องหมายอัญประกาศ หรื อ


เครื่ องหมายค าพู ด (“ ”) ซึ่ งเป็ นเครื่ องหมายที่ ใช้สาหรับ เขี ยนคร่ อมคา หรื อประโยคเพื่อแสดงว่า
ข้อความนั้นเป็ นคาพูด หรื อเพื่อเน้นความให้เด่นชัดขึ้น
4.การใช้ ภาษาทีด่ ึงดูดใจ
ไม่มีการใช้ภาษาที่ดึงดูดใจ
5.การใช้ เทคนิคตัดต่ อวีดีโอ
เว็บไซต์ข่าวสดได้เลือกใช้คลิปวีดีโอมานาเสนอเป็ นคลิปสั้นมีความยาว 1.51 นาที เป็ น
บรรยากาศที่ ผูส้ ื่ อข่ าวประจาจัง หวัด ขอนแก่ น การสอบถามข้อมู ล จากผูบ้ ญ ั ชาการเรื อนจากลาง
ขอนแก่นโดยไม่มีเสี ยงสัมภาษณื ผบู ้ ญั ชาการเรื อนจากลางขอนแก่น
4.1.7.3 บทวิเคราะห์ วธิ ีการทีส่ ื่ อประกอบสร้ างผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
การนาเสนอข่ าวในช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3 ข่ าวที่ 3 ของเว็บ ไซต์ข่าวสดมี วิธีการนาเสนอ
ผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรมคือ นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหาในคดีอาชญากรรม
นี้ โดยให้ความสาคัญกับเรื่ องไม่ใช่ตวั การกระทาผิด โดยเว็บไซต์ข่าวสดเลือกนาเสนอบทสัมภาษณ์
ของผูบ้ ญั ชาการเรื อนจากลางขอนแก่น ที่อธิบายว่าไม่เชื่อว่าผูห้ ญิงจะเป็ นผูก้ ่อเหตุในคดีฆาตกรรมที่
มีความรุ นแรงขนาดนี้ จึงส่ งจิตแพทย์ไปพูดคุยกับผูต้ อ้ งหาเพื่อตรวจความผิดปกติทางจิต
4.1.8 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3 ข่ าวที่ 4
ประเด็นข่ าวนางสาวปรียานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ยวถูกคุมตัวมาขึน้ ศาลครั้งแรก
4.1.8.1 บทวิเคราะห์ การวางกรอบข่ าว
การนิยามเหตุการณ์
จากการนาเสนอข่าวนี้ เว็บไซต์ข่าวสดได้นิยามเหตุการณ์น้ ีวา่ นางสาวปรี ยานุช โนนวัง
ชัย หรื อ เปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหาคดีฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อ แอ๋ ม ถูกคุมตัวมาขึ้นศาลแต่ไม่มี
ความสานึกผิด โดยสะท้อนให้เห็นในองค์ประกอบข่าว 2 ส่ วน ดังนี้
97

1.ภาพปกและพาดหัวในปก

ภาพที่ 4.24 ภาพปกของข่าวคุมตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ขึ้นศาล เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 23


สิ งหาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_483098

เว็บ ไซต์ข่าวสดเลื อกใช้ภาพหน้าปกเป็ นภาพของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ


เปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหา โดยภาพหน้าปกแบ่งเป็ นภาพแรกเป็ นภาพของนางสาวปรี ยานุชที่ถูกควบคุมภายใน
รถควบคุมผูต้ อ้ งหา และอีกส่ วนหนึ่ งเป็ นภาพของนางสาวปรี ยานุช ในอดีตที่มีลกั ษณะดูเซ็กซี่ สวม
ใส่ เสื้ อสายเดี่ยว เห็นเนิ นอก ในภาพหน้าปกยังพาดหัวว่า “เปิ ดโฉมเปรี ้ยว-หั่ นศพ ทำปำกสี ชมพูขึน้
ศำล”
2.พาดหัวข่าวและเนื้อหาข่าว
เว็บ ไซต์ข่าวสดยังเลื อกพาดหัวด้วยคาว่า “เปิ ดโฉมล่ ำสุ ด “เปรี ้ยว-หั่ นศพ” ทำปำก
ชมพูขึน้ ศำลนัดแรก หลังอัยกำรสั่ งฟ้อง5ข้ อหำ” โดยเลือกใช้คาว่า “เปิ ดโฉมเปรี ้ยว ทำปำกชมพูขึน้
ศำล” เหมื อนกับพาดหัวในปก เพื่ออธิ บายถึ งรู ปลักษณ์ หน้าตาของนางสาวปรี ยานุ ช ภายหลังถู ก
ควบคุมตัวในเรื อนจากลางขอนแก่นและถูกคุมตัวมาศาลครั้งแรก แต่กลับมีการทาลิปสติก แต่งหน้า
มาศาล อนุมานได้วา่ นางสาวปรี ยานุช ไม่มีความรู ้สึกสานึกผิด หรื อ รู ้สึกใดๆกับสิ่ งที่กระทาลงไป
98

พาดหัวข่าว

ภาพที่ 4.25 ภาพพาดหัวข่าวคุมตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ขึ้นศาล เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 23


สิ งหาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_483098

เช่นเดียวกับเนื้ อหาข่าวที่อธิ บายถึงรู ปลักษณ์ของนางสาวปรี ยานุช ว่ามีสีหน้าที่ยิม้ แย้ม


ขณะถูกคุมตัวเข้ามาภายในศาล โดยมีรายละเอียดข่าวดังนี้
“ก่ อ นที่ ผ้ ูต้ องหำทั้ ง 5 คน เดิ น ลงจำกรถด้ วยสี ห น้ ำที่ ยิ ้ม แย้ ม และ
ทักทำยทีมทนำยควำมที่มำรออยู่ในจุดพบทนำย โดยจำเลยหญิงทั้ง 4
คน ตัดผมสั้ นเสมอหู และผู้ต้องหำรำยสำคัญคื อน.ส.เปรี ้ยว ทำปำกสี
ชมพู เดิ น เข้ ำ ไปในศำลด้ วยสี ห น้ ำที่ ยิ ้ม แย้ ม เช่ นกั น โดยที่ ท ำง
เจ้ ำหน้ ำที่ ไ ม่ อ นุ ญ ำตให้ ผู้ สื่ อข่ ำ วและผู้ ที่ ไ ม่ มี ส่ วนเกี่ ย วข้ อ งเข้ ำ
บันทึกภำพหรื อเข้ ำร่ วมรั บฟั งภำยในห้ องพิจำรณำคดีแต่ อย่ ำงใด”
การวิเคราะห์ ถึงสาเหตุของปัญหา
เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอสาเหตุของเหตุการณ์ น้ ี สาเหตุที่ตอ้ งคุ มตัวนางสาวปรี ยานุ ช
โนนวังชัย กับพวกมาขึ้นศาลนัดแรกเนื่องจากครบกาหนดฝากขัง 7 ผัด รวม 84 วัน และอัยการได้ส่ง
สานวนฟ้องแล้ว คดีของนางสาวปรี ยานุช กับพวกจึงเข้าสู่ กระบวนการตามขั้นตอนของศาลยุติธรรม
“เมื่อเวลำ 09.30 น. วันที่ 23 ส.ค. ที่ศำลจ.ขอนแก่ น มีกำรเบิกตัวน.ส.
ปรี ยำนุช โนนวังชั ย หรื อเปรี ้ยว, น.ส.กวิ ตำ รำชดำ หรื อเอิ น , น.ส.
อภิ วันท์ สั ตยบั ณ ฑิ ต หรื อแจ้ , น.ส.จิ ดำรั ตน์ พรหมคุ ณ หรื อเบนท์
และนำยวศิน นำมพรม ผู้ต้องหำร่ วมกันก่ อเหตุฆำตกรรมน.ส.วริ ศรำ
กลิ่ น จุ้ ย หรื อน้ องแอ๋ ม มำสอบค ำให้ กำรนั ด แรกหลั ง อั ย กำรจ.
ขอนแก่ น พิจำรณำสั่งฟ้งผู้ต้องหำทั้งหมด เมื่อวันที่ 22 ส.ค.”
99

การประเมินในเชิงจริยธรรม
การนาเสนอเหตุการณ์น้ ี เว็บไซต์ข่าวสดมีการประเมินในเชิงจริ ยธรรมว่า นางสาวปรี ยา
นุ ช โนนวังชัย กับ พวกผูต้ อ้ งหาซึ่ งเป็ นผูห้ ญิ งไม่ ได้ส ลดกับ ก่ อเหตุฆ าตกรรม มี สี หน้าที่ ยิ้ม แย้ม
แต่งหน้ามาศาล ทั้งที่สาเหตุถูกคุมตัวมาศาลเพื่อดาเนินคดีฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้
การเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา
ไม่มีการเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา
สรุ ป การวางกรอบข่ า วในช่ ว งเหตุ ก ารณ์ ที่ 3 ข่ า วที่ 4 เว็บ ไซต์ข่ า วสดมี ก ารนิ ย าม
เหตุการณ์ ว่า นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ผูต้ ้องหาถู กคุ ม ตัวมาขึ้ นศาลแต่ไม่ มีความ
สานึกผิด วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาว่าสาเหตุที่ตอ้ งคุมตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย กับพวกมาขึ้น
ศาลนัดแรกเนื่องจากครบกาหนดฝากขัง ประเมินในเชิงจริ ยธรรมว่านางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย กับ
พวกผูต้ อ้ งหาซึ่ งเป็ นผูห้ ญิงไม่ได้สลดกับก่อเหตุฆาตกรรม มีสีหน้าที่ยิม้ แย้ม แต่งหน้ามาศาล และไม่
มีเสนอแนะแนวทางแก้ไขโดยมีกลวิธีที่เว็บไซต์ข่าวสดใช้ในการวางกรอบข่าวนี้ มีรายละเอียดดัง
ปรากฏในส่ วนที่ 2
4.1.8.2 บทวิเคราะห์ กลวิธีในการนาเสนอ
1.รู ปแบบการจัดวาง
ข่ าวประเด็ น นางสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ถู ก คุ ม ตัวมาขึ้ น ศาลครั้ งแรก
เว็บไซต์ข่าวสดได้จดั วางไว้ในหมวดหมู่“ข่าวด่ วน” ซึ่ งเป็ นหมวดหมู่แรกของเว็บไซต์ข่าวสด จะ
แสดงให้เห็ นทันที เมื่อเข้าสู่ หน้าเว็บไซต์ข่าวสด นอกจากนี้ ยงั มีการจัดทารู ปภาพหน้าปกเป็ นภาพ
ของนางสาวปรี ยานุ ช ที่ถูกควบคุ มตัว และอีกภาพมีลกั ษณะเซ็กซี่ เป็ นภาพแรก พร้อมใส่ ตวั อักษร
หนาทึบสี แดงแสดงข้อความพาดหัวในปกว่า “เปิ ดโฉมเปรี้ ยว-หัน่ ศพทาปากสี ชมพูข้ ึนศาล”

หมวดหมูข่ า่ ว
พาดหัวข่าว

ภาพปก
พาดหัวในปก
ภาพที่ 4.26 เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวคุมตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ขึ้นศาล เว็บไซต์ข่าวสด
วันที่ 23 สิ งหาคม 2560
100

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_483098

2.การทาซ้า
พาดหัวข่าวและพาดหัวในปกใช้คาซ้ ากันคือคาว่า“เปิ ดโฉมเปรี ้ยวหั่ นศพทำปำกชมพู
ขึน้ ศำล”เป็ นการเน้นย้ าให้เห็ นว่านางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ไม่ได้มีความรู ้สึกสานึ ก
ผิด นอกจากนี้ ในเนื้ อหาข่ าวยังบรรยายถึ ง รู ป ลัก ษณ์ ข องนางสาวปรี ย านุ ช ว่ามี ก ารตัดผมสั้น ทา
ลิปสติก และมีสีหน้าที่ยมิ้ แย้มด้วย
3.การใช้ สัญลักษณ์ ทคี่ ้ ุนเคย
การใช้สัญลักษณ์ ในข่าว พบว่าในพาดหัวข่าวมีการใช้เครื่ องหมายอัญประกาศ หรื อ
เครื่ องหมายค าพู ด (“ ”) ซึ่ งเป็ นเครื่ องหมายที่ ใช้สาหรับ เขี ยนคร่ อมคา หรื อประโยคเพื่อแสดงว่า
ข้อความนั้นเป็ นคาพูด หรื อเพื่อเน้นความให้เด่นชัดขึ้น
4.การใช้ ภาษาทีด่ ึงดูดใจ
ไม่มีการใช้ภาษาที่ดึงดูดใจ
5.การใช้ เทคนิคตัดต่ อวีดีโอ
เว็บไซต์ข่าวสดเลือกนาเสนอคลิปวีดีโอวีดีโอความยาว 0.40 น. ประกอบข่าวเหตุการณ์
นี้ โดยรายละเอี ยดในคลิ ปวีดีโอเป็ นภาพบรรยากาศภายในศาลจังหวัดขอนแก่น และมีรถควบคุ ม
ผูต้ อ้ งหาขับเข้ามา พร้อมแทรกภาพนิ่ งของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหาไว้ช่วงนาทีที่ 0.24
น. จานวน 2 รู ปในคลิปวีดีโอเพื่อให้เห็นหน้าของนางสาวปรี ยานุชอย่างชัดเจนมากขึ้น
4.1.8.3 บทวิเคราะห์ วธิ ีการทีส่ ื่ อประกอบสร้ างผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
การนาเสนอข่าวในช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3 ข่าวที่ 3 ของเว็บ ไซต์ข่ าวสดมีวิธีก ารนาเสนอ
ผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรมคือ นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหาในคดีอาชญากรรม
นี้ โดยให้ความสาคัญกับเรื่ อง ความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ภายนอก โดยเว็บไซต์ข่าวสดเลือกใช้ภาพ
หน้าปกเป็ นภาพของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ที่สวมใส่ เสื้ อสายเดี่ยวมีลกั ษณะเซ็กซี่ ประกอบกับ
การใช้ภาพประกอบภายในเนื้ อหาข่าว ซึ่ งเป็ นภาพถ่ายของนางสาวปรี ยานุ ช ก่อนถูกตารวจควบคุม
มานาเสนอแทรกในรายละเอียดข่าวในลักษณะที่เซ็กซี่ สวมใส่ เสื้ อสายเดี่ยวแสดงอิริยาบถต่างๆด้วย
ซึ่ งเว็บไซต์ข่าวสดได้เลื อกใช้รูปภาพเดิมกับข่าวเผยโฉมผูต้ อ้ งหาฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้
ซึ่งเป็ นข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 2 ข่าวที่ 1
101

ภาพที4่ .27ภาพประกอบในข่าวคุมตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ขึ้นศาล เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 23


สิ งหาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_483098

ภาพที่ 4.28 ภาพประกอบในข่าวคุมตัวนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ขึ้นศาล เว็บไซต์ข่าวสด วันที่ 23


สิ งหาคม 2560

ทีม่ า : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_483098

สรุ ปบทวิเคราะห์
การวางกรอบข่ าว กลวิธีในการนาเสนอข่ าว และวิธีการที่สื่อประกอบสร้ างผู้หญิงใน
ข่ าวอาชญากรรม ในช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3 ซึ่งมี 4 ข่ าว ดังนี
102

ตารางที่ 4.3 สรุ ปการวางกรอบข่าวในช่วงเหตุการณ์ที่ 3

วิเคราะห์ การวาง ข่ าวที่ 1 ข่ าวที่ 2 ข่ าวที่ 3 ข่ าวที่ 4


กรอบข่ าว
นิยามเหตุการณ์ นางสาวปรี ยานุช กระแสใช้สินค้า นางสาวปรี ยานุช นางสาวปรี ยานุช
โนนวังชัย หรื อ เลียนแบบที่ โนนวังชัย กับพวก โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา
เปรี้ ยว ผูต้ อ้ งหามี นางสาวปรี ยานุช ผูต้ อ้ งหาได้รับ คดีฆ่าหัน่ ศพ
การไตร่ ตรองวิธีอา โนนวังชัยผูต้ อ้ งหา
บทลงโทษหลังก่อ นางสาววริ ศรา กลิ่น
พรางศพ ใช้ เหตุฆาตกรรม จุย้ ไม่มีความสานึก
นางสาววริ ศรา กลิน ผิด
จุย้
วิเคราะห์ สาเหตุ การฆาตกรรมใน โซเชียลมีเดีย นางสาวปรี ยานุช สาเหตุที่ตอ้ งคุมตัว
ของปัญหาใน ครั้งนี้เกิดจากความ นาเสนอภาพ โนนวังชัย กับพวก นางสาวปรี ยานุช
สั งคม ขัดแย้งส่ วนตัว นางสาวปรี ยานุช เป็ นผูต้ อ้ งขังใหม่ ที่ โนนวังชัย กับพวก
เกี่ยวกับยาเสพติด โนนวังชัย กับพวก ต้องมาใช้ชีวติ ใน มาขึ้นศาลนัดแรก
และหนี้สิน ผูต้ อ้ งหากอดตุก๊ ตา เรื อนจาทาให้เกิด เนื่องจากครบ
หมอนผ้าห่มขณะ ความเครี ยด กาหนดฝากขังตาม
ถูกตารวจควบคุม กระบวนการ
ตัว ยุติธรรม และอัยการ
ได้ส่งสานวนฟ้อง
แล้ว
ประเมินในเชิง นางสาวปรี ยานุช กระแสเลียนแบบ นางสาวปรี ยานุช นางสาวปรี ยานุช
จริยธรรมของ โนนวังชัย ส่ งผลให้ โนนวังชัย อาจมี โนนวังชัย กับพวก
ผู้เกีย่ วข้ อง ผูต้ อ้ งหา สานึกผิด ผูป้ ระกอบการ อาการผิดปกติทาง ผูต้ อ้ งหาซึ่งเป็ น
จึงเข้ามอบตัว และ พ่อค้าแม่คา้ ขาย จิต และไม่เชื่อว่า ผูห้ ญิงไม่ได้สลดกับ
ไม่ได้ต้ งั ใจฆ่า สิ นค้าดี ผูห้ ญิงจะก่อคดี ก่อเหตุฆาตกรรม มี
นางสาววริ ศรา อาชญากรรมได้ สี หน้าที่ยมิ้ แย้ม
กลิ่นจุย้ ขนาดนี้ แต่งหน้ามาศาล
103

ตารางที่ 4.3 (ต่อ)

วิเคราะห์ การวาง ข่ าวที่ 1 ข่ าวที่ 2 ข่ าวที่ 3 ข่ าวที่ 4


กรอบข่ าว
แนะทางออกของ นาเสนอขั้นตอน ไม่มีการแนะ เรื อนจาขอนแก่น ไม่มี
ปัญหา การดาเนิ นคดีกบั ทางออกของปั ญหา ได้จดั เจ้าหน้าที่
นางสาวปรี ยานุช เฝ้าดูพฤติกรรม
โนนวังชัย นางสาวปรี ยานุช
ผูต้ อ้ งหากับพวก โนนวังชัย กับ
พวก เพื่อป้องกัน
ฆ่าตัวตายในคุก
กลวิธีการ จัดวางในหมวดหมู่ จัดวางในหมวดหมู่ จัดวางใน จัดวางใน
นาเสนอ “ข่าวด่วน” “เด่นออนไลน์” หมวดหมู่ “ข่าว หมวดหมู่ “ข่าว
ใช้คาซ้ าในพาดหัว ใช้สัญลักษณ์ ด่วน” ด่วน”
ในปกและพาดหัว เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ ใช้สัญลักษณ์ ใช้คาซ้ าในพาด
ข่าว (!) เครื่ องหมาย หัวในปกและ
ใช้สัญลักษณ์ ใช้เทคนิคตัดต่อ อัญประกาศ (“ ”) พาดหัวข่าว
เครื่ องหมาย วีดีโอความยาว ใช้เทคนิคตัดต่อ ใช้สัญลักษณ์
อัศเจรี ย ์ (!) และ 3.26 น. ซึ่งเป็ นภาพ วีดีโอความยาว เครื่ องหมาย
ปรัศนี (?) บรรยากาศร้านขาย 1.51 น. ภาพ อัญประกาศ (“ ”)
ใช้เทคนิคตัดต่อ หมอนผ้าห่ม บรรยากาศ ใช้เทคนิคตัดต่อ
วีดีโอความยาว 30 ทั้งหมด ผูส้ ื่ อข่าว วีดีโอความยาว
นาที ซึ่ งทั้งหมด สอบถามข้อมูล 0.40 น. เป็ นภาพ
เป็ นการนาเสนอ จากผูบ้ ญั ชาการ บรรยากาศรถ
คลิปวีดีโอ เรื อนจากลาง ควบคุมผูต้ อ้ งหา
เฟซบุค๊ ไลฟ์ การให้ ขอนแก่น แต่มีการแทรก
สัมภาษณ์ของ ภาพนิ่งนางสาว
ผบ.ตร. และตารวจ ปรี ยานุช โนนวัง
ที่เกี่ยวข้องในคดี ชัย วินาทีที่ 0.24
น. จานวน2 รู ป
104

ตารางที่ 4.3 (ต่ อ)

วิธีการทีส่ ื่ อ ไม่ใช่ตวั การกระทา ไม่พบองค์ประกอบ ไม่ใช่ตวั การ ความดึงดูดทาง


ประกอบ ความผิด ของข่าว กระทาความผิด รู ปลักษณ์
สร้ างผู้หญิง -ข่าวสดออนไลน์ อาชญากรรมที่ -ข่าวสดออนไลน์ ภายนอก
ในข่ าว นาเสนอบท ประกอบสร้าง นาเสนอบท -ภาพปกข่าวและ
อาชญากรรม สัมภาษณ์ผู ้ ผูห้ ญิงที่เป็ นอาชญา สัมภาษณ์ของผู ้ ภาพประกอบใน
บัญชาการตารวจ กร บัญชาการ เนื้อหาเป็ นภาพ
แห่งชาติ ที่ให้ เรื อนจากลาง ของนางสาว
ความเห็นว่าการ ขอนแก่น ที่แสดง ปรี ยานุช โนนวัง
แต่งหน้าของ ความคิดเห็นว่า ชัย ผูต้ อ้ งหากับ
นางสาวปรี ยานุช นางสาวปรี ยานุช พวกสวมใส่ เสื้ อ
โนนวังชัย และ โนนวังชัย กับ สายเดี่ยว เห็น
ผูต้ อ้ งหาซึ่งเป็ น พวกผูต้ อ้ งหาซึ่ง เนินอกมีลกั ษณะ
ผูห้ ญิงใน เป็ นผูห้ ญิงอาจมี เซ็กซี่
ห้องควบคุมตัวถือ ความผิดปกติทาง
เป็ นเรื่ องปกติของ จิต เนื่องจากไม่
ผูห้ ญิง เชื่อว่าผูห้ ญิงจะ
ก่อคดี
อาชญากรรมได้
รุ นแรงขนาดนี้

จากการศึ ก ษาการวางกรอบข่ าวกรณี คดี ของนางสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย ทั้ง 3 ช่ วง


เหตุการณ์ ซึ่ งประกอบด้วย ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 เว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวเกี่ ยวกับนางสาววริ ศรา
กลิ่นจุย้ ผูเ้ สี ยชี วิต โดยยังไม่ทราบว่าใครเป็ นผูก้ ่อเหตุฆาตกรรม ช่วงที่ 2 เป็ นช่วงเหตุการณ์ที่ทราบ
แล้วว่าผูก้ ่อเหตุฆาตกรรมคือนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย และช่ วงที่ 3 คือช่ วงเหตุการณ์ ที่เว็บไซต์
ข่าวสดนาเสนอข่าวหลังตารวจสามารถจับกุมนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัยกับพวกได้ รวมทั้งหมด
จานวน 8 ชิ้น โดยศึกษาตามแนวคิดการวางกรอบข่าวของ Entman ที่กาหนดหน้าที่ของกรอบเป็ น 4
ประเภทประกอบด้วย การนิ ยามเหตุการณ์ การวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาในสังคม การประเมินใน
เชิ งจริ ย ธรรมของผูเ้ กี่ ยวข้อง และการแนะทางออกของปั ญ หา รวมถึ งการวิเคราะห์ ก ลวิธี ในการ
105

นาเสนอ โดยพบว่าการนาเสนอข่าวทั้ง 8 ข่าวของเว็บไซต์ข่าวสด มีการกาหนดหน้าที่ของกรอบ


แตกต่างกันในการนิ ยามเหตุก ารณ์ การวิเคราะห์ ส าเหตุ ของปั ญ หาในสังคม การประเมิ น ในเชิ ง
จริ ยธรรมของผูเ้ กี่ยวข้อง และการแนะทางออกของปั ญหาตามเนื้ อหาของข่าวที่นาเสนอ แต่ในส่ วน
กลวิธีพบว่ามีความคล้ายกันอาทิ รู ปแบบการจัดวาง การใช้สัญลักษณ์ที่คุน้ เคย และยังพบการใช้ภาพ
เดิมในข่าวที่มีเนื้อหาแตกต่างกันด้วย
ขณะที่วิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา ในแต่ละช่วงเหตุการณ์พบว่ามี
วิธีการที่ สื่อประกอบสร้ างผูห้ ญิ งในข่ าวอาชญากรรม เหมื อนกันทั้งสามช่ วงคื อ ความดึ งดู ดทาง
รู ปลักษณ์ ภายนอก ขณะที่ เพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ พบในช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 เพียงช่ วงเดียว
นอกจากนี้ ยงั พบวิธีการไม่ใช่ ตวั การกระทาความผิดทั้งในช่ วงเหตุ การณ์ ที่ 2 และ3 ดังตารางสรุ ป
ต่อไปนี้
106

ตารางที่ 4.4 สรุ ปการวางกรอบข่ าว กลวิธี และวิธีทสี่ ื่ อประกอบสร้ างผู้หญิงทีเ่ ป็ นผู้ต้องหา ในช่ วงเหตุการณ์ที่ 1,2 และ 3
ก าร วิ เค ร าะ ห์ ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3
ก ารว างก รอ บ
ข่ าว กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3 กรณีที่ 4
การนิยาม เป็ นการ นางสาววริ ศรา นางสาวปรี ยา นางสาวปรี ยา นางสาวปรี ยา เกิดกระแสใช้ นางสาวปรี ยา นางสาวปรี ยานุช
เหตุการณ์ ฆาตกรรมหญิง กลิ่นจุย้ นุช โนนวังชัย นุช โนนวังชัย นุช โนนวังชัย สิ นค้าเลียนแบบ นุช โนนวังชัย โนนวังชัย
สาวหน้าตาดี ผูเ้ สี ยชีวิต เป็ น กับพวกผูต้ อ้ งหา เป็ นคนกตัญญู ผูต้ อ้ งหามีการ นางสาวปรี ยา กับพวกผูต้ อ้ งหา ผูต้ อ้ งหาคดีฆ่า
ด้วยความ คนเจ้าชู ้ มี คดีฆ่าหัน่ ศพ เลี้ยงดูพ่อแม่และ ไตร่ ตรองวิธีอา นุช โนนวังชัย ได้รับบทลงโทษ หัน่ ศพนางสาวว
โหดเหี้ ยมและ รสนิยมรักร่ วม นางสาววริ ศรา ครอบครัว พรางศพ ผูต้ อ้ งหาใช้ หลังก่อเหตุ ริ ศรา กลิ่นจุย้ ไม่
น่าสะพรึ งกลัว เพศ กลิ่นจุย้ มี ฆาตกรรม มีความสานึกผิด
หน้าตาที่สวย นางสาววริ ศรา
มาก ทาให้ กลินจุย้
โซเชียลตะลึงใน
ความสวยของ
ผูต้ อ้ งหา

106
107

ตารางที่ 4.4 (ต่ อ)


ก าร วิ เค ร าะ ห์ ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3
ก ารว างก รอ บ
ข่ าว กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3 กรณีที่ 4
การวิเคราะห์ การฆาตกรรม การฆาตกรรม การวิจารณ์เรื่ อง ฐานะทางบ้าน การฆาตกรรม โซเชียลมีเดีย นางสาวปรี ยา สาเหตุที่ตอ้ งคุม
สาเหตุของ เกิดจาก เกิดจากประเด็น หน้าตาผูต้ อ้ งหา ของนางสาว ในครั้งนี้เกิดจาก นาเสนอภาพ นุช โนนวังชัย ตัวนางสาวปรี ยา
ปัญหาในสั งคม ความแค้น ความขัดแย้ง เกิดจากผูค้ นใน ปรี ยานุช โนนวัง ความขัดแย้ง นางสาวปรี ยา กับพวกเป็ น นุช โนนวังชัย
ส่ วนตัว เรื่ องชูส้ าว โซเชียลมีเดียนา ชัย ยากจน ทา ส่ วนตัวเกี่ยวกับ นุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งขังใหม่ ที่ กับพวกมาขึ้น
รู ปภาพของ ให้เต้องทางาน ยาเสพติดและ กับพวกผูต้ อ้ งหา ต้องมาใช้ชีวิต ศาลนัดแรก
ผูต้ อ้ งหามา หาเงินตั้งแต่เด็ก หนี้สิน กอดตุ๊กตาหมอน ในเรื อนจาทาให้ เนื่องจากครบ
เผยแพร่ เพื่อเลี้ยงดูตวั เอง ผ้าห่มขณะถูก เกิดความเครี ยด กาหนดฝากขัง
และครอบครัว ตารวจควบคุม ตาม
ตัว กระบวนการ
ยุติธรรมอัยการ
ได้ส่งสานวน
ฟ้องแล้ว

107
108

ตารางที่ 4.4 (ต่ อ)


การวิเคราะห์ ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3
การวางกรอบ
ข่ าว กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3 กรณีที่ 4
การประเมินใน ผูก้ ่อเหตุเป็ น นางสาววริ ศรา ตั้งสมญานาม ที่ผา่ นมา นางสาวปรี ยา กระแส นางสาวปรี ยา นางสาวปรี ยานุช
เชิงจริยธรรม ฆาตกรที่มีความ กลิ่นจุย้ ให้กบั ผูต้ อ้ งหา นางสาวปรี ยา นุช โนนวังชัย เลียนแบบส่ งผล นุช โนนวังชัย โนนวังชัย กับ
ของผู้เกีย่ วข้ อง โหดเหี้ ยมและ ผูเ้ สี ยชีวิต เป็ น ว่า “สวยหัน่ ศพ” นุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา สานึก ให้ อาจมีอาการ พวกผูต้ อ้ งหาซึ่ ง
กระทาการด้วย ผูห้ ญิงที่ไม่ดี มี ผูต้ อ้ งหาเป็ นคน ผิดจึงเข้ามอบตัว ผูป้ ระกอบการ ผิดปกติทางจิต เป็ นผูห้ ญิงไม่ได้
ความทารุ ณ พฤติกรรม ดีมาโดยตลอด และไม่ได้ต้ งั ใจ พ่อค้าแม่คา้ ขาย และไม่เชื่อว่า สลดกับก่อเหตุ
นอกใจสามี ฆ่านางสาวว สิ นค้าดี ผูห้ ญิงจะก่อคดี ฆาตกรรม มีสี
ริ ศรา กลิ่นจุย้ อาชญากรรมได้ หน้าที่ยิม้ แย้ม
ขนาดนี้ แต่งหน้ามาศาล

108
109

ตารางที่ 4.4 (ต่ อ)

การวิเคราะห์ ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3


การวางกรอบ
ข่ าว กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3 กรณีที่ 4
การแนะทางออก นาเสนออัต นาเสนอ ไม่มี ให้นางสาวปรี ยา นาเสนอขั้นตอน ไม่มีการแนะ เรื อนจา ไม่มี
ของปัญหา ลักษณ์ศพที่พบ แนวทางการ นุช โนนวังชัย การดาเนินคดี ทางออกของ ขอนแก่นได้จดั
เพื่อยืนยัน สื บสวน ผูต้ อ้ งหาเข้ามอบ กับนางสาวปรี ยา ปัญหา เจ้าหน้าที่เฝ้าดู
ผูเ้ สี ยชีวิต เป็ น สอบสวนใน ตัวกับตารวจ นุช โนนวังชัย พฤติกรรม
จุดเริ่ มต้นใช้ ขั้นตอนต่อไป ผูต้ อ้ งหากับพวก นางสาวปรี ยา
สื บสวน ของตารวจ เพื่อ นุช โนนวังชัย
สอบสวนของ ติดตามผูก้ ่อเหตุ กับพวก เพื่อ
ตารวจ มาดาเนินคดี ป้องกันการฆ่า
ตัวตายในคุก

109
110

ตารางที่ 4.4 (ต่อ)


การวิเคราะห์ การ ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3
วางกรอบข่ าว กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3 กรณีที่ 4
จัดวางใน จัดวางใน จัดวางในหมวดหมู่ จัดวางในหมวดหมู่ จัดวางใน จัดวางใน จัดวางใน จัดวางใน
กลวิธีการนาเสนอ หมวดหมู่ หมวดหมู่ “เด่นออนไลน์” “ข่าวด่วน” หมวดหมู่ หมวดหมู่ หมวดหมู่ หมวดหมู่
“ข่าวด่วน” “เด่นออนไลน์” “ข่าวด่วน” “เด่น “ข่าวด่วน” “ข่าวด่วน”
ใช้คาซ้ าในพาดหัวในปก ใช้คาซ้ าในพาดหัวในปก ออนไลน์”
ใช้คาซ้ าใน ใช้คาซ้ าในพาด และพาดหัวข่าว และพาดหัวข่าว ใช้คาซ้ าใน ใช้คาซ้ าใน
พาดหัวในปก หัวในปก และ พาดหัวในปก พาดหัวในปก
และพาดหัว พาดหัวข่าว ใช้สญั ลักษณ์ เครื่ อง และพาดหัว และพาดหัว
ข่าว หมายอัศ เจรี ย ์ (!) และอัญ ข่าว ข่าว
ใช้สญั ลักษณ์ ประกาศ (“ ”) ใช้สญั ลักษณ์
ใช้สญ ั ลักษณ์ เครื่ องหมายอัศ ใช้สญ ั ลักษณ์ ใช้สญั ลักษณ์ เครื่ อง ใช้สญ ั ลักษณ์
เครื่ องหมาย เจรี ย ์ (!) เครื่ องหมาย เครื่ องหมาย หมายอัญ เครื่ อง
อัศเจรี ย ์ (!) และอัญ อัศเจรี ย ์ (!) อัศเจรี ย ์ (!) ประกาศ (“ ”) หมายอัญ
ประกาศ(“ ”) และปรัศนี (?) ประกาศ (“ ”)

110
111

ตารางที่ 4.4 (ต่อ)


การวิเคราะห์ การ ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3
วางกรอบข่ าว กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3 กรณีที่ 4
กลวิธีการนาเสนอ จัดวางใน จัดวางใน จัดวางในหมวดหมู่ จัดวางในหมวดหมู่ จัดวางใน จัดวางใน จัดวางใน จัดวางใน
หมวดหมู่ หมวดหมู่ “เด่นออนไลน์” “ข่าวด่วน” หมวดหมู่ หมวดหมู่ หมวดหมู่ หมวดหมู่
“ข่าวด่วน” “เด่นออนไลน์” “ข่าวด่วน” “เด่น “ข่าวด่วน” “ข่าวด่วน”
ใช้คาซ้ าในพาดหัวในปก ใช้คาซ้ าในพาดหัวในปก ออนไลน์”
ใช้คาซ้ าใน ใช้คาซ้ าในพาด และพาดหัวข่าว และพาดหัวข่าว ใช้คาซ้ าใน ใช้คาซ้ าใน
พาดหัวในปก หัวในปก และ พาดหัวในปก พาดหัวในปก
และพาดหัว พาดหัวข่าว ใช้สญั ลักษณ์ เครื่ อง และพาดหัว และพาดหัว
ข่าว หมายอัศ เจรี ย ์ (!) และอัญ ข่าว ข่าว
ใช้สญั ลักษณ์ ประกาศ (“ ”) ใช้สญั ลักษณ์
ใช้สญ ั ลักษณ์ เครื่ องหมายอัศ ใช้สญ ั ลักษณ์ ใช้สญั ลักษณ์ เครื่ อง ใช้สญ ั ลักษณ์
เครื่ องหมาย เจรี ย ์ (!) เครื่ องหมาย เครื่ องหมาย หมายอัญ เครื่ อง
อัศเจรี ย ์ (!) และอัญ อัศเจรี ย ์ (!) อัศเจรี ย ์ (!) ประกาศ (“ ”) หมายอัญ
ประกาศ(“ ”) และปรัศนี (?) ประกาศ (“ ”)

111
112

ตารางที่ 4.4 (ต่อ)


การวิเคราะห์ การ ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3
วางกรอบข่ าว กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3 กรณีที่ 4
กลวิธีการนาเสนอ จัดวางใน จัดวางใน จัดวางในหมวดหมู่ จัดวางในหมวดหมู่ จัดวางใน จัดวางใน จัดวางใน จัดวางใน
หมวดหมู่ หมวดหมู่ “เด่นออนไลน์” “ข่าวด่วน” หมวดหมู่ หมวดหมู่ หมวดหมู่ หมวดหมู่
“ข่าวด่วน” “เด่นออนไลน์” “ข่าวด่วน” “เด่น “ข่าวด่วน” “ข่าวด่วน”
ใช้คาซ้ าในพาดหัวในปก ใช้คาซ้ าในพาดหัวในปก ออนไลน์”
ใช้คาซ้ าใน ใช้คาซ้ าในพาด และพาดหัวข่าว และพาดหัวข่าว ใช้คาซ้ าใน ใช้คาซ้ าใน
พาดหัวในปก หัวในปก และ พาดหัวในปก พาดหัวในปก
และพาดหัว พาดหัวข่าว ใช้สญั ลักษณ์ เครื่ อง และพาดหัว และพาดหัว
ข่าว หมายอัศ เจรี ย ์ (!) และอัญ ข่าว ข่าว
ใช้สญั ลักษณ์ ประกาศ (“ ”) ใช้สญั ลักษณ์
ใช้สญ ั ลักษณ์ เครื่ องหมายอัศ ใช้สญ ั ลักษณ์ ใช้สญั ลักษณ์ เครื่ อง ใช้สญ ั ลักษณ์
เครื่ องหมาย เจรี ย ์ (!) เครื่ องหมาย เครื่ องหมาย หมายอัญ เครื่ อง
อัศเจรี ย ์ (!) และอัญ อัศเจรี ย ์ (!) อัศเจรี ย ์ (!) ประกาศ (“ ”) หมายอัญ
ประกาศ(“ ”) และปรัศนี (?) ประกาศ (“ ”)

112
113

ตารางที่ 4.4 (ต่อ)


การวิเคราะห์ การ ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3
วางกรอบข่ าว กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3 กรณีที่ 4
กลวิธีการนาเสนอ จัดวางใน จัดวางใน จัดวางในหมวดหมู่ จัดวางในหมวดหมู่ จัดวางใน จัดวางใน จัดวางใน จัดวางใน
หมวดหมู่ หมวดหมู่ “เด่นออนไลน์” “ข่าวด่วน” หมวดหมู่ หมวดหมู่ หมวดหมู่ หมวดหมู่
“ข่าวด่วน” “เด่นออนไลน์” “ข่าวด่วน” “เด่น “ข่าวด่วน” “ข่าวด่วน”
ใช้คาซ้ าในพาดหัวใน ใช้คาซ้ าในพาดหัวในปก ออนไลน์”
ใช้คาซ้ าใน ใช้คาซ้ าในพาด ปกและพาดหัวข่าว และพาดหัวข่าว ใช้คาซ้ าใน ใช้คาซ้ าใน
พาดหัวในปก หัวในปก และ พาดหัวในปก พาดหัวในปก
และพาดหัว พาดหัวข่าว ใช้สญั ลักษณ์ เครื่ อง และพาดหัว และพาดหัว
ข่าว หมายอัศ เจรี ย ์ (!) ข่าว ข่าว
ใช้สญั ลักษณ์ และอัญ ประกาศ (“ ”) ใช้สญั ลักษณ์
ใช้สญ ั ลักษณ์ เครื่ องหมายอัศ ใช้สญ ั ลักษณ์ ใช้สญั ลักษณ์ เครื่ อง ใช้สญ ั ลักษณ์
เครื่ องหมาย เจรี ย ์ (!) เครื่ องหมาย เครื่ องหมาย หมายอัญ เครื่ อง
อัศเจรี ย ์ (!) และอัญ อัศเจรี ย ์ (!) อัศเจรี ย ์ (!) ประกาศ (“ ”) หมายอัญ
ประกาศ(“ ”) และปรัศนี (?) ประกาศ (“ ”)

113
114

ตารางที่ 4.4 (ต่ อ)


การวิเคราะห์ การ ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3
วางกรอบข่ าว
กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3 กรณีที่ 4
กลวิธีการนาเสนอ ใช้คาว่า “ผงะ” ใช้คาว่า “แฉ” ใช้คาว่า “สะ
เป็ นภาษาที่ เป็ นภาษาที่ พรึ ง” เป็ นภาษา
ดึงดูดใจ ดึงดูดใจ ที่ดึงดูดใจ
ใช้เทคนิคตัดต่อ ใช้เทคนิคตัดต่อ ใช้เทคนิคตัดต่อ ใช้เทคนิคตัดต่อ ใช้เทคนิคตัดต่อ ใช้เทคนิคตัดต่อ
วีดีโอความยาว วีดีโอความยาว วีดีโอยาว 30 วีดีโอความยาว วีดีโอความยาว วีดีโอยาว0.40 น.
07.25 น. 4.12 น. ทั้งหมด นาที ทั้งหมด 3.26 น. ซึ่ งเป็ น 1.51 น. ภาพ ภาพบรรยากาศ
แบ่งเป็ น 2 ส่ วน เป็ นภาพและ เป็ นคลิปวีดีโอ ภาพบรรยากาศ บรรยากาศ รถควบคุมผูต้ อ้ ง
-ภาพตารวจ เสี ยงมารดา เฟซบุ๊กไลฟ์ บท ร้านขายหมอน ผูส้ ื่ อข่าว หามีการแทรก
ทางานยาว 40 นางสาวปรี ยา สัมภาษณ์ของ ผ้าห่มทั้งหมด สอบถามข้อมูล ภาพนิ่งนางสาว
วินาที นุช โนนวังชัย ผบ.ตร. และ จากผูบ้ ญั ชาการ ปรี ยานุช โนนวัง
-สัมภาษณ์สามี ผูต้ อ้ งหา ให้ ตารวจที่ เรื อนจากลาง ชัย วินาที ที่
ผูเ้ สี ยชีวิตความ สัมภาษณ์ เกี่ยวข้องในคดี ขอนแก่น 0.24 น. 2 รู ป
ยาว 6.45 น.

