แรงลอยตัว

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

ใบความรูเรื่องแรงลอยตัว

1. แรงลอยตัว(buoyant force)
“เมื่อวัตถุอยูในของไหล จะมีแรงลอยตัวกระทําตอวัตถุ แรงลอยตัวดังกลาวเกิดจากความแตกตางของความดัน
ของวัตถุ ณ ตําแหนงที่มีความลึกแตกตางกัน แรงลอยตัวดังกลาวจะพยายามยกวัตถุขนึ้ สูผิวหนาของของไหล”
F1 = P1A =ρgh1A
F2 = P2A =ρgh2A
ผลตางของแรงดันขึ้นกับแรงดันลงคือแรง
ลอยตัว FB
FB = F2 – F1 =ρg (h2-h1) A =ρgV

2. เปรียบเทียบการชั่งวัตถุในอากาศกับในของเหลว
F1,F2 = แรงดึงของตาชั่งสปริง (น้ําหนักที่อานไดจากตาชั่งสปริงหรือแรงยกวัตถุ)
mg = น้ําหนักของวัตถุ , FB = แรงลอยตัวในของเหลว

2.1 กรณีชั่งในอากาศ
แรงดึงขึ้นจะเทากับน้ําหนักของวัตถุ
F1 = mg

2.2 กรณีชั่งในของเหลว
แรงในทิศขึ้นคือแรงดึงกับแรงลอยตัว เทากับน้ําหนัก
F2 + FB = mg
F2 = mg - FB
ดังนั้น เมื่อชั่งวัตถุในของเหลว แรงที่ยกจะนอยกวา แรงที่ยกในอากาศเสมอ
3. หลักของอารคมิ ีดีส(Archimedes’ Principle)
“วัตถุที่จมอยูในของเหลวหมดทั้งกอนหรือจมเพียงบางสวน จะถูกแรงลอยตัวกระทํา และแรงลอยตัวจะ
เทากับน้ําหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่”
อาจเขียน “ขนาดของแรงลอยตัว” ไดเปน
แรงลอยตัว = น้ําหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่
แรงลอยตัว = น้ําหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเทากับ
วัตถุในสวนทีจ่ ม
4. สูตรคํานวณน้าํ หนักของวัตถุและแรงลอยตัว
น้ําหนักของวัตถุ W = mg = ρ1gV1
แรงลอยตัว FB = ρ2gV2
จากหลักของสมดุล
แรงลง = แรงขึ้น
mg = FB
ρ1gV1 = ρ2gV2
ρ1V1 = ρ2V2
หมายเหตุ
1) แรงลอยตัวในของเหลวที่กระทําตอวัตถุ มีคาแปรผันตรงกับปริมาตรของของเหลวทีถ่ ูกแทนที่
2) ถาทําใหวัตถุแทนที่ในของเหลวโดยมีปริมาตรการแทนที่เพิ่มขึ้น แรงลอยตัวที่กระทําตอวัตถุจะมีคา
เพิ่มขึ้นดวย (หลักการนี้ สามารถทําใหวตั ถุที่มีความหนาแนนมากกวาของเหลวสามารถลอยบน
ของเหลวไดโดยการออกแบบวัตถุใหมีปริมาตรมากขึ้น โดยการทําวัตถุใหกลวง หรือเวาตรงกลาง เชน
กรณีเรือที่ลอยบนน้ํา เปนตน)
5. เปรียบเทียบความหนาแนนของวัตถุกับความหนาแนนของของเหลว
5.1 วัตถุมีความหนาแนนนอยกวาความหนาแนนของของเหลว
…..วัตถุจะลอย โดยมีบางสวนจมอยูในของเหลว ….
จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว
ρ1gV1 = ρ2gV2
ρ1V1 = ρ2V2

5.2 วัตถุมีความหนาแนนเทากับความหนาแนนของของเหลว
…..วัตถุจะลอยปริ่มของเหลว หรือลอยในของเหลว…..
จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว
ρ1gV1 = ρ2gV2
ρ1 = ρ2

5.3 วัตถุมีความหนาแนนมากกวาความหนาแนนของของเหลว
…..วัตถุจะจมอยูในของเหลว…..
จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว + แรง N
ρ1gV1 = ρ2gV2 + N
แต V1 = V2 ดังนั้น ρ1 > ρ2
6. สมดุลของวัตถุในของเหลว
6.1 กรณีวัตถุลอยอยูบนของเหลว หรือลอยในของเหลว
จากหลักของสมดุลจะไดวา
FB = W

6.2 กรณีวัตถุจมในของเหลว
จากหลักของสมดุลจะไดวา
N + FB = W

6.3 กรณีวัตถุลอยอยูในของเหลว โดยมีเชือกดึงไว


จากหลักของสมดุลจะไดวา
T + FB = W

6.4 กรณีวัตถุลอยทับกันในของเหลว
จากหลักของสมดุลจะไดวา
FB1 + FB2 = W1 + W2

6.5 กรณีชั่งวัตถุในของเหลว
พิจารณาทีว่ ัตถุ
T +FB = W
พิจารณาที่ตาชัง่
N + T = W + W1
จะไดวา
N = FB + W1

You might also like