Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

การทดลองที่ 2 : เลนส์และกระจก 17

การทดลองที่ 2
เลนส์ และกระจก (Lens and Mirrors)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อหาความยาวโฟกัสของเลนส์นูน เลนส์เว้า
2. เพื่อหารัศมีความโค้งและความยาวโฟกัสของกระจกเงาโค้งเว้า
อุปกรณ์ ทดลอง
1. เลนส์นูน เลนส์เว้า กระจกเงาราบ กระจกเงาโค้งเว้า อย่างละ 1 อัน

at
2. หลอดไฟ

as
3. Optical bench พร้อมขาตั้งและที่จบั เลนส์
4. เสาเข็มพร้อมขาตั้งและที่จบั เสา
ทฤษฎี
21 mm
เลนส์ มี ค วามเกี่ ย วข้องกับ ทัศนอุ ป กรณ์ (Optical Devices) หลายอย่าง เช่ น ใช้ท าแว่น สายตา
กล้องถ่ายรู ป แว่นขยาย กล้องส่ องทางไกล กล้องจุลทรรศน์ กล้องโทรทัศน์ และอุปกรณ์ทางการแพทย์
20 a

อื่น ๆ เลนส์เป็ นตัวกลางผิวโค้ง 2 ด้าน ที่มีคุณสมบัติในการหักเหแสง ซึ่ งผิวที่โค้งอาจเป็ นได้ท้ งั โค้งเว้า


Th

และโค้งนูน สามารถแบ่งเลนส์ได้ตามลักษณะผิวโค้ง ดังนี้


1. เลนส์ นูน (Convex Lens)
s

เมื่อลาแสงขนานผ่านเลนส์นูนจะเกิดการหักเห แล้วไปรวมกันที่จุดโฟกัส (Focus) ความยาว


ic

โฟกัส (Focal Length) ของเลนส์เป็ นระยะจากจุดกึ่งกลางของเลนส์ไปยังจุดโฟกัส ดังรู ปที่ 1 (ก)


ys

2. เลนส์ เว้า (Concave Lens)


เมื่อลำแสงขนำนผ่ำนเลนส์เว้ำจะเกิดกำรหักเหทำให้ลำแสงกระจำยออก จุดโฟกัสของเลนส์เว้ำก็
Ph

คือจุดที่ได้จำกกำรต่อแนวของแสงที่กระจำยออกไปตัดกัน ดังรู ปที่ 1 (ข)

รู ปที่ 1 จุดโฟกัสและความยาวโฟกัสของเลนส์บาง
18 คู่มือปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 2

สาหรับเลนส์บาง (Thin Lens) ที่มีความยาวโฟกัส f ถ้าวางวัตถุไว้ห่างจากเลนส์เป็ นระยะ u


จะได้ภาพเกิดขึ้นห่างจากเลนส์เป็ นระยะ v ซึ่งมีความสัมพันธ์กนั ดังนี้
1 1 1
= + (1)
f u v
ในกรณีที่มีเลนส์บำง 2 อัน ซึ่งมีควำมยำวโฟกัส f1 และ f 2 ประกบกัน เลนส์ท้ งั สองจะทำ
หน้ำที่เสมือนเป็ นเลนส์อนั ใหม่ที่มีควำมยำวโฟกัส f มีค่ำดังสมกำร
1 1 1
= + (2)
f f1 f 2
โดยปริ มำณต่ำง ๆ มีเครื่ องหมำยดังนี้

at
ตัวแปร เครื่ องหมำยบวก เครื่ องหมำยลบ

as
ควำมยำวโฟกัส f เลนส์นูน เลนส์เว้ำ
ระยะวัตถุ u วัตถุจริ ง (อยูห่ น้ำเลนส์) วัตถุเสมือน (อยู่หลังเลนส์)
ระยะภำพ v 21 mm
ภำพจริ ง ภำพเสมือน

กระจกเงา แบ่งออกเป็ น
20 a

1. กระจกเงาราบ เป็ นผิวระนำบสะท้อนแสง


Th

2. กระจกเงาโค้ง เป็ นผิวทรงกลมสะท้อนแสงซึ่งแบ่งได้เป็ น


ก. กระจกเงำโค้งเว้ำ (Concave Mirror) คือ กระจกที่มีผิวสะท้อนแสงเป็ นผิวภำยในทรงกลม
s