114
115

ตารางที่ 4.4 (ต่ อ)


การวิเคราะห์ ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3
การวางกรอบ
ข่ าว กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3 กรณีที่ 4
วิธีการที่สื่อ ความดึงดูดทาง เพศและความ ความดึงดูดทาง ไม่ ใช่ ตวั การ ไม่ ใช่ ตวั การ ไม่ พบ ไม่ ใช่ ตวั การ ความดึงดูดทาง
ประกอบสร้ าง รู ปลักษณ์ เบี่ยงเบนทาง รู ปลักษณ์ กระทาความผิด กระทาความผิด กระทาความผิด รู ปลักษณ์
ผู้หญิงในข่ าว ภายนอก เพศ ภายนอก ภายนอก
อาชญากรรม
-พาดหัวในปก -พาดหัวข่าวใช้ -พาดหัวข่าวและ -เนื้อหาข่าว -เนื้อหาข่าว -นาเสนอบท -ภาพปกข่าวและ
และพาดหัวข่าว คาว่า “ผัวรู ้เมีย พาดหัวในปก นาเสนอบท นาเสนอบท สัมภาษณ์ของผู ้ ภาพประกอบใน
ใช้คาว่า “สาว ชอบทอม” ข่าวใช้คาว่า สัมภาษณ์มารดา สัมภาษณ์ผู ้ บัญชาการ เนื้อหาเป็ นภาพ
หน้าตาดี” -เนื้อหาข่าว “สวยหัน่ ศพ” ของนางสาว ผบ.ตร. ที่ให้ เรื อนจากลาง ของนางสาว
นาเสนอบท ปรี ยานุช โนนวัง ความเห็นว่าการ ขอนแก่น ที่ ปรี ยานุช โนนวัง
-ภาพผูเ้ สี ยชีวิต สัมภาษณ์ตารวจ -ภาพปกและ ชัย ผูต้ อ้ งหาว่า แต่งหน้าของ แสดงความ ชัย ผูต้ อ้ งหากับ
สวมใส่ เสื้ อสาย และสามี ภาพประกอบใน ผูต้ อ้ งหาเป็ นคน นางสาวปรี ยา คิดเห็นว่า พวกสวมใส่ เสื้ อ
เดี่ยว มีลกั ษณะดู ผูเ้ สี ยชีวิต ย้าว่า เนื้อหา เป็ นภาพ ดี มีความกตัญญู นุช โนนวังชัย นางสาวปรี ยา สายเดี่ยว
ดี ผูเ้ สี ยชีวิตรักร่ วม ผูต้ อ้ งหาสวมใส่ เลี้ยงดู ในห้องควบคุม นุช โนนวังชัย
เพศ เสื้ อสาย ตัว กับพวก

115
116

ตารางที่ 4.4 (ต่อ)

การวิเคราะห์ การ ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3


วางกรอบข่ าว กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3 กรณีที่ 4
วิธีการที่สื่อ -คลิปวีดีโอ เดี่ยวเห็นเนินอก มารดา มีฐานะ ถือเป็ นเรื่ องปกติ ผูต้ อ้ งหาซึ่ งเป็ น เห็นเนิ นอกมี
ประกอบสร้ าง นาเสนอภาพ แผ่นหลัง รอย ครอบครัวที่ ของผูห้ ญิง ผูห้ ญิงอาจมี ลักษณะเซ็กซี่
ผู้หญิงในข่ าว และเสี ยงสัม สัก มีลกั ษณะ ยากจนจึงต้อง ความผิดปกติ
อาชญากรรม ภาษณ์สามี เซ็กซี่ ต่อสู ช้ ีวิต ทางจิต เนื่องจาก
ผูเ้ สี ยชีวิต ไม่เชื่อว่าผูห้ ญิง
จะก่อคดี
ความดึงดูดทาง อาชญากรรมได้
รู ปลักษณ์ รุ นแรงขนาดนี้
ภายนอก
-ภาพปกเป็ น
ภาพผูเ้ สี ย ชีวิต
ใส่ เสื้ อสายเดี่ยว
มีลกั ษณะที่ดูดี

116
117

4.2 ส่ วนที่ 2 ผลการศึกษาจากสั มภาษณ์เชิงลึกบุคลากรเว็บไซต์ ข่าวสด


ผลการศึ กษาในช่ วงนี้ เป็ นผลการศึกษาการการสัมภาษณ์ เชิ งลึ ก (In-depth Interview)
บุ ค ลากรเว็บ ไซต์ข่ าวสดที่ เกี่ ย วข้อ งในการท าข่ าวกรณี ค ดี น างสาวปรี ย านุ ช โนนวัง ชัย เพื่ อ ให้
ความเห็ นเกี่ ยวกับการวางกรอบข่าวนี้ จากมุมมองของบุคลากรเว็บไซต์ข่าวสดที่อยู่ในกระบวนการ
ทาข่าวตั้งแต่กระบวนการหาข่าว และการคัดเลือกข่าวมานาเสนอข่าวทั้ง 3 ช่วงเหตุการณ์ และเพื่อให้
ความเห็นเกี่ยวกับปั จจัยภายใน และภายนอกใดที่ส่งผลต่อการวางกรอบข่าวของเว็บไซต์ข่าวสด ใน
การนาเสนอข่ าวกรณี คดี นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย รวมถึ ง เพื่ อเสนอแนะแนวทางปฏิ บตั ิ ทาง
จริ ยธรรม ในการนาเสนอข่าวคดีที่ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหา
การนาเสนอผลการศึกษาส่ วนนี้จึงแบ่งออกเป็ น 3 ประเด็น ประกอบด้วย ประเด็นที่ 1
การวางกรอบข่าวจากมุมมองของบุคลากรที่อยูใ่ นกระบวนการทาข่าวทั้ง 3 ช่วงเหตุการณ์ ประเด็น
ที่ 2 ปั จจัยภายในและภายนอกที่ส่งผลต่อการวางกรอบข่าว และประเด็นที่ 3 สื่ อมวลชนไทยควรมี
แนวปฏิ บตั ิ ทางจริ ยธรรม ในการนาเสนอข่าวคดี ที่ผูห้ ญิ งเป็ นผูต้ อ้ งหาอย่างไร โดยมีรายละเอียด
ดังนี้

ประเด็นที่ 1 การวางกรอบข่ าวจากมุมมองของบุคลากรเว็บไซต์ ข่าวสดทีอ่ ยู่ในกระบวนการ


ทาข่ าวทั้ง 3 ช่ วงเหตุการณ์

จากผลการศึกษาการวางกรอบข่าวทั้ง 8 ข่าวจากการวิเคราะห์เนื้ อหาและวิเคราะห์การ


วางกรอบ ผูว้ ิจยั ได้นามากาหนดประเด็นคาถามในการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคลากรที่อยูใ่ นกระบวนการ
ทาข่าว กรณี คดี “นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว” เพื่อทาความเข้าใจถึงวิธีคิดเบื้องหลังของ
บุ ค ลากรในการน าเสนอข่ าวนี้ ตามกรอบข่ าวที่ พ บจากการวิเคราะห์ โดยมี รายละเอี ย ดตามช่ วง
เหตุการณ์ดงั นี้
ช่วงเหตุการณ์ที่ 1
บุคลากรของเว็บไซต์ข่าวสดอธิ บายว่าการนาเสนอข่าวในช่ วงนี้ เน้นไปที่ประเด็นของ
นางสาววริ ศ รา กลิ่ น จุ ้ย ผูเ้ สี ยชี วิต ว่าผูเ้ สี ยชี วิตเป็ นใคร ท าไมถึ งถู ก ฆ่ า เพื่ อหาแรงจูง ใจที่ ท าให้
ผูเ้ สี ยชีวติ ถูกฆาตกรรม โดยเกาะติดการรายงานข่าวการสื บสวนสอบสวนของตารวจ และข้อมูลจาก
ครอบครัวของผูเ้ สี ยชี วิต เนื่ องจากในช่ วงเหตุการณ์ที่ 1 ยังไม่ทราบว่าผูก้ ่อเหตุคือนางสาวปรี ยานุ ช
โนนวังชัย
“ผู้หญิ งถูก ฆ่ ำชำแหละศพ สั งคมย่ อมเกิ ดควำมสนใจ ทำให้ เรำต้ องไปไล่
รำยละเอี ยดว่ ำผู้ตำยเป็ นใคร คนอ่ ำนก็ติดตำมจำกสื่ อ มันจึ งเกิ ดกระแสว่ ำ
118

ทำไมผู้หญิงถึงถูกทำร้ ำย ข่ ำวมันก็จะออกมำสองด้ ำนว่ ำ ผู้หญิงถูกฆำตกรรม


เป็ นเรื่ องสะเทื อนใจ จะทำอย่ ำงไรไม่ ให้ เกิดคดีแบบนี ้ ให้ ผ้ หู ญิงไม่ ไปอยู่ใน
สถำนกำรณ์ แบบนี ้” (นำยวิ ช ญศั ก ดิ์ สุ ว รรณทั ต , บรรณำธิ ก ำรข่ ำ วสด
ออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 17 พ.ค.2561)
ส่ วนการเลือกนาเสนอว่านางสาววริ ศรา กลิ่ นจุย้ ผูเ้ สี ยชี วิตเป็ นหญิ งสาวหน้าตาดี น้ นั
บรรณาธิ ก ารข่าวสดออนไลน์ และหัวหน้าแอดมิ นข่าวสดออนไลน์ ระบุ ที่ มาว่าได้พิ จารณาจาก
รู ปภาพของผูเ้ สี ยชี วิตที่ได้มาจากเจ้าหน้าที่ตารวจ และนามาใช้เป็ นจุดดึงดู ดให้เกิ ดความน่ าสนใจ
ขณะที่ ผูส้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่น ให้ขอ้ มูลว่านอกจากพิจารณาจากภาพแล้วยังพิจารณาจาก
องค์ป ระกอบอื่นของผูเ้ สี ยชี วิต คืออาชี พ พีอาร์ หรื อ พนักงานประชาสัมพันธ์ร้านคาราโอเกะ ซึ่ ง
ผูส้ ื่ อข่าวเห็นว่าส่ วนใหญ่จะเป็ นหญิงสาวที่มีหน้าตาดีทางานในหน้าที่น้ ี
ขณะที่การเลือกนาเสนอประเด็นที่นางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ มีพฤติกรรมรักร่ วมเพศนั้น
ผูใ้ ห้ขอ้ มู ลทั้งสามคนระบุ สอดคล้องกันว่าประเด็นนี้ ได้มาจากข้อมูลการสื บสวนของตารวจ และ
ข้อมู ลที่ ได้จากบุ คคลใกล้ชิดของผูเ้ สี ยชี วิตนามาเสนอเพื่ อหาชนวนเหตุ ฆาตกรรม และเห็ น ว่ามี
คุณค่าข่าวในเรื่ องความไม่ปกติ จึงถูกหยิบยกมานาเสนอเป็ นพิเศษ
“ประเด็ น เรื่ องเพศ รั ก ร่ วมเพศ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ในประเด็ น หลั ก ที่ เลื อ ก
นำเสนอเพรำะว่ ำเคสนีไ้ ม่ ปกติ ทั่วไปพอหยิบเรื่ องนีข้ ึ น้ มำมันจะถูกจับตำ
เป็ นพิเศษ ไม่ เหมือนหญิงชำยทั่วไป” (น.ส.เมธำวี มัชฌันติกะ, หั วหน้ ำแอด
มินข่ ำวสดออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 16 พ.ค.2561)
ช่ วงเหตุการณ์ ทสี่ อง
เมื่ อทราบว่าผูก้ ่ อเหตุ คือนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับพวก ข่าวสดออนไลน์มีการ
เปลี่ยนการนาเสนอโดยเน้นที่รายละเอียดของผูต้ อ้ งหาตามข้อมูลการสื บสวนของตารวจ และยังหา
ข้อมูลจากบุคคลใกล้ชิดมานาเสนอ เช่ นเดียวกับช่ วงเหตุการณ์ ที่หนึ่ ง แต่มีการนาเสนอข้อมูลที่ ได้
จากโซเชี ยลมีเดี ย ทั้งเฟซบุ๊กส่ วนตัวของผูต้ อ้ งหา และกระแสในโซเชียลมีเดีย ที่กล่าวถึงรู ปลักษณ์
ของผูต้ อ้ งหามากขึ้นโดยเฉพาะเกี่ยวกับนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูก้ ่อเหตุหลักซึ่ งการสื บสวนใน
ขณะนั้นเชื่ อว่าเป็ นผูต้ อ้ งหาคนสาคัญที่มีความขัดแย้งกับ นางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ ผูเ้ สี ยชีวติ และเมื่อ
ทราบว่าผูก้ ่อเหตุเป็ นผูห้ ญิง ผูใ้ ห้ขอ้ มูลทั้งสามคนระบุไปในทิศทางเดียวกันว่ารู ้สึกตกใจและแปลก
ใจที่ ผูห้ ญิ งเป็ นผูก้ ่ อเหตุ โดยน าประเด็ น เกี่ ย วกับ รู ป ลัก ษณ์ ภายนอกมาใช้เพื่ อ ดึ ง ดู ดความสนใจ
ประกอบกับการนาเสนอข้อมูลของนางสาวปรี ยานุ ช ที่สามารถหาได้ในโซเชียลมีเดีย เนื่ องนางสา
ปรี ยานุช ไม่ได้ปิดเฟซบุก๊ ส่ วนตัว และยังมีการโพสต์ความเคลื่อนไหวในเฟซบุก๊ ด้วย
119

บรรณาธิ ก ารข่ า วสดออนไลน์ ร ะบุ ถึ ง สาเหตุ ที่ เน้ น การน าเสนอไปที่ ผู ้ต้อ งหา ว่ า
เนื่ องจากคดี น้ ี เป็ นคดี ใหญ่ที่มีพฤติการณ์ ก่อเหตุที่ร้ายแรง จึงทาให้รู้สึกตกใจและแปลกใจที่ผูห้ ญิง
เป็ นผูก้ ่อเหตุฆ่าและหัน่ ศพด้วยตัวเองเนื่องจากที่ผา่ นมาในประเทศไทยมีคดีอาชญากรรมร้ายแรงที่
ผูห้ ญิ งเป็ นผูล้ งมือก่อเหตุเองยังเกิ ดขึ้นน้อยส่ วนใหญ่จะเป็ นผูอ้ ยู่เบื้องหลัง หรื อบงการฆ่ามากกว่า
ส่ วนการนาเสนอรู ปลักษณ์ ของผูต้ อ้ งหานั้นก็เพื่อชู ประเด็นดึงดูดให้ผูอ้ ่านสนใจเท่านั้นขณะที่การ
ค้นหาข้อมู ลของผูต้ อ้ งหาถื อว่าเป็ นเรื่ องปกติไม่ว่าผูก้ ่ อเหตุจะเป็ นผูห้ ญิ งหรื อผูช้ ายก็จะถู ก ค้นหา
ข้อมูลจากอินเทอร์ เน็ตอยูแ่ ล้ว เนื่ องจากอาจพบประวัติหรื อข้อมูลที่เป็ นประโยชน์และเกี่ ยวข้องกับ
การก่อเหตุ โดยพบว่าในส่ วนของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหานั้น ไม่ได้ปิดข้อมูลส่ วนตัว
ทั้งเฟซบุ๊ค และยังมี การโพสต์ขอ้ ความหลังก่ อเหตุโดยเปิ ดเป็ นสาธารณะ ซึ่ งสะท้อนตัวตนของ
ผูต้ อ้ งหาคนนี้จึงเลือกมานาเสนอ
“ภำพลักษณ์ หรื อ รู ปลักษณ์ ของผู้หญิงฆำตกร ที่เรำนำเสนอว่ ำเป็ น
ผู้ต้องสงสั ยฆ่ ำหั่ นศพ มันเป็ นข้ อเท็จจริ งที่เกิดขึน้ เรำไม่ ได้ เบี่ยงเบน
ประเด็น แต่ เรำชูประเด็นให้ มนั เป็ นจุดเด่ นและน่ ำสนใจ”
“เปรี ้ยว ไม่ ปิดเฟซบุ๊ค แตกต่ ำงจำกคนทั่วไปพอตัวเองเป็ นผู้ต้องหำ
แค่ ตั้งค่ ำเฟซบุ๊คให้ เป็ นส่ วนตัวคนก็เข้ ำไปดูไม่ ได้ แต่ เปรี ้ยวเปิ ดเผย
เรื่ องของเค้ ำ เค้ ำไม่ เข้ ำไปปิ ดทั้งที่เค้ ำปิ ดได้ พอเรำเข้ ำไปดูพฤติกรรม
ย้ อนหลังพบว่ ำมีกำรชื่ นชอบชัคกี ้ มีแนวโน้ มควำมรุ นแรง มีกำรโชว์
สรี ระซึ่ งสะท้ อนพฤติ กรรมและควำมเป็ นตัวตนของเค้ ำ ” (นำยวิชญ
ศักดิ์ สุ วรรณทัต บรรณำธิ กำรข่ ำวสดออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำง
บุคคล , 17 พ.ค.2561)
หัวหน้าแอดมินข่าวสดออนไลน์ ระบุวา่ คดีที่ผูห้ ญิงเป็ นผูก้ ่อเหตุพบได้ไม่บ่อยนัก แต่
การนาเสนอข่าวเกี่ ยวกับผูต้ อ้ งหา เราต้องการเน้นให้เห็ นถึ งพฤติการณ์ ของผูต้ อ้ งหามากกว่าเรื่ อง
รู ปลักษณ์ภายนอก ประกอบกับคดีน้ ีขอ้ มูลเกี่ยวกับนางสาวปรี ยานุช เป็ นข้อมูลที่หาได้ง่ายใช้เวลาใน
การค้นหาไม่ ม าก เนื่ องจากหลังก่ อเหตุนางสาวปรี ยานุ ช มีค วามเคลื่ อนไหวอยู่ในโซเชี ยลมี เดี ย
ตลอดเวลา และไม่ได้ปิดการใช้งานเฟซบุ๊กส่ วนตัวยังคงเปิ ดการใช้การให้เข้าชมได้เป็ นสาธารณะ
ทาให้สื่อมีขอ้ มูลมานาเสนอเกี่ยวกับนางสาวปรี ยานุช จานวนมาก
“ผู้ต้องหำคดีอื่นอำจไม่ มีเฟซบุ๊ค ไม่ ได้ เคลื่ อนไหวในโลกโซเชี ยล
มีเดีย อำจจะไม่ ได้ มีร่องรอยให้ เรำติ ดตำมว่ ำ เรำต้ องหำว่ ำเค้ ำเป็ นคน
แบบนี ้ คิ ดแบบนี ้ แต่ ถ้ำเรำรู้ ว่ ำเบื อ้ งหลังพฤติกรรมเค้ ำไม่ ว่ำจะมีใคร
เป็ นผู้ก่อเหตุ เรำก็นำเสนอเหมือนๆกัน เรำก็ไปถำมคนใกล้ ชิด ญำติ
120

เพื่ อน แต่ คดีนีส้ ื บได้ ง่ำยจำกเฟซบุ๊ค เนื่ องจำกหลังก่ อเหตุแล้ วมีกำร


โพซเฟสบุ๊คมีกำรโต้ ตอบคอมเม้ นท์ กับเพื่อนทำให้ เรำนำเสนอข่ ำวได้
ง่ ำยขึน้ เพรำะว่ ำข้ อมูลองค์ ประกอบเหล่ ำนีอ้ ยู่ในโลกออนไลน์ หมด
เลย”(น.ส.เมธาวี มัชฌันติกะ หัวหน้าแอดมินข่าวสดออนไลน์, การ
สื่ อสารระหว่างบุคคล , 16 พ.ค.2561)
ขณะที่ผสู ้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่น ระบุวา่ คดีน้ ี เป็ นคดีน้ ี เป็ นคดีใหญ่ สะเทือนขวัญ
ผูค้ นในสั ง คม ไม่ เคยเกิ ด ขึ้ น ในจัง หวัด ขอนแก่ น ท าให้ค ดี น้ ี น่ า สนใจในตัวเองอยู่แ ล้ว เนื่ องจาก
พฤติ การณ์ การก่ อเหตุมีความร้ ายแรง ประกอบกับเมื่อทราบว่าผูก้ ่อเหตุเป็ นผูห้ ญิ งส่ วนตัวรู ้สึกว่า
ผูห้ ญิงเป็ นเพศที่ไม่ได้มีความรุ นแรงเท่ากับผูช้ าย จึงรู ้สึกว่าน่าสนใจกว่าคดีที่ผชู ้ ายเป็ นผูก้ ่อเหตุ
“คดีนีน้ ่ ำสนใจเนื่ องจำกส่ วนตัวรู้ สึ กว่ ำถ้ ำไม่ ถึงที่สุดผู้หญิงจะไม่ ก่อ
เหตุ เพรำะผู้หญิงเป็ นเพศที่น่ำรั ก อ่ อนโยน ต้ องมีชนวนเหตุ เช่ นเคส
นีเ้ ปรี ้ยวฆ่ ำแอ๋ มเพรำะไม่ พอใจที่แอ๋ มไปบอกตำรวจให้ มำจับแฟน จึ ง
เกิ ดกำรฆ่ ำอำพรำง แต่ เมื่ อมองในมิ ติอื่น ในสั งคมก็แ ทบไม่ เชื่ อว่ ำ
ผู้หญิงจะก่ อเหตุขนำดนีไ้ ด้ ”(นายจักรพันธ์ นาทันริ ผูส้ ื่ อข่าวประจา
จังหวัดขอนแก่น, การสื่ อสารระหว่างบุคคล , 17 พ.ค.2561)
ส่ วนการนาเสนอข่าวเกี่ ยวกับชี วิตเบื้องหลังของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ผูส้ ื่ อข่าว
ประจาจังหวัดขอนแก่นได้รับคาสั่งจากบรรณาธิ การข่าวสดออนไลน์ให้ติดตามคดีอย่างใกล้ชิดและ
นาเสนอข่าวในทุกมิติ เพื่อสะท้อนให้เห็นตัวตนของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ซึ่ งผูส้ ื่ อข่าวประจา
จังหวัดขอนแก่น ระบุวา่ เมื่อได้รับคาสั่งให้ติดตามคดีใกล้ชิดจึงนาเสนอข่าวทุกด้านตามข้อมูลการ
สอบสวนของตารวจที่ เรี ยกบุคคลใกล้ชิดนางสาวปรี ยานุ ช มาสอบสวน เช่ น แม่ พี่สาว และพยาน
แวดล้อม
ด้านหั วหน้าแอดมิ น ข่ าวสดออนไลน์ ระบุ ว่าการน าเสนอรายละเอี ยดผูต้ ้องหา เพื่ อ
สะท้อนให้เห็ นว่านางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหามีประวัติความเป็ นอย่างไร เป็ นคนอย่างไร
จึงมาก่อเหตุรุนแรงแบบนี้ได้ ซึ่ งครอบครัวของผูต้ อ้ งหา เช่น แม่ และพี่สาว ทั้งสองคนมีการออกมา
เคลื่ อนไหวให้สัมภาษณ์ กบั สื่ อว่านางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา ไม่ได้มีนิสัยโหดร้าย และ
เลี้ ยงดู บุ พ การี ซึ่ งแตกต่ างจากครอบครั วผูก้ ่ อเหตุ ใ นคดี ร้ายแรงอื่ น ๆที่ จะไม่ อ อกมาแสดงความ
คิดเห็นหรื อเรี ยกร้องใดๆ
“กำรนำเสนอเบื ้องหลังชี วิตส่ วนหนึ่ งมำจำกแหล่ งข่ ำวที่ออกมำให้
ข่ ำวต่ อสื่ อมวลชน คดีอื่นพ่ อแม่ ผ้ ตู ้ องหำไม่ ออกมำพูด เค้ ำจะเงียบไป
แต่ คดีนีฝ้ ่ ำยญำติของผู้ต้องหำก็ออกมำเคลื่ อนไหวมำกพอสมควรว่ ำ
121

น้ องไม่ ได้ โหดร้ ำย เป็ นเด็กที่เลีย้ งพ่ อแม่ เป็ นข้ อมูลที่ญำติ เค้ ำมำใช้
พืน้ ที่สื่อในกำรบอกสั งคม”(น.ส.เมธำวี มัชฌันติกะ หั วหน้ ำแอดมิน
ข่ ำวสดออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 16 พ.ค.2561)
ช่ วงเหตุการณ์ ทสี่ าม
ผูใ้ ห้ขอ้ มู ลทั้งสามคนให้ขอ้ มูลสอดคล้องกันว่าเมื่อตารวจสามารถติดตามจับนางสาว
ปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับพวกผูต้ อ้ งหาได้แล้ว การนาเสนอข่าวในช่วงนี้ เป็ นการนาเสนอขั้นตอนตาม
กระบวนการยุติธรรมในการดาเนิ นคดีกบั ผูต้ อ้ งหา ตั้งแต่การจับกุมจนถึงการส่ งตัวเข้าไปควบคุ ม
ภายในเรื อนจาจังหวัดขอนแก่น โดยข้อมูลที่นามาเสนอเกือบทั้งหมดจะเป็ นข้อมูลที่ได้จากตารวจชั้น
ผูใ้ หญ่และจากพฤติกรรมของนางสาวปรี ยานุช ที่ถ่ายทอดออกมา เช่น มีสีหน้าที่ยมิ้ แย้มเมื่อถูกคุมตัว
มาขึ้นศาลจังหวัดขอนแก่น มีการแต่งหน้า ทาลิปสติก ซึ่ งแตกต่างจากผูต้ อ้ งหาคดีอื่นๆ ส่ วนใหญ่เมื่อ
อยูใ่ นเรื อนจาและถูกคุมตัวออกมาศาลจะมีสีหน้าที่สลด ทาให้ข่าวที่นาเสนอออกไปต้องการสะท้อน
ให้เห็นว่านางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา ไม่ได้มีความรู ้สึกสานึกผิดกับสิ่ งที่ทาลงไป
“เรำต้ องกำรให้ เห็นว่ ำเค้ ำไม่ สำนึ กผิด เมื่อมำศำลเค้ ำยังมีพฤติกรรม
แชทคุยกับเพื่ อน วีดีโอคอล เรำก็เลยต้ องกำรสะท้ อนให้ เห็นว่ ำเค้ ำมี
พฤติ กรรมอย่ ำงไร”( นำยวิชญศักดิ์ สุ วรรณทัต บรรณำธิ กำรข่ ำวสด
ออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 17 พ.ค.2561)
“เรำต้ องกำรสะท้ อนให้ เห็นว่ ำนักโทษคนนีไ้ ม่ ได้ มีควำมละอำยใจ
ในสิ่ งที่ ตัวเองท ำ ในสิ่ งที่ ตัวเองได้ ก่ อขึ ้นมำ ซึ่ งถ้ ำเป็ นนั ก โทษคน
อื่ นๆ ถำมว่ ำเค้ ำจะทำยังไงมำศำลก็ต้องปกติ ไม่ ได้ แต่ งหน้ ำแต่ งตำ
แต่ เปรี ้ยวกับทำปำกแดง ไม่ ได้ สะทกสะท้ ำนอะไรเลย”(น.ส.เมธำวี
มัช ฌั นติ กะ หั วหน้ ำแอดมิ นข่ ำวสดออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำง
บุคคล , 16 พ.ค.2561)
“คื อต้ องกำรให้ เห็นว่ ำผู้ต้องหำไม่ ได้ สะทกสะท้ ำนอะไรเลย แม้ ว่ำ
คดีนีจ้ ะเป็ นคดีอุกฉกรรจ์ เปรี ้ยวก็ยังชิ วๆ ยังนำเครื่ องสำอำงเข้ ำไป
ใช้ ”(นำยจัก รพั นธ์ นำทั นริ ผู้สื่ อข่ ำวประจำจังหวัดขอนแก่ น , กำร
สื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 17 พ.ค.2561)
ส่ วนการนาเสนอข่าวกระแสเลี ยนแบบของใช้ที่นางสาวปรี ยานุ ชใช้ หัวหน้าแอดมิน
ข่าวสดออนไลน์ระบุว่าเป็ นการนาเสนอเพื่อสะท้อนให้เห็นปรากฏการณ์ทางสังคม และระบุว่าสื่ อ
ไม่ใช่ บุคคลที่ ทาให้สินค้าแบบเดี ยวกับผูต้ อ้ งหาขายดี แต่สื่อนาเสนอภายหลังที่ มีการพูดถึ งกันใน
122

โซเชี ยลมีเดี ย จึงต้องการสะท้อนให้เห็นว่ามีคนใช้เหตุการณ์ แบบนี้ มาเป็ นช่ องทางในการโฆษณา


ขายสิ นค้าด้วย
“เรำต้ องกำรให้ เห็นปรำกฏกำรณ์ ทำงสั งคมว่ ำเกิดอะไรขึน้ เรำไม่ ได้
ทำให้ หมอนขำยดี แต่ คนมำใช้ ช่วงจังหวะนีข้ ำยของ สื่ อก็คือกระจกที่
ต้ อ งกำรสะท้ อนว่ ำ สั ง คมคิ ด อะไรในข่ ำวที่ เกิ ด ขึ ้น ”(น.ส.เมธำวี
มัช ฌั นติ ก ะ หั วหน้ ำแอดมิ น ข่ ำวสดออนไลน์ ,กำรสื่ อสำรระหว่ ำง
บุคคล , 16 พ.ค.2561)
กลวิธีในการนาเสนอข่ าวจากมุมมองของบุคลากรทีอ่ ยู่ในกระบวนการทาข่ าว
จากการศึ ก ษากลวิธี ในการนาเสนอข่ าวกรณี ค ดี น างสาวปรี ยานุ ช โนนวัง ชัย พบว่า
เว็บ ไซต์ ข่ า วสดน าเสนอข่ า วผ่า นทางหมวดหมู่ “ข่ า วด่ วน” และหมวดหมู่ “เด่ น ออนไลน์ ” ซึ่ ง
หมวดหมู่ข่าวทั้งสองหมวดหมู่น้ ี บรรณาธิ การข่าวสดออนไลน์ และหัวหน้าแอดมินข่าวสดออนไลน์
ระบุ ว่าเป็ นการแยกหมวดหมู่โดยพิจารณาจากแหล่งที่มาของข่าว หากเป็ นข่าวที่ได้ขอ้ มูลมากจาก
เจ้าหน้าที่ หรื อบุ คคลที่ เกี่ ยวข้องในข่าวจะถูกนาเสนอผ่านทางหมวดหมู่ “ข่าวด่วน” แต่หากข้อมูล
หรื อประเด็นข่าวนั้นมาจากตัวนักข่าว หรื อ แอดมินข่าว เป็ นผูค้ น้ พบ เช่ นข้อมูลที่ได้จากโซเชี ยล
มีเดีย หรื อมีผสู ้ ่ งข้อมูลมาให้ข่าวนั้นจะจัดอยูใ่ นหมวด “เด่นออนไลน์”
การศึกษากลวิธียงั พบว่าเว็บไซต์ข่าวสดมีการจัดทาภาพหน้าปก ซึ่ งในภาพหน้าปกจะ
ประกอบไปด้วยภาพบุคคล หรื อ สถานที่ที่เกี่ยวข้องในข่าว และตัวอักษรที่เรี ยกว่า “พาดหัวในปก”
บรรณาธิ การข่าวสดออนไลน์ระบุ ว่าการจัดทาหน้าปกเพื่อดึ งดู ดให้ผูอ้ ่านเกิ ดความสนใจ ซึ่ งการ
เลือกภาพมาจัดทาภาพหน้าปกถือว่ามีส่วนสาคัญมาก
“ภำพปกคนเห็ นก็สะดุดตำ ถ้ ำเป็ นภำพตำรวจนั่งประชุ มคดีฆ่ำหั่ น
ศพคนจะสนใจหรื อไม่ ไม่ มีใครคลิกเข้ ำไปอ่ ำนหรอก มันไม่ มีอะไร
จูงใจ” (นำยวิชญศักดิ์ สุวรรณทัต บรรณำธิ กำรข่ ำวสดออนไลน์ , กำร
สื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 17 พ.ค.2561)
ส่ วนการเลื อกใช้สัญลักษณ์ เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ ซึ่ งพบว่ามีการใช้บ่อยในพาดหัวข่าว
ของเว็บ ไซต์ข่ า วสด หัว หน้า แอดมิ น ข่ า วสดออนไลน์ ร ะบุ ว่า เป็ นการใช้สั ญ ลัก ษณ์ เพื่ อ เน้น ย้ า
ข้อความ เพื่อดึงดูดความสนใจของผูอ้ ่าน
“มันเป็ นกำรเน้ นอำรมณ์ เฮ้ ย ..อะไรอย่ ำงนี ้ เป็ นเครื่ องหมำยเรี ยกให้
สนใจเร้ ำอำรมณ์ กำรเน้ นคำนั้นๆ” (น.ส.เมธำวี มัชฌันติ กะ หั วหน้ ำ
แอดมินข่ ำวสดออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 16 พ.ค.2561)
123

บทวิเคราะห์ วิธี ก ารที่สื่ อ ประกอบสร้ างผู้ ห ญิ งในข่ าวอาชญากรรมจากมุ ม มองของ


บุคลากรทีอ่ ยู่ในกระบวนการทาข่ าว
การศึ กษาการวางกรอบข่าวของเว็บ ไซต์ข่าวสดกรณี คดี นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย
พบว่าเว็บไซต์ข่าวสดมีการวางกรอบข่าวที่ประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหาในการนาเสนอข่าว
อาชญากรรม กรณี คดีของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ประกอบด้ วย ประเด็นเรื่ องความดึงดูดทาง
รู ป ลัก ษณ์ ภ ายนอกซึ่ งพบทั้ง สามช่ วงเหตุ ก ารณ์ เพศและความเบี่ ย งเบนทางเพศถู ก พบในช่ ว ง
เหตุการณ์ที่หนึ่ง และไม่ใช่ตวั การกระทาผิดถูกพบในช่วงเหตุการณ์ที่สองและสาม
ความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ภายนอกบรรณาธิ การข่าวสดออนไลน์ได้ให้เหตุผลว่า การนา
รู ป ลักษณ์ ของบุ คคลในข่าวมานาเสนอเป็ นการชู ป ระเด็นให้เกิ ดความน่ าสนใจมีผูเ้ ข้ามาอ่านข่าว
เท่านั้น ถือว่าเป็ นเรื่ องปกติในการเลือกหยิบยกประเด็นใดมาทาให้เกิดความน่าสนใจในข่าว
หัวหน้าแอดมินข่าวสดออนไลน์ ระบุวา่ การนาเสนอประเด็นเรื่ องรู ปลักษณ์ภายนอกจะพิจารณาจาก
ภาพเป็ นหลักทั้งภาพของนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ ผูเ้ สี ยชีวติ และภาพของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
ผูก้ ่อเหตุ ซึ่ งรู ปลักษณ์ที่ถูกเลือกมานาเสนอเพื่อต้องการให้เกิดความโดดเด่นและน่าสนใจเท่านั้น
“รู ปลักษณ์ ภำยนอกก็อำจจะเป็ นส่ วนหนึ่ งที่สื่อเลื อกมำพำดหั วให้
โดดเด่ น น่ ำสนใจ เช่ น โจรอ้ วน สวย”(น.ส.เมธำวี มั ช ฌั น ติ ก ะ
หัวหน้ ำแอดมินข่ ำวสดออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 16 พ.ค.
2561)
ส่ วนการนาเสนอประเด็นเรื่ องเพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ ที่พบในช่วงเหตุการณ์ที่
หนึ่ งกรณี นางสาววริ ศรา กลิ่ นจุย้ มีพฤติกรรมรักร่ วมเพศนั้น ผูใ้ ห้ขอ้ มูลทั้งสามคนระบุว่าเป็ นการ
นาเสนอข้อมูลตามแนวทางการสื บสวนของตารวจเพื่ อให้ทราบถึ งพฤติก รรมของผูเ้ สี ยชี วิตที่ จะ
นาไปสู่ ประเด็นการก่อเหตุฆาตกรรมและสื บสวนหาตัวผูก้ ่อเหตุได้
“เรำไม่ ไ ด้ เขีย นเอง เรำได้ ข้ อ มูล มำจำกต ำรวจ ซึ่ งเป็ นข้ อ มูล กำร
สื บ สวนของตำรวจ แต่ เรำมำเขีย นให้ คนเข้ ำใจว่ ำเค้ ำมีพ ฤติ ก รรม
อย่ ำงไร ขัดแย้ งเรื่ องอะไร พืน้ ฐำนมันก็มำจำกตำรวจเป็ นหลัก ”(นำย
วิ ช ญศั ก ดิ์ สุ วรรณทั ต บรรณำธิ ก ำรข่ ำวสดออนไลน์ , กำรสื่ อ สำร
ระหว่ ำงบุคคล , 17 พ.ค.2561)
“มันอยู่ในสำนวนตำรวจ ตำรวจเค้ ำก็สืบหำปั จจัยแวดล้ อมเพื่ อหำ
แรงจูงใจอธิ บำยว่ ำทำไมเกิดเหตุกำรณ์ นีข้ ึน้ มันคื อกำรหำคำตอบว่ ำ
แรงจูงใจเกิดจำกอะไร” (น.ส.เมธำวี มัชฌันติกะ หั วหน้ ำแอดมินข่ ำว
สดออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 16 พ.ค.2561)
124

