Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 61

งานวัด เป็ นการกระทาเพื่อต้องการทราบขนาดโดย

การวัดสิ่งของเหล่านัน้ มีการวัดขนาดทางตรง เช่น การ


วัดด้วยบรรทัดเหล็ก เวอร์เนี ยร์คาลิเปอร์เป็ นต้น และการ
วัดทางอ้อม เช่น การวัดด้วยคาลิเปอร์วดั นอก คาลิเปอร์
วัดใน เป็ นต้น
งานตรวจสอบเป็ นการตรวจสอบชิ้นงานว่าชิ้นงานนัน้
ถูกต้องหรือไม่ เช่น การตรวจสอบมุมฉากของชิ้นงานด้วย
ฉากตาย การตรวจสอบเกลียว การตรวจสอบรัศมี เป็ น
ต้น
1 ความหมาย ของงานวัดและงานตรวจสอบ
2 ระบบหน่ วยในการวัด
3 ชนิดและการอ่านค่าของเครือ่ งมือวัดและเครือ่ งมือ
ตรวจสอบชิ้นงาน
4 ข้อควรระวังและข้อผิดพลาดในการวัดและการตรวจส
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1 อธิบายความหมาย ของงานวัดและงานตรวจสอบได้
2 บอกระบบหน่ วยในการวัดได้
3 จาแนกชนิดของเครือ่ งมือวัดและเครือ่ งมือตรวจสอบ
ชิ้นงานได้
4 อ่านค่าเครือ่ งมือวัดและเครือ่ งมือตรวจสอบชิ้นงาน
5 ได้ อควรระวังและข้อผิดพลาดในการวัดและ
บอกข้
การตรวจสอบได้
งานวัด เป็ นการกระทาเพื่อต้องการทราบขนาดโดย
การวัดสิ่งของเหล่านัน้ อาจจะวัดขนาดโดยตรงโดยใช้
เครือ่ งมือวัดที่มีมาตราสเกลที่สามารถวัดแล้วอ่านค่าได้เลยที่
เราเรียกว่า “การวัดทางตรง” การวัดด้วยบรรทัดเหล็ก เวอร์
เนี ยร์คาลิเปอร์ เป็ นต้น หรือ การวัดขนาดโดยการ
เปรียบเทียบ คือใช้เครือ่ งมือวัดที่ไม่มีขีดมาตราสเกล จะต้อง
นาไปถ่ายทอดขนาดกับเครือ่ งมือวัดที่มีมาตราสเกลที่เรา
เรียกกันว่า “การวัดทางอ้อม”การวัดด้วยคาลิเปอร์วดั นอก
คาลิเปอร์วดั ใน เป็ นต้น
งานตรวจสอบเป็ นการตรวจสอบชิ้นงานว่าชิ้นงาน
นัน้ ถูกต้องหรือไม่ เช่น การตรวจสอบมุมฉากของชิ้นงาน
ด้วยฉากตาย การตรวจสอบเกลียว การตรวจสอบรัศมี
การตรวจสอบไม่สามารถวัดเป็ นขนาดได้ เช่น การ
ตรวจสอบมุมฉากกรณี ไม่ได้มมุ ฉาก ก็ไม่สามารถวัดได้ว่า
มีมมุ เท่าไร ยกเว้นว่าต้องใช้เครือ่ งมือวัดที่อ่านค่าได้
1. ระบบเมตริก ในปัจจุบนั ได้ถือเป็ นหน่ วยสากล (SI Unit :
International System of Units) ซึ่งเป็ นหน่ วยที่สะดวกและ
ง่ายในการใช้ จะมีการบอกค่าเป็ นเลขจานวนเต็มและเลข
ทศนิยม สามารถเปลี่ยนแปลงหน่ วยได้ง่าย

10 มิลลิเมตร (mm) = 1 เซนติเมตร


10 เซนติเมตร (cm) = 1 เดซิเมตร
10 เดซิเมตร (dm) = 1 เมตร
10 เมตร (m) = 1 เดคาเมตร
10 เดคาเมตร (dam) = 1 เฮกโตเมตร
10 เฮกโตเมตร (hm) = 1 กิโลเมตร (km)
2. ระบบอังกฤษ เป็ นหน่ วยที่ใช้อยู่ในกลุ่มประเทศ
อเมริกา อังกฤษ และแคนาดา เป็ นหน่ วยที่มีการใช้เป็ น
เลขจานวนเต็ม เลขทศนิยมและเลขเศษส่วน การ
เปลี่ยนแปลงหน่ วยมีความยุ่งยากกว่าระบบเมตริกมาก
หน่ วยการวัดในระบบอังกฤษ จะมีหน่ วยความยาวคือ นิ้ว
ฟุต หลา ไมล์ เป็ นต้น