ข. กระจกเงำโค้งนูน (Convex Mirror) คือ กระจกที่มีผิวสะท้อนแสงเป็ นผิวภายนอกทรงกลม


ic

สาหรับกระจกเงาโค้งความยาวโฟกัส f และรัศมีความโค้ง R มีความสัมพันธ์ ดังนี้


ys

R
f = (3)
2
Ph

รู ปที่ 2 (ก) กระจกเงาโค้งเว้า และ (ข) กระจกเงาโค้งนูน


การทดลองที่ 2 : เลนส์และกระจก 19

วิธีหาความยาวโฟกัสของเลนส์
ก. เลนส์ นูน ทาได้ 3 วิธี คือ

วิธีที่ 1 ใช้วิธีดูภาพของวัตถุที่อยูร่ ะยะอนันต์


พิจารณาจากสมการที่ 1 จะเห็นว่าเมื่อวัตถุอยูท่ ี่ระยะอนันต์ ( u =  ) จะได้วา่ v = f นัน่ คือ
ภาพของวัตถุจะเกิดที่จุดโฟกัสของเลนส์ ดังรู ปที่ 3

at
as
21 mm
20 a
Th
s
ic
ys

รู ปที่ 3 วิธีหาความยาวโฟกัสของเลนส์นูนโดยจัดวัตถุไว้ที่ระยะอนันต์
Ph

วิธีที่ 2 ใช้วิธีไม่แพรัลแลกซ์ (non-parallax)


ปรากฏการณ์ไม่แพรัลแลกซ์ คือ การที่ภาพจริ งหัวกลับที่มองเห็นในเลนส์อยูท่ ี่ตาแหน่งเดียวกับ
วัตถุและไม่วา่ จะเปลี่ยนแนวของการมองเป็ นอย่างไรก็ตาม เราจะมองเห็นภาพจริ งของวัตถุมีลกั ษณะหัว
กลับกับวัตถุเคลื่อนที่ไปพร้อม ๆ กัน ปรากฏการณ์น้ ีจะเกิดขึ้นเมื่อวางวัตถุไว้ที่จุดโฟกัสของเลนส์ ซึ่งจะ
ทาให้แสงที่ผ่านเลนส์ไปสะท้อนที่กระจกราบเป็ นลาแสงขนานแล้วจึงเกิดการรวมกันของลาแสงที่จุด
โฟกัสของเลนส์ ทาให้เกิดภาพจริ งหัวกลับอยู่ที่ตาแหน่งเดียวกันกับวัตถุดงั แสดงในรู ปที่ 4 เมื่อใดที่ไม่มี
การแพรัลแลกซ์ระหว่างภาพกับวัตถุจะได้วา่ ระยะวัตถุคือความยาวโฟกัสนัน่ เอง
ในกรณี ที่วตั ถุกบั ภาพไม่ได้อยู่ในตาแหน่งเดียวกัน เมื่อเราเปลี่ยนแนวมองใหม่ไปทางด้านซ้าย
หรื อด้านขวาจากจุดเดิม แล้วจะเห็นภาพในเลนส์กบั วัตถุแยกออกจากกัน แสดงว่าภาพในเลนส์กบั วัตถุมี
แพรัลแลกซ์ซ่ ึงกันและกัน
20 คู่มือปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 2

at
as
21 mm
รู ปที่ 4 การหาความยาวโฟกัสของเลนส์นูนโดยวิธีไม่แพรัลแลกซ์
20 a

วิธีที่ 3 ใช้วิธีเขียนกราฟ
Th

1 1 1
จากสมการที่ 1 จะเห็นว่า + จะได้ค่าเท่ากับ เสมอ ดังนั้นถ้าเราเปลี่ยนระยะวัตถุ u
u v f
s

1 1
หลาย ๆ ค่า แล้วหาระยะภาพ v ที่เกิดขึ้น จากนั้น นาค่า u กับ v ที่ได้มาเขียนกราฟระหว่าง กับ
u v
ic