“ข้ อมูล ในส่ วนพฤติ ก รรมของผู้เสี ยชี วิตเป็ นหนึ่ งในแนวทำงกำร


สื บ สวนของต ำรวจ และข้ อ มู ล จำกคนใกล้ ชิ ด ผู้ เ สี ย ชี วิ ต เรำต้ อ ง
นำเสนอทุ กอย่ ำงที่ได้ มำภำยใต้ กรอบของกฎหมำย”(นำยจักรพันธ์
นำทันริ ผู้สื่อข่ ำวประจำจังหวัดขอนแก่ น, กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล ,
17 พ.ค.2561 )
ขณะที่องค์ประกอบเรื่ องไม่ใช่ตวั การกระทาผิด ซึ่ งพบทั้งในช่วงเหตุการณ์ ที่สองและ
สาม ผูใ้ ห้ขอ้ มูลทั้งสามคนก็ให้ขอ้ มูลสอดคล้องกันว่าเป็ นเรื่ องปกติของการนาเสนอข่าวในคดีสาคัญ
ที่ผสู ้ ื่ อข่าวจะนาเสนอตามข้อมูลการสื บสวนของตารวจ และเลือกนาเสนอข้อมูลจากบุคคลใกล้ชิดผู ้
ก่อเหตุ เพื่อสะท้อนให้เห็ นพฤติกรรมของบุคคลนั้นว่าเป็ นคนอย่างไรถึงมาก่อเหตุรุนแรงเช่ นนี้ ได้
ประกอบกับผูใ้ กล้ชิดผูต้ อ้ งหาก็ยนิ ดีให้ขอ้ มูลกับสื่ อซึ่ งแตกต่างจากครอบครัวของผูต้ อ้ งหารายอื่นๆ
“เป็ นกำรนำเสนอตำมแนวทำงกำรสื บสวนของตำรวจที่ ได้ ข้อมูล
เพื่ อจะได้ นำเสนอให้ ครบทุกมิติ ว่ ำเค้ ำมีพฤติ กรรมอย่ ำงไร ทำไมถึง
มำก่ อ เหตุ เช่ นนี ้”(นำยวิ ช ญศั ก ดิ์ สุ วรรณทั ต บรรณำธิ ก ำรข่ ำวสด
ออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 17 พ.ค.2561)
“กำรนำเสนอเบื อ้ งหลังชี วิตส่ วนหนึ่ งมำจำกแหล่ งข่ ำวที่ออกมำให้
ข่ ำวต่ อสื่ อมวลชน คดีอื่นพ่ อแม่ ผ้ ตู ้ องหำไม่ ออกมำพูด เค้ ำจะเงียบไป
แต่ คดีนีฝ้ ่ ำยญำติของผู้ต้องหำก็ออกมำเคลื่ อนไหวมำกพอสมควรว่ ำ
ผู้ต้องหำไม่ ได้ โหดร้ ำย เลีย้ งดูมำรดำ ซึ่ งเรำต้ องกำรสะท้ อนให้ เห็นว่ ำ
ครอบครั วเค้ ำแสดงออกถึงกำรปกป้ องคนในครอบครั วตัวเอง”(น.ส.
เมธำวี มัช ฌั น ติ ก ะ หั วหน้ ำแอดมิ น ข่ ำวสดออนไลน์ , กำรสื่ อ สำร
ระหว่ ำงบุคคล , 16 พ.ค.2561)
“เมื่อได้ รับคำสั่ งให้ นำเสนอข่ ำวในทุกมิ ติเรำก็เสำะแสวงหำข้ อมูล
โดยเป็ นข้ อมูลตำมแนวทำงกำรสื บสวนของตำรวจที่ ระบุถึงบุคคล
ใกล้ ชิด เรำจึ งเลื อกสั มภำษณ์ บุคคลที่ใกล้ ชิดกับผู้ต้องหำ”(นำยจักร
พันธ์ นำทันริ ผู้สื่อข่ ำวประจำจังหวัดขอนแก่ น , กำรสื่ อสำรระหว่ ำง
บุคคล , 17 พ.ค.2561)
125

ประเด็นที่ 2 ปั จจัยภายในและภายนอกที่ส่งผลต่ อการวางกรอบข่ าวกรณีคดีนางสาวปรี ยา


นุช โนนวังชั ย
ผลการวิเคราะห์จากการสัมภาษณ์เชิงลึก พบว่าปั จจัยภายในและปั จจัยภายนอกที่ส่งผล
ต่อการวางกรอบข่าวอาชญากรรมกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. ปัจจัยภายใน
1.1ประสบการณ์ส่วนตัวของบุคลากรข่าวที่มีต่อการก่ออาชญากรรมโดยผูห้ ญิง
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลประกอบด้วย บรรณาธิ การข่าวข่าวสดออนไลน์ หัวหน้าแอดมินข่าวสด
ออนไลน์ และผูส้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่น ซึ่ งผูใ้ ห้ขอ้ มูลทั้งสามคนพบว่ามีการใช้ประสบการณ์
การทางาน และทัศนคติที่มีต่อคดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย มาใช้เป็ นปั จจัยภายในที่สาคัญใน
การวางกรอบข่าว โดยมีรายละเอียด ดังนี้
บรรณาธิ ก ารข่ าวสดออนไลน์ เห็ นว่าคดี ของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย น่ าสนใจ
เนื่ องจากที่ผา่ นมาแม้วา่ จะมีผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาในคดีอาชญากรรมที่มีพฤติการณ์ในคดีที่ร้ายแรง แต่
ส่ วนใหญ่จะพบว่าผูห้ ญิงเป็ นผูบ้ งการมากกว่าเป็ นผูล้ งมือก่อเหตุ
“ข่ ำวนีเ้ ป็ นข่ ำวสะเทื อนขวัญ เป็ นคดีใหญ่ แม้ ว่ำที่ผ่ำนมำคดีที่ผ้ หู ญิง
เป็ นคนร้ ำยจะมีจำนวนมำก แต่ ส่วนมำกผู้หญิงจะเป็ นผู้บงกำรฆ่ ำเสี ย
มำกกว่ ำ แต่ ผ้ ูหญิ งที่ลงมื อฆ่ ำเอง หั่ นศพชำแหละศพเองในประเทศ
ไทยยังมีน้อยมำกไม่ เหมือนกับต่ ำงประเทศ”(นำยวิชญศักดิ์ สุ วรรณ
ทั ต บรรณำธิ ก ำรข่ ำวสดออนไลน์ ,กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุ ค คล , 17
พ.ค.2561)
หัวหน้าแอดมินข่าวสดออนไลน์ เห็นว่าคดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย เป็ นคดีที่มี
พฤติการณ์ การก่อเหตุที่โหดร้ ายและรุ นแรง และถึงแม้ว่าผูห้ ญิงเป็ นผูก้ ่อเหตุจะทาให้ข่าวน่ าสนใจ
แต่ส่วนตัวกลับมองว่าพฤติการณ์ ของคดีที่โหดเหี้ ยม และรายละเอียดของผูท้ ี่เกี่ ยวข้องในข่าวเป็ น
จุดเด่นที่ทาให้คดีน่าสนใจมากกว่า
“ไม่ ค่อยมีคดีที่ผ้ หู ญิงเป็ นผู้ลงมือ และลงมือได้ โหดร้ ำย ต้ องบอกว่ ำ
คดีนี โ้ หดร้ ำยมำก ฆ่ ำยังไม่ พ อ หั่ น อ ำพรำงศพอี ก เป็ นคดีใ หญ่ แต่
สำหรั บสื่ อ ไม่ ว่ำใครจะเป็ นคนทำต้ องนำเสนอเหมือกัน ไม่ ได้ ขึน้ อยู่
กั บ ว่ ำ หน้ ำตำผู้ต้ อ งหำเป็ นอย่ ำงไร เป็ นผู้ห ญิ งหรื อ เป็ นผู้ช ำย แต่
ผู้ต้องหำคนนีม้ ีเรื่ องรำวเยอะมำก เรำจึ งนำเสนอสะท้ อนว่ ำเค้ ำเป็ นคน
อย่ ำ งไร เค้ ำคิ ด อย่ ำ งไร จึ ง ท ำให้ ก่ อ เหตุ แ บบนี ้ขึ้น ”(น.ส.เมธำวี
126

มัช ฌั นติ กะ หั วหน้ ำแอดมิ นข่ ำวสดออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำง


บุคคล , 16 พ.ค.2561)
1.2 ทัศนคติส่วนตัวของบุคลากร ที่มีต่อการก่ออาชญากรรมโดยผูห้ ญิง
ขณะที่ผูส้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่น เห็ นว่าคดีน้ ี น่าสนใจมาก ที่ผ่านมาไม่เคย
พบคดี ที่มีพฤติการณ์ แบบนี้ ในพื้นที่จงั หวัดขอนแก่นมาก่ อน และคดี น้ ี ผูห้ ญิงเป็ นผูก้ ่ อเหตุมีความ
น่ าสนใจมากกว่าคดี ที่ผูช้ ายเป็ นผูก้ ่ อเหตุ เนื่ องจากทัศนคติ ส่วนตัวเห็ นว่าผูห้ ญิงเป็ นเพศที่อ่อนแอ
หากไม่ถูกกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งอย่างรุ นแรงก็ไม่จะไม่ลงมือก่อเหตุ
“คดีนเี ้ ป็ นคดีสะเทื อนขวัญ เท่ ำที่ร้ ู ไม่ เคยเกิดในจังหวัดขอนแก่ น และ
รู้ สึ กว่ ำคดีนีน้ ่ ำสนใจถ้ ำไม่ ถึงที่สุดผู้หญิ งจะไม่ ก่อเหตุ ต้ องมีเหตุดล
ใจให้ มำทำสิ่ งนี ้ เพรำะผู้หญิงเป็ นเพศที่น่ำรั ก อ่ อนโยน ต้ องมีชนวน
เหตุ (นำยจักรพั นธ์ นำทั นริ ผู้สื่ อข่ ำวประจำจังหวัดขอนแก่ น , กำร
สื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 17 พ.ค.2561)
นอกจากนี้ ผสู ้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่น ยังมีทศั นคติต่ออาชีพ พีอาร์ หรื อ พนักงาน
ประชาสัมพันธ์ ร้านคาราโอเกะ ซึ่ งเป็ นอาชี พ ของนางสาววริ ศรา กลิ่ นจุย้ หรื อ แอ๋ ม ผูเ้ สี ยชี วิต ว่า
ส่ วนใหญ่จะเป็ นหญิงสาวที่มีหน้าตาดีทางานในหน้าที่น้ ี
1.3 กระบวนการทาข่าวระหว่างบรรณาธิการกับผูป้ ฏิบตั ิงาน
ผูส้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่ น ให้ขอ้ มูล ว่ามี ปั จจัยภายในเกี่ ยวกับการบริ หาร
จัดการเข้ามาเกี่ยวข้องกับการวางกรอบข่าวในคดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย เนื่องจากบรรณาธิการ
ข่าวสดออนไลน์ได้ส่ังการให้ผสู ้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่นติดตามคดีน้ ี อย่างใกล้ชิด และรายงาน
ความคืบหน้าอย่างต่อเนื่ อง หรื อ ที่เรี ยกกันว่าห้ามตกข่าว ผูส้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่น จึงต้อง
แสวงหาข้อมูลมากขึ้น นอกเหนื อจากข้อมูลที่ได้รับจากเจ้าหน้าที่ตารวจ หรื อ พนักงานสอบสวนใน
คดี ยัง แสวงหาข้อ มู ล จากโซเชี ย ลมี เดี ย และแหล่ ง ข่ า ว หรื อ บุ ค คลที่ มี ค วามใกล้ชิ ด กับ ทั้ง ฝ่ าย
ผูเ้ สี ยชีวติ และผูต้ อ้ งหาส่ งให้กองบรรณาธิการ
“กองบรรณำธิ กำรสั่ งให้ ตำมต่ อ เนื่องจำกเป็ นคดีที่สะเทื อนขวัญ คดี
อุกฉกรรจ์ และเกิ ดขึ น้ ยำกในจังหวัดขอนแก่ น ก็เลยเป็ นแนวทำงที่
กองบรรณำกำรสั่ ง ให้ ตำมต่ อ ในทุ ก มิ ติ ” (นำยจั ก รพั น ธ์ นำทั น ริ
ผู้สื่อข่ ำวประจำจังหวัดขอนแก่ น, กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 17 พ.ค.
2561)
127

1.4 นโยบายองค์กร
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลทั้งสามคนระบุสอดคล้องกันว่า นโยบายองค์กรได้มีขอ้ กาหนดในการ
นาเสนอข่าวทัว่ ไป เช่น การเซ็นเซอร์ ภาพ การสะกดคา ข้อมูลที่นาเสนอต้องถูกต้องไม่บิดเบือน ไม่
ละเมิดสิ ทธิ ของผูอ้ ื่น แต่นโยบายองค์กรไม่ได้มีขอ้ กาหนดโดยเฉพาะเจาะจงต่อการนาเสนอข่าวคดี
นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย นโยบายองค์กรจึงไม่ส่งผลต่อการนาเสนอข่าวและการวางกรอบข่าวคดี
นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
1.5 เวลาในการทางาน
บรรณาธิ การข่าวสดออนไลน์ และหัวหน้าแอดมินข่าวสดออนไลน์ ระบุสอดคล้อง
กันว่าการทางานมีการแบ่งช่วงเวลาและความรับผิดชอบอย่างชัดเจน เวลาในการทางานจึงไม่ได้บีบ
รัดให้กองบรรณาธิ การต้องแข่งขันกับเวลา และไม่ส่งผลต่อการนาเสนอข่าวและการวางกรอบข่าว
จากการสัมภาษณ์ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลทั้งสามท่านพบว่าปั จจัยภายในด้านประสบการณ์ส่วนตัว
ของบุคลากรข่าวที่มีต่อการก่ออาชญากรรมโดยผูห้ ญิง เป็ นส่ วนสาคัญที่สุดที่ส่งผลต่อการวางกรอบ
ข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ที่ผใู ้ ห้ขอ้ มูลทั้งสามท่านเห็นว่าเป็ นคดีที่น่าสนใจ เนื่องจาก
การทางานที่ผา่ นมาไม่ค่อยพบคดีอาชญากรรมที่มีผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหา ประกอบกับทัศนคติของผูใ้ ห้
ข้อมูลที่ รู้สึกตกใจและแปลกใจว่าผูห้ ญิงซึ่ งเป็ นเพศที่ อ่อนแอกว่าผูช้ าย แต่เป็ นผูก้ ่ อเหตุ ในดคีที่ มี
พฤติ ก ารณ์ ร้ายแรง จึ งเลื อกการน าเสนอโดยเน้น ไปที่ น างสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย ผูห้ ญิ งที่ เป็ น
ผูต้ อ้ งหาโดยนารู ปลักษณ์ ภายนอกมาใช้เป็ นจุดดึงดูดความสนใจของผูอ้ ่าน ทั้งในส่ วนของคาที่ใช้
และภาพที่ใช้พบว่าในข่าวมีการเลื อกใช้ภาพของผูเ้ กี่ ยวข้องในข่าว ทั้งนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ หรื อ
แอ๋ ม ผูเ้ สี ยชีวติ และนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา ในลักษณะที่ดูดีและเซ็กซี่
2. ปัจจัยภายนอก
2.1 เจ้าหน้าที่ตารวจ
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลทั้งสามท่านให้ขอ้ มูลสอดคล้องกันว่าเนื้ อหาข่าวในคดีของนางสาว
ปรี ยานุช โนนวังชัย ที่เลือกนามาเสนอส่ วนใหญ่เป็ นข้อมูลที่ได้มาจากเจ้าหน้าที่ตารวจ เนื่องจากเห็น
ว่าข้อมูลเหล่านี้เป็ นข้อมูลที่น่าเชื่อถือที่สุด
“สื่ อน ำข้ อ มูล ที่ ไ ด้ จำกต ำรวจมำน ำเสนอ เช่ นกรณี สื บ สวนพบว่ ำ
ผู้ต้องหำเชื่ อมโยงกับแก๊ งยำเสพติด แต่ เมื่อตำรวจได้ สืบสวนแล้ วตัด
ประเด็ น นี ้อ อกไป เรำก็ น ำสเนอว่ ำ ต ำรวจมี ก ำรสื บสวนอย่ ำงไร
เนื่ องจำกเรำจะไปสื บ สวนเองก็ไ ม่ ได้ ”(นายวิช ญศัก ดิ์ สุ วรรณทัต
บรรณาธิ การข่าวสดออนไลน์, การสื่ อสารระหว่างบุคคล , 17 พ.ค.
2561)
128

“ข้อมูลที่ได้มาเป็ นแนวทางการสื บสวนของตารวจ เมื่อมีขอ้ มูลแล้ว


เราก็นามาเสนอเป็ นความคืบหน้าของคดี ที่จะต้องรายงานในแต่ละ
วันว่าเกิดอะไรขึ้นบ้าง” (น.ส.เมธาวี มัชฌันติกะ หัวหน้าแอดมินข่าว
สดออนไลน์, การสื่ อสารระหว่างบุคคล , 16 พ.ค.2561)
ขณะที่ ผูส้ ื่ อข่ าวประจาจังหวัดขอนแก่ น ระบุ ถึงกรณี สื่ อนาเสนอประเด็น เรื่ องผูต้ ้องหา
เชื่ อมโยงกับขบวนการค้ายาเสพติดข้ามชาติลดลง เนื่องจากนายตารวจระดับผูใ้ หญ่ คือผูบ้ ญั ชาการ
ตารวจแห่งชาติ เป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูลยืนยันว่าคดีฆาตกรรมนี้ไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นดังกล่าว
“แนวทำงกำรสื บสวนตำรวจมันจบ เพรำะ ผบ.ตร. ออกมำบอกว่ ำไม่
เกี่ยว ท ำให้ ประเด็นนีจ้ บไป ผบ.ตร.มำพู ดแล้ วก็ต้องจบ”(นายจัก ร
พันธ์ นาทันริ ผูส้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่น, การสื่ อสารระหว่าง
บุคคล , 17 พ.ค.2561)
2.2 แหล่งข่าว
หัวหน้าแอดมินข่าวสด และผูส้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่น ให้ขอ้ มูลสอดคล้อง
กันว่าแหล่งข่าว คือแหล่งข้อมูลที่ถูกเลือกนามาเสนอเป็ นข้อมูลหลักรองจากข้อมูลของตารวจ และ
ในคดีฆาตกรรมทัว่ ไปแหล่งข่าวที่เป็ นครอบครัวของผูเ้ กี่ยวข้องในข่าวมักจะไม่ให้ขอ้ มูล แต่คดีน้ ีผทู ้ ี่
เกี่ยวข้องในข่าวโดยเฉพาะฝั่งของผูต้ อ้ งหามีการออกมาให้ขอ้ มูลหลายครั้ง สื่ อจึงเลือกนามาเสนอ
“แหล่ งข่ ำวมี ก ำรออกมำให้ ข้ อมู ล กั บ สื่ อมวลชน ในคดี อื่ นๆ
ครอบครั วจะไม่ ค่อยออกมำพูดมำกนัก ส่ วนใหญ่ กจ็ ะไม่ ให้ ข้อมูล ซึ่ ง
แตกต่ ำงกับคดีนีท้ ี่ครอบครั วโดยเฉพำะฝั่ งผู้ต้องหำออกมำใช้ พื้นที่
ของสื่ อในกำรพูดมกับสั งคม” (น.ส.เมธาวี มัชฌันติกะ หัวหน้าแอด
มินข่าวสดออนไลน์, การสื่ อสารระหว่างบุคคล , 16 พ.ค.2561)
ด้านผูส้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่น ระบุวา่ หลังได้รับคาสั่งให้ติดตามคดีและรายงาน
ข่าวอย่างต่อเนื่ องจึงเลื อกนาข้อมูลที่ได้จากแหล่งข่าวของผูเ้ กี่ ยวข้องในข่าวส่ งให้กองบรรณาธิ การ
เพื่อนาเสนอข้อมูลให้รอบด้าน
“เมื่ อได้ รับคำสั่ งให้ ตำมคดีนีก้ ็ได้ เลื อกติ ดตำมนอกจำกติ ดตำมกำร
สื บ สวนสอบสวนของตำรวจแล้ ว ยังน ำข้ อมูล ที่ ไ ด้ จำกแหล่ งข่ ำว
ต่ ำงๆ ส่ งให้ กองบรรณำธิ กำร จนกว่ ำกองบรรณำธิ กำรจะมีคำสั่ งให้
หยุ ด ตำมคดี นี ้” (นายจัก รพัน ธ์ นาทัน ริ ผู ้สื่ อข่ า วประจ าจัง หวัด
ขอนแก่น, การสื่ อสารระหว่างบุคคล , 17 พ.ค.2561)
129

2.3 ความสนใจและปฏิสัมพันธ์ของผูร้ ับสาร


บรรณาธิ การข่าวสดออนไลน์ ให้ขอ้ มูลว่าผูร้ ับสารถือเป็ นหัวใจสาคัญที่ส่งผลต่อ
การนาเสนอข่าวและการวางกรอบข่าว ในคดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย เนื่องจากการนาเสนอ
ข่าวออนไลน์ ในปั จจุ บ ันเมื่ อนาเสนอข่ าวใดข่ าวหนึ่ งผ่านทางออนไลน์ท างกองบรรณาธิ ก ารจะ
ติดตามยอดการเข้าชม การมี ส่วนร่ วม และการแสดงความคิดเห็ นในข่าวทันทีว่าผูร้ ับสารมีความ
สนใจข่ า วนี้ มากน้ อ ยเพี ย งไร หากผูร้ ั บ สารหรื อ สั ง คมมี ค วามสนใจข่ า วนี้ จ านวนมากทางกอง
บรรณาธิ ก ารก็ ส่ั งการให้ผูส้ ื่ อข่ าวและแอดมิ น ข่าวนาเสนอความคืบ หน้าข่ าวนี้ อย่างเร่ งด่ วนเพื่ อ
ตอบสนองความต้องการของผูร้ ับสาร
“เรำจะดูจำกปฏิ กิริยำของคนอ่ ำน เช่ น ข่ ำวเปรี ้ยวเป็ นคนฆ่ ำหั่ นศพ
แอ๋ ม มี จ ำน วน คน คลิ กเข้ ำมำอ่ ำน จ ำน วน มมำก ไม่ เห มื อน
หนังสื อพิมพ์ ที่ต้องดูว่ำยอดขำยกี่ฉบับและไม่ สำมำรถบอกได้ ว่ำมีคน
อ่ ำนเท่ ำไหร่ แต่ สื่อออนไลน์ เรำรู้ ทันทีที่ลงข่ ำวไปว่ ำมีคนคลิ กเข้ ำมำ
หลำยแสน เรำก็ร้ ู เลยว่ ำคนสนใจข่ ำวนี ้ หน้ ำที่ ของสื่ อก็ต้องขุดคุ้ ย
นำเสนอควำมคื บหน้ ำ เพรำะคนก็ต้องกำรรู้ ควำมคื บหน้ ำทำงคดีไป
เรื่ อยๆ ว่ ำจับได้ หรื อยัง ตำมกระบวนกำรทำงำนของสื่ อ ” (นำยวิชญ
ศั ก ดิ์ สุ ว รรณทั ต บรรณำธิ ก ำรข่ ำวสดออนไลน์ , กำรสื่ อ สำรส่ วน
บุคคล , 17 พ.ค.2561)
2.4 โซเชียลมีเดีย
หัวหน้าแอดมิ นข่าวสดออนไลน์ และผูส้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่ น ให้ขอ้ มูล
สอดคล้องกันว่ากระแสของผูค้ นในสังคมที่ พูดถึ งกัน ในโซเชี ย ลมี เดี ย ถื อว่ามี ส่ วนส าคัญ ในการ
กาหนดเนื้ อหาและการวางกรอบข่าว เช่ น กระแสการทวีตเตอร์ ขอ้ ความ การโพสต์ขอ้ ความ ภาพ
คลิปวีดีโอและอื่นๆ ผ่านทางเฟซบุ๊คของบุคคลที่มีชื่อเสี ยงและบุคคลทัว่ ไป เพจเฟซบุ๊คที่มีผตู ้ ิดตาม
จานวนมากนาเสนอข้อมูลต่างๆ ล้วนส่ งผลต่อการนาเสนอเนื้ อหาและการวางกรอบข่าวในคดีของ
นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
“กระแสที่ปรำกฏในโซเชียลมีเดียส่ งผลโดยตรงต่ อกำรนำเสนอข่ ำว
ถ้ ำมีกระแสพูดถึงเรื่ องใดมำก เรำก็จะนำเสนอข่ ำวเกี่ยวกับเรื่ องนั้น ”
(น.ส.เมธำวี มั ช ฌั น ติ ก ะ หั ว หน้ ำแอดมิ น ข่ ำวสดออนไลน์ , กำร
สื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 16 พ.ค.2561)
“กระแสที่เกิ ดขึน้ ในโซเชี ยลมีเดียมีกำรพูดถึงคดีนีจ้ ำนวนมำก กำร
ท ำหน้ ำ ที่ ก ำรท ำหน้ ำที่ ข องผู้ สื่ อ ข่ ำวในพื ้น ที่ ก็จ ะต้ อ งแข่ ง ขัน กั บ
130

กระแสเหล่ ำนีแ้ ละยังใช้ กรแสเหล่ ำนีม้ ำเป็ นส่ วนในกำรสื บค้ นข้ อมูล
ด้ วย”(นำยจักรพันธ์ นำทันริ ผู้สื่อข่ ำวประจำจังหวัดขอนแก่ น , กำร
สื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 17 พ.ค.2561)
2.5 การแข่งขันระหว่างสื่ อกระแสหลัก และเพจต่างๆ
บรรณาธิ ก ารข่ า วสดออนไลน์ แ ละหัว หน้า แอดมิ น ข่ า วสดออนไลน์ ให้ ข ้อ มู ล
สอดคล้องกันว่าว่า การนาเสนอข่าวในคดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย มีการแข่งขันกันสู งมาก
ทั้งจากสื่ อกระแสหลักและเพจต่างๆในโซเชียลมีเดีย ถือเป็ นการแข่งขันกันอย่างดุเดือด ซึ่ งส่ งผลต่อ
การนาเสนอข่าวคดีของนางสาวปรี ยานุช ในด้านความรวดเร็ ว ความเฉี ยบคมของประเด็นข่าว ความ
ลึกและความถูกต้องของข้อมูล
“ทุกช่ องมีกำรแข่ งขันกันทั้งเรื่ องควำมเร็ ว ควำมถูกต้ อง แม่ นยำ ข่ ำว
ที่ดิบๆ แม้ ข้อมูลจะได้ มำจำกตำรวจแต่ บำงครั้ งก็มีควำมผิดพลำด มัน
ก็ต้องแข่ งกันว่ ำใครได้ มำลึกแค่ ไหน ไม่ ได้ หวังเพียงยอดคนดู แต่ เห็น
ว่ ำ กำรแข่ ง ขั น ระหว่ ำ งสื่ อมี ส ำคั ญ ” (นำยวิ ช ญศั ก ดิ์ สุ ว รรณทั ต
บรรณำธิ กำรข่ ำวสดออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 17 พ.ค.
2561)
“คู่แข่ งถื อว่ ำมีส่วนสำคัญ เรำจึ งต้ องรู้ ว่ ำข่ ำวไหนต้ องเร็ ว ข่ ำวไหน
ต้ องมีประเด็นแหลมคมเช่ นข่ ำวจับเปรี ้ยวได้ แล้ วข่ ำวแบบนีต้ ้ องเร็ ว
ใครเร็ วกว่ ำก็วิน ” (น.ส.เมธำวี มัชฌั นติ กะ หั วหน้ ำแอดมิ นข่ ำวสด
ออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 16 พ.ค.2561)
2.6 ผูโ้ ฆษณาซึ่งเป็ นผูส้ นับสนุนองค์กร และบรรทัดฐานทางสังคม
บรรณาธิ ก ารข่ าวสดออนไลน์ และหัวหน้าแอดมิ น ข่ าวสดระบุ ว่า ผูโ้ ฆษณาไม่
ส่ งผลต่อการนาเสนอข่าวคดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
บรรณาธิ การข่าวสดออนไลน์ ระบุวา่ ผูโ้ ฆษณาแม้จะเป็ นรายได้หลักขององค์กรแต่ใน
ส่ วนการนาเสนอข่าวอาชญากรรมไม่ได้ถูกจากัด หรื อ กาหนดจากผูโ้ ฆษณา เนื่ องจากผูโ้ ฆษณาไม่
ต้องการให้สินค้าของตัวเองมาปรากฏในหมวดหมู่ข่าวอาชญากรรมซึ่ งผูโ้ ฆษณาส่ วนใหญ่จะเห็นว่า
เป็ นภาพลักษณ์ดา้ นลบ
“ข่ ำวแบบนีไ้ ม่ มผี ลต่ อกำรโฆษณำ เอเจนซี่ หรื อแบรนด์ ต่ำงๆ เค้ ำไม่
อยำกมำลงข่ ำวฆำตกรรม หรื อข่ ำวอะไรแบบนีห้ รอก กำรนำเสนอ
ข่ ำวไม่ เกี่ยวกับโฆษณำ โฆษณำไม่ ได้ มีส่วนกำหนดเลย บำงสิ นค้ ำก็
ขอให้ ถอดออกไปจำกข่ ำวพวกนีด้ ้ วย เพรำะเป็ นผลด้ ำนลบ” (นำย
131

วิชญศักดิ์ สุ วรรณทัต บรรณำธิ กำรข่ ำวสดออนไลน์ , กำรสื่ อสำรส่ วน


บุคคล , 17 พ.ค.2561)
ขณะที่บรรทัดฐานทางสังคม หัวหน้าแอดมินข่าวสดออนไลน์ ระบุวา่ การนาเสนอข่าว
ทุกข่าวจะต้องมีบรรทัดฐานทางสังคม ทั้งด้านศีลธรรม ความเชื่อ ศาสนา แต่ไม่ได้ส่งผลโดยตรงต่อ
การกาหนดเนื้อหาข่าวและการวางกรอบข่าวในคดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
จากการสัมภาษณ์ผใู ้ ห้ขอ้ มูลทั้งสามคนพบว่าปั จจัยภายนอกที่สาคัญที่สุด และส่ งผลต่อ
การวางกรอบข่าวกรณี คดี นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย คือ เจ้าหน้าที่ตารวจ แต่ในส่ วนนักวิชาการ
ด้านสื่ อสารมวลชน ไม่ เห็ น ด้วย โดยเห็ น ว่า สื่ อมวลชนควรเป็ นผูก้ าหนดประเด็น ข่ าวเองไม่ ใ ช่
เจ้าหน้าที่ตารวจ

4.3 ส่ วนที่ 3 ผลการศึกษาจากการสั มภาษณ์ กลุ่มองค์ กรวิชาชี พที่กากับดูกันเองในกลุ่มสื่ อมวลชน


และ นักวิชาการ
การสั ม ภาษณ์ เชิ ง ลึ ก องค์ก รวิช าชี พ ที่ ก ากับ ดู แ ละกัน เองในกลุ่ ม สื่ อ มวลชน และ
นักวิชาการหรื อผูท้ รงคุณวุฒิ ในส่ วนนี้ จะนาเสนอผลการสัมภาษณ์ที่ตอบวัตถุประสงค์การวิจยั ข้อที่
1 , 2 โดยจะน าเสนอเป็ น 3 ประเด็ น ได้แ ก่ ประเด็ น ที่ 1 ความคิ ด เห็ น ต่ อ การวางกรอบข่ า ว
อาชญากรรมกรณี คดีปรี ยานุช โนนวังชัย ประเด็นที่ 2 ความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางกรอบ
ข่ า วของสื่ อ มวลชนกรณี ค ดี ป รี ย านุ ช โนนวังชัย และประเด็ น ที่ 3 ความคิ ด เห็ น ต่ อ วิธี ก ารที่ สื่ อ
ประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรมกรณี คดีปรี ยานุช โนนวังชัย
ประเด็นที่ 1 ความคิดเห็นขององค์กรวิชาชี พที่กากับดูแลกันเองในกลุ่มสื่ อมวลชนและ
นักวิชาการต่อการวางกรอบข่าวอาชญากรรมกรณี คดีปรี ยานุช โนนวังชัย
ผู ้ท รงคุ ณ วุ ฒิ และนัก วิ ช าการด้า นสื่ อ สารมวลชน ได้เสนอแนะการวางกรอบข่ า ว
อาชญากรรม ว่าสื่ อมวลชนควรคานึงถึงผลกระทบที่ตามมาจากการนาเสนอข้อมูลนั้นๆว่าจะส่ งผล
ให้เกิ ดค่านิ ยมที่ ผิดๆต่อสั งคมหรื อไม่ แต่ หากมี ความจาเป็ นต้องนาเสนอข้อมู ลนั้นก็ควรอธิ บ าย
เพิ่มเติมถึงปั ญหาในระดับโครงสร้างของสังคมร่ วมไปด้วย เพื่อให้เกิ ดการแก้ไขปั ญหาในสังคม มี
รายละเอียดดังนี้
ดร.ชเนตตี ทินนาม อาจารย์ประจาคณะนิ เทศศาสตร์ จุฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้
อธิ บ ายถึ งการน าเสนอข่าวเกี่ ยวกับ ปั ญหาด้านโครงสร้ างทางสังคม ว่าสื่ อมวลชนก็เป็ นหนึ่ งใน
โครงสร้างที่ส่งผลต่อสังคม การนาเสนอข่าวของสื่ อมวลชนควรมองให้กา้ วข้ามระดับของเหตุการณ์
ว่าเกิ ดอะไรขึ้ น ที่ ไ หน เมื่ อไหร่ อย่างไร แต่ ค วรมองให้เห็ น ถึ งสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน และปั จจัย ระดับ
โครงสร้างสังคมว่าทาไมคนๆหนึ่งถึงกลายมาเป็ นอาชญากร
132

“กำรรำยงำนข่ ำ วอำชญำกรรม สื่ อต้ อ งรำยงำนให้ เห็ นถึ ง ปั จ จั ย


โครงสร้ ำงสั งคมที่ให้ คนมำเป็ นอำชญำกร หมำยถึงกำรที่คนๆหนึ่งมำ
เป็ นอำชญำกร อำจเกิดจำกหลำยปั จจัย เช่ น ระดับกำรศึ กษำ สถำบัน
ทำงเศรษฐกิ จ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ให้ ค่ ำแรงที่ เป็ นธรรม คนที่ เคยมี ป ระวั ติ
ต้ องโทษในคดีต่ำงๆ ก็จะไม่ ไ ด้ รับ โอกำสเข้ ำท ำงำน เค้ ำก็ต้องไป
ทำงำนที่มี่ค่ำแรงตำ่ สุ ดท้ ำยมันก็ผลักให้ คนกลับมำเป็ นอำชญำกรอีก
นี่เป็ นตัวอย่ ำงของระบบมันมีเยอะกว่ ำนี ้ ระบบสื่ อก็เป็ นโครงสร้ ำง
สังคมพอคนก่ ออำชญำกรรมสื่ อก็มองว่ ำเค้ ำเป็ นคนที่มีปัญหำตนพวก
นีก้ ไ็ ม่ มีสิทธิ กลับใจเลยหรื อ สื่ อไม่ เห็นเลยว่ ำโครงสร้ ำงเคยปั้ นคนๆ
หนึ่งให้ มำเป็ นแบบนี”้ (ดร.ชเนตตี ทินนำม อำจำรย์ ประจำคณะนิเทศ
ศำสตร์ จุฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย, กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 14 มิ.ย.
2561)
สอดคล้องกับ ผศ.สกุ ล ศรี ศรี ส ารคาม หัวหน้าสาขาวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจ้น ท์
คณะนิเทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปั ญญาภิวฒั น์ เห็นว่าสื่ อมวลชนควรนาเสนอคาอธิ บายเพิ่มเติม
จากข้อมูลที่ได้จากแหล่งข่าว ภายใต้ขอ้ จากัดการทางานของสื่ อมวลชนที่ตอ้ งเร่ งรี บ เช่น สื่ อมวลชน
น าเสนอข่ า วตามเหตุ ก ารณ์ ว่า เกิ ด อะไรขึ้ น ก่ อ น จากนั้น เมื่ อ ได้ข ้อ มู ล เพิ่ ม เติ ม เช่ น ข้อ มู ล จาก
นักจิตวิทยา ก็นาข้อมูลนั้นมาประกอบในภายหลัง เพื่อให้คนเข้าถึงเนื้อหาที่รอบด้าน
“กำรนำเสนอข้ อมูลที่ได้ จำกแหล่ งข่ ำวโดยไม่ มีคำอธิ บำยปรำกฏ ถือ
ว่ ำ เป็ นสิ่ งหนึ่ ง ที่ ห ำยไปจำกข่ ำ วอำชญำกรรม คื อ ไม่ มี ค ำอธิ บ ำย
ปรำกฏ เช่ นพ่ อแม่ เป็ นแบบนี ้ ครอบครั วแบบนี ้ ลูกถูกเลีย้ งดูแบบนี ้
มัน อำจจะก่ อให้ เกิ ดพฤติ กรรมที่ รุนแรง คำอธิ บำยระหว่ ำงบรรทั ด
ของสื่ อมันไม่ ถูกขยำยออกไปจำกบุคคล จำกควำมรุ นแรงที่เกิ ดขึ น้
จำกตัวบุคคลควรขยำยให้ นำไปสู่ ประเด็นกำรจัดกำรควำมรุ นแรงใน
สั ง คม โดยใช้ วิ ธี ก ำรน ำเสนอทั้ งชุ ด ข่ ำวเร็ ว และข่ ำวบริ บท มั น
สำมำรถเชื่ อมโยงมำหำกันได้ เมื่อนำเสนอข่ ำวเหตุกำรณ์ ไปแล้ วเมื่อมี
ข่ ำวเชิ งวิ เครำะห์ เรำก็นำเสนอประกบได้ เพื่ อให้ คนเข้ ำถึ งเนื ้อหำที่
รอบด้ ำน ที่ผ่ำนมำสื่ อก็พยำยำมทำแต่ ว่ำกระจัดกระจำย ไม่ นำมำรวม
ไว้ ในที่ เดียวกัน คนก็ไม่ ได้ ไปสื บหำว่ ำมีอะไรเกิ ดขึ น้ มำก่ อน หรื อ
เกิ ดที ห ลัง เช่ นรู้ ว่ ำคนจะเข้ ำไปอ่ ำนข่ ำวที่ ดรำม่ ำ เรำก็ต้องท ำอั น นี ้
ประกบ ว่ ำควำมดรำม่ ำมันมีเนื อ้ หำนะ มันมีบริ บทนะ” (ผศ.สกุลศรี
133

ศรี สำรคำม หั วหน้ ำสำขำวำรสำรศำสตร์ คอนเวอร์ เจ้ นท์ คณะนิ เทศ


ศำสตร์ สถำบันกำรจัดกำรปั ญญำภิวฒ ั น์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล ,
8มิ.ย.2561)
ด้าน ผศ. ดร.วิไลวรรณ จงวิไลเกษม อาจารย์ประจาคณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์ แสดงความคิดเห็นกรณี การนาประเด็นจากโซเชียลมีเดียมานาเสนอเพื่อบอกสังคมว่า
ขณะนี้กาลังเกิดอะไรขึ้น แต่สื่อควรคานึงว่าประเด็นที่เลือกมานาเสนอนั้นก่อให้เกิดประโยชน์อะไร
กับสังคมบ้าง
“บำงที สื่ อไม่ ร้ ู ว่ ำจะคิ ดประเด็นอะไร ก็หำประเด็นอะไรแบบนี ้
ไม่ ยอมคิ ดในเชิ งภำพใหญ่ ในเชิ งโครงสร้ ำง ที่ ไม่ ได้ ก่อให้ เกิ ด
ประโยชน์ อะไรจำกสั งคม แต่ ถ้ำสื่ อจะบอกว่ ำเป็ นกำรแข่ งขัน
อำจำรย์ มองว่ ำต้ องแข่ งขันอย่ ำงมีคุณภำพ” (ผศ. ดร.วิไลวรรณ จง
วิ ไ ล เก ษ ม อ ำ จ ำ ร ย์ ป ร ะ จ ำ ค ณ ะ ว ำ ร ส ำ ร ศ ำ ส ต ร์
มหำวิ ท ยำลัยธรรมศำสตร์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 14 มิ .ย.
2561)
จากการศึ กษายังพบว่าประเด็นการแข่งขันของสื่ อมวลชน ซึ่ งพบว่าสื่ อมวลชนไม่ได้
แข่งขันกันเฉพาะสื่ อหลักเท่านั้น แต่การแข่งขันยังครอบคลุมไปถึงเพจต่างๆ และส่ งผลต่อการวาง
กรอบข่าวด้วย ซึ่ งนักวิชาการด้านสื่ อสารมวลชน มีความเห็นสอดคล้องกันว่าสื่ อมวลชนวิชาชีพไม่
ควรไปแข่งขันกับเพจต่างๆ ควรรักษามาตรฐานในการนาเสนอข่าวเพื่อเป็ นที่พ่ ึงของคนในสังคม
ไม่ควรมุ่งเน้นไปที่การแข่งขันเพียงอย่างเดียว อาจทาให้ความน่ าเชื่ อถือของสื่ อมวลชนวิชาชี พถูก
ลดทอนลงไป และเป็ นการฆ่าตัวตายของสื่ อในระยะยาวด้วย
โดย ผศ.สกุลศรี ศรี สารคาม หัวหน้าสาขาวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจ้นท์ คณะนิ เทศ
ศาสตร์ สถาบันการจัดการปั ญญาภิวฒั น์ เห็นว่าสื่ อมวลชนวิชาชี พมองว่าคู่แข่งนอกจากสื่ อวิชาชี พ
ด้วยกันคือเพจต่างๆที่อยูใ่ นโซเชี ยลมีเดียแล้ว สื่ อมวลชนวิชาชีพไม่มีทางชนะเนื่ องจากสื่ อมวลชน
วิชาชี พต้องมี จริ ยธรรมกากับดู แล จะรายงานข่าวเฉพาะความดราม่าที่ เกิ ดขึ้น หรื อจะบอกว่าเกิ ด
อะไรขึ้นในสังคมเท่านี้ ยงั ไม่เพียงพอ แต่สื่อมวลชนวิชาชี พควรนาข้อมูลเหล่านั้นมารายงาน และ
เพิ่มคาอธิ บายเพื่อทางออกให้สังคมมากกว่า
“สื่ อมวลชนไม่ มีวันสู้ ข้ อมูล ของคนบนโลกโซเชี ยลมีเดียได้ เรำมี
จริ ยธรรมกำกับเค้ ำไม่ ต้อมี ถ้ ำสื่ อตัดสิ นใจว่ ำทำแบบนั้นแล้ วมีคนดู ก็
จบเลย ถ้ ำเรำไปสู้ ด้วยควำมเร็ ว ควำมดรำม่ ำ นอกจำกเรำสู้ ไม่ ไหว
แล้ ว มั น ยั ง ลดควำมน่ ำเชื่ อเรำลงด้ วย สุ ดท้ ำยคนก็ จ ะบอกว่ ำ
134

สื่ อ มวลชนไม่ ส ำมำรถเป็ นที่ พึ่ งของสั ง คมได้ เช่ น กำรเรี ย กร้ อง
เสรี ภำพของสื่ อมวลชน ก็ไม่ มีใครมำปกป้ องสื่ อ เพรำะคนรู้ สึ กว่ ำสื่ อ
ไม่ เห็ นท ำอะไรให้ เรำเลย มันเป็ นกำรฆ่ ำตัวตำยในระยะยำว แต่ เรำ
ต้ องหยิบข้ อมูลในโซเชี ยลมีเดียมำเสนอ โดยเพิ่ มคำอธิ บำยเข้ ำไป มี
ทำงออกให้ คนในสั งคม หรื อมีมิติในมุมมองอื่ นๆ” (ผศ.สกุลศรี ศรี
สำรคำม หั วหน้ ำสำขำวำรสำรศำสตร์ คอนเวอร์ เจ้ น ท์ คณะนิ เทศ
ศำสตร์ สถำบันกำรจัดกำรปั ญญำภิวฒ ั น์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล ,
8 มิ.ย.2561)
สอดคล้องกับความคิ ดเห็ นของ ผศ. ดร.วิไลวรรณ จงวิไลเกษม อาจารย์ประจาคณะ
วารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่มีความคิดเห็ นว่าสื่ อมวลชนวิชาชี พควรมองคู่แข่งขัน
เป็ นกลุ่มสื่ อมวลชนวิชาชี พด้วยกัน รวมไปถึงวิธีการนาเสนอข่าวที่สื่อมวลชนหันไปใช้วิธีเดียวกับ
เพจต่างๆที่อยูใ่ นโซเชียลมีเดียโดยใช้เทคนิคกระตุน้ อารมณ์และความรู ้สึกของผูอ้ ่าน หรื อ ผูช้ ม โดย
ลืมไปว่าข่าวไม่มีการเล่าเรื่ องแบบนี้
“คุณจะเปลี่ยนคู่ชกไม่ ได้ คู่ชกของคุณคื อใคร เมื่อคุณมองว่ ำตัวเอง
คื อสื่ อวิชำชี พแต่ เค้ ำไม่ ใช่ เมื่ อบอกว่ ำเป็ นสื่ อที่มำตรฐำน คุณจะไป
ชกกั บ เค้ ำท ำไม และข่ ำ วไม่ กำรใส่ อำรมณ์ คื อ ควำมรู้ สึ กลงไป
เมื่อก่ อนบอกว่ ำกล้ องหั นไปทำงไหน เรำก็เห็นด้ ำนเดียว ดังนั้นข่ ำวก็
เลือกนำเสนอด้ ำนนี ้ ไม่ ได้ มคี วำมยุติธรรมตั้งแต่ แรกอยู่แล้ ว แต่ ในยุค
นีค้ นข่ ำวกลับมำทำแบบกระตุ้นอำรมณ์ คน โดยใช้ วิธีเล่ ำเรื่ องแบบ
เพจต่ ำ งๆ”(ผศ. ดร.วิ ไ ลวรรณ จงวิ ไ ลเกษม อำจำรย์ ป ระจ ำคณะ
วำรสำรศำสตร์ มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล
, 14 มิ.ย. 2561)
ด้านนายก้าวโรจน์ สุ ตาภักดี นายกสมาคมผูผ้ ลิตข่าวออนไลน์ ได้แนะนาสื่ อมวลชนให้
ระมัดระวังการนาข้อมูลส่ วนบุคคลที่นาเสนอผ่านโซเชียลมีเดียทั้งในส่ วนรู ปภาพ และเนื้ อหามาใช้
ว่าควรขออนุ ญาตก่ อน เนื่ องจากที่ ผ่านมาสื่ อมวลชนมักเข้าใจว่าข้อมูลที่ถูกนาเสนอผ่านโซเชี ยล
มีเดียเป็ นข้อมูลสาธารณะ อาจเข้าข่ายความผิดตามกฏหมายได้
“กำรนำข้ อมูลจำกโซเชียลมีเดียมำใช้ เห็นว่ ำไม่ ได้ จะต้ องขออนุญำต
ทั้ งภำพและเนื ้อหำ เรำชอบคิ ดว่ ำเค้ ำโพสต์ แล้ วเป็ นสำธำรณะ เรำ
ตีค วำมเข้ ำ ข้ ำ งตั วเองควำมเป็ นจริ งแล้ วต้ อ งไปดู พระรำชบั ญ ญั ติ
คอมพิ ว เตอร์ ฯ ว่ ำ ได้ ไ หม ที่ สื่ อก็เลื อ กมำน ำเสนออย่ ำ งต่ อ เนื่ อ ง
135

เพรำะว่ ำขำยได้ ” (นำยก้ ำวโรจน์ สุ ตำภักดี นำยกสมำคมผู้ผลิ ตข่ ำว


ออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 13 มิ.ย.2561)
ประเด็ น ที่ 2 ความคิ ด เห็ น องค์ก รวิช าชี พ ที่ ก ากับ ดู แ ลกัน เองในกลุ่ ม สื่ อ มวลชนและ
นักวิชาการต่อปั จจัยที่ส่งผลต่อการวางกรอบข่าวของสื่ อมวลชน กรณี คดีปรี ยานุช โนนวังชัย
ผศ.สกุลศรี ศรี สารคาม หัวหน้าสาขาวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจ้นท์ คณะนิ เทศศาสตร์
สถาบันการจัดการปั ญญาภิวฒั น์ แสดงความคิดเห็นถึงการนาข้อมูลที่ได้ตารวจมานาเสนอว่าหาก
สื่ อมวลชนได้ขอ้ มู ลมาจากเจ้าหน้าที่ ตารวจ ควรจะคัดเลื อกว่าประเด็นใดควรนาเสนอต่อสังคม
โดยเฉพาะข่าวอาชญากรรมที่สื่อมวลชนอาจลืมหัวใจสาคัญในการนาเสนอว่า กาลังทาหน้าที่บอก
ว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้นในสังคม เพื่อให้เกิ ดการแก้ไขปั ญหา หรื อความผิดปกนั้น แต่การนาเสนอ
ข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว กลับทาให้สังคมเกิดความสนใจที่ตวั บุคคลเป็ น
หลัก แต่แทบไม่ได้สนใจประเด็นปั ญหาความรุ นแรง หรื อ พฤติกรรมการลอกเลียนแบบที่เกิดขึ้น
“ตำรวจไม่ ใช่ คน Set Agenda แต่ เรำต้ องเป็ นคนกำหนด แม้ ว่ำตำรวจ
จะให้ ข้อมูลอะไรมำ เรำก็เลื อกได้ ว่ำเรำจะเลื อกอะไรมำนำเสนอต่ อ
สั งคม เช่ นข่ ำวเด็กถูกข่ มขืน บ้ ำนเรำยังเห็นเด็กอยู่เ ลย แม้ จะไม่ เห็ น
หน้ ำ แต่ ในต่ ำงประเทศเค้ ำจะใช้ ภำพวำด หรื อ กำร์ ตูนแทน โดยไม่
จำเป็ นต้ องเห็ นตัวคนจริ งๆ ก็ทำให้ เข้ ำใจว่ ำเกิ ดปั ญหำ และคนก็จะ
สนใจที่ประเด็นปั ญหำนั้นๆ โดยไม่ ได้ สนใจที่ตัวบุคคล กำรทำข่ ำว
อำชญำกรรมมัก ลื มหั วใจของข่ ำวอำชญำกรรมไป ที่ เรำกำลังบอก
สั งคมว่ ำมีควำมผิดปกติในสั งคมและเรำพยำยำมแก้ ปัญหำนั้นไม่ ให้
เกิ ด อี ก แต่ ต อนนี ้เรำกลั บ รำยงำนข่ ำวโดยให้ ควำมสนใจไปที่ ตั ว
บุคคล ไม่ สนใจที่ปัญหำว่ ำทำไมจึ งเกิ ดเหตุกำรณ์ เช่ นนีข้ ึน้ เช่ นกรณี
คดีน ำงสำวปรี ยำนุช โนนวังชั ย หรื อ เปรี ้ยว แม้ จะเป็ นผู้องหำก็ตำ
เป็ นเหยื่อสั งคมในแง่ มิติค่ำนิยมควำมสวย ควำมรุ นแรง โดยใช้ ควำม
รุ นแรงจัดกำรกับปั ญหำ ก็จะทำให้ มีคนกลุ่มหนึ่ งที่ก ลำยเป็ นเหยื่ อ
เหมือนกัน และถกเถียงกันเรื่ องส่ วนตัวของนำงสำวปรี ยำนุช โดยลืม
ไปเลยว่ ำ ต้ อ งถกเถี ย งกั น เรื่ องท ำไมเกิ ด ควำมรุ น แรง พฤติ ก รรม
เลียนแบบจะเกิดไหม” (ผศ.สกุลศรี ศรี สำรคำม หั วหน้ ำสำขำวำรสำร
ศำสตร์ คอนเวอร์ เจ้ นท์ คณะนิ เทศศำสตร์ สถำบันกำรจัดกำรปั ญญำ
ภิวฒั น์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 8 มิ.ย.2561)
136

สอดคล้อ งกับ ความคิ ด เห็ น ของ ผศ. ดร.วิไลวรรณ จงวิไ ลเกษม อาจารย์ป ระจาคณะ
วารสารศาสตร์ มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ ที่แสดงความคิดเห็ นต่อการท างานของสื่ อมวลชนใน
ปั จจุบนั ว่ากาลังถูกตารวจ หรื อ พนักงานสอบสวนใช้เป็ นเครื่ องมือในการนาเสนอข้อมูลข่าวสาร ซึ่ ง
ถือว่าเป็ นปั ญหาใหญ่มากที่เกิ ดขึ้นกับสื่ อมวลชนสายอาชญากรรมที่ประเด็นข่าวถูกกาหนดมาจาก
เจ้าหน้าที่ ตารวจ ไม่ ใช่ สื่อมวลชน ซึ่ งประเด็นนั้นอาจมี วาระซ่ อนเร้นอยู่ด้วย สื่ อมวลชนต้องทา
หน้าที่ตรวจสอบข้อมูลนั้นๆก่อนนาเสนอ เช่น กรณี คดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว
ที่ มุ่ งเน้นไปที่ ป ระเด็ น เป็ นปั ญ หาส่ วนบุ ค คล โดยเชื่ อข้อมู ล ทุ ก อย่างที่ ไ ด้ม ากจากต ารวจ ท าให้
สื่ อมวลชนสายอาชญากรรมไม่ใช่ผคู ้ ิดประเด็นที่จะนาเสนอต่อสังคม
“นักข่ ำวอำชญำกรรมกำลังถูกพนักงำนสอบสวนใช้ เป็ นเครื่ องมื อ
หลำยๆครั้ ง เพรำะพนักงำนสอบสวนก็อำจต้ องกำรผลงำน ท้ ำยสุ ด
แล้ วมันเลยทำให้ คดีมันบิ ดเบีย้ วไป ในยุคของกำรที่คนทำสื่ อจะต้ อง
แข่ ง ขั น กั น มำก แต่ ขณะเดี ย วกั น คุ ณ ต้ องสร้ ำงสมดุ ล กั บ ค ำว่ ำ
จริ ยธรรม ส่ วนกรณี ที่พบว่ ำตำรวจกลำยเป็ นผู้วำงกรอบข่ ำวกรณี คดี
ของนำงสำวปรี ยำนุช โนนวังชัย หรื อเปรี ้ยว เห็นว่ ำ นี่คือปั ญหำใหญ่
มำกของนัก ข่ ำวอำชญำกรรม หรื อ นักข่ ำวสั งคมและอำชญำกรรม
ของประเทศไทย ที่ ป ระเด็น ข่ ำวเกิ ด ขึ ้น จำกต ำรวจที่ ท ำคดี โดยที่
ไม่ ได้ เป็ นผู้คิดประเด็นเอง ประเด็นมันถูกกำหนดมำจำกตำรวจ ไม่
คิ ดหรอว่ ำมันมี Agenda หรื อ Hidden Agenda ซ่ อนเร้ นอยู่ นักข่ ำวที่
อยำกจะใกล้ ค วำมจริ งมำกที่ สุ ด ก็ อ ำจตกเป็ นเครื่ องมื อ เรำต้ อ ง
ตรวจสอบก่ อนว่ ำมันจริ งหรื อไม่ จริ ง แต่ คุณเชื่ อโดยสนิทใจว่ ำข่ ำวมำ
จำกเจ้ ำหน้ ำที่คือควำมจริ ง เช่ นกรณี คดีนำงสำวปรี ยำนุช ที่ถกู ผลักให้
สนใจที่ ป ระเด็ น ส่ วนบุ ค คล” (ผศ. ดร.วิ ไ ลวรรณ จงวิ ไ ลเกษม
อำจำรย์ ป ระจำคณะวำรสำรศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยธรรมศำสตร์ ,กำร
สื่ อสำรส่ วนบุคคล , 14 มิ.ย. 2561)
ขณะที่ความสนใจและปฏิสัมพันธ์ของผูร้ ับสาร เป็ นอีกหนึ่ งปั จจัยที่มีส่วนสาคัญในการ
วางกรอบข่าวผูท้ รงคุณวุฒิ หรื อ นักวิชาการด้านสื่ อสารมวลชน ได้แสดงความคิดเห็นว่าสื่ อมวลชน
ไม่ควรสนใจเพียงแค่จานวนของผูร้ ับสาร แต่ควรศึกษา หรื อ วิเคราะห์สถิติ และข้อมูลเบื้องหลังตัว
เลขที่ปรากฏมาใช้ประกอบการวางกรอบข่าวด้วย
นำยก้ ำวโรจน์ สุ ตำภักดี นำยกสมำคมผู้ผลิ ตข่ ำวออนไลน์ ได้ แสดงควำมคิ ดเห็นถึงกำร
แข่ งขันด้ ำนออนไลน์ ของสื่ อมวลชนในปั จจุบันโดยแนะนำว่ ำควรเปลี่ยนวิธีคิดของสื่ อมวลชวนให้
137

หั นมำใช้ ประโยชน์ จำกโซเชี ยลมีเดียในด้ ำนของสถิติและข้ อมูลที่ปรำกฏมำกขึน้ เช่ น สถิติกำรเข้ ำ


เว็บไซต์ หรื อ สถิติกำรอ่ ำนข่ ำว โดยวิเครำะห์ ข้อมูลเบื อ้ งหลังของตัวเลขที่ปรำกฏด้ วย เพื่ อใช้ เป็ น
แนวทำงในกำรนำเสนอข่ ำวแต่ ละวัน และปรั บปรุ งคุณภำพข่ ำวที่นำเสนอ
“เรำต้ องเปลี่ยนที่มำยเซ็ทของนักข่ ำว ดูสถิติทุกวันก่ อนทำข่ ำว ต้ องดู
ว่ ำมีกำรทำข่ ำวมีคุณภำพหรื อไม่ ต้ องปรั บที่คุ ณภำพข่ ำวดูสถิติข่ำวใน
เว็บ ว่ ำ มี ค นดู เท่ ำไหร่ เข้ ำ มำดู ข่ ำ วเท่ ำไหร่ อ่ ำนเนื ้ อ หำเท่ ำไหร่
โซเชี ยลมีเดียเท่ ำไหร่ แม้ แต่ ละเว็บไซต์ จะมีคนอ่ ำนข่ ำวเท่ ำกัน เรำ
ต้ องวิเครำะห์ เบือ้ งหลังด้ วย” (นำยก้ ำวโรจน์ สุ ตำภักดี นำยกสมำคม
ผู้ผลิตข่ ำวออนไลน์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 13 มิ.ย.2561)

ประเด็นที่ 3 ความคิดเห็นขององค์กรวิชาชีพที่กากับดูแลกันเองในกลุ่มสื่ อมวลชนและ


นักวิชาการต่อวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม กรณี คดีปรี ยานุช โนนวังชัย
ด้านความดึ งดู ดทางรู ป ลักษณ์ ภายนอก ผศ.สกุล ศรี ศรี สารคาม หัวหน้าสาขาวารสาร
ศาสตร์ คอนเวอร์ เจ้นท์ คณะนิ เทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปั ญญาภิวฒั น์ เห็นว่าการนารู ปลักษณ์
ภายนอกของผูห้ ญิงในข่าวมาใช้เป็ นจุดดึงดูดความสนใจนั้นอาจส่ งผลต่อเนื้ อหาข่าว เนื่ องจากอาจ
ทาให้ผอู ้ ่านสนใจในประเด็นเรื่ องบุคคลมากกว่าเนื้อหาที่สื่อเลือกมานาเสนอ และเห็นว่าสื่ อมวลชน
ควรอธิ บายให้สังคมเห็ นว่าความรุ นแรงนั้นเกิ ดขึ้นได้กบั ทุกเพศ ไม่ควรผลิตซ้ าทัศนคติที่มีต่อเพศ
หญิงว่าเป็ นเพศที่อ่อนแอกว่าผูช้ าย ควรสร้างความเท่าเทียมในข่าวเพื่อไม่ให้เกิ ดค่านิ ยมว่าผูห้ ญิง
เป็ นผูต้ อ้ งหาในคดี อาชญากรรม มีความแตกต่างจากผูต้ อ้ งหาที่เป็ นผูช้ าย ส่ วนการตั้งสมญานาม
ให้ก ับ ผูต้ อ้ งหา เห็ นว่าสื่ อมวลชนต้องระมัดระวัง และตระหนักเสมอว่าค าที่ ใช้เป็ นการลดทอน
ศักดิ์ ศรี ของบุคคลที่ ถูกกล่ าวถึ งหรื อไม่ เช่ นการใช้คาว่า “สวยหั่นศพ” อาจทาให้เกิ ดค่านิ ยมความ
เข้าใจผิดว่ามีการให้คุณค่ากับความสวย ทั้งที่ไม่เกี่ยวข้องกับคดีความ จึงต้องพิจารณาว่าสมญานามที่
ใช้ไม่ได้ส่งเสริ มให้เกิดความเข้าใจในเนื้อหาข่าวมากขึ้นหรื อไม่
“สื่ อไม่ ควรผลิ ตซ้ำทั ศนคติ ต่อเพศหญิ ง ไม่ ว่ำจะเป็ นควำมอ่ อนแอ
ควำมไม่ เท่ ำเทียม ควำมรุ นแรงที่เกิดขึน้ กับผู้หญิง ไม่ ไปซ้ำไห้ เห็นว่ ำ
ผู้ชำยทำผู้หญิงได้ ถ้ ำผู้ลุกขึน้ มำสู้ มันจะเกิ ดควำมรุ นแรง มันเกิดจำก
กำรผลิตซ้ำว่ ำผู้หญิงไม่ มที ำงสู้เลยใช้ ควำมรุ นแรงสู้ ต้ องแสดงให้ เห็น
ว่ ำผู้ห ญิ งไม่ ไ ด้ อ่อนแอกว่ ำผู้ชำย ผู้หญิ งมีโอกำสหล่ อหลอมควำม
รุ นแรงเท่ ำๆกับ ผู้ชำย ต้ องเป็ นยุคควำมเท่ ำเที ยมเป็ นเหมื อนกั น ถ้ ำ
138

อธิ บ ำยผู้ ห ญิ ง อย่ ำ งไร ผู้ ช ำยก็ ค วรมี เหมื อ นกั น ให้ สั ง คมเห็ น ว่ ำ
รู ปแบบควำมรุ นแรงแบบนีเ้ กิดขึน้ ได้ กับทุกเพศ”
“กำรตั้งสมญำนำม สวยหั่ น ศพ โจรอ้ วนผอม แม้ จะพยำยำมบอก
ลักษณะ แต่ เรำก็ได้ ลดทอนศักดิ์ ศรี เค้ ำหรื อไม่ ถ้ ำเรี ยกแล้ วมันทำให้
เค้ ำรู้ กว่ ำถูกดูหมิ่ นลดค่ ำ ก็ไม่ ควรใช้ แต่ หำกใช้ แล้ วไม่ ได้ ละเมิ ดก็
สำมำรถทำได้ กำรใช้ ส มญำนำมบำงครั้ งก็ทำให้ คนเข้ ำใจและเห็ น
ภำพได้ ชัดเจน จึ งต้ องระมัดระวังว่ ำสมญำนำมไม่ ลดทอนศักดิ์ ศรี ดู
หมิ่ น หรื อ เกิ ดค่ ำนิ ยมทำให้ เข้ ำใจผิ ด เช่ นทำไมต้ องให้ ค่ำกับควำม
สวย หรื อ ไม่ สวย เพรำะไม่ เกี่ยวกับคดีควำม เรำก็ไม่ เห็ นจำเป็ นต้ อง
ให้ คนไปโฟกั ส ที่ รูป ร่ ำงหน้ ำตำของคนนั้น ตอนแรกสั งคมอำจจะ
ไม่ ได้ คิดว่ ำเธอสวยพอเห็นพำดหั วแบบนีก้ ็จะเข้ ำใจทันทีว่ำเธอสวย
และกลำยเป็ นไปโฟกัสที่ควำมสวย ทำให้ ประเด็นถูกบิดไปเกิดควำม
เข้ ำใจผิดและไม่ ได้ ไปเสริ มข่ ำว ที่ทำให้ เข้ ำใจข่ ำวนั้นมำกขึน้ เรำก็ไม่
จำเป็ นต้ อ งใช้ สิ่ ง เหล่ ำนี ้” (ผศ.สกุ ล ศรี ศรี ส ำรคำม หั ว หน้ ำสำขำ
วำรสำรศำสตร์ คอนเวอร์ เจ้ นท์ คณะนิ เทศศำสตร์ สถำบันกำรจัดกำร
ปั ญญำภิวฒ ั น์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 8 มิ.ย.2561)
ด้าน ดร.ชเนตตี ทินนาม อาจารย์ประจาคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เห็น
ว่าการใช้รูปลักษณ์ของผูห้ ญิงในข่าวทั้งภาพ และข้อความ มาเป็ นจุดดึงดูดความสนใจของผูอ้ ่าน คือ
การทาให้ผูห้ ญิงกลายเป็ นวัตถุทางเพศ ซึ่ งในอดีตจะพบในข่าวข่มขืน ควรระมัดระวังการอธิ บาย
สรี ระของผูห้ ญิงในข่าว ทั้งในส่ วนภาพ และข้อความที่เลือกนามาใช้ เนื่ องจากบางครั้งสื่ อก็ใช้การ
อธิ บายรู ปร่ าง หรื อลักษณะ เพื่อนาไปสู่ การจับกุมในคดีต่างๆ ส่ วนการใช้คา หรื อ สมญานามเรี ยก
ผูห้ ญิงที่อยูใ่ นข่าว เช่น “สาว” เห็นว่าควรระมัดระวังเนื่องจากคาว่า “สาว” เป็ นการแสดงออกถึงการ
ให้คุณค่ากับช่ วงวัยใดวัยหนึ่ ง ขณะที่คาว่า “สวย” ถื อว่าเป็ นการใส่ ความคิดเห็นลงไปในข่าว ซึ่ ง
ข่าวทัว่ ไปที่ไม่ใช่ สกู๊ป หรื อ บทความ จะต้องไม่ใส่ ความคิดเห็นของผูส้ ื่ อข่าวลงไปในข่าว ควรยึด
หลักข้อเท็จจริ ง
“สื่ อมวลชนจะต้ องระมัดระวังกำรใส่ อำรมณ์ และควำมคิ ดเห็ น ใน
ข่ ำวจะต้ องไม่ มีกำรใส่ ควำมคิดเห็นของตัวผู้สื่อข่ ำวลงไป นักข่ ำวต้ อง
ยึ ด หลั ก กำรน ำเสนอข้ อ เท็ จ จริ งไม่ น ำเสนอค ำที่ ส ะท้ อนอำรมณ์
ควำมรู้ สึ กลงไป เช่ นกำรตั้งสมญำนำมก็เป็ นกำรตัดสิ นคน กำรตัดสิ น
มันเป็ นกำรลงควำมเห็ นอย่ ำงหนึ่ ง เพรำะนี่คือข่ ำว ไม่ ใช้ สกู๊ป หรื อ
139

บทควำม ต้ องระมัดระวัง เพรำะบำงทีกำรบอกรู ปร่ ำงเพื่อติตดำมจับก็


มี ลักษณะทำงกำย และคำว่ ำ “สำว” ถ้ ำปรำกฏในข่ ำวข่ มขืนมันจะ
ฉำยภำพว่ ำมีแต่ ผ้ หู ญิงสำวที่ถูกข่ มขืน จึ งไม่ อยำกให้ กำรรำยงำนโดย
ให้ คุณค่ ำกับช่ วงวัยใดวัยหนึ่งที่จะตกเป็ นเหยื่ออำชญำกรรม ส่ วนคำ
ว่ ำ “สวย” เหมือนทำให้ ผ้ ูหญิ งเป็ นวัตถุทำงเพศ ไม่ ควรทำให้ ผ้ ูหญิ ง
เป็ นวัตถุทำงเพศโดยใช้ คำ หรื อ ภำพ ที่อธิ บำยสรี ระร่ ำงกำย เช่ น ขำว
สวย หุ่ นดี เซ็กซี่ ซึ่ งกำรทำให้ เป็ นวัตถุทำงเพศแต่ ก่อนมันจะปรำกฏ
ในข่ ำวข่ มขืน แต่ มันกลับกลำยมำอยู่ในข่ ำวนีแ้ ทน”( ดร.ชเนตตี ทิ น
นำม อำจำรย์ ประจำคณะนิเทศศำสตร์ จุฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย ,กำร
สื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล ,20 มิ.ย. 2561)
ขณะที่ ผศ. ดร.วิไลวรรณ จงวิไลเกษม อาจารย์ประจาคณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์ ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ประสบการณ์ส่วนตัวในการนาเสนอข่าวเกี่ยวกับผูห้ ญิง
ว่า สื่ อมวลชนในขณะนี้ ยงั ตระหนักถึงสิ ทธิ ของผูห้ ญิงน้อย ทาให้เรื่ องของสิ ทธิ ผูห้ ญิงยังเป็ นเรื่ อง
ใหม่สาหรับผูส้ ื่ อข่าว ผูห้ ญิงที่ตกเป็ นข่าวจึงถูกกระทาซ้ าในเรื่ องของการให้คุณค่าในข่าว เมื่ออ่าน
ข่าวผูห้ ญิ งจะรู ้ สึกว่ามี คุณ ค่าน้อยกว่าผูช้ าย ส่ วนตัวจึงเห็ นว่าสื่ อไทยยังเมีลกั ษณะเห็ นว่าชายเป็ น
ใหญ่อยู่ ส่ วนการตั้งสมญานามให้กบั ผูต้ อ้ งหาเห็นว่าเป็ นการตัดสิ นจากความรู ้สึกของผูส้ ื่ อข่าวเอง
“เรื่ องของผู้ห ญิ ง เป็ นเรื่ องใหม่ เป็ นเรื่ องที่ ค นท ำสื่ อ ยังไม่ ค่ อ ยได้
ตระหนัก และเคำรพในสิ ทธิ ของผู้ห ญิ ง นัก ข่ ำวไทยยังมีควำมรู้ ใน
เรื่ องสิ ท ธิ ข องผู้ ห ญิ งน้ อ ย และยัง มี ค วำมตระหนั ก เรื่ องของสิ ท ธิ
ผู้หญิงในกำรรำยงำนข่ ำวผู้หญิงน้ อย เพรำะถ้ ำเกิ ดเคสนำงสำวปรี ยำ
นุช โนนวังชั ย หรื อ เปรี ้ยว ผู้ต้องหำ และหลำยๆเคส เรำก็กำลังมอง
ว่ ำผู้หญิ งกำลังถูก กระทำซ้ำเกิ ดขึ ้นแม้ ว่ำเค้ ำจะทำผิ ดอย่ ำงไรก็ตำม
กำรเขียนถึงกลับพบว่ ำมีกำรให้ ค่ำของควำมเป็ นผู้หญิงที่ตำ่ กว่ ำควำม
เป็ นผู้ ช ำยโดยจะต้ อ งดู อ งค์ ป ระกอบข่ ำ วโดยรวมรวมถึ ง วิ ธี ก ำร
นำเสนอว่ ำอ่ ำนแล้ วทำให้ ร้ ู สึ กอย่ ำงไรมำกกว่ ำ ทำให้ ผ้ หู ญิงมีคุณค่ ำที่
น้ อยกว่ ำผู้ชำยหรื อไม่ ซึ่ งท้ ำยสุ ดมันจะเห็นว่ ำคนทำสื่ อไทยยังเห็นว่ ำ
มีลักษณะชำยเป็ นใหญ่ อยู่”( ผศ. ดร.วิไลวรรณ จงวิไลเกษม อำจำรย์
ประจำคณะวำรสำรศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยธรรมศำสตร์ ,กำรสื่ อสำร
ระหว่ ำงบุคคล , 14 มิ.ย. 2561)
140

นอกจากนี้ ในส่ วนวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม ด้านเพศและ


ความเบี่ยงเบนทางเพศ ผูท้ รงคุณวุฒิ หรื อนักวิชาการด้านสื่ อสารมวลชนได้แ สดงความคิดเห็น ถึง
การใช้คาแทนผูห้ ญิงที่มีที่มีเพศภาวะไม่สัมพันธ์กบั เพศสภาพของตนเอง เช่น คาว่า “ทอม” “ดี้” และ
“ผูช้ ายข้ามเพศ” ดังนี้
นายบรรยงค์ สุ วรรณผ่อง ประธานกรรมการจริ ยธรรมวิชาชี พสื่ อ สมาคมนักข่าววิทยุ
และโทรทัศน์ไทย เห็ นว่า การใช้คาเหล่ านี้ ตอ้ งใช้อย่างระมัดระวัง คานึ งถึ งศักดิ์ศรี ความเท่าเทียม
ของความเป็ นมนุ ษย์ หากไม่เกี่ยวข้องใดๆกับเนื้ อหาในคดี และเป็ นเรื่ องส่ วนตัวของบุคคลก็ไม่ควร
นามาใช้
“กำรใช้ ค ำในเนื ้อหำสื่ อมวลชนจะต้ องเป็ นมื ออำชี พ ต้ องน ำเสนอ
อย่ ำงระมัดถึ งศักดิ์ ศรี ควำมเป็ นมนุษย์ โดยเฉพำะเรื่ องรสนิ ยมทำง
เพศถือว่ ำเป็ นเรื่ องส่ วนตัวว่ ำทำไมต้ องไปแยกเพศเค้ ำ ถ้ ำไม่ เกี่ยวข้ อง
กับคดีกไ็ ม่ ควรนำมำใช้ ซึ่ งในเนือ้ หำมันจะเป็ นตัวสะท้ อนออกมำเอง
ว่ ำกำรนำเสนอมีนัยยะหรื อไม่ ”(นำยบรรยงค์ สุ วรรณผ่ อง ประธำน
กรรมกำรจริ ยธรรมวิชำชีพสื่ อ สมำคมนักข่ ำววิทยุและโทรทัศน์ ไทย,
กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 8 มิ.ย.2561)
สอดคล้องกับนายก้าวโรจน์ สุ ตาภักดี นายกสมาคมผูผ้ ลิตข่าวออนไลน์ เห็ นว่ารสนิ ยม
ทางเพศถือว่าเป็ นเรื่ องส่ วนตัว หากไม่มีความเกี่ยวข้องก็ไม่ควรนามาใช้ในเนื้อหาข่าว ควรหลีกเลี่ยง
แต่หากจาเป็ นต้องใช้เพื่ อบอกลักษณะบางอย่างก็ตอ้ งใช้อย่างระมัดระวัง ควรคานึ งถึ งความรู ้สึ ก
ศักดิ์ศรี สิ ทธิ ความเป้ นมนุษย์ของผูท้ ี่ตกเป็ นข่าวรวมไปถึงครอบครัวของผูท้ ี่ตกเป็ นข่าวด้วย
“ในมุมมองส่ วนตัวรสนิยมทำงเพศเกิดจำกฮอร์ โมนส่ วนบุคคล ควร
หลีกเลี่ยงคำพวกนีน้ ่ ำจะดีกว่ ำ ต้ องคิดถึงหัวอกของเค้ ำ ว่ ำหำกใช้ แล้ ว
จะกระทบครอบครั ว หรื อสิ ทธิ ควำมเป็ นมนุ ษ ย์ หรื อไม่ ”(นำยก้ ำว
โรจน์ สุ ตำภักดี นำยกสมำคมผู้ผลิตข่ ำวออนไลน์ ,กำรสื่ อสำรระหว่ ำง
บุคคล , 13 มิ.ย.2561)
ด้าน ผศ.สกุ ล ศรี ศรี ส ารคาม หัวหน้าสาขาวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจ้นท์ คณะนิ เทศ
ศาสตร์ สถาบันการจัดการปั ญญาภิวฒั น์ เห็ นว่าการใช้คาที่ระบุถึงความหลากหลายทางเพศต้อง
ระมัดระวังว่าจะลดทอนศักดิ์ ศรี ของผูต้ กเป็ นข่าวหรื อไม่ เช่น การใช้คาว่า “ทอม” กระทาความผิด
อาจท าให้ ผู อ้ ่ านเกิ ดความรู ้ สึ ก เหมารวมว่า ทอมเป็ นผูก้ รท าผิดทั้ง ๆที่ จ ริ ง แล้วความเป็ นเกิ ด ขึ้ น
เฉพาะตัวบุคคล หากไม่มีความจาเป็ นก็ควรจะใช้คาแทนอื่น
141

“กำรระบุเพศของกลุ่มหลำกหลำยทำงเพศ เค้ ำอำจจะรู้ สึ กไม่ ดี เช่ นมี


ทอมคนหนึ่ งทำผิด ก็เรี ยกว่ ำทอมทำผิดอำจจะเป็ นกำรเหมำรวมกลุ่ม
และลดทอนศักดิ์ ศรี รวมถึงคำว่ ำสำวหล่ อ สำวเท่ เค้ ำคื อใครก็คือคน
นั้ น ควรใช้ ค ำอื่ น ทดแทนต้ อ งหำค ำที่ ไ ม่ เหมำรวม แต่ ไ ด้ ข้ อ มู ล
ข้ อ เท็ จ จริ งให้ สั ง คมด้ วย”(ผศ.สกุ ล ศรี ศรี ส ำรคำม หั ว หน้ ำสำขำ
วำรสำรศำสตร์ คอนเวอร์ เจ้ นท์ คณะนิ เทศศำสตร์ สถำบันกำรจัดกำร
ปั ญญำภิวฒ ั น์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 8 มิ.ย.2561)
ขณะที่ ผศ. ดร.วิไลวรรณ จงวิไลเกษม อาจารย์ประจาคณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์ มีความคิดเห็นเกี่ยวับการใช้คาแทนผูห้ ญิงที่มีเพศภาวะไม่ตรงว่าการเลือกใช้คาเหล่านี้
ปั ญหาอาจเกิ ดจากสื่ อมวลชนต้องการใช้เป็ นจุดดึ งดู ดผูอ้ ่าน เป็ นการตอกย้ ารสนิ ยมทางเพศส่ วน
บุคคลที่มีการให้ค่ากับผูห้ ญิงที่มีเพศสภาวะไม่ตรง ควรระมัดระวังการนาเสนอคาเหล่านี้
“กำรใช้ คำกับผู้หญิงที่มเี พศภำวะไม่ ตรง ทำให้ เกิดกำรตอกยำ้ รสนิยม
ทำงเพศส่ วนบุคคลโดยกำรรำยงำนข่ ำวที่มีกำรให้ ค่ำกับผู้หญิงคนที่มี
เพศสภำพไม่ ตรง หรื อ กำรให้ ค่ ำกับทอมน้ อยลง ปั ญ หำมันมำจำก
นักข่ ำวชอบนำเสนอผู้หญิง เด็ก คนแก่ โดยนำมำเป็ นจุดขำย ท้ ำยสุ ด
คื อกำรให้ ค่ ำเค้ ำที่ ตำ่ ลง ชอบทำให้ เด็กกั บคนแก่ รู้ สึ กว่ ำน่ ำสงสำร
โดยนำเสนอคุณค่ ำของเค้ ำที่ตำ่ ลง ทั้งหมดมองว่ ำปั ญหำใหญ่ คือกำร
ให้ คุณค่ ำของผู้หญิ งที่ตำ่ กว่ ำผู้ชำย”(ผศ. ดร.วิไลวรรณ จงวิไลเกษม
อำจำรย์ ประจำคณะวำรสำรศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยธรรมศำสตร์ , กำร
สื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 14 มิ.ย. 2561)
ส่ วนวิธีการที่ สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิ งในข่าวอาชญากรรม ในด้านไม่ใช่ ตวั การกระทา
ความผิด ผูท้ รงคุณวุฒิ หรื อ นักวิชาการด้านสื่ อสารมวลชน ได้แสดงความคิดเห็น ดังนี้
ผศ. ดร.วิไลวรรณ จงวิไลเกษม อาจารย์ ป ระจ าคณะวารสารศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย
ธรรมศาสตร์ เห็ นว่าการนาข้อมูลบางอย่างจากแหล่งข่าวมาใช้เนื่องจากสื่ อมวลชนต้องการดึงเข้าสู่
ความดราม่าในข่าว เช่น กรณี คดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ที่สื่อมวลขนนาเสนอ
ว่านางสาวปรี ยานุ ช เป็ นคนกตัญญูเลี้ยงดูพ่อแม่ ถือเป็ นเรื่ องดั้งเดิมที่สื่อมวลชนมักเลือกนามาเสนอ
เช่นเดียวกับการสื่ อข่าวในอดีตที่แม่ขโมยนมมาให้ลูกกิ น สื่ อมวลชนสามารถนาเสนอสิ่ งเหล่านี้ แต่
ควรนาเสนออย่างระมัดระวังและไม่ นาเสนอซ้ าจนเกิ ดค่ านิ ยมผิดๆ ว่าหากลู ก เป็ นคนกตัญ ญู ก็
สามารถกระทาความผิดได้ แต่ควรนาเสนอปั ญหาระดับโครงสร้างมากกว่า เช่ นการนาเสนอข้อมูล
จากนักสังคม หรื อ นักจิตวิทยา เป็ นต้น
142