1
ซึ่งควรจะได้เป็ นกราฟเส้นตรงตัดแกนทั้งสองที่ เท่ากัน ดังรู ปที่ 6 ซึ่งสามารถหาระยะโฟกัสได้จาก
ys

f
จุดตัดแกน
Ph

f
v
1/u

1/f

u vf f= 0 1/v
1/f
รู ปที่ 5 กำรหำควำมยำวโฟกัสของเลนส์นูนโดย รู ปที่ 6 กรำฟระหว่ำง 1/u กับ 1/v
ใช้วิธีเขียนกราฟ
การทดลองที่ 2 : เลนส์และกระจก 21

ข. เลนส์ เว้า
เราสามารถหาความยาวโฟกัสของเลนส์เว้าได้โดยใช้เลนส์เว้าประกบกับเลนส์นูนที่ทราบ
ความยาวโฟกัสเพื่อเป็ นเลนส์ประกอบ ดังรู ปที่ 7 จากนั้นหาความยาวโฟกัสของเลนส์ประกอบนี้
จากวิธีที่ 3 ของเลนส์นูน ต่อจากนั้นหาความยาวโฟกัสของเลนส์เว้าได้โดยใช้สมการที่ 2

at
as
21 mm
20 a
Th
s

รู ปที่ 7 การหาความยาวโฟกัสของเลนส์เว้า
ic
ys

วิธีหารัศมีความโค้งของกระจกเงาโค้ง
ก. กระจกเงาโค้งเว้า ถ้าวางวัตถุไว้หน้ากระจกเว้าที่จุดศูนย์กลางความโค้ง แสงจากวัตถุที่ตก
Ph

กระทบกระจกในแนวตั้งฉากจะสะท้อนกลับทางเดิม ทาให้เกิดภาพหัวกลับที่ตาแหน่งเดียวกับวัตถุ ดัง


รู ปที่ 8 เมื่อมองวัตถุและภาพในกระจกเว้าจะไม่เกิดแพรัลแลกซ์ ระยะจากวัตถุถึงกระจกคือรัศมีความ
โค้งของกระจกนัน่ เอง ส่วนความยาวโฟกัสของกระจกจะมีค่าเป็ นครึ่ งหนึ่งของรัศมีความโค้ง ดังสมการ
ที่ 3
22 คู่มือปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 2

รู ปที่ 8 การหารัศมีความโค้งของกระจกเว้าด้วยวิธีไม่แพรัลแลกซ์

ข. กระจกเงาโค้ ง นู น เนื่ อ งจากกระจกนู น จะให้ ภ าพเสมื อ นอยู่ห ลังกระจก ดัง นั้ น เราไม่

at
สามารถหารัศมีความโค้งด้วยวิธีไม่แพรัลแลกซ์ได้โดยตรง ซึ่งจะต้องใช้เลนส์นูนช่วย โดยวางเลนส์นูน
ระหว่างวัตถุกบั กระจกนูน ดังรู ปที่ 9 เพื่อให้กระจกนูนสะท้อนภาพที่เกิดจากเลนส์นูนกลับไป ถ้าแสงที่

as
ผ่านเลนส์นูนตกตั้งฉากกับผิวของกระจกนู น จะสะท้อนกลับทางเดิม ทาให้ภาพที่เกิดขึ้นอยู่ตาแหน่ ง
21 mm
เดียวกับ วัตถุ เมื่อนากระจกนู นออกแล้วหาตาแหน่ งภาพที่เกิดจากเลนส์นูนโดยใช้ฉากรับ ก็สามารถ
คานวณหารัศมีความโค้งของกระจกนูนได้
20 a
Th
s
ic

รู ปที่ 9 การหารัศมีความโค้งของกระจกนูน
ys
Ph
การทดลองที่ 2 : เลนส์และกระจก 23

วิธีการทดลอง
ตอนที่ 1 การหาความยาวโฟกัสของเลนส์ นูนโดยวิธีจัดวัตถุไว้ ที่ระยะอนันต์
1. ใช้ที่ยดึ เลนส์จบั เลนส์นูนวางบน Optical bench แล้วหันเลนส์ไปรับแสงจากวัตถุที่อยูไ่ กล นอก
ห้องปฏิบตั ิการ เช่นต้นไม้หรื ออาคารที่อยูไ่ กลๆ
2. วางฉากรับภาพไว้คนละด้านกับวัตถุบน Optical bench จากนั้นเลื่อนฉากรับภาพเข้าหรื อออก
จากเลนส์ จนได้ภาพของวัตถุชดั เจนที่สุด
3. บันทึกตาแหน่งเลนส์และฉากรับภาพไว้ แล้วหาความยาวโฟกัสของเลนส์
4. ทาการทดลองซ้ าข้อ 1-3 อีก 2 ครั้ง โดยเปลี่ยนตาแหน่งของเลนส์ไปครั้งละ 10.0 cm

at
ตอนที่ 2 การหาความยาวโฟกัสของเลนส์ นูนด้ วยวิธีไม่ แพรัลแลกซ์
1. ใช้เข็มที่อยูบ่ นขาตั้งเป็ นวัตถุ จัดอุปกรณ์เหมือนรู ปที่ 4

as
2. ดูภาพของเข็มในเลนส์พร้อมกับเลื่อนตาแหน่งของวัตถุ จนภาพไม่เกิดแพรัลแลกซ์กบั วัตถุ
21 mm
3. บันทึกตาแหน่งของเข็มวัตถุ เลนส์นูน และกระจกเงาราบไว้ แล้วหาความยาวโฟกัสของเลนส์นูน
4. ทาการทดลองซ้ า 3 ครั้ง โดยเปลี่ยนตาแหน่งวัตถุ หรื อเลนส์ หรื อกระจกราบก็ได้
5. เปรี ยบเทียบความยาวโฟกัสเฉลี่ยที่ได้จากการทดลองในตอนที่ 1 กับตอนที่ 2
20 a

ตอนที่ 3 การหาความยาวโฟกัสของเลนส์ เว้า โดยใช้ ไส้ หลอดไฟเป็ นวัตถุ


Th

1. นาเลนส์นูนจากการทดลองตอนที่ 1 ประกบกับเลนส์เว้าแล้วนาไปวางที่ตาแหน่ง 50.0 cm วาง


หลอดไฟและฉากให้อยู่คนละด้านของเลนส์ประกอบ โดยให้หลอดไฟอยู่ที่ตาแหน่ง 5.0 cm
s

เลื่อนฉากจนได้ภาพของไส้หลอดที่ชดั เจนที่สุด
ic

2. บันทึกตาแหน่งเลนส์ ตาแหน่งวัตถุ และตาแหน่งฉากไว้


ys

3. ทาการทดลองซ้ าเดิมอีก 5 ครั้ง โดยเลื่อนวัตถุไปครั้งละ 5.0 cm โดยเลนส์ยงั อยูท่ ี่เดิม


4. เขียนกราฟระหว่าง 1/u กับ 1/v หาความยาวโฟกัสของเลนส์ประกอบจากกราฟ
Ph

5. คานวณหาความยาวโฟกัสของเลนส์เว้าจากสมการที่ 2

ตอนที่ 4 หารัศมีความโค้งของกระจกเว้าด้วยวิธีไม่แพรัลแลกซ์
1. จัดอุปกรณ์ดงั รู ปที่ 8
2. ทาการทดลองเช่นเดียวกับตอนที่ 2 แต่เปลี่ยนจากเลนส์นูนเป็ นกระจกเว้า
3. หารัศมี ความโค้งของกระจกเว้า พร้ อมทั้งหาความยาวโฟกัส ของกระจกเว้าจากสมการที่ 3
ระยะวัตถุเท่ ากับรัศมีความโค้งของกระจกเว้า ซึ่ งจะเท่ากับสองเท่าของความยาวโฟกัสของ
กระจกเว้า ที่ตาแหน่งนี้ ระยะภาพจะเท่ากับระยะวัตถุจึงเกิดการไม่แพรัลแลกซ์ (วัตถุกบั ภาพอยู่
ที่ตาแหน่งเดียวกันจึงเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็วเท่ากัน)

You might also like