“ประเด็นเรื่ องกตัญญู เป็ นเรื่ องคลำสลิ กที่ สื่ อมวลชนชอบนำเสนอ


เพรำะว่ ำมีควำมดรำม่ ำอยู่ เช่ นแม่ ขโมยนมให้ ลูกกิน แต่ ทำไมไม่ มอง
ว่ ำกำรกระทำนีม้ ันผิดกฎหมำย กลับมุ่งประเด็นไปที่แม่ มำขโมยนม
ให้ ลูกแทน เพรำะนักข่ ำวต้ องกำรดึงเข้ ำกรอบดรำม่ ำ เพื่อให้ เกิดควำม
น่ ำสงสำร ส่ วนกรณี คดีของนำงสำวปรี ยำนุช โนนวังชัย หรื อ เปรี ้ยว
เห็ นว่ ำสื่ อมวลชนก็สำมำรถนำเสนอได้ แต่ ไม่ ควรนำเสนอซ้ำ และ
ควรนำเสนออย่ ำงระมัดระวังดังคำกล่ ำวที่ ว่ำ “ เรำมัก จะได้ ยิ น แต่
เสียงของคน” เช่ น เปรี ้ยว แม่ ของเปรี ้ยว แต่ กลับไม่ อยำกได้ ยินเสียงที่
มำกกว่ ำนั้น เช่ นนักจิ ตวิทยำ นักสั งคม ว่ ำมันเกิดอะไรขึน้ ภำยใต้ ตรง
นี ้ ท้ ำยสุ ดแล้ วเรำกำลังบอกไหมว่ ำมีค่ำนิยมผิดๆเกิดขึน้ เช่ น ลูกจะทำ
อะไรผิดก็ตำมแต่ ต้องเป็ นคนกตัญญู สื่ อควรอธิ บำยตรงนีว้ ่ ำมันเป็ น
ปั ญ หำระดับ โครงสร้ ำง” (ผศ. ดร.วิ ไลวรรณ จงวิ ไลเกษม อำจำรย์
ประจำคณะวำรสำรศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยธรรมศำสตร์ , กำรสื่ อสำร
ส่ วนบุคคล , 14 มิ.ย. 2561)

4.4 ส่ วนที่ 4 แนวปฏิบัติทางจริยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่ าวผู้หญิงที่เป็ นผู้ต้องหา


ภายหลังการวิเคราะห์กรอบข่าว การสัมภาษณ์เชิ งลึกบุคลากรเว็บไซต์ข่าวสด ผูว้ ิจยั ได้
สังเคราะห์ปัญหาทางจริ ยธรรมที่พบในการรายงานข่าวกรณี คดีปรี ยานุช โนนวังชัยของเว็บไซต์ข่าว
สด และได้จดั ทา (ร่ าง) ข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการ
นาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา จานวน 5 ประเด็นหลัก รวมเป็ น 11 ข้อย่อย ดังนี้
ประเด็นที่ 1 การใช้ ภาพของผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
1.ไม่ใช้คาที่อธิ บายและภาพที่แสดงถึงรู ปลักษณ์ภายนอกของผูต้ อ้ งหาที่เป็ นผูห้ ญิง
เพียงเพื่อดึงดูดความสนใจของผูช้ ม เช่น รู ปร่ าง ผอม อ้วน หน้าตา สวย น่ารัก หน้าตาดี การแต่งกาย
เซ็กซี่ เป็ นต้น อาจทาให้ผชู ้ มเกิดความสนใจและรู ้สึกชื่นชอบรู ปลักษณ์ภายนอกของผูต้ อ้ งหา และ
ทาให้ผตู ้ อ้ งหามีชื่อเสี ยง
ประเด็นที่ 2 การตั้งสมญานามให้ กบั ผู้ต้องหาซึ่งเป็ นผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
2.ไม่ ใ ช้ ส มญานามเรี ย กผู ้ต้อ งหาที่ เป็ นผู ้ห ญิ ง ที่ บ่ ง บอกถึ ง ความโหดเหี้ ยม หรื อ มี
พฤติกรรมที่โหดร้าย รุ นแรง อาจทาให้เข้าใจว่าผูต้ อ้ งหาเป็ นผูต้ อ้ งหามีอาการผิดปกติทางจิตใจ และ
ต้องระมัด ระวัง การตั้ง สมญานามหรื อตั้ง นามการเรี ย กขานผูต้ ้องหา อาจเป็ นการตัดสิ น คดี โดย
143

สื่ อมวลชนก่อนที่ศาลจะมีคาพิพากษา เนื่องจากตามกฎหมายระบุชดั เจนว่าคดีที่ศาลยังไม่ตดั สิ น ให้


สันนิษฐานว่าผูต้ อ้ งหาคือผูบ้ ริ สุทธิ์
ประเด็นที่ 3 การใช้ คาแทนผู้หญิงทีม่ ีเพศภาวะไม่ สัมพันธ์ กบั เพศสภาพของตนเอง
3.ไม่ตอกย้ ารสนิ ยมทางเพศส่ วนบุคคลโดยไม่ใช้คาแทนผูห้ ญิงที่เป็ นคนรักร่ วมเพศ เช่ น
ทอม , ดี้
ประเด็นที่ 4 การนาเสนอข้ อมูลส่ วนบุคคลและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องกับผู้ต้องหา
4.หลี กเลี่ ยงการนาเสนอเกี่ยวกับปั ญหาความสัมพันธ์ภายในครอบครัวที่ไม่เกี่ยวข้องต่อ
คดีอาจละเมิดสิ ทธิ ส่วนบุคคล
5.หลีกเลี่ยงการนาเสนอประวัติ หรื อ ชีวิตส่ วนตัว ของผูต้ อ้ งหาซึ่ งเป็ นผูห้ ญิงมากเกินไป
ว่ามีสาเหตุจูงใจถึงลงมือก่อเหตุ อาจเป็ นการหาเหตุผล หรื อสร้างความสมเหตุสมผลให้กบั ผูต้ อ้ งหา
หญิงที่มาก่อคดีอาชญากรรม อาจทาให้ผชู ้ มเกิดความรู ้สึกเห็นใจผูต้ อ้ งหา รู ้สึกยอมรับสิ่ งที่ผตู ้ อ้ งหา
กระท าผิ ดได้ โดยเฉพาะเด็ ก และเยาวชน อาจเข้าใจว่าหากมี เหตุ ผ ลที่ เพี ย งพอก็ ส ามารถก่ อ คดี
อาชญากรรมได้
6.ควรนาเสนอผลกระทบที่เกิ ดขึ้นกับผูเ้ สี ยหายและครอบครัวของผูเ้ สี ยหาย ที่ได้รับผล
จากการก่อเหตุ ของผูต้ อ้ งหาที่เป็ นผูห้ ญิงมากกว่าผลกระทบที่เกิ ดกับผูต้ อ้ งหา และครอบครัวของ
ผูต้ อ้ งหา
ประเด็นที่ 5 การนาเสนอความเป็ นผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
7.หลี ก เลี่ ย งการน าเสนอประเด็ น เรื่ อ งเพศ ว่า ผูห้ ญิ ง เป็ นเพศที่ อ่ อ นแอ หรื อ มี ค วาม
โหดเหี้ ยมน้อยกว่าผูช้ าย อาจทาให้เกิดความเห็นใจปกป้องผูต้ อ้ งหา
8.หลี กเลี่ ยงการนาเสนอพฤติการณ์ การก่อเหตุในคดีที่ผูห้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาอย่างละเอียด
จนเกินไป เนื่ องจากอาจกระทบต่อความรู ้สึกของผูส้ ู ญเสี ย การสื บสวนของตารวจ และทาให้เข้าใจ
ว่าผูต้ อ้ งหามีความผิดปกติทางจิตใจ
9.หลี ก เลี่ ย งการน าเสนอข่ าวที่ ผูห้ ญิ ง เป็ นผูต้ ้อ งหาในคดี น้ ัน ๆ ด้วยความถี่ ที่ บ่ อยครั้ ง
เกินไปอาจทาให้ผชู ้ มรู ้สึกชินชากับพฤติกรรมการก่อเหตุ และผูต้ อ้ งหา
10.เน้นการนาเสนอผลของการกระทาผิด หรื อ โทษที่ผูต้ อ้ งหาที่เป็ นผูห้ ญิงได้รับว่าไม่
แตกต่างไปจากผูช้ ายที่เป็ นผูก้ ่อคดีอาชญากรรม
ประเด็นอื่นๆ
11.หลี กเลี่ ยงการนาเสนอผลสาเร็ จในด้านต่างๆ เช่ นด้านเศรษฐกิ จ ที่เกิ ดจากมาจากการ
คดีอาชญากรรม
144

ตามขั้น ตอนการศึ ก ษาผู ้วิ จ ัย ได้น า (ร่ า ง) ข้อ เสนอแนะเพื่ อ ใช้ เป็ นแนวปฏิ บ ัติ ท าง
จริ ย ธรรมของสื่ อ มวลชนไทยในการน าเสนอข่ า วผู ้ห ญิ ง ที่ เป็ นผูต้ ้อ งหา ขอความคิ ด เห็ น และ
ข้อเสนอแนะจากองค์กรวิชาชี พที่กากับดูแลกันเองในกลุ่มสื่ อมวลชนและนักวิชาการ รวม 5 ท่าน
เพื่อปรับปรุ งให้ (ร่ าง) ดังกล่าว โดยผลการศึกษาส่ วนนี้จะนาเสนอผลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกความ
คิดเห็ นและข้อเสนอแนะจากองค์กรวิชาชี พที่กากับดูแลกันเองในกลุ่มสื่ อมวลชนและนักวิชาการ
ต่อ(ร่ าง) ข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่าว
ผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา โดยจะนาเสนอตามประเด็นหลัก 5 ประเด็น ดังต่อไปนี้
ประเด็นที่ 1 การใช้ ภาพของผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
ดร.ชเนตตี ทิ นนาม อาจารย์ประจาคณะนิ เทศศาสตร์ จุฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย แสดง
ความคิ ดเห็ นถึ งประเด็ นการใช้ภาพของผูห้ ญิ งในข่าวอาชญากรรม ว่าการนาเสนอภาพผูห้ ญิ งที่
เกี่ ยวข้องในข่าวควรระมัดระวังไม่ค วรนาเสนอโดยเน้นที่ ส รี ระร่ างกาย หรื อ ใช้ภาพของผูห้ ญิ ง
ดึงดูดความสนใจของผูร้ ับสาร เนื่องจากอาจทาให้ผหู ้ ญิงคนนั้นกลายเป็ นวัตถุทางเพศ
“สื่ อมวลชนระมัดระวังการนาเสนอข่าวข่มขืน แต่กลับพบการทาให้
เป็ นวัตถุ ท างเพศ (Sexual objectification) อยู่ในข่ าวอื่นๆ ดังนั้นสื่ อ
ไม่ควรทาให้ผหู ้ ญิงเป็ นวัตถุทางเพศโดยใช้ภาพ เน้นสรี ระผูห้ ญิงมา
น าเสนอ” (ดร.ชเนตตี ทิ น นำม อำจำรย์ ป ระจ ำคณะนิ เทศศำสตร์
จุฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย, กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล ,20 มิ.ย. 2561)
สอดคล้องกับ ผศ.สกุลศรี ศรี สารคาม หัวหน้าสาขาวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจ้นท์ คณะ
นิเทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปั ญญาภิวฒั น์ ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ ยวกับการเลือกใช้ผหู ้ ญิงใน
ข่าวอาชญากรรมของสื่ อมวลชน ว่าการเลือกภาพใดก็ตามมานาเสนอมันจะสะท้อนให้เห็นถึงการ
กาหนดวาระข่าวสารที่สื่อต้องการ สื่ อมวลชนจึงควรระมัดระวังหากเลือกภาพของผูห้ ญิงโดยนาส
เน่ห์ของความเป็ นผูห้ ญิงมาใช้เพื่อดึงดูด อาจทาให้ข่าวนั้นๆ ถูกบิดประเด็นไป
“การเลื อกใช้ภาพของสื่ อมี เป็ นพันแต่ เลื อกภาพนี้ คุ ณ เลื อกเพราะ
Agenda ใช่ ไ หม เลยขาย Sexappeal ใช่ ไ หม ควรท าไหม มัน บิ ด
ประเด็นข่าวไปไหม การตั้งต้นเรื่ องราวมันเกิ ดจากการเล่าเรื่ องที่ผิด
วิธี” (ผศ.สกุลศรี ศรี สำรคำม หั วหน้ ำสำขำวำรสำรศำสตร์ คอนเวอร์
เจ้ น ท์ คณะนิ เทศศำสตร์ สถำบั น กำรจั ด กำรปั ญ ญำภิ วั ฒ น์ , กำร
สื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 8 มิ.ย.2561)
145

ประเด็นที่ 2 การตั้งสมญานามให้ กบั ผู้ต้องหาซึ่งเป็ นผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม


ผศ.สกุลศรี ศรี สารคาม หัวหน้าสาขาวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจ้นท์ คณะนิ เทศศาสตร์
สถาบันการจัดการปั ญญาภิวฒั น์ เห็นว่าการตั้งสมญาณาม หรื อ ฉายา ให้กบั ผูเ้ กี่ยวข้องในข่าวก็อาจ
ทาให้คนเข้าใจข่าวและเห็ นภาพชัดเจนขึ้น แต่การตั้งสมญาณาม หรื อ ฉายา เหล่านั้นก็อาจกระทบ
ต่อศักดิ์ศรี ดูหมิ่น หรื อทาให้เกิดค่านิยมที่ผิดๆต่อสังคมได้ และอาจส่ งผลกระทบถึงเนื้ อหาข่าวที่ทา
ให้ค นสนใจในประเด็น สมญานามหรื อ ฉายา ที่ สื่ อมวลชนตั้ง ให้ม ากกว่าเนื้ อหาข่ าวที่ ต้องการ
นาเสนอ และควรหลี กเลี่ ยงการใช้ส มญาณามหากการตั้งสมญานามนั้นไม่ได้ส่งเสริ มให้มีความ
เข้าใจในเนื้อหาข่าวมากขึ้น
“การใช้สมญานามบางครั้งก็ทาให้คนเข้าใจและเห็ นภาพได้ชดั เจน
แต่ให้พึงระวังว่าฉายาหรื อ สมญาณามนั้น จะไม่ลดทอนศักดิ์ ศรี ดู
หมิ่น หรื อ เกิดค่านิ ยมทาให้เข้าใจผิด อาจทาให้ประเด็นถูกบิดไปเกิด
ความเข้าใจผิดและไม่ได้ไปเสริ มข่าว ที่ทาให้เข้าใจข่าวนั้นมากขึ้น
เราก็ ไ ม่ จ าเป็ นต้ อ งใช้ สิ่ งเหล่ า นั้ น หรื อ มัน อาจจะหนั ก กว่ า นั้ น
เพราะว่าทาให้ไปเบี่ยงประเด็นที่เรานาเสนอหรื อไม่” (ผศ.สกุลศรี ศรี
สำรคำม หั วหน้ ำสำขำวำรสำรศำสตร์ คอนเวอร์ เจ้ น ท์ คณะนิ เทศ
ศำสตร์ สถำบันกำรจัดกำรปั ญญำภิวฒ ั น์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล ,
8 มิ.ย.2561)
ขณะที่ดร.ชเนตตี ทินนาม อาจารย์ประจาคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เห็น
ว่าการนาเสนอข่าวของสื่ อมวลชนต้องยึดหลักการนาเสนอข้อเท็จจริ ง ไม่นาเสนอข้อมูลที่สะท้อน
อารมณ์ ความรู ้ สึกส่ วนตัวลงไปใน การตั้งสมญาณามก็ถือว่าเป็ นตัดสิ น บุคคลในข่าวซึ่ งเป็ นการ
แสดงความคิดเช่นกัน
“ในข่าวจะต้องไม่มีการใส่ ความคิดเห็นของตัวผูส้ ื่ อข่าวลงไป นักข่าว
ต้องยึดหลักการนาเสนอข้อเท็จจริ งไม่นาเสนอคาที่สะท้อนอารมณ์
ความรู ้สึก เช่นการตั้งสมญาณาม เพราะเป็ นการตัดสิ นคน การตัดสิ น
มันเป็ นการลงความเห็ นอย่างหนึ่ ง เพราะนี่ คือข่าว ไม่ใช้สกู๊ป หรื อ
บทความ มันมีการลงความเห็ นลงไป ต้อ งระมัดระวัง” (ดร.ชเนตตี
ทิ นนำม อำจำรย์ ประจำคณะนิ เทศศำสตร์ จุฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย ,
กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล ,20 มิ.ย. 2561)
146

ประเด็นที่ 3 การใช้ คาแทนผู้หญิงทีม่ ีเพศภาวะไม่ สัมพันธ์ กบั เพศสภาพของตนเอง


ผศ.สกุลศรี ศรี สารคาม หัวหน้าสาขาวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจ้นท์ คณะนิ เทศศาสตร์
สถาบันการจัดการปั ญญาภิวฒั น์ แสดงความคิดเห็นเกี่ ยวกับการใช้คาแทนผูห้ ญิงที่มีเพศภาวะไม่
สัมพันธ์กบั เพศสภาพของตนเอง ควรหลีกเลี่ยงคาแทนเช่น ทอม ดี้ สาวหล่อ สาวเท่ และระมัดระวัง
การใช้คาที่ทาให้ผอู ้ ่านเกิ ดความรู ้สึกว่าเป็ นการเหมารวมกลุ่ม และลดทอนศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์
ของบุคคลนั้น
“มี ค วามจ าเป็ นไหม ต้ อ งระบุ ว่ า เพ ศไหน การระบุ เ พ ศกลุ่ ม
หลากหลายทางเพศ เค้าอาจจะไม่โอเค เช่ นมีท อมคนหนึ่ งทาผิด ก็
เรี ยกว่าทอมทาผิดอาจจะเป็ นการเหมารวมกลุ่ม และลดทอนศักดิ์ ศรี
รวมถึ งค าว่าสาวหล่ อ สาวเท่ เค้าคื อใครก็ คื อคนนั้น ใช้ชื่ อ ก็ ใช้ไ ด้
หรื อใช้ ค าอื่ น ทดแทน ต้ อ งหาค าที่ ไ ม่ เหมารวม แต่ ไ ด้ ข ้ อ มู ล
ข้อ เท็ จจริ ง ให้ สั ง คมด้วย” (ผศ.สกุ ล ศรี ศรี ส ำรคำม หั วหน้ ำสำขำ
วำรสำรศำสตร์ คอนเวอร์ เจ้ นท์ คณะนิ เทศศำสตร์ สถำบันกำรจัดกำร
ปั ญญำภิวฒ ั น์ , กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 8 มิ.ย.2561)
สอดคล้องกับ นายบรรยงค์ สุ วรรณผ่อง ประธานกรรมการจริ ยธรรมวิชาชีพสื่ อ สมาคม
นักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย ที่เห็นว่าสื่ อมวลชนควรระมัดระวังการนาคาแทนผูห้ ญิงมาใช้ในข่าว
อาชญากรรม รวมถึงข่าวประเภทอื่นๆ หากไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับคดีความ
“ต้องเสนออย่างระมัดระวังมันเป็ นเรื่ องชอบพอด้วยความส่ วนตัว
ต้อ งเลี่ ย งค า อาจเป็ นเรื่ อ งศัก ดิ์ ศรี ค วามเป็ นมนุ ษ ย์ห รื อ เปล่ า การ
รายงานข่าวหึ งหวงมันเกิดขึ้นได้ทุกเพศ แต่ทาไมต้องใช้คาที่ไปแยก
เพศเค้า ถ้าหากคาพวกนี้ เป็ นเรื่ องส่ วนตัวไม่ได้เกี่ ยวข้องกับคดี ก็ไม่
ต้องใช้ ” (นำยบรรยงค์ สุ วรรณผ่ อ ง ประธำนกรรมกำรจริ ยธรรม
วิ ช ำชี พ สื่ อ สมำคมนั ก ข่ ำ ววิ ท ยุ แ ละโทรทั ศ น์ ไทย, กำรสื่ อสำร
ระหว่ ำงบุคคล , 8 มิ.ย.2561)
ขณ ะที่ ผศ. ดร.วิ ไ ลวรรณ จงวิ ไ ลเกษม อาจารย์ ป ระจ าคณ ะวารส ารศาส ตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เห็ นว่าคาแทนที่ใช้เป็ นเพียงส่ วนหนึ่ งในข่าวเท่านั้น ประเด็นสาคัญต้อง
พิจารณาจากองค์ประกอบโดยรวมในข่าว เมื่ออ่านแล้วมีความรู ้สึกว่าให้ค่า ลดค่า หรื อ ทาให้เกิ ด
การตีความอย่างไร
“คาว่า ทอม หรื อ ดี้ ไม่ผิด แต่มองว่าเวลาที่เขียนถึงคนกลุ่ มนี้ กาลัง
ลดค่าเค้ามากกว่า ว่าค่าของเค้าเท่ากับคนที่มีเพศชาย หรื อ เพศหญิง
147

หรื อไม่ พอไม่ใช่ชายหญิงจึงมีวธิ ี การเขียนข่าวที่ให้ค่าที่ต่ากว่า มันจึง


ไม่ใช่ การใช้คาอย่างเดี ยว แต่การเขียนที่พ ออ่านออกมาแล้วตีความ
ออกมามันแล้วมีการให้ค่าที่ต่ากว่าผูห้ ญิง มันจึงต้องดูองค์ประกอบ
ข่ าวโดยรวมว่าอ่ านแล้วท าให้รู้สึ ก อย่างไรมากกว่า” (ผศ. ดร.วิ ไ ล
วรรณ จงวิ ไล เก ษ ม อ ำจ ำรย์ ป ระ จ ำค ณ ะ ว ำรส ำรศ ำส ต ร์
มหำวิ ท ยำลั ย ธรรมศำสตร์ , กำรสื่ อ สำรระหว่ ำงนบุ ค คล , 14 มิ .ย.
2561)
ประเด็นที่ 4 การนาเสนอข้ อมูลส่ วนบุคคลและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องกับผู้ต้องหา
นายบรรยงค์ สุ วรรณผ่อง ประธานกรรมการจริ ยธรรมวิชาชีพสื่ อ สมาคมนักข่าววิทยุและ
โทรทัศน์ไทย เห็นว่าการนาข้อมูลส่ วนบุคคลมาใช้ในข่าวสื่ อมวลชนก็ไม่อาจมองข้ามข้อมูลเหล่านี้
ได้ แต่ควรนามาใช้อย่างระมัดระวัง ว่าข้อมูลที่นามาใช้น้ นั เกี่ยวข้องกับคดีหรื อไม่ และหากนาเสนอ
ไปแล้วจะส่ งผลกระทบอย่างไรบ้าง เช่ น ผลกระทบต่อความรู ้ สึกของบุคคลในข่าว และบุคคลที่
เกี่ยวข้อง ผลกระทบต่อกระบวนการยุติธรรม เป็ นต้น
“ข้อ มู ล ส่ ว นตัว ก็ ไ ม่ อ าจมองข้า มได้ แต่ ก รณี คดี อ าชญากรรมที่
ผูต้ อ้ งหาเป็ นผูห้ ญิ ง ลักษณะคดี อาจรุ นแรงขึ้นเช่ น ฆ่าหั่นศพ คนก็
อยากรู ้วา่ เค้าเป็ นอยูอ่ ย่างไร จึงอยากให้ระมัดระวังมากกว่า ว่าข้อมูล
จะนาไปสู่ ความเกลียดชัง หรื อส่ งผลกระทบต่อกระบวนการยุติธรรม
หรื อ กดดัน ผู ้รั บ ชอบนั้ นๆ มัน มี บ างคดี ก็ ส่ ง ผลต่ อ กระบวนการ
ยุติ ธ รรมเช่ น กัน ” นำยบรรยงค์ สุ ว รรณผ่ อ ง ประธำนกรรมกำร
จริ ยธรรมวิ ช ำชี พ สื่ อ สมำคมนั ก ข่ ำววิ ท ยุแ ละโทรทั ศ น์ ไ ทย, กำร
สื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 8 มิ.ย.2561)
สอดคล้องกับผศ.สกุลศรี ศรี สารคาม หัวหน้าสาขาวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจ้นท์ คณะ
นิเทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒั น์ ที่เห็นว่าการนาเสนอเชีวติ เบื้องหลังของผูเ้ กี่ยวข้องใน
ข่าว เป็ นการนาเสนอโดยไม่มีการอธิ บายความเพิ่มเติม ทาให้การนาเสนอข่าวเป็ นเพียงเรื่ องส่ วน
บุคคลไม่ได้ถูกขยายความออกไปจากตัวบุคคล ซึ่ งถือว่าเป็ นสิ่ งสาคัญอย่างหนึ่ งที่หายไปจากข่าว
อาชญากรรม เช่นการนาเสนอชี วิตเบื้องหลังของผูต้ อ้ งหาในคดีอาชญากรรม ว่ามีพฤติกรรมอยูใ่ น
สังคมอย่างไร มีส่ิ งเร้ าอื่นๆอีกหรื อไม่ ที่นามาสู่ การก่อคดีที่มีความรุ นแรง เพื่อนาไปสู่ การจัดการ
ปัญหาความรุ นแรงในสังคม
“การนาเสนอประวัติโดยไม่มีคาอธิ บายปรากฏ เป็ นสิ่ งหนึ่ งที่หายไป
จากข่ าวอาชญากรรม คื อไม่ มี ค าอธิ บ ายปรากฏ ค าอธิ บ ายระหว่าง
148

บรรทัด มันไม่ถูกขยายออกไปจากตัวบุคคล เช่นกรณี คดีของนางสาว


ปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ก็เป็ นแค่กรณี หนึ่ งที่เกิ ดขึ้น เราต้อง
ออกจากตัว บุ ค คล แล้วน าไปสู่ ป ระเด็ น การจัด การความรุ น แรงที่
เกิ ด ขึ้ น ในสั ง คม” (ผศ.สกุ ล ศรี ศรี ส ำรคำม หั วหน้ ำสำขำวำรสำร
ศำสตร์ คอนเวอร์ เจ้ นท์ คณะนิ เทศศำสตร์ สถำบันกำรจัดกำรปั ญญำ
ภิวฒ ั น์ , กำรสื่ อสำรระว่ ำงบุคคล , 8 มิ.ย.2561)
ประเด็นที่ 5 การนาเสนอความเป็ นผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
ในการนาเสนอความเป็ นผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรมซึ่ งมักพบว่า สื่ อมวลชนมักจะเลือก
นาเสนอเพศหญิง ภายในแนวคิด ที่ ว่าผูห้ ญิ งเป็ นเพศที่อ่อนแอ มี การหาเหตุผลให้กบั ผูห้ ญิงที่เป็ น
ผูต้ อ้ งหาในคดีอาชญากรรม และการนาเสนอข่าวที่มีผหู ้ ญิงเป็ นผูเ้ กี่ยวข้องในข่าวอาชญากรรมอย่าง
ไม่เสมอภาคนั้น ผูท้ รงคุณวุฒิมีความคิดเห็นในแต่ละประเด็นดังนี้
นายบรรยงค์ สุ วรรณผ่อง ประธานกรรมการจริ ยธรรมวิชาชีพสื่ อ สมาคมนักข่าววิทยุและ
โทรทัศน์ไทย เห็นว่าหน้าที่ของสื่ อมวลชนคือการรายงานข้อเท็จจริ ง หากสื่ อมวชนจะรายงานความ
คิดเห็นที่ส่งผลต่อทัศนคติที่มีต่อเพศหญิงก็ควรเพิ่มชุดคาอธิบายด้วย
“การรายงานเรื่ องของคดีที่เค้าจะต้องพิสูจน์กนั แต่ไม่ใช่ หน้าที่เราที่
จะไปบอกว่าอะไร เช่ น เราไปพบยาระงับประสาท เราก็รายงานเค้า
กิ นยาตามหมอสั่งอะไรว่าไป เพราะมันเป็ นข้อเท็จจริ ง การรายงาน
ของสื่ อก็รายงานว่าเค้าพูด แต่สื่อต้องไม่หยุดแค่น้ นั ต้องทาหน้าที่ต่อ
เช่ นประเด็นทางกฎหมาย เพิ่มชุ ดคาอธิ บายต่อไปว่าเรื่ องนี้ มนั ยังไง”
(นำยบรรยงค์ สุ วรรณผ่ อง ประธำนกรรมกำรจริ ยธรรมวิ ชำชี พ สื่ อ
สมำคมนักข่ ำววิทยุและโทรทัศน์ ไทย, กำรสื่ อสำรระหว่ ำงบุคคล , 8
มิ.ย.2561)
ขณะที่ ผศ.สกุลศรี ศรี สารคาม หัวหน้าสาขาวารสารศาสตร์คอนเวอร์ เจ้นท์ คณะนิเทศ
ศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒั น์ เห็นว่าสื่ อมวลชนไม่ควรผลิตซ้ าทัศนคติต่อเพศหญิงว่าเป็ น
เพศที่มีความอ่อนแอ เนื่ องจากผูห้ ญิงและผูช้ าย มีโอกาสหล่อหลอมความรุ นแรงเหมือนๆกัน การ
รายงานข่าวผูห้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหา เห็นว่าสื่ อมวลชนต้องทาให้เป็ นยุคความเท่าเทียม ถ้าอธิ บายผูห้ ญิง
อย่างไร ผูช้ ายก็ควรเหมือนกัน ให้สังคมเห็นว่ารู ปแบบความรุ นแรงแบบนี้เกิดขึ้นได้กบั ทุกเพศ
“สื่ อไม่ ควรผลิ ตซ้ าทัศนคติต่อเพศหญิ ง ไม่ว่าจะเป็ นความอ่ อนแอ
ความไม่เท่าเทียม ความรุ นแรงที่เกิดขึ้นกับผูห้ ญิง ไม่ไปซ้ าไห้เห็นว่า
ผูช้ ายทาผูห้ ญิงได้ ถ้าผูล้ ุกขึ้นมาสู ้มนั จะเกิดความรุ นแรง มันเกิ ดจาก
149

การผลิ ตซ้ าว่าผูห้ ญิ ง ไม่ มี ท างสู ้ เลยใช้ค วามรุ น แรงสู ้ ผูห้ ญิ งไม่ ไ ด้
อ่อนแอกว่าผูช้ าย ผูห้ ญิ งมีโอกาสหล่ อหลอมความรุ นแรงเท่าๆกับ
ผูช้ าย แต่เชิ งจิตวิทยาผูห้ ญิงอาจเก็บอารมณ์ได้มากกว่า แต่เราไม่ควร
ไปผลิ ตซ้ า” (ผศ.สกุ ล ศรี ศรี ส ำรคำม หั วหน้ ำสำขำวำรสำรศำสตร์
คอนเวอร์ เจ้ นท์ คณะนิ เทศศำสตร์ สถำบันกำรจัดกำรปั ญญำภิ วัฒน์ ,
กำรสื่ อสำรส่ วนบุคคล , 8 มิ.ย.2561)
สอดคล้องกับความคิ ดเห็ นของผศ. ดร.วิไลวรรณ จงวิไลเกษม อาจารย์ป ระจาคณะ
วารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ที่เห็นว่าการนาเสนอข่าวกรณี ผูห้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาก็ควร
นาเสนอให้เหมื อนกับ การนาเสนอข่าวที่มีผูช้ ายเป็ นผูต้ อ้ งหา ไม่ควรให้ค่า หรื อลดค่าของเพศใด
เพราะทุกคนเป็ นมนุษย์เหมือนกัน
“การนาเสนอข่าวอาชญากรรมกรณี ผหู ้ ญิงเป็ นอาชญากร เห็นว่าควร
นาเสนอเป็ นปกติทวั่ ไป ไม่รู้สึกว่าผูห้ ญิงผิดปกติจากอาชญากรที่เป็ น
ผูช้ ายนาเสนอเท่าเทียมกัน เป็ นเรื่ องที่ไม่ตอ้ งมาให้ค่า หรื อลดค่า พอ
ผูห้ ญิงเป็ นฆาตกรแล้วจะมารู ้สึกว่าผิดปกติวา่ ผูช้ ายเป็ นฆาตกร เพราะ
ทุ ก คนเป็ นมนุ ษ ย์เหมื อ นกั น ” (ผศ. ดร.วิ ไ ลวรรณ จงวิ ไ ลเกษม
อำจำรย์ ป ระจำคณะวำรสำรศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยธรรมศำสตร์ ,กำร
สื่ อสำรส่ วนบุคคล , 14 มิ.ย. 2561)
ผลการศึกษาจากการสัมภาษณ์เชิงลึกความคิดเห็นและข้อเสนอแนะขององค์กรวิชาชีพ
ที่กากับดู กนั เองในกลุ่มสื่ อมวลชน และ นักวิชาการ ต่อ (ร่ าง) ข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิ
ทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา สรุ ปได้ดงั ตารางที่ 4.5
150

ตารางที่ 4.5 สรุ ป สรุ ป ความคิ ด เห็ น องค์ ก รวิ ช าชี พ ที่ ก ากับ ดู ก ัน เองในกลุ่ ม สื่ อมวลชน และ
นักวิชาการต่อ(ร่ าง)ข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็ นแนวปฏิ บตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการ
นาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา โดยแบ่งเป็ นประเด็นดังนี้

(ร่ าง)ข้ อเสนอแนะเพื่อใช้ เป็ นแนวปฏิบัติทาง สรุ ปความคิดเห็นองค์ กรวิชาชีพทีก่ ากับดู


จริยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่ าว กันเองในกลุ่มสื่ อมวลชน และ นักวิชาการ
ผู้หญิงทีเ่ ป็ นผู้ต้องหา
ประเด็นที่ 1 การใช้ ภาพของผู้หญิงในข่ าว เป็ นการตีกรอบสื่ อมวลชนมากเกินไป
อาชญากรรม เนื่องจากการอธิบายถึงรู ปลักษณ์สามารถ
ใช้ได้แต่ควรใช้อย่างระมัดระวัง โดย
1.ไม่ใช้คาที่อธิ บายและภาพที่แสดงถึงรู ปลักษณ์ เปลี่ยนคาว่า “ไม่ใช้” เป็ นคาว่า
ภายนอกของผูต้ อ้ งหาที่เป็ นผูห้ ญิงเพียงเพื่อดึงดูด “ระมัดระวัง”
ความสนใจของผูช้ ม เช่น รู ปร่ าง ผอม อ้วน หน้าตา
สวย น่ารัก หน้าตาดี การแต่งกาย เซ็กซี่ เป็ นต้น อาจ
ทาให้ผชู ้ มเกิดความสนใจและรู ้สึกชื่นชอบรู ปลักษณ์
ภายนอกของผูต้ อ้ งหา และทาให้ผตู ้ อ้ งหามีชื่อเสี ยง
ประเด็นที่ 2 การตั้งสมญานามให้ กบั ผู้ต้องหาซึ่งเป็ น การตั้งสมญานามอาจกระทบต่อศักดิ์ศรี
ผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม ความเป็ นมนุษย์ไม่วา่ บุคคลนั้นจะเป็ น
ผูเ้ สี ยหาย หรื อ ผูต้ อ้ งหา ควรใช้สมญานาม
2.ไม่ใช้สมญานามเรี ยกผูต้ อ้ งหาที่เป็ นผูห้ ญิงที่บ่ง อย่างระมัดระวังว่าหากใช้แล้วจะทาให้
บอกถึงความโหดเหี้ ยม หรื อ มีพฤติกรรมที่โหดร้าย เข้าใจในเนื้ อหาข่าวมากขึ้นหรื อไม่
รุ นแรง อาจทาให้เข้าใจว่าผูต้ อ้ งหาเป็ นผูต้ อ้ งหามี
อาการผิดปกติทางจิตใจ และต้องระมัดระวังการตั้ง
สมญานามหรื อตั้งนามการเรี ยกขานผูต้ อ้ งหา อาจ
เป็ นการตัดสิ นคดีโดยสื่ อมวลชนก่อนที่ศาลจะมีคา
พิพากษา เนื่องจากตามกฎหมายระบุชดั เจนว่าคดีที่
ศาลยังไม่ตดั สิ น ให้สันนิษฐานว่าผูต้ อ้ งหาคือผู ้
บริ สุทธิ์
151

ตารางที่ 4.5 (ต่ อ)

ประเด็ น ที่ 3 การใช้ ค าแทนผู้ ห ญิ งที่มี เพศภาวะไม่ การใช้คาเหล่านี้ส่งผลให้รู้สึกถึงการกิด


สั มพันธ์ กบั เพศสภาพของตนเอง ภาพเหมารวม และการลดค่าหรื อให้ค่า
ของผูต้ กเป็ นข่าว ควรระมัดระวัง และควร
3.ไม่ตอกย้ ารสนิ ยมทางเพศส่ วนบุ คคลโดยไม่ใช้คา เพิ่มคาว่า ควรเพิ่มคาว่า “ผูช้ ายข้ามเพศ”
แทนผูห้ ญิงที่เป็ นคนรักร่ วมเพศ เช่น ทอม , ดี้ ด้วย

ประเด็นที่ 4 การนาเสนอข้ อมูลส่ วนบุคคลและบุคคล ประเด็นเรื่ องความเป็ นส่ วนตัวเห็นว่ามี


ทีเ่ กีย่ วข้ องกับผู้ต้องหา ความซ้ าซ้อนกับแนวปฏิบตั ิต่างๆที่มีอยู่
แล้ว
4.หลีกเลี่ยงการนาเสนอเกี่ยวกับปั ญหาความสัมพันธ์
ภายในครอบครัวที่ไม่เกี่ยวข้องต่อคดีอาจละเมิดสิ ทธิ
ส่ วนบุคคล

5.หลีกเลี่ยงการนาเสนอประวัติ หรื อ ชีวิตส่ วนตัว


ของผูต้ อ้ งหาซึ่ งเป็ นผูห้ ญิงมากเกินไปว่ามีสาเหตุจูง
ใจถึงลงมือก่อเหตุ อาจเป็ นการหาเหตุผล หรื อสร้าง
ความสมเหตุสมผลให้กบั ผูต้ อ้ งหาหญิงที่มาก่อคดี
อาชญากรรม อาจทาให้ผชู ้ มเกิดความรู ้สึกเห็นใจ
ผูต้ อ้ งหา รู ้สึกยอมรับสิ่ งที่ผตู ้ อ้ งหากระทาผิดได้
โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน อาจเข้าใจว่าหากมีเหตุผล
ที่เพียงพอก็สามารถก่อคดีอาชญากรรมได้

6.ควรนาเสนอผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผูเ้ สี ยหายและ
ครอบครัวของผูเ้ สี ยหาย ที่ได้รับผลจากการก่อเหตุ
ของผูต้ อ้ งหาที่เป็ นผูห้ ญิงมากกว่าผลกระทบที่เกิดกับ
ผูต้ อ้ งหา และครอบครัวของผูต้ อ้ งหา
152

ตารางที่ 4.5 (ต่ อ)

ประเด็นที่ 5 การนาเสนอความเป็ นผู้หญิงในข่ าว เห็นว่าสื่ อมวลชนไม่ควรผลิตซ้ าทัศนคติต่อ


อาชญากรรม เพศหญิงว่าเป็ นเพศที่อ่อนแอ ควรนาเสนอ
ข่าวด้วยความเท่าเทียมไม่วา่ จะเป็ นเพศชาย
7.หลีกเลี่ยงการนาเสนอประเด็นเรื่ องเพศ ว่าผูห้ ญิง หรื อ หญิง และนาเสนอข่าวเกี่ยวกับผูห้ ญิง
เป็ นเพศที่อ่อนแอ หรื อ มีความโหดเหี้ ยมน้อยกว่า อย่างสร้างสรรค์
ผูช้ าย อาจทาให้เกิดความเห็นใจปกป้องผูต้ อ้ งหา

8.หลีกเลี่ยงการนาเสนอพฤติการณ์การก่อเหตุในคดี
ที่ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาอย่างละเอียดจนเกินไป
เนื่องจากอาจกระทบต่อความรู ้สึกของผูส้ ู ญเสี ย การ
สื บสวนของตารวจ และทาให้เข้าใจว่าผูต้ อ้ งหามี
ความผิดปกติทางจิตใจ

9.หลีกเลี่ยงการนาเสนอข่าวที่ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาใน


คดีน้ นั ๆ ด้วยความถี่ที่บ่อยครั้งเกินไปอาจทาให้ผชู ้ ม
รู ้สึกชินชากับพฤติกรรมการก่อเหตุ และผูต้ อ้ งหา

10.เน้นการนาเสนอผลของการกระทาผิด หรื อ โทษ


ที่ผตู ้ อ้ งหาที่เป็ นผูห้ ญิงได้รับว่าไม่แตกต่างไปจาก
ผูช้ ายที่เป็ นผูก้ ่อคดีอาชญากรรม

ประเด็นอื่นๆ เห็นว่าเป็ นกรณี ที่เกิดขึ้นจากคดีนางสาว


ปรี ยานุช โนนวังชัย เพียงกรณี เดียวไม่
11.หลีกเลี่ยงการนาเสนอผลสาเร็ จในด้านต่างๆ เช่น ครอบคลุมในกรณี อื่นๆ
ด้านเศรษฐกิจ ที่เกิดจากมาจากการคดีอาชญากรรม
153

ผลจากความคิดเห็นและข้อเสนอแนะดังกล่าวข้างต้น ผูว้ ิจยั ได้นามาทบทวนและปรับปรุ ง


เพื่อจัดทาแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา ซึ่ง
เป็ นการตอบคาถามการวิจยั ข้อที่ 3 โดยแบ่งออกเป็ น 4 ประเด็นหลัก และจานวน 6 ข้อย่อยดังนี้
แนวปฏิบัติทางจริยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่ าวผู้หญิงที่เป็ นผู้ต้องหา
ประเด็นที่ 1 การใช้ ภาพของผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
1. ระมัดระวังการนาเสนอภาพและเนื้ อหาของผูห ้ ญิงที่เน้นสรี ระร่ างกายในข่าวอาชญากรรม ที่จะ
นาไปสู่ การทาให้ผหู ้ ญิงกลายเป็ นวัตถุทางเพศในคดีอาชญากรรม
ประเด็นที่ 2 การตั้งสมญานามให้ กบั ผู้ต้องหาซึ่งเป็ นผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
2.ระมัดระวังการตั้งสมญานาม หรื อ ฉายา ให้กบั ผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม ที่จะนาไปสู่ การดูหมิ่น
เกลียดชัง และกระทบต่อศักดิ์ความเป็ นมนุษย์
ประเด็นที่ 3 การใช้ คาแทนผู้หญิงทีม่ ีเพศภาวะไม่ สัมพันธ์ กบั เพศสภาพของตนเอง
3.ระมัดระวังการใช้คาแทนผูห้ ญิ งที่ มีเพศภาวะไม่สัมพันธ์กบั เพศสภาพของตนเอง เช่ น ทอม ดี้
ผูช้ ายข้ามเพศ ที่จะนาไปสู่ การสร้างภาพเหมารวมว่าคนกลุ่มนั้นทั้งหมดเป็ นผูก้ ระทาความผิด
ประเด็นที่ 4 การนาเสนอความเป็ นผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
4.ระมัดระวังการนาเสนอเรื่ องราวของผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม ด้วยมุมมองว่าผูห้ ญิง
เป็ นเพศที่อ่อนแอกว่าผูช้ าย อันอาจนาไปสู่ การสร้างความสมเหตุสมผลและความชอบธรรมให้กบั
ผูห้ ญิงในคดีอาชญากรรม
5. สื่ อมวลชนควรนาเสนอบทลงโทษของผูห้ ญิ งที่ กระท าความผิดว่าได้รับ โทษไม่
แตกต่างจากผูช้ าย
6.สื่ อมวลชนควรนาเสนอประเด็นเกี่ยวกับผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรมอย่างสร้างสรรค์
เช่น การนาเสนอคาอธิ บายเพิ่มเติม หรื อ นาเสนอปั ญหาในระดับโครงสร้างทางสังคมมากกว่าการ
รายงานเพียงสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับตัวปัจเจกบุคคล เพื่อนาไปสู่ การแก้ไขปัญหา
กล่ าวโดยสรุ ป ผูว้ ิจยั ได้ท บทวนและปรับ ปรุ งภายหลังการการรับ ฟั งความคิ ดเห็ น จาก
ผูท้ รงคุณวุฒิและนักวิชาการ โดยมีความแตกต่างระหว่าง (ร่ าง) ข้อเสนอแนะที่ผวู ้ ิจยั จัดทาขึ้นก่อน
การรับฟั งความคิดเห็น กับ แนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่าวผูห้ ญิง
ที่เป็ นผูต้ อ้ งหาที่ทบทวนภายหลังการรับฟังความคิดเห็น ดังรายละเอียดในตารางที่ 4.6
154

ตารางที่ 4.6 เปรี ยบเทียบ (ร่ าง) ข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชน
ไทยในการนาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา และแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมของสื่ อมวลชนไทยใน
การนาเสนอข่าวผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา
(ร่ าง) ข้ อ เสนอแนะเพื่ อ ใช้ เป็ นแนวปฏิ บั ติท าง แนวปฏิบัติทางจริยธรรมของสื่ อมวลชนไทยใน
จริยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่ าว การนาเสนอข่ าวผู้หญิงทีเ่ ป็ นผู้ต้องหา
ผู้หญิงทีเ่ ป็ นผู้ต้องหา
ประเด็นที่ 1 การใช้ ภาพของผู้หญิงในข่ าว
อาชญากรรม

1.ไม่ใช้คาที่อธิ บายและภาพที่แสดงถึงรู ปลักษณ์


1. ระมัด ระวังการน าเสนอภาพและเนื้ อหาของ
ภายนอกของผู ้ต้อ งหาที่ เป็ นผู ้ห ญิ ง เพี ย งเพื่ อ
ดึ ง ดู ด ความสนใจของผู ้ช ม เช่ น รู ป ร่ า ง ผอม ผูห้ ญิงที่เน้นสรี ระร่ างกายในข่าวอาชญากรรม
อ้วน หน้าตา สวย น่ ารั ก หน้าตาดี การแต่งกาย ที่จะนาไปสู่ การทาให้ผหู ้ ญิงกลายเป็ นวัตถุทาง
เซ็กซี่ เป็ นต้น อาจทาให้ผชู ้ มเกิดความสนใจและ เพศในคดีอาชญากรรม
รู ้ สึ ก ชื่ น ชอบรู ป ลัก ษณ์ ภ ายนอกของผู ้ต้อ งหา
และทาให้ผตู ้ อ้ งหามีชื่อเสี ยง
ประเด็นที่ 2 การตั้งสมญานามให้ กบั ผู้ต้องหาซึ่ง 2.ระมัด ระวัง การตั้ง สมญานาม หรื อ ฉายา
เป็ นผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม ให้กบั ผูห้ ญิ งในข่ าวอาชญากรรม ที่ จะนาไปสู่
การดูหมิ่น เกลียดชัง และกระทบต่อศักดิ์ความ
2.ไม่ ใช้ส มญานามเรี ยกผูต้ อ้ งหาที่ เป็ นผูห้ ญิ งที่ เป็ นมนุษย์
บ่งบอกถึ งความโหดเหี้ ยม หรื อ มีพ ฤติกรรมที่
โหดร้าย รุ นแรง อาจทาให้เข้าใจว่าผูต้ อ้ งหาเป็ น
ผู ้ต้อ งหามี อ าการผิ ด ปกติ ท างจิ ต ใจ และต้อ ง
ระมัด ระวัง การตั้ง สมญานามหรื อ ตั้ง นามการ
เรี ย กขานผู ้ต้อ งหา อาจเป็ นการตัด สิ น คดี โ ดย
สื่ อมวลชนก่อนที่ศาลจะมีคาพิพากษา เนื่ องจาก
ตามกฎหมายระบุชดั เจนว่าคดีที่ศาลยังไม่ตดั สิ น
ให้สันนิษฐานว่าผูต้ อ้ งหาคือผูบ้ ริ สุทธิ์
155

ตารางที่ 4.6 (ต่ อ)


ประเด็นที่ 3 การใช้ คาแทนผู้หญิงที่มีเพศภาวะ 3.ระมัดระวังการใช้คาแทนผูห้ ญิงที่มีเพศภาวะ
ไม่ สัมพันธ์ กบั เพศสภาพของตนเอง ไม่สัมพันธ์กบั เพศสภาพของตนเอง เช่น ทอม ดี้
ผูช้ ายข้ามเพศ ที่ จะนาไปสู่ การสร้างภาพเหมา
3.ไม่ตอกย้ารสนิยมทางเพศส่ วนบุคคลโดยไม่ใช้ รวมว่าคนกลุ่มนั้นทั้งหมดเป็ นผูก้ ระทาความผิด
คาแทนผูห้ ญิงที่เป็ นคนรักร่ วมเพศ เช่น ทอม , ดี้
ประเด็นที่ 4 การนาเสนอข้ อมู ลส่ วนบุ คคลและ -
บุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องกับผู้ต้องหา

4.ห ลี ก เลี่ ยงก ารน าเส น อ เกี่ ยวกั บ ปั ญ ห า


ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวที่ไม่เกี่ยวข้องต่อ
คดีอาจละเมิดสิ ทธิ ส่วนบุคคล

5.หลี ก เลี่ ย งการน าเสนอประวัติ หรื อ ชี วิ ต


ส่ วนตัว ของผูต้ อ้ งหาซึ่ งเป็ นผูห้ ญิงมากเกินไปว่า
มี ส าเหตุ จู ง ใจถึ ง ลงมื อ ก่ อ เหตุ อาจเป็ นการหา
เหตุ ผ ล หรื อ สร้ า งความสมเหตุ ส มผลให้ ก ั บ
ผูต้ อ้ งหาหญิงที่มาก่อคดี อาชญากรรม อาจทาให้
ผูช้ มเกิ ดความรู ้ สึกเห็ นใจผูต้ อ้ งหา รู ้สึกยอมรับ
สิ่ งที่ ผูต้ ้องหากระท าผิดได้ โดยเฉพาะเด็กและ
เยาวชน อาจเข้าใจว่าหากมี เหตุ ผ ลที่ เพี ย งพอก็
สามารถก่อคดีอาชญากรรมได้

6.ควรนาเสนอผลกระทบที่เกิ ดขึ้นกับผูเ้ สี ยหาย


และครอบครัวของผูเ้ สี ยหาย ที่ได้รับผลจากการ
ก่ อ เหตุ ข องผู ้ ต้ อ งหาที่ เ ป็ นผู ้ ห ญิ งมากกว่ า
ผลกระทบที่เกิดกับผูต้ อ้ งหา และครอบครัวของ
ผูต้ อ้ งหา
156

ตารางที่ 4.6 (ต่ อ)

ประเด็นที่ 5 การนาเสนอความเป็ นผู้หญิงในข่ าว 4.ระมัดระวังการนาเสนอเรื่ องราวของผูห้ ญิงใน


อาชญากรรม ข่าวอาชญากรรม ด้วยมุมมองว่าผูห้ ญิงเป็ นเพศ
ที่ อ่ อ นแอกว่า ผูช้ าย อัน อาจน าไปสู่ ก ารสร้ า ง
7.หลีกเลี่ยงการนาเสนอประเด็นเรื่ องเพศ ว่า ความสมเหตุสมผลและความชอบธรรมให้กบั
ผูห้ ญิงเป็ นเพศที่อ่อนแอ หรื อ มีความโหดเหี้ ยม ผูห้ ญิงในคดีอาชญากรรม
น้อยกว่าผูช้ าย อาจทาให้เกิดความเห็นใจปกป้ อง
ผูต้ อ้ งหา 5. สื่ อมวลชนควรน าเสนอบทลงโทษของ
ผู ้ห ญิ งที่ ก ระท าความผิ ด ว่ า ได้ รั บ โทษไม่
8.หลีกเลี่ยงการนาเสนอพฤติการณ์การก่อเหตุใน แตกต่างจากผูช้ าย
คดีที่ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาอย่างละเอียดจนเกินไป 6.สื่ อมวลชนควรน าเสนอประเด็ น เกี่ ย วกั บ
เนื่องจากอาจกระทบต่อความรู ้สึกของผูส้ ู ญเสี ย ผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรมอย่างสร้างสรรค์ เช่น
การสื บสวนของตารวจ และทาให้เข้าใจว่า การน าเสนอค าอธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม หรื อ น าเสนอ
ผูต้ อ้ งหามีความผิดปกติทางจิตใจ ปั ญ หาในระดับ โครงสร้ างทางสั งคมมากกว่า
การรายงานเพี ย งสถานการณ์ ที่ เกิ ด ขึ้ น กับ ตัว
9.หลีกเลี่ยงการนาเสนอข่าวที่ผหู ้ ญิงเป็ น ปัจเจกบุคคล เพื่อนาไปสู่ การแก้ไขปัญหา
ผูต้ อ้ งหาในคดีน้ นั ๆ ด้วยความถี่ที่บ่อยครั้ง
เกินไปอาจทาให้ผชู ้ มรู ้สึกชินชากับพฤติกรรม
การก่อเหตุ และผูต้ อ้ งหา

10.เน้นการนาเสนอผลของการกระทาผิด หรื อ
โทษที่ผตู ้ อ้ งหาที่เป็ นผูห้ ญิงได้รับว่าไม่แตกต่าง
ไปจากผูช้ ายที่เป็ นผูก้ ่อคดีอาชญากรรม

ประเด็นอื่นๆ -

11.หลีกเลี่ยงการนาเสนอผลสาเร็ จในด้านต่างๆ
เช่นด้านเศรษฐกิจ ที่เกิดจากมาจากการคดี
อาชญากรรม
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

การศึกษาเรื่ อง “การวางกรอบข่าวอาชญากรรมที่ที่ประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา


กรณี คดี "นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ” เป็ นการศึกษาวิจยั เชิงคุณภาพ โดยใช้การวิเคราะห์การวาง
กรอบข่ าวกรณี ค ดี น างสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย ที่ น าเสนอผ่านเว็บ ไซต์ข่ าวสด ในเชิ ง พรรณนา
วิเคราะห์ ร่ ว มกับ การสั ม ภาษณ์ เชิ ง ลึ ก ซึ่ งเป็ นกลุ่ ม ที่ เกี่ ย วข้อ งโดยตรงกับ การรายงานข่ า วใน
เหตุการณ์ ที่ศึกษา กลุ่มองค์กรวิชาชี พที่กากับดู แลกันเองในกลุ่ มสื่ อมวลชน และกลุ่มนักวิชาการ
หรื อ ผูท้ รงคุณวุฒิ ด้านสื่ อสารมวลชน เพื่อตอบปัญหาวิจยั ดังต่อไปนี้
1) เว็บไซต์ข่าวสดมีการวางกรอบข่าวในการนาเสนอกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวัง
ชัย อย่างไร
2) ปั จจัยภายใน และภายนอกใดที่ส่งผลต่อการวางกรอบข่าวในการนาเสนอข่าวกรณี
คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ของเว็บไซต์ข่าวสด
3) สื่ อมวลชนไทยควรมีแนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรม ในการนาเสนอข่าวคดีที่ผหู ้ ญิงเป็ น
ผูต้ อ้ งหาอย่างไร

5.1 สรุ ปผลการวิจัย


ในส่ ว นต่ อ ไปนี้ เป็ นการเชื่ อ มโยงการสรุ ป ผลวิจ ัย แนวคิ ด ทฤษฏี และงานวิจ ัย ที่
เกี่ ย วข้อง จึ งได้น าเสนอสรุ ป ผลการวิจยั ในประเด็น หลัก ตามวัตถุ ป ระสงค์ก ารวิจยั และท าการ
อภิปราย โดยนาแนวคิด ทฤษฏี และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง มาอธิ บายความเพื่อทาการเสนอแนะในเชิง
ปฏิบตั ิทางสื่ อสารมวลชนต่อไป
5.1.1 การวางกรอบข่ าวในการนาเสนอกรณีคดีนางสาวปรียานุช โนนวังชัย ของเว็บไซต์ ข่าวสด
จากการวิเคราะห์ ก ารวางกรอบเนื้ อหากรณี ค ดี น างสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย โดยใช้
แนวทางของของ Entman เกี่ ยวกับ การนิ ย ามเหตุ การณ์ การวิเคราะห์ ส าเหตุ การประเมิ น ในเชิ ง
จริ ยธรรมและการเสนอทางออกของปั ญหา รวมถึง กลวิธีในการนาเสนอ และวิธีการที่สื่อประกอบ
สร้ างผูห้ ญิ งในข่าวอาชญากรรม โดยวิเคราะห์ ข่าวของเว็บ ไซต์ข่าวสดตามช่ วงเหตุการณ์ 3 ช่ วง
จานวน 8 ข่าว มีรายละเอียดดังนี้
158

ช่วงเหตุการณ์ที่ 1 ข่าวที่ 1 นิยามเหตุการณ์ วา่ เป็ นการฆาตกรรมหญิงสาวหน้าตาดีดว้ ย


ความโหดเหี้ ยมและน่ าสะพรึ งกลัว วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาในสังคม ว่าการฆาตกรรมเกิ ดจาก
ความแค้นส่ วนตัว ประเมินในเชิ งจริ ยธรรมของผูเ้ กี่ยวข้อง ว่าผูก้ ่อเหตุเป็ นฆาตกรที่มีความโหดเหี้ ยม
และกระทาการด้วยความทารุ ณ และแนะทางออกของปั ญหา โดยนาเสนออัตลักษณ์ ศพที่พบเพื่อ
ยืนยันผูเ้ สี ยชี วิต เป็ นจุดเริ่ มต้นใช้สืบสวนสอบสวนของตารวจ ขณะที่กลวิธีการนาเสนอข่าวถูกจัด
วางในหมวดหมู่ “ข่ าวด่ วน” โดยมี ก ารใช้ค าซ้ าในพาดหัวในปก และพาดหัวข่ าว ใช้สัญ ลัก ษณ์
เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ (!) และใช้คาว่า “ผงะ” เป็ นภาษาที่ดึงดูดใจ
ช่วงเหตุการณ์ที่ 1 ข่าวที่ 2 นิยามเหตุการณ์ วา่ นางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ ผูเ้ สี ยชีวิต เป็ นคน
เจ้าชู ้ มี รสนิ ยมรั ก ร่ วมเพศ วิเคราะห์ ส าเหตุ ของปั ญหาในสังคมว่าการฆาตกรรมเกิ ดจากประเด็น
ความขัดแย้งเรื่ องชูส้ าว ประเมินในเชิงจริ ยธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องว่านางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ ผูเ้ สี ยชีวิต
เป็ นผูห้ ญิงที่ไม่ดี มีพฤติกรรมนอกใจสามี แนะทางออกของปั ญหาโดยนาเสนอแนวทางการสื บสวน
สอบสวนในขั้นตอนต่อไปของตารวจเพื่อติดตามผูก้ ่อเหตุมาดาเนินคดี ขณะที่กลวิธีการนาเสนอข่าว
ถูกจัดวางในหมวดหมู่ “เด่นออนไลน์ มีการใช้คาซ้ าในพาดหัวในปก และพาดหัวข่าว ใช้สัญลักษณ์
ทั้งเครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ (!) และอัญประกาศ (“ ”) โดยใช้คาว่า “แฉ” เป็ นภาษาที่ดึงดูดใจ และมีการใช้
เทคนิ ค ตัด ต่ อ วี ดี โ อความยาวซึ่ งมี ค วามยาวรวม 07.25 น. แบ่ ง เป็ น 2 ส่ ว น ประกอบด้ว ยภาพ
บรรยากาศตารวจทางานความยาว 40 วินาที และภาพและเสี ยงสัมภาษณ์ สามีผูเ้ สี ยชี วิตความยาว
6.45 น.
ช่ วงเหตุ ก ารณ์ ที่ 2 ข่ าวที่ 1 นิ ย ามเหตุ ก ารณ์ ว่านางสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย กับ พวก
ผูต้ อ้ งหาคดี ฆ่าหั่นศพนางสาววริ ศรา กลิ่ นจุย้ มีหน้าตาที่สวยมาก ทาให้โซเชี ยลตะลึงในความสวย
ของผูต้ อ้ งหา วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาในสังคมว่าการวิพากษ์เรื่ องหน้าตาผูต้ อ้ งหาเกิดจากผูค้ นใน
โซเชี ยลมีเดียนารู ปภาพของผูต้ อ้ งหามาเผยแพร่ ประเมินในเชิงจริ ยธรรมของผูเ้ กี่ยวข้อง โดยพบการ
ตั้งสมญานามให้กบั ผูต้ อ้ งหาว่า “สวยหั่นศพ” และไม่พบการแนะทางออกของปั ญหา ขณะที่กลวิธี
การนาเสนอพบว่าข่าวถู กจัดวางในหมวดหมู่ “เด่ นออนไลน์” มีการใช้คาซ้ าในพาดหัวในปกและ
พาดหัวข่าว ใช้สัญลักษณ์ เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ (!) และอัญประกาศ (“ ”) และใช้คาว่า “สะพรึ ง” เป็ น
ภาษาที่ดึงดูดใจ
ช่วงเหตุการณ์ ที่ 2 ข่าวที่ 2 นิ ยามเหตุการณ์ ว่านางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว
เป็ นคนกตัญญู เลี้ ยงดู พ่อแม่และครอบครัว วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาในสังคมฐานะทางบ้านของ
นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ยากจน ทาให้เปรี้ ยวต้องทางานหาเงินตั้งแต่เด็กเพื่อเลี้ยงดู
ตัวเองและครอบครัว ประเมินในเชิงจริ ยธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องว่าที่ผา่ นมานางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
ผูต้ อ้ งหาเป็ นคนดีมาโดยตลอด แนะทางออกของปั ญหาให้นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหาเข้า
159

มอบตัวกับตารวจ ขณะที่กลวิธีการนาเสนอข่าวถูกจัดวางในหมวดหมู่ “ข่าวด่วน” มีการใช้คาซ้ าใน


พาดหัวในปกและพาดหัวข่าว โดยใช้เทคนิ คตัดต่อวีดีโอความยาว 4.12 น. ตลอดทั้งคลิปเป็ นภาพ
และเสี ยงสัมภาษณ์มารดานางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา
ช่วงเหตุการณ์ ที่ 3 ข่าวที่ 1 นิ ยามเหตุการณ์ ว่านางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว
ผูต้ อ้ งหามีการไตร่ ตรองวิธีอาพรางศพ วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาในสังคมว่าการฆาตกรรมในครั้งนี้
เกิดจากความขัดแย้งส่ วนตัวเกี่ยวกับยาเสพติดและหนี้สิน ประเมินในเชิงจริ ยธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องว่า
นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา สานึกผิดจึงเข้ามอบตัว และไม่ได้ต้ งั ใจฆ่านางสาววริ ศรา กลิ่น
จุย้ แนะทางออกของปั ญ หาโดยน าเสนอขั้นตอนการดาเนิ น คดี ก ับ นางสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย
ผูต้ อ้ งหากับพวก โดยมีกลวิธีการนาเสนอจัดวางในหมวดหมู่ “ข่าวด่วน” โดยใช้คาซ้ าในพาดหัวใน
ปกและพาดหัวข่าว ใช้สัญลักษณ์ เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ (!) และปรัศนี (?) โดยใช้เทคนิคตัดต่อวีดีโอ
ความยาว 30 นาที ซึ่ งทั้งหมดเป็ นการนาเสนอคลิปวีดีโอเฟซบุ๊กไลฟ์ การให้สัมภาษณ์ ของพล.ต.อ.
จักรทิพย์ ชัยจินดา ผบ.ตร. และตารวจที่เกี่ยวข้องในคดี
ช่ วงเหตุ การณ์ ที่ 3 ข่าวที่ 2 นิ ยามเหตุการณ์ ว่าเกิ ดกระแสใช้สิ นค้าเลี ยนแบบเดี ยวกับ
นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาในสังคมว่าโซเชียลมีเดียนาเสนอ
ภาพนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับพวกผูต้ อ้ งหากอดตุ๊กตาหมอนผ้าห่ มขณะถูกตารวจควบคุมตัว
ประเมินในเชิ งจริ ยธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องว่ากระแสเลียนแบบส่ งผลให้ผปู ้ ระกอบการพ่อค้าแม่คา้ ขาย
สิ นค้าดี และไม่มีการแนะทางออกของปัญหา ขณะที่กลวิธีการนาเสนอโดยจัดวางในหมวดหมู่ “เด่น
ออนไลน์” ใช้สัญลักษณ์ เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ (!) ใช้เทคนิคตัดต่อวีดีโอความยาว 3.26 น. ซึ่ งเป็ นภาพ
บรรยากาศร้านขายหมอนผ้าห่มทั้งหมด
ช่ วงเหตุ ก ารณ์ ที่ 3 ข่ าวที่ 3 นิ ยามเหตุ ก ารณ์ ว่านางสาวปรี ย านุ ช โนนวังชัย กับ พวก
ผูต้ อ้ งหาได้รับบทลงโทษหลังก่อเหตุฆาตกรรมนางสาววริ ศรา กลินจุย้ วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหา
ในสังคมว่านางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับพวกเป็ นผูต้ อ้ งขังใหม่ ที่ตอ้ งมาใช้ชีวิตในเรื อนจาทาให้
เกิดความเครี ยด ประเมินในเชิ งจริ ยธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องว่านางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย อาจมีอาการ
ผิดปกติ ท างจิต และไม่เชื่ อว่าผูห้ ญิ งจะก่ อคดี อาชญากรรมได้ขนาดนี้ แนะทางออกของปั ญหาว่า
เรื อนจาขอนแก่นได้จดั เจ้าหน้าที่เฝ้าดูพฤติกรรมนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับพวก เพื่อป้ องกัน
การฆ่าตัวตายในคุ ก ขณะที่กลวิธีการนาเสนอข่าวถูกจัดวางในหมวดหมู่ “ข่าวด่วน” ใช้สัญลักษณ์
เครื่ องหมายอัญ ประกาศ (“ ”) ใช้เทคนิ ค ตัดต่ อวีดีโอความยาว1.51 น. ภาพบรรยากาศผูส้ ื่ อข่ าว
สอบถามข้อมูลจากผูบ้ ญั ชาการเรื อนจากลางขอนแก่น
ช่วงเหตุการณ์ที่ 3 ข่าวที่ 4 นิยามเหตุการณ์วา่ นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหาคดี
ฆ่าหัน่ ศพนางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ ไม่มีความสานึกผิด วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาในสังคมว่าสาเหตุ
160

ที่ตอ้ งคุมตัวนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับพวกมาขึ้นศาลนัดแรกเนื่องจากครบกาหนดฝากขังตาม


กระบวนการยุติธรรม และอัยการได้ส่งสานวนฟ้ องแล้ว ประเมินในเชิงจริ ยธรรมของผูเ้ กี่ยวข้องว่า
นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย กับ พวกผูต้ ้องหาซึ่ งเป็ นผูห้ ญิ งไม่ ได้ส ลดกับ ก่ อเหตุ ฆาตกรรม มี สี
หน้าที่ยมิ้ แย้ม แต่งหน้ามาศาล และไม่มีการแนะทางออกของปั ญหา ขณะที่กลวิธีการนาเสนอข่าว
ถู ก จัด วางในหมวดหมู่ “ข่ า วด่ ว น” ใช้ ค าซ้ าในพาดหั ว ในปกและพาดหั ว ข่ า วใช้ สั ญ ลัก ษณ์
เครื่ องหมายอัญประกาศ (“ ”) ใช้เทคนิคตัดต่อวีดีโอความยาว0.40 น. เป็ นภาพบรรยากาศรถควบคุม
ผูต้ อ้ งหา แต่มีการแทรกภาพนิ่งนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหาไว้ช่วงวินาทีที่ 0.24 น. จานวน
2 รู ป
จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มสื่ อมวลชนได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการนาเสนอข่าว
ในแต่ละช่วงเหตุการณ์สอดคล้องกันว่าในช่วงเหตุการณ์ที่ 1ได้เน้นการนาเสนอไปที่นางสาววริ ศรา
กลิ่ น จุ ้ย ผู ้เสี ย ชี วิ ต ว่า ผู ้เสี ย ชี วิ ต เป็ นใคร ท าไมถึ ง ถู ก ฆ่ า เพื่ อ หาแรงจู ง ใจที่ ท าให้ ผูเ้ สี ย ชี วิ ต ถู ก
ฆาตกรรม โดยเกาะติดการรายงานข่าวการสื บสวนสอบสวนของตารวจ และข้อมูลจากครอบครัว
ของผูเ้ สี ยชีวติ เนื่องจากในช่วงเหตุการณ์ที่ 1 ยังไม่ทราบว่าผูก้ ่อเหตุคือนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
ช่วงเหตุการณ์ที่ 2 หลังสื่ อมวลชนทราบว่าผูต้ อ้ งหาคือนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย สื่ อมวลชนก็ได้
เน้ น การน าเสนอไปที่ น างสาวปรี ย านุ ช โนนวัง ชัย ผู ้ต้อ งหา โดยเน้ น น าเสนอปะวัติ ส่ ว นตัว
รู ปลักษณ์ภายนอกผูต้ อ้ งหาที่เป็ นผูห้ ญิง เนื่องจากผูใ้ ห้ขอ้ มูลทั้งสามคนมีประสบการณ์ที่สอดคล้อง
กันว่าจากประสบการณ์ ทางานไม่ค่อยพบคดีที่ผูห้ ญิงเป็ นผูก้ ่อเหตุร้ายแรงเป็ นเรื่ องแปลก และน่ า
ตกใจจึงเลื อกนามาเสนออย่างต่ อเนื่ อง พร้ อมนาเสนอผลการสื บ สวนสอบสวน โดยพบว่าคดี มี
เงื่อนงา และความขัดแย้งที่เกิดจากผูห้ ญิงทั้งเป็ นผูต้ อ้ งหากับผูเ้ สี ยชีวิต นอกจากนี้ ทศั นคติของผูใ้ ห้
ข้อมูลยังมีความเห็ นว่าคดี มีความน่ าสนใจเนื่ องจากผูห้ ญิงเป็ นเพศที่อ่อนแอ ไม่น่าเชื่ อว่าจะก่อคดี
รุ นแรงได้ขนาดนี้ ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3 เป็ นช่ วงที่จบั กุมนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหาได้แล้ว
โดยผูใ้ ห้ขอ้ มูลทั้งสามคนให้ขอ้ มูลสอดคล้องกันว่าการนาเสนอข่าวในช่ วงนี้ เป็ นการนาเสนอตาม
ขั้นตอนกระบวนการยุติธรรมในการดาเนิ นคดีกบั ผูต้ อ้ งหา ตั้งแต่การจับกุมจนถึงการส่ งตัวเข้าไป
ควบคุมภายในเรื อนจาจังหวัดขอนแก่น
ขณะที่กลวิธีที่ใช้ในข่าวทั้ง 8 ข่าว พบว่าเว็บไซต์ข่าวสดนาเสนอข่าวผ่านทางหมวดหมู่
“ข่าวด่ วน” และหมวดหมู่ “เด่นออนไลน์” ซึ่ งหมวดหมู่ข่าวทั้งสองหมวดหมู่น้ ี ผูใ้ ห้ขอ้ มูลระบุว่า
เป็ นการแยกหมวดหมู่โดยพิจารณาจากแหล่งที่มาของข่าว หากเป็ นข่าวที่ได้ขอ้ มูลมากจากเจ้าหน้าที่
หรื อ บุ ค คลที่ เกี่ ย วข้อ งในข่ า วจะถู ก น าเสนอผ่า นทางหมวดหมู่ “ข่ า วด่ ว น” แต่ ห ากข้อ มู ล หรื อ
ประเด็นข่าวนั้นมาจากตัวนักข่าว หรื อ แอดมินข่าว เป็ นผูค้ น้ พบ เช่ นข้อมูลที่ได้จากโซเชี ยลมีเดี ย
หรื อมี ผูส้ ่ งข้อมู ล มาให้ข่าวนั้นจะจัดอยู่ในหมวด “เด่ นออนไลน์” จัดท าภาพหน้าปก ซึ่ งในภาพ
161

หน้าปกจะประกอบไปด้วยภาพบุคคล หรื อ สถานที่ที่เกี่ยวข้องในข่าว และตัวอักษรที่เรี ยกว่า “พาด


หัวในปก” บรรณาธิ การข่าวสดออนไลน์ระบุวา่ การจัดทาหน้าปกเพื่อดึงดูดให้ผอู ้ ่านเกิดความสนใจ
ส่ วนการเลื อกใช้สัญลักษณ์ เครื่ องหมายอัศเจรี ย ์ ซึ่ งพบว่ามีการใช้บ่อยในพาดหัวข่าวของเว็บไซต์
ข่าวสด ผูใ้ ห้ขอ้ มูลระบุวา่ เป็ นการใช้สัญลักษณ์เพื่อเน้นย้าข้อความ เพื่อดึงดูดความสนใจของผูอ้ ่าน
ขณะที่วธิ ี การที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม กรณี คดีของนางสาวปรี ยา
นุช โนนวังชัย แบ่งตามช่วงเหตุการณ์ มีรายละเอียด ดังนี้
ช่วงเหตุการณ์ที่ 1 ข่าวที่ 1 มีวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม ด้าน
ความดึ งดูดทางรู ปลักษณ์ ภายนอก ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 1 ข่าวที่ 2 ด้านเพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ
และความดึ งดู ดทางรู ปลักษณ์ ภายนอก ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2 ข่าวที่ 1 ด้านความดึงดู ดทางรู ปลักษณ์
ภายนอก ช่ วงเหตุ การณ์ ที่ 2 ข่าวที่ 2 ด้านไม่ใช่ ตวั การกระทาความผิด ช่ วงเหตุการณ์ ที่ 3 ข่าวที่ 1
ด้านไม่ใช่ตวั การกระทาความผิด ช่วงเหตุการณ์ที่ 3 ข่าวที่ 2 ไม่พบวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิง
ในข่าวอาชญากรรม ช่วงเหตุการณ์ ที่ 3 ข่าวที่ 3 ด้านไม่ใช่ตวั การกระทาความผิด ช่ วงเหตุการณ์ที่ 3
ข่าวที่ 4 ด้านความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ภายนอก
สาหรับประเด็นเรื่ องวิธีการประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม ด้านความดึงดูด
ทางรู ปลักษณ์ภายนอก ที่พบว่าเป็ นวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรมทั้ง 3 ช่วง
เหตุการณ์ น้ นั กลุ่ มสื่ อมวลชนผูใ้ ห้ขอ้ มูลได้ให้เหตุผลถึงการนารู ปลักษณ์ ของผูห้ ญิงในข่าวมาใช้
นาเสนอสอดคล้องกันว่าเป็ นการชู ประเด็นให้เกิดความน่ าสนใจมีผเู ้ ข้ามาอ่านข่าวเท่านั้น และเห็น
ว่าเป็ นเรื่ องปกติในการเลือกหยิบยกประเด็น นี้มาทาให้เกิดความน่าสนใจในข่าว เช่ นการเลือกภาพ
ของนางสาววริ ศ รา กลิ่ น จุ ้ย ผู เ้ สี ย ชี วิต และภาพของนางสาวปรี ย านุ ช โนนวัง ชัย ผูต้ ้อ งหา ซึ่ ง
รู ปลักษณ์ที่ถูกเลือกมานาเสนอเพื่อต้องการให้เกิดความโดดเด่นและน่าสนใจ
ด้านเพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ ซึ่ งพบว่าเป็ นวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงใน
ข่าวอาชญากรรม โดยพบในช่ วงเหตุการณ์ที่หนึ่ งกรณี นางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ เกี่ ยวกับรสนิ ยมทาง
เพศส่ วนบุคคล กลุ่มสื่ อมวลชนให้ขอ้ มูลสอดคล้องกันว่า เป็ นการนาเสนอข้อมูลตามแนวทางการ
สื บ สวนของต ารวจเพื่ อ ให้ ท ราบถึ ง พฤติ ก รรมของผู ้เสี ย ชี วิต ที่ จ ะน าไปสู่ ป ระเด็ น การก่ อ เหตุ
ฆาตกรรมและสื บสวนหาตัวผูก้ ่อเหตุได้
ขณะที่ วิ ธี ก ารประกอบสร้ า งผูห้ ญิ ง ในข่ า วอาชญากรรม ด้านไม่ ใ ช่ ต ัวการกระท า
ความผิด ซึ่ งพบว่าเป็ นวิธีการที่ สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรมในช่ วงเหตุการณ์ ที่ 2
และ 3 ผูใ้ ห้ขอ้ มู ลทั้งสามคนก็ให้ขอ้ มูลสอดคล้องกันว่าเป็ นเรื่ องปกติของการนาเสนอข่าวในคดี
สาคัญที่ผูส้ ื่ อข่าวจะนาเสนอตามข้อมูลการสื บสวนของตารวจ และเลือกนาเสนอข้อมูลจากบุคคล
ใกล้ชิดผูก้ ่อเหตุ เพื่อสะท้อนให้เห็นพฤติกรรมของบุคคลนั้นว่าเป็ นคนอย่างไรถึงมาก่อเหตุรุนแรง
162

เช่นนี้ได้ประกอบกับผูใ้ กล้ชิดผูต้ อ้ งหาก็ยินดีให้ขอ้ มูลกับสื่ อซึ่ งแตกต่างจากครอบครัวของผูต้ อ้ งหา


รายอื่นๆ
ขณะที่ ก ลุ่ ม องค์ก รวิช าชี พ ที่ ก ากับ ดู แลกัน เองในกลุ่ ม สื่ อมวลชน นัก วิช าการหรื อ
ผูท้ รงคุ ณวุฒิดา้ นสื่ อสารมวลชน ได้แสดงความคิดเห็นถึงวิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าว
อาชญากรรม ด้านความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ภายนอก ดังนี้
การนารู ป ลักษณ์ ภายนอกของผูห้ ญิ งในข่าวมาใช้เป็ นจุดดึ งดู ดความสนใจนั้น ผูใ้ ห้
ข้อมู ลมี ค วามคิ ดเห็ นว่าอาจส่ งผลต่ อเนื้ อหาข่าว เนื่ องจากอาจท าให้ผูอ้ ่านสนใจในประเด็นเรื่ อง
บุคคลมากกว่าเนื้ อหาที่สื่อเลือกมานาเสนอ สื่ อมวลชนควรอธิ บายให้สังคมเห็นว่าความรุ นแรงนั้น
เกิดขึ้นได้กบั ทุกเพศ ไม่ควรผลิตซ้ าทัศนคติที่มีต่อเพศหญิงว่าเป็ นเพศที่อ่อนแอกว่าผูช้ าย ควรสร้าง
ความเท่ าเที ยมในข่าวเพื่ อไม่ ให้ เกิ ดค่ านิ ย มว่าผูห้ ญิ งเป็ นผูต้ ้องหาในคดี อาชญากรรม ว่ามี ค วาม
แตกต่างจากผูต้ อ้ งหาที่เป็ นผูช้ าย
การใช้รูปลักษณ์ ของผูห้ ญิงมาเป็ นจุดดึงดูดความสนใจของผูอ้ ่าน ผูใ้ ห้ขอ้ มูลยังเห็นว่า
เป็ นการทาให้ผหู ้ ญิงกลายเป็ นวัตถุทางเพศ ควรระมัดระวังการอธิบายสรี ระของผูห้ ญิงในข่าว ทั้งใน
ส่ วนภาพ และข้อความที่เลือกนามาใช้ เนื่องจากบางครั้งสื่ อก็ใช้การอธิบายรู ปร่ าง หรื อลักษณะ เพื่อ
นาไปสู่ การจับ กุมในคดี ต่างๆได้ สอดคล้องกับ ความคิดเห็ นของผูใ้ ห้ขอ้ มู ลอีกหนึ่ งคนที่เห็ นว่า
สื่ อมวลชนยังตระหนักถึ งสิ ท ธิ ของผูห้ ญิ งน้อย ท าให้เรื่ อ งของสิ ท ธิ ผูห้ ญิ งเป็ นเรื่ องใหม่ส าหรั บ
สื่ อมวลชน ผูห้ ญิงที่ตกเป็ นข่าวจึงถูกกระทาซ้ าในเรื่ องของการให้คุณค่าในข่าว เมื่ออ่านข่าวผูห้ ญิง
จะรู ้สึกว่าผูห้ ญิงมีคุณค่าน้อยกว่าผูช้ าย ยังมีลกั ษณะเห็นว่าชายเป็ นใหญ่อยู่
ขณะที่ ก ารตั้งสมญานาม หรื อ ฉายา ให้ก ับ ผูต้ ้องหาที่ เป็ นผูห้ ญิ งผูใ้ ห้ข้อมู ล มี ความ
คิดเห็นสอดคล้องกันโดยเห็นว่าเป็ นการตัดสิ นจากความรู ้สึกของสื่ อมวลชนเอง ดังนั้นการตั้งสมญา
นาม หรื อ ฉายา จะต้องระมัดระวัง คานึงถึงศักดิ์ศรี ความเท่าเทียมของความเป็ นมนุษย์ และตระหนัก
เสมอว่าคาที่ใช้อาจเป็ นการลดทอนศักดิ์ ศรี ของบุคคลที่ถูกกล่าวถึง เช่ นการใช้คาว่า “สวยหัน่ ศพ”
อาจทาให้เกิดค่านิ ยมความเข้าใจผิดว่ามีการให้คุณค่ากับความสวย ทั้งที่ไม่เกี่ยวข้องกับคดีความ จึง
ต้องพิ จารณาว่าสมญานามที่ ใช้ส่ งเสริ มให้เกิ ดความเข้าใจในเนื้ อหาข่าวมากขึ้นหรื อไม่ หากไม่
เกี่ยวข้องใดๆกับเนื้อหาในคดี และเป็ นเรื่ องส่ วนตัวของบุคคลก็ไม่ควรนามาใช้
ส่ วนการใช้แทนผูห้ ญิงในข่าวว่า “สาว” ผูใ้ ห้ขอ้ มูลเห็นว่าควรระมัดระวังเนื่ องจากคา
ว่า “สาว” การแสดงออกถึงการให้คุณค่ากับช่วงวัยใดวัยหนึ่ ง ขณะที่คาว่า “สวย” ถือว่าเป็ นการใส่
ความคิ ดเห็ นลงไปในข่าว ซึ่ งข่าวทัว่ ไปที่ ไม่ใช่ สกู๊ป หรื อ บทความ ต้องไม่ ใส่ ความคิดเห็ นของ
ผูส้ ื่ อข่าวลงไปในข่าว
163

วิธีการที่สื่อประกอบสร้างผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม ด้านเพศและความเบี่ยงเบนทาง


เพศ กลุ่ มองค์กรวิชาชี พ ที่ กากับดู แลกันเองในกลุ่มสื่ อมวลชน นักวิชาการหรื อผูท้ รงคุ ณวุฒิด้าน
สื่ อสารมวลชน ได้แสดงความคิดเห็นดังนี้
ผูใ้ ห้ข ้อมู ล มี ค วามคิ ดเห็ น สอดคล้องกัน ว่าต้องระมัดระวังอย่างมากในการนาความ
หลากหลายทางเพศมาใช้ประกอบในข่าว เนื่องจากเป็ นเรื่ องส่ วนตัว ควรคานึงถึงความรู ้สึกศักดิ์ศรี
สิ ทธิ ความเป็ นมนุ ษย์ของผูท้ ี่ตกเป็ นข่าวรวมไปถึงครอบครัวของผูท้ ี่ตกเป็ นข่าวด้วย ว่าจะลดทอน
ศัก ดิ์ ศรี หรื อท าให้ เกิ ดภาพเหมารวมของผูต้ กเป็ นข่ าวหรื อ ไม่ เช่ น การใช้ค าว่า “ทอม” กระท า
ความผิดอาจทาให้ผูอ้ ่านเกิ ดความรู ้ สึกเหมารวมว่าทอมเป็ นผูก้ ระทาผิดทั้งๆที่จริ งแล้วความเป็ น
เกิดขึ้นเฉพาะตัวบุคคล และเป็ นการตอกย้ารสนิยมทางเพศส่ วนบุคคลที่มีการให้ค่ากับผูห้ ญิงที่มีเพศ
สภาวะไม่ตรง ดังนั้นสื่ อมวลชนควรระมัดระวังการนาเสนอคาเหล่านี้หากไม่มีความจาเป็ น หรื อ ไม่
เกี่ยวข้องกับเนื้อหาข่าวก็ควรจะใช้คาแทนอื่น แต่หากจาเป็ นต้องใช้เพื่อบอกลักษณะบางอย่างก็ตอ้ ง
ใช้อย่างระมัดระวัง
ส่ วนวิธีการที่ สื่อประกอบสร้ างผูห้ ญิ งในข่าวอาชญากรรม ด้านไม่ ใช่ ตวั การกระท า
ความผิด กลุ่มองค์กรวิชาชี พที่ กากับดูแลกันเองในกลุ่มสื่ อมวลชน นักวิชาการหรื อผูท้ รงคุณวุฒิ
ด้านสื่ อสารมวลชน ได้แสดงความคิดเห็นดังนี้
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลเห็ นว่าการนาเสนอข้อมูลของสื่ อมวลชนด้านไม่ใช่ ตวั การกระทาความผิด
พบว่าส่ วนใหญ่สื่อมวลชนได้นาข้อมูลจากแหล่งข่าวมาใช้เพื่อดึงดูดความสนใจของผูร้ ับสารและดึง
เข้าสู่ ความดราม่าในข่าว เช่ น กรณี คดี ของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว ที่สื่อมวลชน
นาเสนอว่านางสาวปรี ยานุ ช เป็ นคนกตัญญู เลี้ ยงดูพ่อแม่ ถือเป็ นเรื่ องดั้งเดิ มที่สื่อมวลชนมักเลือก
นามาเสนอเช่นเดียวกับการสื่ อข่าวในอดีตที่สื่อมวลชนมักนาเสนอว่าแม่ขโมยนมมาให้ลูกกิน และ
ให้ความสาคัญกับแม่ที่ลาบากแทนการให้ความสาคัญว่าการกระทานั้นเป็ นความผิด แต่ผใู ้ ห้ขอ้ มูล
เห็นว่าสื่ อมวลชนสามารถนาเสนอสิ่ งเหล่านี้ได้ แต่การนาเสนอนั้นควรนาเสนออย่างระมัดระวังโดย
ไม่ นาเสนอซ้ าจนเกิ ดค่านิ ยมผิดๆ ว่าหากลู กเป็ นคนกตัญญู ก็ สามารถกระทาความผิดได้ แต่ค วร
นาเสนอปั ญหาระดับโครงสร้างมากกว่า เช่นการนาเสนอข้อมูลจากนักสังคม หรื อ นักจิตวิทยา เป็ น
ต้น
5.1.2 ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกทีส่ ่ งผลต่ อการวางกรอบข่ าว
5.1.2.1 ปั จจัย ภายในที่ ส่ งผลต่ อ การวางกรอบข่ าวกรณี ค ดี น างสาวปรี ย านุ ช โนนวัง ชัย
ประกอบด้วย
1) ประสบการณ์ส่วนตัวของบุคลากรข่าวที่มีต่อการก่ออาชญากรรมโดยผูห้ ญิง
164

ผู ้ใ ห้ ข ้อ มู ล จากบุ ค ลากรที่ อ ยู่ ใ นกระบวนการท าข่ า วทั้ง หมดระบุ ว่ า มี ก ารใช้


ประสบการณ์ การทางาน และทัศนคติที่มีต่อคดีของนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย มาใช้เป็ นปั จจัย
ภายในที่สาคัญในการวางกรอบข่าว
โดยผูใ้ ห้ขอ้ มูลมีความคิดเห็นจากประสบการณ์ที่สอดคล้องกันว่าคดีของนางสาว
ปรี ยานุช โนนวังชัย น่าสนใจ เนื่ องจากที่ผา่ นมาแม้วา่ จะมีผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาในคดีอาชญากรรมที่มี
พฤติ การณ์ ในคดี ที่ ร้ายแรง แต่ส่ วนใหญ่ จะพบว่าผูห้ ญิ งเป็ นผูบ้ งการมากกว่าเป็ นผูล้ งมือก่ อเหตุ
ประกอบกับคดี น้ ี เป็ นคดี ที่มีพฤติการณ์ การก่อเหตุที่โหดร้ายและรุ นแรง นอกจากนี้ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลยัง
เห็นว่าถึงแม้วา่ ผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหาจะทาให้ข่าวน่าสนใจ แต่ในส่ วนพฤติการณ์ของคดีที่โหดเหี้ ยม
และรายละเอียดของผูท้ ี่เกี่ยวข้องในข่าวเป็ นจุดเด่นที่ทาให้คดีน่าสนใจมากกว่า
2) ทัศนคติส่วนตัวของบุคลากร ที่มีต่อการก่ออาชญากรรมโดยผูห้ ญิง
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลเห็ นว่ากรณี คดีนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย น่ าสนใจมาก ที่ผ่านมาไม่
เคยพบคดี ที่มีพฤติการณ์ แบบนี้ ในพื้ นที่มาก่ อน และเห็ นว่าคดีน้ ี ผูห้ ญิ งเป็ นผูต้ อ้ งหาคดีจึงมีความ
น่ าสนใจมากกว่าคดี ที่ผูช้ ายเป็ นผูก้ ่อเหตุ เนื่ องจากทัศนคติส่วนตัวเห็นว่าผูห้ ญิงเป็ นเพศที่อ่อนแอ
หากไม่ถูกกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งอย่างรุ นแรงก็ไม่จะไม่ลงมือก่อเหตุ
3) กระบวนการทาข่าวระหว่างบรรณาธิการกับผูป้ ฏิบตั ิงาน
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลระบุว่ามีปัจจัยภายในเกี่ยวกับการบริ หารจัดการเข้ามาเกี่ ยวข้องกับการ
วางกรอบข่าวในคดีนางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย เนื่องจากบรรณาธิการข่าวสดออนไลน์ได้ส่ังการให้
ผูส้ ื่ อข่าวประจาจังหวัดขอนแก่นติดตามคดีน้ ี อย่างใกล้ชิด และรายงานความคืบหน้าอย่างต่อเนื่ อง
หรื อ ที่ เรี ย กกัน ว่าห้ ามตกข่ าว ผู ส้ ื่ อข่ าวประจาจัง หวัด ขอนแก่ น จึ ง ต้องแสวงหาข้อ มู ล มากขึ้ น
นอกเหนื อจากข้อมูลที่ได้รับจากเจ้าหน้าที่ตารวจ หรื อ พนักงานสอบสวนในคดี ยังแสวงหาข้อมูล
จากโซเชี ยลมีเดีย และแหล่งข่าว หรื อ บุคคลที่มีความใกล้ชิดกับทั้งฝ่ ายผูเ้ สี ยชีวิตและผูต้ อ้ งหาส่ งให้
กองบรรณาธิการ
5.1.2.2 ปั จจัย ภายในที่ ส่ ง ผลต่ อ การวางกรอบข่ าวกรณี ค ดี น างสาวปรี ย านุ ช โนนวัง ชัย
ประกอบด้วย
1) เจ้าหน้าที่ตารวจ
ผูใ้ ห้ข ้อมู ลทั้งสามท่ านให้ข ้อมู ล สอดคล้องกัน ว่าเนื้ อหาข่ าวในคดี ข องนางสาว
ปรี ยานุ ช โนนวังชัย ที่ เลื อกนามาเสนอส่ วนใหญ่เป็ นข้อมูลที่ได้มาจากเจ้าหน้าที่ตารวจ เนื่ องจาก
เห็นว่าข้อมูลเหล่านี้เป็ นข้อมูลที่น่าเชื่อถือที่สุด
165

2) แหล่งข่าว
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลเห็นสอดคล้องกันว่าแหล่งข่าว คือแหล่งข้อมูลที่ถูกเลือกนามาเสนอเป็ น
ข้อมู ล หลัก รองจากข้อมู ล ของตารวจ และในคดี ฆาตกรรมทัว่ ไปแหล่ งข่ าวที่ เป็ นครอบครัวของ
ผูเ้ กี่ ยวข้องในข่าวมักจะไม่ให้ขอ้ มูล แต่คดี น้ ี ผูท้ ี่ เกี่ ยวข้องในข่าวโดยเฉพาะฝั่ งของผูต้ อ้ งหามีการ
ออกมาให้ขอ้ มูลหลายครั้ง สื่ อจึงเลือกนามาเสนอ
3) ความสนใจและปฏิสัมพันธ์ของผูร้ ับสาร
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลเห็ นว่าผูร้ ับสารถือเป็ นหัวใจสาคัญที่ส่งผลต่อการนาเสนอข่าวและการ
วางกรอบข่าว ในคดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย เนื่องจากการนาเสนอข่าวออนไลน์ในปั จจุบนั
เมื่อนาเสนอข่าวใดข่าวหนึ่ งผ่านทางออนไลน์ทางกองบรรณาธิ การจะติดตามยอดการเข้าชม การมี
ส่ วนร่ วม และการแสดงความคิดเห็ นในข่าวทันทีว่าผูร้ ับสารมีความสนใจข่าวนี้ มากน้อยเพียงไร
หากผูร้ ับสารหรื อสังคมมีความสนใจข่าวนี้ จานวนมากทางกองบรรณาธิ การก็ส่ังการให้ผูส้ ื่ อข่าว
และแอดมินข่าวนาเสนอความคืบหน้าข่าวนี้อย่างเร่ งด่วนเพื่อตอบสนองความต้องการของผูร้ ับสาร
4) โซเชียลมีเดีย
ส่ วนประเด็นโซเชียลมีเดียผู ้ ให้ขอ้ มูลสอดคล้องกันว่ากระแสของผูค้ นในสังคมที่
พูดถึงกันในโซเชียลมีเดียถือว่ามีส่วนสาคัญในการกาหนดเนื้อหาและการวางกรอบข่าว เช่น กระแส
การทวีตเตอร์ ขอ้ ความ การโพสต์ขอ้ ความ ภาพ คลิปวีดีโอและอื่นๆ ผ่านทางเฟซบุ๊คของบุคคลที่มี
ชื่อเสี ยงและบุคคลทัว่ ไป เพจเฟซบุ๊คที่มีผตู ้ ิดตามจานวนมากนาเสนอข้อมูลต่างๆ ล้วนส่ งผลต่อการ
นาเสนอเนื้อหาและการวางกรอบข่าวในคดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
4) การแข่งขันระหว่างสื่ อกระแสหลัก และเพจต่างๆ
ผูใ้ ห้ขอ้ มูล ให้ขอ้ มูลสอดคล้องกันว่า การนาเสนอข่าวในคดีของนางสาวปรี ยานุ ช
โนนวังชัย มีการแข่งขันกันสู งมากทั้งจากสื่ อกระแสหลักและเพจต่างๆในโซเชียลมีเดีย ถือเป็ นการ
แข่งขันกันอย่างดุ เดื อด ซึ่ งส่ งผลต่อการนาเสนอข่าวคดีของนางสาวปรี ยานุ ช ในด้านความรวดเร็ ว
ความเฉี ยบคมของประเด็นข่าว ความลึกและความถูกต้องของข้อมูล
5) ผูโ้ ฆษณาซึ่งเป็ นผูส้ นับสนุนองค์กร และบรรทัดฐานทางสังคม
ผูใ้ ห้ขอ้ มู ลให้ความเห็ นสอดคล้องกันว่า ผูโ้ ฆษณาไม่ส่งผลต่อการนาเสนอข่าวคดี
นางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย แม้จะเป็ นรายได้หลักขององค์กรแต่ในส่ วนการนาเสนอข่าวอาชญากรรม
ไม่ได้ถูกจากัด หรื อ กาหนดจากผูโ้ ฆษณา เนื่องจากผูโ้ ฆษณาไม่ตอ้ งการให้สินค้าของตัวเองมาปรากฏ
ในหมวดหมู่ข่าวอาชญากรรมซึ่ งผูโ้ ฆษณาส่ วนใหญ่จะเห็นว่าเป็ นภาพลักษณ์ดา้ นลบ
ส่ วนบรรทัดฐานทางสังคม ทั้งด้านศีลธรรม ความเชื่อ ศาสนา ก็ไม่ได้ส่งผลโดยตรงต่อ
การกาหนดเนื้อหาข่าวและการวางกรอบข่าวในคดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
166

ขณะที่ ก ลุ่ ม องค์ก รวิช าชี พ ที่ ก ากับ ดู แลกัน เองในกลุ่ ม สื่ อมวลชน นัก วิช าการหรื อ
ผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นสื่ อสารมวลชน ได้แสดงความคิดเห็ นถึง ปั จจัย ที่ส่งผลต่อการวางกรอบข่าวกรณี
คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ดังนี้
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลแสดงความคิดเห็น สอดคล้องกันถึงการนาข้อมูลที่ได้ตารวจมานาเสนอว่า
หากสื่ อมวลชนได้ขอ้ มูลมาจากเจ้าหน้าที่ตารวจ ควรจะคัดเลือกว่าประเด็นใดควรนาเสนอต่อสังคม
ว่ากาลังถู กตารวจ หรื อ พนักงานสอบสวนใช้เป็ นเครื่ องมือในการนาเสนอข้อมูลข่าวสาร ซึ่ งถือว่า
เป็ นปั ญ หาใหญ่ ม ากที่ เกิ ด ขึ้ น กับ สื่ อ มวลชนสายอาชญากรรมที่ ป ระเด็ น ข่ าวถู ก ก าหนดมาจาก
เจ้าหน้าที่ตารวจ ไม่ใช่ สื่อมวลชน ซึ่ งประเด็นนั้นอาจมีวาระซ่ อนเร้นอยู่ดว้ ย สื่ อมวลชนจึงต้องทา
หน้าที่ตรวจสอบข้อมูลนั้นๆก่อนนาเสนอ เช่น กรณี คดีของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย หรื อ เปรี้ ยว
ที่ มุ่ งเน้นไปที่ ป ระเด็ น เป็ นปั ญ หาส่ วนบุ ค คล โดยเชื่ อข้อมู ล ทุ ก อย่างที่ ไ ด้ม ากจากต ารวจ ท าให้
สื่ อมวลชนสายอาชญากรรมไม่ใช่ผคู ้ ิดประเด็นที่จะนาเสนอต่อสังคม และสื่ อมวลชนอาจลืมหัวใจ
สาคัญของข่าวอาชญากรรมที่สื่อมวลชนว่า กาลังทาหน้าที่บอกว่ามีความผิดปกติเกิ ดขึ้นในสังคม
เพื่อให้เกิดการแก้ไขปั ญหา หรื อความผิดปกนั้น แต่การนาเสนอข่าวกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนน
วังชัย หรื อ เปรี้ ยว กลับทาให้สังคมเกิดความสนใจที่ตวั บุคคลเป็ นหลัก แต่แทบไม่ได้สนใจประเด็น
ปั ญหาความรุ นแรง หรื อ พฤติกรรมการลอกเลียนแบบที่เกิดขึ้น
ขณะที่ ความสนใจและปฏิ สัมพันธ์ของผูร้ ับสาร เป็ นอีกหนึ่ งปั จจัยที่มีส่วนสาคัญใน
การวางกรอบข่ าวผูท้ รงคุ ณ วุ ฒิ หรื อ นัก วิช าการด้า นสื่ อ สารมวลชน ได้แสดงความคิ ด เห็ น ว่า
สื่ อมวลชน ไม่ควรสนใจเพียงแค่จานวนของผูร้ ับสาร แต่ควรศึกษา หรื อ วิเคราะห์สถิติ และข้อมูล
เบื้องหลังตัวเลขที่ปรากฏมาใช้ประกอบการวางกรอบข่าวด้วย โดยแนะนาว่าสื่ อมวลชนควรเปลี่ยน
วิธีคิด และหันมาเลือกใช้ประโยชน์จากโซเชี ยลมีเดียในด้านของสถิติและข้อมูลที่ปรากฏมากขึ้น
เช่น สถิติการเข้าเว็บไซต์ หรื อ สถิติการอ่านข่าว โดยวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องหลังของตัวเลขที่ปรากฏ
ด้วย เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการนาเสนอข่าวแต่ละวัน และปรับปรุ งคุณภาพข่าวที่นาเสนอ
5.1.3 แนวปฏิบัติทางจริยธรรม ในการนาเสนอข่ าวคดีทผี่ ้หู ญิงเป็ นผู้ต้องหา
ในการนาเสนอข่าวอาชญากรรมกรณี ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหา จากผลการวิจยั สามารถสรุ ป
แนวปฏิบตั ิทางจริ ยธรรมให้กบั สื่ อมวลชน โดยแยกเป็ นประเด็นดังต่อไปนี้
ประเด็นที่ 1 การใช้ ภาพของผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
1. ระมัดระวังการนาเสนอภาพและเนื้อหาของผูห้ ญิงที่เน้นสรี ระร่ างกายในข่าว
อาชญากรรม ที่จะนาไปสู่ การทาให้ผหู ้ ญิงกลายเป็ นวัตถุทางเพศในคดีอาชญากรรม
ประเด็นที่ 2 การตั้งสมญานามให้ กบั ผู้ต้องหาซึ่งเป็ นผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
167

2.ระมัดระวังการตั้งสมญานาม หรื อ ฉายา ให้กบั ผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม ที่จะ


นาไปสู่ การดูหมิ่น เกลียดชัง และกระทบต่อศักดิ์ความเป็ นมนุษย์
ประเด็นที่ 3 การใช้ คาแทนผู้หญิงทีม่ ีเพศภาวะไม่ สัมพันธ์ กบั เพศสภาพของตนเอง
3.ระมัดระวังการใช้คาแทนผูห้ ญิงที่มีเพศภาวะไม่สัมพันธ์กบั เพศสภาพของตนเอง เช่น
ทอม ดี้ ผูช้ ายข้ามเพศ ที่ จ ะน าไปสู่ ก ารสร้ างภาพเหมารวมว่า คนกลุ่ ม นั้น ทั้งหมดเป็ นผูก้ ระท า
ความผิด
ประเด็นที่ 4 การนาเสนอความเป็ นผู้หญิงในข่ าวอาชญากรรม
4.ระมัดระวังการนาเสนอเรื่ องราวของผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม ด้วยมุมมองว่าผูห้ ญิง
เป็ นเพศที่อ่อนแอกว่าผูช้ าย อันอาจนาไปสู่ การสร้างความสมเหตุสมผลและความชอบธรรมให้กบั
ผูห้ ญิงในคดีอาชญากรรม
5. สื่ อมวลชนควรนาเสนอบทลงโทษของผูห้ ญิ งที่ กระท าความผิดว่าได้รับ โทษไม่
แตกต่างจากผูช้ าย
6.สื่ อมวลชนควรนาเสนอประเด็นเกี่ยวกับผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรมอย่างสร้างสรรค์
เช่น การนาเสนอคาอธิ บายเพิ่มเติม หรื อ นาเสนอปั ญหาในระดับโครงสร้างทางสังคมมากกว่าการ
รายงานเพียงสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับตัวปัจเจกบุคคล เพื่อนาไปสู่ การแก้ไขปัญหา
168

การวางกรอบข่ าวอาชญากรรมกรณี
ผู้หญิงเป็ นผู้ต้องหา
ปัจจัยภายใน คุณค่ าข่ าว ปัจจัยภายนอก
-ประสบการณ์ - เพศ -แหล่งข่าว
-ทัศนคติ - ความมีเงื่อนงา -ความสนใจและ
-กระบวนการทา - ความขัดแย้ง ปฏิสมั พันธ์
ข่าว ของผูร้ ับสาร
ระหว่าง วิธีการประกอบสร้ างผู้หญิงทีเ่ ป็ น -ประเด็นในโซเชียลมีเดียที่
บรรณาธิการกับ ผู้ต้องหา สังคม
ผูป้ ฏิบตั ิงาน ให้ความสนใจ
-ความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ภายนอก
-การแข่งขันระหว่างสื่ อ
-เพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ กระแสหลักและเพจต่างๆ

-ไม่ใช่ตวั การกระทาความผิด

แนวปฏิบัตทิ างจริยธรรมของสื่ อมวลชนไทยในการนาเสนอข่ าวผู้หญิงที่เป็ นผู้ต้องหา


ประกอบด้ วย

ประเด็นที่ 1 การใช้ภาพของผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม


ประเด็ น ที่ 2 การตั้ง สมญานามให้ กับ ผูต้ ้อ งหาซึ่ งเป็ นผู ้ห ญิ ง ในข่ าวอาชญากรรม
ประเด็นที่ 3 การใช้คาแทนผูห้ ญิ งที่ มีเพศภาวะไม่สัมพันธ์กบั เพศสภาพของตนเอง
ประเด็นที่ 4 การนาเสนอความเป็ นผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม

ภาพที่ 5.1 สรุ ปผลการศึกษา


169

5.2 การอภิปรายผล
1. การวางกรอบข่าว และปัจจัยที่ส่งผลต่อการทางานของสื่ อมวลชน
เมื่อพิจารณาผลการศึกษาในประเด็นการวางกรอบตามทฤษฏีของ Scheufele (1999) ประกอบกับ
แนวคิดเรื่ องปั จจัยที่ส่งผลต่อทางานของสื่ อมวลชน ตามแนวคิดของ Mcquail (1994) มีรายละเอียด
ดังนี้
ผลศึ ก ษาการวางกรอบข่ า วอาชญากรรมกรณี ผู ้ห ญิ ง เป็ นผูต้ ้อ งหาในคดี น้ ี พบว่ า
สื่ อมวลชนวางกรอบข่าวโดยใช้ความดึงดูดทางรู ปลักษณ์ภายนอกของผูห้ ญิงในคดีน้ ี ทั้งผูต้ อ้ งหา
และเหยื่อมาใช้มากที่ สุ ดเพื่ อใช้เป็ นจุดดึ งดู ดความสนใจของผูอ้ ่าน วิเคราะห์ ได้ว่าเป็ นผลมาจาก
ปั จจัยภายใน ประกอบด้วย ประสบการณ์ของบุคลากรข่าวที่เห็นว่าคดีอาชญากรรมส่ วนใหญ่ที่พบ
ผูห้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาส่ วนใหญ่จะเป็ นผูบ้ งการอยู่เบื้องหลัง ไม่ค่อยพบผูห้ ญิงเป็ นผูล้ งมือก่อเหตุดว้ ย
ตัวเอง อันเป็ นผลมาจากกรอบของสื่ อมวลชนเองที่อยู่ในฐานะของผูร้ ับสารและได้รับอิทธิ พลจาก
กรอบของตัวเองที่เคยพบเห็ นจากข่าวในอดีตว่าผูห้ ญิงมักอยู่เบื้องหลังในคดีอาชญากรรมมากกว่า
เป็ นผูก้ ่อเหตุ นอกจากนี้ ปั จจัยภายในอีกประการที่ส่งผลให้สื่อมวลชนวางกรอบข่าวในคดีน้ ี โดยใช้
ความดึงดู ดทางรู ปลักษณ์ภายนอกของผูห้ ญิง คือ ทัศนคติบุคลากรข่าวเองต่ออาชี พประชาสัมพันธ์
หรื อ พี อาร์ ร้านอาหาร ซึ่ งเป็ นอาชี พ ของผูเ้ สี ยชี วิตว่าส่ วนใหญ่ ผูห้ ญิ งที่ อาชี พ จะมี หน้าตาดี ส่ วน
ทัศนคติของบุคลากรข่าวที่มีต่อผูห้ ญิงว่าเป็ นเพศที่อ่อนแอกว่าผูช้ าย แต่กลับเป็ นผูก้ ่อเหตุในคดีที่มี
พฤติการณ์ร้ายแรง จึงทาให้การวางกรอบข่าวออกมาในมุมที่น่าประหลาดใจ น่าตกใจ ดังนั้น กรอบ
ข่าวอาชญากรรมกรณี ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาในคดีน้ ี จึงเป็ นผลมาจากปั จจัยภายในที่สาคัญคือ ทัศนคติ
และประสบการณ์ สอดคล้องกับแนวคิดของ แมคเควล (1994) เรื่ องปั จจัยที่มีผลต่อการทางานของ
องค์กรสื่ อมวลชน ที่พบว่าปั จจัยภายในส่ งผลต่อเนื้อหาข่าวที่ถูกนาเสนอจากสื่ อมวลชน
นอกจากนี้ ยังพบว่าปั จจัยภายนอกด้านความสนใจและปฏิ สั ม พันธ์ ของผูร้ ั บสาร ที่
พบว่าผูร้ ับสารมีความสนใจข่าวนี้ ผ่านตัวเลขที่ปรากฏยอดรับชมในเว็บไซต์ข่าวทาให้สื่อมวลชน
เลื อกนาเสนอเหตุ การณ์ น้ ี อย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งสอดคล้องกับ แมคเคลว (1994) ที่ พบว่าผูร้ ับสารก็คือ
ผูบ้ ริ โภค มีผลกระทบต่อการดาเนิ นงานขององค์กรโดยตรงจึงต้องผลิตสิ่ งที่ตรงกับความต้องการ
ของผู ้รั บ สารมากที่ สุ ด เพื่ อ ให้ ผู ้รั บ สารสนใจหั น มาชมหรื อ มาอ่ า นซึ่ งเป็ นรายได้ข ององค์ก ร
การศึกษายังพบประเด็นที่โซเชี ยลมีเดียกาลังให้ความสนใจก็เป็ นหนึ่ งในตัวกาหนดการวางกรอบ
ข่าวของสื่ อมวลชน หากในโซเชี ยลมีเดียมีการพูดถึงประเด็นอะไรสื่ อมวลชนก็จะเลือกประเด็นนั้น
มานาเสนอ เช่ นเดี ยวกับ ประเด็ นโซเชี ยลมี เดี ยที่พ บการวิพ ากษ์วิจารณ์ ถึ งหน้าตา และรู ป ลัก ษณ์
ภายนอกของผูต้ อ้ งหา สื่ อมวลชนจึงเลื อกนาเสนอประเด็นดังกล่ าว และถื อว่าเป็ นอีกหนึ่ งปั จจัย
170

ภายนอกที่สาคัญในการทางานของสื่ อมวลชนในปั จจุบนั ที่ทางานในยุ คของสื่ อออนไลน์ ซึ่ งไม่พบ


ประเด็นนี้ในแนวคิดเรื่ องปั จจัยที่มีผลต่อการทางานขององค์กรสื่ อมวลชน
ขณะที่ เพศและความเบี่ ยงเบนทางเพศ เป็ นผลมาจากปั จจัย ภายนอก คื อ แหล่ ง ข่ าว
โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ตารวจที่ เป็ นผูเ้ ปิ ดเผยข้อมูลการสื บสวนสอบสวนว่า ผูเ้ สี ยชี วิตมีพฤติกรรมรัก
ร่ วมเพศ คบหาผูห้ ญิงที่มีเพศภาวะไม่สัมพันธ์กบั เพศสภาพของตนเองซึ่ งเป็ นหนึ่งในข้อสันนิษฐาน
ถึงประเด็นฆาตกรรม ประกอบกับข้อมูลจากแหล่งข่าวอื่น ซึ่ งเป็ นบุคคลใกล้ชิดผูเ้ สี ยชีวิตให้ขอ้ มูล
ถึ งพฤติ กรรมทางเพศของผูเ้ สี ยชี วิต ซึ่ งสื่ อมวลชนให้ความสนใจเนื่ องจากเป็ นหนึ่ งในประเด็น
ฆาตกรรม และความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นจากกรอบของสื่ อมวลชนในฐานะผูร้ ับสารเองยังเห็นว่าไม่ใช่
ความสั ม พัน ธ์ ป กติ แบบผูช้ ายกับ ผูห้ ญิ งจึ งเลื อกนามาเสนอข่ าว นอกจากนี้ ยังพบการใช้ค าแทน
ผูห้ ญิงที่มีเพศภาวะไม่สัมพันธ์กบั เพศสภาพของตนเองในข่าวอาชญากรรมซึ่ งการใช้คาแทนเช่นคา
ว่า “ทอม” “ดี้ ” “ผูช้ ายข้ามเพศ” ท าให้ผูอ้ ่ านเกิ ด ความรู ้ สึ ก ถึ ง ภาพเหมารวมว่ากลุ่ ม คนเหล่ านั้น
กระทาความผิดทั้งหมด และยังเป็ นการลดศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ของบุคคลที่ถูกกล่าวถึง
ส่ วนไม่ใช่ ตวั การกระทาความผิด หรื อ การหาความสมเหตุสมผลให้กบั ผูห้ ญิงที่เป็ น
ผูต้ อ้ งหา เป็ นผลที่ส่งมาจากปั จจัยภายในทั้งประสบการณ์ทศั นคติ ที่สื่อมวลชนยังมีความเชื่ อที่ว่า
ผูห้ ญิงเป็ นเพศที่อ่อนแอ หากก่อเหตุอาชญากรรมร้ายแรงจะต้องถูกกระทาก่อนอย่างรุ นแรง วิธีการ
นี้ถือว่าเป็ นวิธีการที่แตกต่างจากวิธีการประกอบสร้างผูห้ ญิงแบบดั้งเดิมที่ใช้ประเด็นเรื่ องความดึงดู
ทางรู ป ลักษณ์ ภ ายนอก และเพศและความเบี่ ยงเบนทางเพศมาใช้ในการน าเสนอข่ าว แต่ วิธี ก าร
ประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหาโดยใช้วิธีการหาความสมเหตุสมผลนี้ เป็ นวิธีที่แตกต่างไปจาก
เดิม เนื่องจากในอดีตมักพบการประกอบสร้างผูห้ ญิงในลักษณะการตกเป็ นเหยื่อ หรื อ ผูถ้ ูกกระทา
มากกว่า
วิ ธี ก ารที่ สื่ อ มวลชนประกอบสร้ า งผู ้ห ญิ ง ที่ เป็ นผู ้ต้อ งหาโดยใช้ วิ ธี ก ารหาความ
สมเหตุสมผล อธิ บายได้ตามแนวคิดของ Jewkes (2004) ที่พบว่าสังคมโดยส่ วนใหญ่ยงั ไม่พร้อมที่
จะเผชิ ญ ความเป็ นจริ งว่าผูห้ ญิ งนั้นเป็ นเพศที่ อาจมี ความโหดร้ าย ซาดิ ส ม์ และรุ น แรง และเป็ น
ฆาตกรได้ โดยสื่ อมวลชนจะหาความสมเหตุสมผลมาอธิ บายว่าผูห้ ญิงกระทาการรุ นแรงเนื่องจากมี
เหตุ ผ ลสนับ สนุ น ไม่ ไ ด้ก ระท าความรุ น แรงโดยไร้ ส าเหตุ ทั้ง นี้ หากพิ จารณาอิ ท ธิ พ ลของการ
ประกอบสร้างความจริ งของสื่ อมวลชนตามแนวคิดเรื่ องการสร้ างความหมายทางสังคม ในด้าน
สื่ อสารมวลชน ที่พบว่าการสร้างความหมายของสื่ อมวลชนเป็ นผลกระทบที่เกิดขึ้นในระยะยาว ทุก
ครั้งที่สื่อมวลชนเผยแพร่ งานออกไปจะเกิดผลกระทบในหลายระลอก ทั้งผลกระทบระยะสั้น ระยะ
กลาง และระยะยาว คือ การสร้างความรู ้ ทัศนคติ ค่านิยม จากนั้นก็จะมีปฏิกิริยาที่แตกต่างกัน และ
ส่ งผลให้เกิดการสร้างโลกแห่ งความเป็ นจริ ง และแพร่ กระจายความรู ้น้ นั ออกไปอีก (กาญจนา แก้ว
171

เทพ ,2547) ดังนั้นการประกอบสร้ างผูห้ ญิ งของสื่ อมวลชนในลักษณะนี้ อาจส่ งผลต่อค่านิ ยมของ


ผูร้ ับสารซึ่ งการประกอบสร้างผูห้ ญิงในลักษณะนี้ อาจส่ งผลต่อค่านิ ยมว่าผูห้ ญิงเป็ นเพศที่อ่อนแอ
หากไม่ถูกกระทาก่อนก็จะไม่ก่อความรุ นแรง ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบนั ที่พบว่าผูห้ ญิงก็
เป็ นผู ก้ ่ อ คดี อ าชญากรรมร้ า ยแรงในหลายๆคดี ค่ านิ ย มที่ มี ค วามเชื่ อว่า ผูห้ ญิ งส่ ว นใหญ่ จะเป็ น
ผูถ้ ูกกระทาอาจทาให้ผคู ้ นในสังคมขาดความระมัดระวัง และตกเป็ นเหยื่อ หรื อถูกหลอกลวง จาก
ผูห้ ญิงที่เป็ นอาชญากร หรื อผูห้ ญิงที่ประสงค์ร้ายได้ การหาความสมเหตุสมผลให้กบั ผูต้ อ้ งหาที่เป็ น
ผูห้ ญิ ง ของสื่ อ มวลชน อาจท าให้ ผูค้ นในสั ง คมเกิ ด ความรู ้ สึ ก เห็ น ใจผูต้ ้องหาที่ เป็ นผูห้ ญิ ง โดย
มองข้ามประเด็นการกระทาความผิดที่เกิ ดขึ้น และเกิ ดความเข้าใจว่าหากผูห้ ญิงมีเหตุผลก็สามารถ
กระทาความผิดได้
นอกจากนี้ ยงั พบว่ากระบวนการทาข่าวระหว่างกองบรรณาธิการกับผูป้ ฏิบตั ิงาน ส่ งผล
โดยตรงต่อเนื้ อหาข่าวของสื่ อมวลชนซึ่ งเป็ นปั จจัยที่องค์กรสื่ อสารมวลชนสามารถควบคุ มและ
จัดการได้เอง เมื่อกองบรรณาธิ การเห็นว่าคดีน่าสนใจจึงได้ส่ังการให้ผปู ้ ฏิบตั ินาเสนอข่าวในทุกมิติ
หรื อ ห้ ามตกข่ า ว ท าให้ ผูป้ ฏิ บ ัติงานเลื อกเสาะแสวงหาข้อมู ล จากปั จจัยภายนอกคื อ แหล่ งข่ า ว
ประเด็นที่โซเชี ยลมีเดี ยกาลังให้ความสนใจ มานาเสนอต่อกองบรรณาธิ การ ท่ามกลางการแข่งขัน
ของสื่ อกระแสหลักและเพจต่างๆที่ แข่งกันนาเสนอข่าวนี้ ในด้านความรวดเร็ วและความลึ กของ
เนื้ อหาข่าว ประกอบกับกระบวนการทาข่าวระหว่างกองบรรณาธิ การกับผูป้ ฏิบตั ิงาน ที่พบว่าเมื่อ
กองบรรณาธิ การเห็นว่าคดีน่าสนใจจึงได้สั่งการให้ผปู ้ ฏิบตั ินาเสนอข่าวในทุกมิติ หรื อ ห้ามตกข่าว
ทาให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานเลือกเสาะแสวงหาข้อมูลจากปัจจัยภายนอกคือ แหล่งข่าว ประเด็นที่โซเชียลมีเดีย
กาลังให้ความสนใจ มานาเสนอผ่านสื่ อออนไลน์ ซึ่ งถือว่าเป็ นช่องการนาเสนอที่ไร้ขีดจากัด ไม่ใช่
แค่ความเร็ วเท่านั้น
การนาเสนอข่าวโดยเฉพาะข่าวอาชญากรรมที่ทาการศึกษาพบว่ายังคงเน้นการนาเสนอ
ไปที่ ก ารทัน ต่ อเหตุ ก ารณ์ ตามเวลาที่ เกิ ด ขึ้ น จริ ง หรื อควบคู่ ไ ปกับ สถานการณ์ ที่ เกิ ดขึ้ น โดยใช้
ประโยชน์จากสื่ อออนไลน์ที่ไม่มีขอ้ จากัด ทั้งในส่ วนของพื้นที่ จานวนของเนื้ อหา รู ปภาพ และยัง
เอื้อประโยชน์ให้ท้ งั ผูส้ ่ งสารและผูร้ ับสารสามารถสื่ อสารโต้ตอบกันได้ตลอดเวลา แต่จากการศึกษา
พบว่าการนาเสนอข่าวของสื่ อมวลชนยังเป็ นการรายงานที่เน้นไปที่การรายงานสถานการณ์ทนั ต่อ
เหตุการณ์ โดยเน้นการใช้มิติดา้ นความเร็ ว แต่มิติดา้ นความลึกยังถูกใช้น้อย สอดคล้องกับ สกุลศรี
ศรี สารคาม (2545) ที่พบว่ากระบวนการสื่ อข่าวที่ใช้สื่อใหม่ ที่สื่อมวลชนเน้นการใช้ประโยชน์จาก
สื่ อออนไลน์ดา้ นความเร็ ว แต่ประโยชน์ในการใช้สื่อออนไลน์ดา้ นความลึกยังถูกนามาใช้โดยไม่
เต็มประสิ ทธิ ภาพ ในการเชื่ อมโยงประเด็น การต่อยอดประเด็น และการสร้างเนื้ อหาข้อมูลใหม่ๆ
ดังนั้นการรายงานข่ าวอาชญากรรมควรสะท้อนปั ญ หาที่ เกิ ดขึ้ นในสังคมมาเป็ นจุดดึ งดู ดในการ
172

รายงานมากกว่า การรายงานข่าวตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ควรต่อยอดโดยเพิ่มชุดคาอธิบายเรื่ องราว


นั้นไปในเนื้อหาข่าว เพื่อป้ องกันการเกิดค่านิยมผิดๆจากข้อมูลที่สื่อมวลชนนาเสนอ ที่ผา่ นมาพบว่า
สื่ อมวลชนมีความพยายามในการนาเสนอข้อมูลในส่ วนชุดอธิ บายเหตุการณ์ แต่สาธารณะชนไม่ได้
ให้ความสาคัญเท่ากับข่าวเหตุการณ์ ที่สื่อนาเสนอไว้ก่อนแล้ว ดังนั้นสื่ อมวลชนควรใช้ประโยชน์
จากพื้ น ที่ สื่ อออนไลน์ เช่ น การจัดท าบล็อกข่ าว หรื อ Live blog ในเว็บไซต์ ซึ่ งผลที่ ได้น อกจาก
สาธารณชนจะรับรู ้ข่าวตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว ยังมีโอกาสรับรู ้ข่าวที่เป็ นข้อมูลอธิ บายปั ญหา
นั้นๆได้อีกด้วย
2.สื่ อกับการประกอบสร้างความหมาย และการประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหา
จากพื้นฐานแนวคิดสื่ อกับการประกอบสร้างความหมาย หรื อการประกอบสร้างความ
จริ ง ทางสั ง คม อธิ บ ายไว้ว่า สิ่ ง ที่ เรี ย กว่ า “ข่ า ว” ไม่ ใ ช่ ก ารรายงานความเป็ นจริ ง ที่ เกิ ด ขึ้ น เป็ น
เหตุการณ์ แต่เป็ นการสร้ างความเป็ นจริ งจากเหตุการณ์ น้ นั ขึ้นมา โดยขึ้นอยู่กบั สื่ อมวลชนซึ่ งเป็ น
ตัวกลางว่าจะหยิบเหตุการณ์ น้ นั มาสร้างเป็ นข่าวอย่างไรนั้น จากผลการศึกษากรณี คดีนางสาวปรี ยา
นุช โนนวังชัย ก็พบว่าสื่ อมวลชนใช้ประสบการณ์และทัศนคติเกี่ยวกับผูห้ ญิงในการสร้างภาพความ
เป็ นจริ ง สอดคล้องกับ จิรวรา อุษยากุล (2536) ที่พ บว่ากระบวนการสร้ างภาพความเป็ นจริ งทาง
อาชีพสื่ อสารมวลชนเกิดจาก 2 กระบวนการ คือ รับรู ้ผา่ นประสบการณ์โดยอ้อม และภาพความเป็ น
จริ งที่ รับ รู ้ จากประสบการณ์ โดยตรงของตัวเอง และจากผลการศึก ษาพบว่าสื่ อมวลชนยังมี การ
นาเสนอข่าวผูห้ ญิงว่าเป็ นเพศที่อ่อนแอ เป็ นวัตถุทางเพศ และลดคุณค่าของผูห้ ญิงที่ถูกกล่าวถึงใน
ข่าว ซึ่ งภาพของผูห้ ญิงที่ติดลบในข่าวถูกพบตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั กาญจนา แก้วเทพ (2543) ที่
พบว่าการนาเสนอข่าวเกี่ ยวกับผูห้ ญิงเป็ นภาพติดลบ ผูห้ ญิงจะเป็ นข่าวได้ก็ต่อเมื่อถูกทาร้าย หรื อ
เป็ นเป้ าของการข่มขู่ และ สองในสามของผูห้ ญิงที่เป็ นข่าวหน้าหนึ่ งถูกนาเสนอว่าเป็ นผูอ้ ่อนแอ โง่
เขลา ซึ่ งสอดคล้องกับ วรมน เมตไตรพันธ์ (2554) ที่พบว่าการนาเสนอข่าวอาชญากรรมเกี่ ยวกับ
ความรุ นแรงต่อสตรี ในปั จจุ บนั มีการนาเสนอประเด็นเรื่ องเพศอย่างเด่นชัด ประกอบกับแนวคิด
เรื่ องสื่ อกับ การประกอบสร้ างความหมาย ที่ พ บว่าสื่ อมวลชนสามารถหล่ อหลอมภาพความจริ ง
ให้กบั ทุ กมิติของชี วิตผูค้ นในสังคม หากสื่ อมวลชนมีการหล่อหลอมภาพของผูห้ ญิงในลักษณะนี้
ภาพของผูห้ ญิงที่อ่อนแอ โง่เขลา เป็ นวัตถุทางเพศ ก็อาจถูกพบในข่าวประเภทอื่นๆเช่นกัน ซึ่ งการ
หล่อหลอมของสื่ อมวลชนยังส่ งผลต่อค่านิยมโดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชนที่จะเติบโตเป็ นผูใ้ หญ่
ในอนาคตก็จะมีกรอบความคิดเกี่ยวกับผูห้ ญิงในลักษณะเดียวกันนี้
ขณะที่การใช้ภาพของผูห้ ญิงในข่าวอาชญากรรม พบว่าสื่ อมวลชนมีการเลือกใช้ภาพ
ของผูห้ ญิง คือ นางสาววริ ศรา กลิ่นจุย้ ผูเ้ สี ยชีวิต และภาพของนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย ผูต้ อ้ งหา
โดยเลือกภาพที่มีลกั ษณะดูดี ขณะที่ภาพของนางสาวปรี ยานุ ช สื่ อมวลชนเลือกใช้ภาพที่มีลกั ษณะ
173

เซ็ กซี่ เห็ นเนิ นอกมาใช้ในข่าวหลายภาพ เพื่อดึ งดู ดความสนใจของผูอ้ ่าน และภาพเหล่ านี้ ยงั ถู ก
นาเสนอซ้ าผ่านข่าวต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกรณี คดีของนางสาวปรี ยานุช สื่ อมวลชนควรระมัดระวังการ
เลือกภาพมาของผูห้ ญิงมานาเสนอในข่าวอาชญากรรม และฉายภาพซ้ า โดยเน้นที่สรี ระร่ างกายของ
ผูห้ ญิงทาให้ผหู ้ ญิงกลายเป็ นวัตถุทางเพศ ซึ่ งในอดีตพบว่าปั ญหาการทาให้ผหู ้ ญิงกลายเป็ นวัตถุทาง
เพศมักพบในข่าวข่ม ขื นแต่สื่อมวลชนมีความระมัดระวังทาให้ปัญหาดังกล่ าวไม่ค่อยพบในข่าว
ข่มขืนมากนัก
อย่างไรก็ดีการประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นอาชญากรในประเทศไทยเราไม่พบประเด็น
การประกอบสร้างสร้ างผูห้ ญิงให้เป็ นสัตว์ประหลาดในตานาน และวัวคลัง่ เพราะว่าจากงานของ
Jewkes (2004) เป็ นผลจากการศึกษาสื่ อในประเทศอังกฤษซึ่ งอยูใ่ นวัฒนธรรมตะวันตกที่มีรากมาก
จากเทพนิ ยายปรั ม ปรา และเทววิท ยา ในศาสนาคริ ส ต์ ซึ่ งเป็ นบริ บ ทที่ แตกต่ างจากวัฒ นธรรม
ตะวันออกในประเทศไทยที่ มีศาสนาพุทธที่มีอิทธิ พลต่อความเชื่ อและวัฒนธรรมในประเทศไทย
ส่ วนประเด็นเรื่ องการเป็ นภรรยาที่ไม่ดี ที่ก่อเหตุฆ่าคนรักหรื อสามี การเป็ นแม่ที่ไม่ดีที่ก่อเหตุฆ่าลูก
หรื อเด็กในปกครอง และประเด็นคนที่ชอบบงการผูอ้ ื่น ก็ไม่พบในการประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ น
ผูต้ อ้ งหาในคดีอาชญากรรมกรณี คดีนางสาวปรี ยานุช โนนวังชัย
จากผลการศึ ก ษาพบว่าการประกอบสร้ างผูห้ ญิ งที่ เป็ นผูต้ ้องหาในข่ าวอาชญากรรม
ไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต แม้วา่ ที่ผา่ นมาสื่ อมวลชนจะมีแนวปฏิบตั ิให้ระมัดระวังการนาเสนอ
ข่าวเรื่ องผูห้ ญิ ง ในการใช้คุณ ลักษณะทางร่ างกาย หรื อการเน้นย้ าเพศสรี ระมาเป็ นจุดดึงดู ดความ
สนใจ จากนั้นก็พบว่าสื่ อมวลชนมีการระมัดระวังการนาเสนอข่าวข่มขืนมากขึ้น แต่จากการศึกษา
กรณี คดี นางสาวปรี ยานุ ช โนนวังชัย ซึ่ งเป็ นคดีฆาตกรรมกลับพบว่าสื่ อมวลชนมีการเคลื่อนย้าย
วิธีการผลิ ตเนื้ อหาข่าวจากข่าวข่มขืน มาใช้อธิ บายคุณลักษณะของผูต้ อ้ งหาซึ่ งเป็ นผูห้ ญิง ผ่านทาง
รู ปภาพ การใช้คา และเนื้ อหาข่าว เน้นย้ าเพศสรี ระเพื่อดึงดูดใจแทน ซึ่ งสื่ อมวลชนถื อว่าเป็ นส่ วน
หนึ่ งที่ส าคัญในการจัดวางรู ป แบบความเป็ นจริ งรอบๆตัวเรา ที่ ส่งผลโดยตรงต่อระบบความคิ ด
ทัศนคติ ค่านิยม (กาญจนา แก้วเทพ ,2547) การประกอบสร้างผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหาในลักษณะเช่นนี้
ยังทาให้สังคมเกิดสนใจปัจเจกบุคคลโดยมองข้ามประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมว่าขณะนี้มีความ
ผิดปกติ และมีความรุ นแรงเกิ ดขึ้น ผลการศึกษาจึงแสดงให้เห็นสื่ อมวลชนยังมีวิธีคิด ประกอบกับ
วิธีการนาเสนอในรู ปแบบเดิ มๆอยู่ หากไม่ได้รับการแก้ไขในอนาคตก็อาจพบการประกอบสร้าง
ผูห้ ญิงที่เป็ นผูต้ อ้ งหาลักษณะนี้ในกรณี คดีอื่นๆอีก
3. ความท้าทายทางจริ ยธรรม ในการนาเสนอข่าวคดีที่ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหา
จากผลการศึ ก ษาพบว่าที่ ผ่านมาองค์ก ารที่ ก ากับ ดู แลสื่ อ มวลชนได้มี ก ารออกแนว
ปฏิ บ ตั ิ การนาเสนอข่ าวประเด็นเรื่ องเพศเกี่ ยวกับ ผูห้ ญิ ง แต่ พ บว่าแนวปฏิ บ ตั ิ ส่ วนใหญ่ เป็ นแนว
174

ปฏิ บตั ิเพื่อนาเสนอข่าวกรณี ผูห้ ญิงในฐานะผูถ้ ูกกระทา แต่ไม่พบแนวปฏิบตั ิที่ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหา
และจากการศึกษาพบว่าแนวปฏิ บตั ิการนาเสนอข่าวเรื่ องเพศ จากสมาคมนักข่าวนักหนังสื อพิมพ์
แห่ งประเทศไทย (2549) เกี่ ย วกับ การน าเสนอข่ าวข่ ม ขื น ระบุ ไ ว้ว่า “สื่ อมวลชนไม่ ควรใช้ค าที่
อธิ บายถึงคุณลักษณะทางร่ างกาย เช่น รู ปร่ างหน้าตา , การแต่งกาย , การเน้นย้ าเพศสรี ระเพื่อดึงดูด
ความสนใจ” ซึ่ งสอดคล้อ งกับ แนวปฏิ บ ัติ ที่ จดั ท าขึ้ น จากการวิจยั ในครั้ งนี้ ว่า “สื่ อ มวลชนควร
ระมัดระวังการนาเสนอภาพและเนื้ อหาของผูห้ ญิ งที่ เน้นสรี ระร่ างกายในข่าวอาชญากรรม ที่จะ
นาไปสู่ การทาให้ผูห้ ญิงกลายเป็ นวัตถุทางเพศในคดีอาชญากรรม” ตอกย้ าว่าการใช้รูปลักษณ์ของ
ผูห้ ญิงมาเป็ นจุดดึงดูดความสนใจของสื่ อมวลชนเกิดขึ้นมาตั้งแต่อดีต แต่ยา้ ยที่มาปรากฏกรณี ผหู ้ ญิง
ตกอยู่ในฐานะอื่ น ๆนอกเหนื อ จากผูถ้ ู ก กระท า เช่ น กรณี ที่ ศึ ก ษาในครั้ งนี้ คื อผูห้ ญิ งอยู่ใ นฐานะ
ผูก้ ระทาความผิด เป็ นการแสดงให้เห็นว่าสื่ อมวลชนไม่ได้มีการเปลี่ยนวิธีคิด แต่เมื่อถูกกากับโดย
แนวปฏิบตั ิในข่าวข่มขืนก็ได้ยา้ ยที่มานาเสนอในข่าวที่ผหู ้ ญิงเป็ นผูต้ อ้ งหาแทน และยังพบว่าในแนว
ปฏิบตั ิปฏิบตั ิการนาเสนอข่าวเรื่ องเพศ จากสมาคมนักข่าวนักหนังสื อพิมพ์แห่งประเทศไทย (2549)
เกี่ยวกับการนาเสนอข่าว เกี่ยวกับคนรักเพศเดียวกันได้ระบุไว้วา่ “สื่ อมวลชนควรหลีกเลี่ยงการใช้คา
ที่เน้นว่าคนรักเพศเดี ยวกันเป็ นคนที่มีอารมณ์รุนแรง หรื อเป็ นผูผ้ ิดปกติ โดยไม่ใช้การระบุลกั ษณ์
เช่น ทอม ,ดี้,ตุด๊ ” ซึ่ งก็มีความสอดคล้องกับแนวปฏิบตั ิที่จดั ทาขึ้นในการศึกษาครั้งนี้ วา่ “สื่ อมวลชน
ควรระมัดระวังการใช้คาแทนผูห้ ญิงที่มีเพศภาวะไม่สัมพันธ์กบั เพศสภาพของตนเอง เช่ น ทอม ดี้
ผูช้ ายข้ามเพศ ที่จะนาไปสู่ การสร้ างภาพเหมารวมว่าคนกลุ่มนั้นทั้งหมดเป็ นผูก้ ระทาความผิด” ก็
แสดงให้เห็นอีกว่าสื่ อมวลชนมีการคาใช้แทนผูท้ ี่มีเพศสภาวะไม่สัมพันธ์กบั เพศสภาพของตนเองมา
โดยตลอดในข่าวทุกๆประเภท ซึ่ งเป็ นการสะท้อนอคติทางเพศของสื่ อมวลชน โดยไม่ได้คานึงถึง
การใช้คาเหล่านี้วา่ อาจส่ งผลกระทบต่อบุคคลที่มีเพศสภาวะไม่ตรงว่าอาจถูกเหมารวม และเป็ นการ
ให้ค่าหรื อลดค่าบุคคลที่ถูกกล่าวถึงว่าเป็ นเพศสภาพที่ต่ากว่าผูห้ ญิง หรื อ ผูช้ าย

5.3 ข้ อจากัดในการวิจัย
การวิจยั นี้ เป็ นการศึกษาการวางกรอบเนื้ อหาข่าวอาชญากรรมที่ประกอบสร้างผูห้ ญิงที่
เป็ นผูต้ อ้ งหา โดยมีขอ้ จากัดศึกษาสานักข่าว 1 แห่ ง และกรณี คดีเดียว โดยเลือกศึกษาข่าว 8 ชิ้น อาจ
ไม่ครอบคลุมในประเด็นอื่นๆที่สื่อมวลชนนาเสนอ

5.4 ข้ อเสนอแนะ
1.ข้อ เสนอแนะส าหรั บ การวิจ ัย นัก วิจ ัย รุ่ น ต่ อ ไปสามารถน าผลการศึ ก ษาใช้เป็ น
แนวทางโดยเลือกศึกษาสื่ อมวลชนหลากหลายประเภท หรื อ ศึกษาเปรี ยบเทียบโดยนาแนวคิดเรื่ อง
175

สตรี นิ ย มมาประกอบการศึ ก ษาเพื่ อ ให้ผ ลการวิจยั ครอบคลุ ม ประเด็น การวางกรอบเนื้ อหาข่ า ว


อาชญากรรมที่ประกอบสร้างผูห้ ญิงในที่เป็ นผูต้ อ้ งหามากยิง่ ขึ้น
2.ข้อเสนอแนะต่อสื่ อมวลชน และสมาคมวิชาชี พสื่ อ ควรให้ความสาคัญกับประเด็น
การนาเสนอข่าวเกี่ ยวกับผูห้ ญิ งมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ข่าวที่เกี่ ยวข้องกับผูห้ ญิงโดยเฉพาะผูห้ ญิงที่เป็ น
ผูต้ อ้ งหา ไม่ถูกนามาใช้เป็ นเครื่ องมือทางเพศในการสร้างความดึงดูดใจ หรื อ การลดทอนศักดิ์ ศรี
และการให้ค่าของเพศที่ไม่เท่าเทียมกัน
บรรณานุกรม
177

บรรณานุกรม

ภาษาไทย
การเมือง. (2560, 8 มิถุนายน). ถอดบทเรี ยนคดีเปรี้ ยวฆ่าหัน่ ศพ มุมมองนักวิชาการ-คนรุ่ นใหม่.
กรุ งเทพธุรกิจ. สื บค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2561.จาก
http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/758529
การเมือง.(2556,22ธันวาคม) ม็อบกปปส.พยายามทาร้ายนักข่าวช่อง9-ช่อง3 .สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์
2561.จากhttps://www.posttoday.com/politic/news/266543
กาญจน์ ทันจิตต์ .(2522).การนาเสนอข่ าวการแยกทางของดาราและปฎิกริ ยาของผู้เกี่ยวข้ อง.
(วิทยานิพนธ์นิเทศศาตรมหาบัณฑิต).จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กาญจนา แก้วเทพ.(2543).ความเรี ยงว่ าด้ วยสตรี กับสื่ อมวลชน.กรุ งเทพฯ:สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กาญจนา แก้วเทพ.(2547).สื่ อสารมวลชน:ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา.(พิมพ์ครั้งที่4)กรุ งเทพ:
สานักพิมพ์ Higher Press.
ข่าวด่วน. (2560,25 พฤษภาคม).ผงะฆ่าทารุ ณสาวหน้าตาดี ฆาตกรแค้นโหดหัน่ ศพ 2 ท่อน ใส่ ถุงดา-
ยัดถัง!.สื บค้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2560 ,จาก
https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_366435
ข่าวด่วน.(2560,2 มิถุนายน).แม่เปรี้ ยวหัน่ ศพ เครี ยดหนัก อยากให้มอบตัวห่วงต้องหนีหวั ซุกหัวซุน
ชี้ตอ้ งหยุดสร้างบ้าน ขาดที่พ่ ึง(คลิป).สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2560 ,จาก
https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_378543
ข่าวด่วน.(2560,4 มิถุนายน). “เปรี้ ยว” ให้การกับ ผบ.ตร. ทาไมถึงหัน่ ศพ “แอ๋ ม” ไม่นาไปถ่วงน้ า? .
สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2560 ,จาก
https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_381187
ข่าวด่วน.(2560,6 มิถุนายน).นอนคุกคืนแรกแก๊งหัน่ ศพเครี ยดจัด “เปรี้ ยว”ร้องไห้ตลอดเวลา “แจ้”
สารภาพเสพยา(คลิป) .สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2560 ,จาก
https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_383761
ข่าวด่วน.(2560,23 สิ งหาคม).เปิ ดโฉมล่าสุ ด”เปรี้ ยว-หัน่ ศพ” ทาปากชมพูข้ ึนศาลนัดแรก หลังอัยการ
สัง่ ฟ้อง5ข้อหา (คลิป) .สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2560 ,จาก
https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_483098
178

ข่าวด่วน.(2560,3 มิถุนายน).จับแล้ว แก๊งสวยหัน่ ศพ เปรี้ ยว เอิร์น แจ้ ตม.ข้ามรับตัว จากเมียนมา.


ข่าวสด. สื บค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2560,จาก
https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_380373
ข่าวด่วน.(2560,1 มิถุนายน).ด่วน! จับได้แล้ว “เปรี้ ยว เอิร์น แจ้” แก๊งสวยฆ่าหัน่ ศพ “น้องแอ๋ ม” รอ
ตารวจไทยยืนยันพากลับไทย.ข่าวสด.สื บค้นเมื่อ3 มิถุนายน 2560 ,จาก
https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_376407
ข่าวด่วน. (2560, 3 มิถุนายน).จับแล้ว แก๊งสวยหัน่ ศพ เปรี้ ยว เอิร์น แจ้ ตม.ข้ามรับตัวจากเมียนมา.
ข่ าวสด. สื บค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2561, จาก
https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_380373
ข่าวทัว่ ไป.( 2560, 11 มิถุนายน). วัยรุ่ น' คิดยังไง กับ 'ข่าวเปรี้ ยว. คมชัดลึด.สื บค้นเมื่อ24 มกราคม
2561, จากhttp://www.komchadluek.net/news/regional/281786
ขอไว้อาลัยต่อจรรยาบรรณของสื่ อไทย...กรณี ดอกเตอร์วนั ชัย.สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2561. Pantip.
จาก https://pantip.com/topic/35176540
คดีฆ่าหัน่ ศพปรากฏการณ์สวยสังหาร. ข่ าวสด. สื บค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2561.จาก
https://www.facebook.com/khaosod/videos/2929807597036180
คุณภาพชีวติ .(2560, 5 มิถุนายน) ปรากฏการณ์ "สวยสังหาร"อย่าทาให้ผตู ้ อ้ งหา กลายเป็ นเน็ต
ไอดอล .สื บค้นเมื่อ24 มกราคม 2561.จาก
http://www.nationtv.tv/main/content/378550711/
จันทกร บุญเลิศกุล.(2549) การพาดหัวข่าวหน้าหนึ่งของหนังสื อพิมพ์กบั การคุกคามทางเพศที่เกิด
ขึ้นกับสตรี กรณี ศึกษาเฉพาะหนังสื อพิมพ์ ไทยรัฐ เดลินิวส์ คมชัดลึก ในปี พ.ศ. 2548.
(ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
จิรวรา อุษยากุล.(2536).การสร้ างภาพความเป็ นจริ งทางอาชีพสื่ อสารมวลชนของนิสิตคณะนิเทศ
ศาสตร์ ปี การศึกษา 2532-2535.(วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต).กรุ งเทพฯ:จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ชเนตตี ทินนาม .(2559) การพัฒนาแนวปฏิบตั ิในการนาเสนอรายการโทรทัศน์บนหลักสิ ทธิ
มนุษยชนและศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ของสตรี .
(ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา).มหาวิทยาลัยมหิดล
179

ณัฐพล แย้มฉิม. (2560, 11 มิถุนายน). ข่าวอาชญากรรมในสังคมไทย ณ วันนี้. สวนดุสิตโพล.


สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2561, จาก
http://suandusitpoll.dusit.ac.th/UPLOAD_FILES/POLL/2560/PS-2560-
1497145233.pdf
ฐิติพชั ร์ จารุ พูนผล.(2549).ความคิดเห็นของประชาชนในกรุ งเทพมหานครเกี่ยวกับการนาเสนอภาพ
ข่ าวอาชญากรรมของหนังสื อพิมพ์ ไทยรั ฐ.(วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต).กรุ งเทพฯ:
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
ณัชชา อาจารยุตต์.(2547).การประกอบสร้ างความจริ งในข่ าวสงครามระหว่ างประเทศสหรั ฐอเมริ กา
กับประเทศอิ รักของหนังสื อพิมพ์ ไทย.(วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต).กรุ งเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
แนวปฏิบตั ิ.(2560, 16 พฤษภาคม).สภาการหนังสื อพิมพ์แห่งชาติ.(2560).แนวปฏิบตั ิฯเรื่ องการเสนอ
ข่าว เนื้ อหาข่าว และการแสดงความคิดเห็น และภาพข่าวผูห้ ญิงและเด็กถูกล่วงละเมิดทาง
เพศ พ.ศ.2560. สื บค้นเมื่อ1 มกราคม 2561.จาก
http://www.presscouncil.or.th
บุญรอด พัวศรี .(2546).ผลกระทบการนาเสนอข่ าวอาชญากรรมทางโทรทัศน์ .(วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
มหาบัณฑิต).กรุ งเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บุปผา บุญสมสุ ข.(2558).จริ ยธรรมสื่ อ.กรุ งเทพฯ:บริ ษทั จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์จากัด.
บงกช เศวตามร์.(2533).การสร้ างความเป็ นจริ งทางสังคมของภาพยนต์ ไทย กรณี ตัวละครหญิงที่มี
ลักษณะเบี่ยงเบนปี พ.ศ.2528-2530.(วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต).กรุ งเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บรรยงค์ สุ วรรณผ่อง. (2559, 20 มกราคม). สื่ อมวลชนหรื ออีเเร้ง? จากสังคม กรณี ปอ ทฤษฎี.
สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2561.สานักข่ าวอิศรา, จาก
https://www.isranews.org/isranews-article/44228-po2010159111.html
ประชัน วัลลิโก และคณะ.(2547). การข่าวเบื้องต้นหน่วยที่1-6.(พิมพ์ครั้งที่4)นนทบุรี:โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
ปริ ณดา เริ งศักดิ์.(2553).ข่าวอาชญากรรมกับการเล่าเรื่ องผ่านหนังสื อพิมพ์.วารสารนักบริ หาร
มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ. 31, (ฉบับที่ 2) .หน้า 205-211.
ดรุ ณี หิ รัญรักษ์ และคณะ.(2558).จริ ยธรรมสื่ อ.กรุ งเทพฯ:บริ ษทั จรัลสนิทวงศ์
การพิมพ์จากัด.
180

เด่นออนไลน์. (2560, 31 พฤษภาคม). เปรี้ ยว”สวยหัน่ ศพ ทีมฆ่าซัด บีบคอ”แอ๋ ม”คามือ “วศิน”จน


มุมลาว-แฉจุดชาแหละ หมายจับเพิ่มคนที่5-ล่า”สาวแจ้. สื บค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2561.จาก
https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_374453
ดวงกมล เทวพิทกั ษ์.(2554).การวางกรอบเนือ้ หาข่ าวของสื่ อเกี่ยวกับความรุ นแรงจากความขัดแย้ ง
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ของไทย.(วิทยานิพนธ์ปริ ญญาดุษฏีบณั ฑิต).กรุ งเทพฯ:
มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์
เด่นออนไลน์.(2560,27 พฤษภาคม).ผัวรู ้เมียชอบทอมยังรัก! แฉ “เบน” ทอมอีกคนเคยซ้อม “น้อง
แอ๋ ม” ปางตาย.สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2560 ,จาก
https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_368625
เด่นออนไลน์.(2560,29 พฤษภาคม). เผยโฉม “เอิร์น-เปรี้ ยว” 2 ใน 4 ผูต้ อ้ งหาฆ่าน้องแอ๋ ม โซเชียล
สะพรึ ง “สวยหัน่ ศพ!”.สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2560 ,จาก
https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_372225
เด่นออนไลน์.(2560,4 มิถุนายน). กระแสแรง! ไม่ตอ้ งโฆษณา แม่คา้ ออนไลน์แห่ซ้ือเพียบ ยอดขาย
พุง่ กระฉู ด(คลิป).สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2560 ,จาก
https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_381303
เด่นออนไลน์. (2560, 4 มิถุนายน). กระแสแรง! ไม่ตอ้ งโฆษณา แม่คา้ ออนไลน์แห่ซ้ือเพียบ ยอดขาย
พุง่ กระฉู ด. ข่าวสด.สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2561, จาก
https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_381303
พิศิษฐ์ ชวาลาธวัช และคณะ.(2539). การรายงานข่ าวชั้นสูง.(พิมพ์ครั้งที่2)กรุ งเทพฯ:สานักพิมพ์ดอก
หญ้า.
พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์ .(2554).สื่ อสังคมออนไลน์: สื่ อแห่งอนาคต.วารสารนักบริ หารมหาวิทยาลัย
กรุ งเทพ. 31,(4).หน้า 99-103.
พีระวัฒน์ อัฐนาค .(2558).กระจกหรื อตะเกียงการศึกษาเปรี ยบเทียบบทบาทของสื่ อกรณี การชุมนุม
เคลื่อนไหวทางการเมืองในช่ วง พ.ศ. 2553 และ 2556-2557ผ่ านบทบรรณาธิ การของ
หนังสื อพิมพ์ ไทยรั ฐ.(วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต).กรุ งเทพฯ:จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ไลฟ์ สไตล์. (2560, 7 มิถุนายน). #ทีมเปรี้ ยว สะท้อนความเสื่ อมสังคมไทย. กรุ งเทพธุรกิจ. สื บค้น
เมื่อ24 มกราคม 2561,จากhttp://www.bangkokbiznews.com/news/detail/758303
181

วรมน เมตไตรพันธ์.(2554) .ความคิดเห็นและความคาดหวังของผู้อ่านต่ อการรายงานข่ าว


อาชญากรรมเกี่ยวกับความรุ นแรงต่ อสตรี ในหนังสื อพิมพ์ รายวัน.(วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
มหาบัณฑิต).กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิศิษฎ์ ชวนพิพฒั น์พงศ์.(2555).การศึกษาเปรี ยบเทียบความรั บผิดชอบต่ อสังคมในการนาเสนอข่ าว
อาชญากรรมระหว่ างหนังสื อพิมพ์ และหนังสื อพิมพ์ ออนไลน์ .(วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
มหาบัณฑิต).กรุ งเทพฯ:มหาวิทยาลัยศรี ปทุม.
ศรี ลกั ษณ์ ศิลปี .(2538). ปั ญหาทางด้ านจริ ยธรรมของนักหนังสื อพิมพ์ ในการนาเสนอข่ าว
อาชญากรรม.(วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต).กรุ งเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิรัฐประภากรณ์ รัตนพานิช.(2551).กฎหมายอาญาเกี่ยวกับสื่ อมวลชนในปั จจุบันและแนวโน้ มใน
อนาคต.(วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต).กรุ งเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถานีคิดเลขที่ 12. (2560, 5 มิถุนายน). ข่าวเปรี้ ยว โดย ปราปต์ บุนปาน. มิติชน. สื บค้นเมื่อ24
มกราคม 2561.จาก https://www.matichon.co.th/news/574830
สกุลศรี ศรี สารคาม.(2554).จริ ยธรรมการใช้ สื่อออนไลน์ และสื่ อสังคมในกระบวนการสื่ อข่ าวของ
สื่ อไทยในยุคดิจิทัล.กรุ งเทพฯ:สภาการหนังสื อพิมพ์แห่งชาติ.
สกุลศรี ศรี สารคาม.(2557). สื่ อสังคม(Social media)กับการเปลี่ยนแปลงกระบวนการสื่ อข่ าว.
กรุ งเทพฯ:มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์.
สมาคมนักข่าวนักหนังสื อพิมพ์แห่งประเทศไทย.(2549).แนวทางการเสนอข่ าวเรื่ องเพศ.กรุ งเทพฯ:
มูลนิธิสร้ างความเข้ าใจเรื่ องสุ ขภาพผู้หญิง. กรุ งเทพฯ : สมาคมนักข่าวนักหนังสื อพิมพ์
แห่งประเทศไทย.
สราธร บุญสิ ทธิ์ .(2560).บทบาทหนังสื อพิมพ์ ไทยในช่ วงความขัดแย้ งทางการเมือง:การวิเคราะห์
การวางหน้ าที่และการวางกรอบข่ าวกรณี วิกฤตทางการเมืองช่ วงพ.ศ.2557.(วิทยานิพนธ์
ปริ ญญาดุษฏีบณั ฑิต). กรุ งเทพฯ:มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
MGA ONLINE. (2560, 5 มิถุนายน). สิ นค้าใหม่! “พวงกุญแจเลื่อย” ติดรู ป “เปรี้ ยว ฆ่าหัน่ ศพ” 190
บาท สะพัดโซเชียล. สื บค้นเมื่อ24
มกราคม 2561, จาก
https://www.manager.co.th/HotShare/ViewNews.aspx?NewsID=9600000057158
สิ ริชยั วงษ์สาธิ ตศาสตร์ .(2549).สื่ อออนไลน์.....ช่องทางใหม่ในการรายงานข่าวของสื่ อมวลชนไทย.
วารสารรามคาแหง. 23, (1).หน้า43-69.
สถิติเว็บไทย.(2561).The top ten. สื บค้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2561.จาก
http://truehits.net/index_stat.php
182

สุ พิชฌาย์ ดวงคาดี.(2554).การบริ หารองค์ กรสื่ อทางเลือกใหม่ : ทีวดี าวเทียมและเคเบิลทีวี


กรณี ศึกษา หน่ วยธุรกิจ GMM Broadcasting.(วิทยานิพนธ์นิเทศศาตรมหาบัณฑิต).
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สรุ ปข่าวเด่น 7*5 35 – สรุ ปข่าวเด่นภูมิภาค. CH7 NEWS. สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2561.จาก
http://news.ch7.com/detail/263354
อรอนงค์ โฆษิตพิพฒั น์.(2559).การสื่ อข่ าว.กรุ งเทพฯ:ศูนย์การเรี ยนรู ้และผลิตสิ่ งพิมพ์ระบบดิจิตอล
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
อารยา ถาวรวันชัย.(2539).ภาพลักษณ์ ของวีรบุรุษแบบผู้ร้ายกลับใจที่ปรากฏในสื่ อมวลชน.
(วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต).กรุ งเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อภิรัตน์ รัทยานนท์ .(2547).กระบวนการสร้ างความเป็ นจริ งทางสังคมของตัวละครนางร้ ายในละคร
โทรทัศน์ .(วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต).กรุ งเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อาชญากรรม. (2560, 6 มิถุนายน). ปรากฏการณ์สื่อกับคดีฆ่าหัน่ ศพ. สื บค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2561.จาก
https://news.thaipbs.or.th/content/263167
10 ข่าวอาชญากรรมปี 2560. (2560, 25 ธันวาคม) NEW18 .สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2561.จาก
http://www.newtv.co.th/news/9637
Online Section .(2560,2 มิถุนายน)ยังรู ้จกั กตัญญู! เปิ ดแปลนบ้าน “เปรี้ ยว” ตั้งใจสร้างให้แม่” .
สื บค้นเมื่อ7 กุมภาพันธ์ 2561.จาก
https://www.manager.co.th/HotShare/ViewNews.aspx?NewsID=9600000056356

ภาษาต่ างประเทศ
Ian Marsh and Gaynor Melville.(2009).Crime justice and the media.
Jewkes (2004) YVONNE JEWKES. (2004).Media&Crime.CPI Group.
Eriyanto(2012) Entman. (1993) Framing: Toward Clarification of Fractured Paradigm.
ภาคผนวก
184

ลำดับ ผูใ้ ห้ขอ้ มูล วันเวลำและสถำนที่นดั สัมภำษณ์

.1 นำยวิชญศักดิ์ สุ วรรณทัต วันพุธ ที่ พ 17ฤษภำคม 2561 เวลำ 16.00น.

ตำแหน่ง บรรณำธิ กำรข่ำวสด ณ บริ ษทั ข่ำวสด จำกัด


ออนไลน์
เลขที่ 40/10 หมู่บำ้ นประชำนิเวศน์ 1 ถนนเทศบำล
นิมิตรใต้ แขวงลำดยำว เขตจตุจกั ร
กรุ งเทพมหำนคร

.2 น เมธำวี มัชฌันติกะ.ส. วันอังคำร ที่ 16 พฤษภำคม 2561 เวลำ 13.00น.

ตำแหน่ง หัวหน้ำแอดมินข่ำวสด ณ บริ ษทั ข่ำวสด จำกัด


ออนไลน์
เลขที่ 40/10 หมู่บำ้ นประชำนิเวศน์ 1 ถนนเทศบำล
นิมิตรใต้ แขวงลำดยำว เขตจตุจกั ร
กรุ งเทพมหำนคร

.3 นำยจักรพันธ์ นำทันริ วันพุธ ที่ พ 17ฤษภำคม 2561 เวลำ 16.00น.

ตำแหน่ง ผูส้ ื่ อข่ำวประจำจังหวัด สัมภำษณ์ผำ่ นทำงโทรศัพท์


ขอนแก่น

.4 นำยบรรยงค์ สุ วรรณผ่อง วันศุกร์ที่ มิ 8ถุนำยน 2561 เวลำ 16.00น.

ตำแหน่ง ประธำนกรรมกำร ณ ร้ำนกำแฟ อเมซอน โรงพยำบำลเกษมรำษฎร์


จริ ยธรรมวิชำชีพสื่ อ สมำคมนักข่ำว ประชำชื่น เลขที่ ถนน ประชำชื่น แขวง วงศ์ 950
วิทยุและโทรทัศน์ไทย สว่ำงเขต บำงซื่อ กรุ งเทพมหำนคร

.5 คุณก้ำวโรจน์ สุ ตำภักดี วันพุธ ที่ 1 เวลำ 2561 มิถุนำยน 136 00.น.

นำยกสมำคมผูผ้ ลิตข่ำวออนไลน์ ณ บริ ษทั สยำมสปอร์ต ซินดิเคท จำกัด )มหำชน(

เลขที่ 66/26 - 29 ซอยรำมอินทรำ 40 ถนนรำม


185

อินทรำ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม


กรุ งเทพมหำนคร

.6 ผศ สกุลศรี ศรี สำรคำม. วันศุกร์ที่ มิ 8ถุนำยน 2561 เวลำ 09.00น.

ตำแหน่ง หัวหน้ำสำขำวำรสำร ณ สถำบันกำรจัดกำรปั ญญำภิวฒั น์


ศำสตร์คอนเวอร์ เจ้นท์ คณะนิเทศ
เลขที่ 85/1 หมู่ที่ 2 ถนน แจ้งวัฒนะ ตำบล บำงตลำด
ศำสตร์ สถำบันกำรจัดกำรปั ญญำ
อำเภอ ปำกเกร็ ด นนทบุรี
ภิวฒั น์
186

ประวัติผ้เู ขียน

ชื่อ – นามสกุล เบญจพร ศรี ดี


ประวัติการศึกษา นิเทศศาสตร์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยศรี ปทุม 2553
ตาแหน่งงานและสถานที่ทางานปั จจุบนั ผูส้ ื่ อข่าวกระบวนการยุติธรรม สื่ ออิเล็กทรอนิกส์
บริ ษทั มติชน จากัด (มหาชน)

You might also like