12 นิ้ว = 1 ฟุต
3 ฟุต = 1 หลา
1,760 หลา = 1 ไมล์
ระบบ ระบบเมตริก
อังกฤษ มิลลิเมตร เซนติเมตร เดซิเมตร เมตร
1 นิ้ว 25.4 2.54 0.254 0.0254
1 ฟุต 304.8 30.48 3.048 0.3048
1 หลา 914.4 91.44 9.144 0.9144
1. บรรทัดเหล็กแบบธรรมดา หรือ บรรทัดเหล็กทัวไป ่ (Steel
Rule , Solid Steel Rule) นิยมใช้กนั มากในปัจจุบนั นิยมทา
จากเหล็กกล้าไร้สนิม ขนาดความยาวของบรรทัดเหล็กแบบ
ธรรมดาจะมี
- หลายขนาด ตัง้ แต่ ขนาด 25 มม.(1 นิ้ว) ถึง
1,800 มม. (72 นิ้ว) แต่โดยทัวๆ
่ ไป จะมีการผลิตมาใช้ขนาด
150 มม. (6 นิ้ว) , 300 มม. (12 นิ้ว) , 600 มม.(24 นิ้ว) และ
1,000 มม.(36 นิ้ว) เป็ นต้น
2. บรรทัดวัดความลึก (Rule Depth
Gauge) ใช้วดั ความลึกชิ้นงานที่เป็ นบ่า
หรือวัดความลึกของรูได้เร็ว มีการ
แบ่งค่าสเกลละเอียด 0.5 มม.หรือ
1/64 นิ้ว
3. บรรทัดผสมวัดความลึกและวัดมุม
(Combination Depth and Angle
Gauge) สามารถเอียงมุมเพื่อร่างแบบ
ได้ เอียงมุมได้ 30 , 45 และ 60 องศา
มีค่าความละเอียด 0.5 มม. หรือ 1/64
นิ้ว
4. บรรทัดสัน้ (Short Rules หรือShort
Length Rules) ใช้วดั ในที่แคบๆ มี
เป็ นชุด มีขนาดถึง 25 มม.(1 นิ้ว) 1
ชุดประกอบด้วยขนาด 1/4 นิ้ว , 3/8
นิ้ว, 1/2 นิ้ว , 3/4 นิ้ว และ 1 นิ้ว จะมี
ด้ามจับสามารถจับเอียงมุมได้
5. บรรทัดขอเกี่ยว (Hook Rule)
เป็ นบรรทัดที่มีขอเกี่ยวติดอยู่ที่ปลายด้านหนึ่ ง ทาให้
ง่ายในการวัดจากขอบชิ้นงาน โดยเฉพาะขอบชิ้นงาน
ที่มองไม่เห็นอยู่ข้างใน สามารถวัดในรูที่มีขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลางขนาดประมาณ 10 มม. (3/8 นิ้ว) ได้
การอ่านค่าบรรทัดเหล็กระบบเมตริก ค่าที่อ่านได้จะมีค่า
ละเอียดสุด คือ 0.5 มม. แต่จะมีการแบ่งเพียงบางช่วงของ
บรรทัดเหล็กเท่านัน้ ในช่วงอื่นๆ มีการแบ่งละเอียด 1 มม.
แบ่งละเอียดขีดละ 0.5 มม. แบ่งละเอียดขีดละ 1
มม.

แบ่งละเอียดขีดละ 1
มม.
ตัวอย่าง การอ่านค่าบรรทัดเหล็ก ระบบ มิลลิเมตร
1 15 24.5 32.5
0.5 5

7.5
จงอ่านค่าบรรทัดเหล็ก ระบบ มิลลิเมตร
A B C D E
F

A= 2.5 B= 9 C= 15.5 D= 24.5 E= 33 F= 46.5


แนวมองในการอ่านค่าบรรทัดเหล็ก
ในการมองเพื่ออ่านค่าจะต้องมองในตาแหน่ งตรงกับ
ตาแหน่ งที่ต้องการอ่าน การอ่านค่าจากตาแหน่ งที่ไม่ถกู ต้อง
จะได้ค่าที่ผิดพลาด ที่เรียกว่า Parallax Error

ตาแหน่ ง 2 เป็ นตาแหน่ งที่ถกู ต้อง


การวางแนวของบรรทัดเหล็กในการวัดขนาดชิ้นงาน

การวัดโดยปลายบรรทัดเหล็กชนกับบ่าชิ้นงาน
หรือ นาเหล็กแท่งขนานมาชนเป็ นบ่ากัน้ แทน กรณี ชิ้นงานไม่มีบา่
ชน
การวัดชิ้นงานดัวยบรรทัดเหล็ก
ที่ตรงปลายบรรทัดสึกหรือมีรอย
เยิน

การวัดงานดัวยบรรทัดขอจะวัด
การวัดขนาดชิ้นงานกลม
ได้
สะดวกกว่าและได้ขนาดที่
บรรทัดเหล็ก ควรมีการตรวจสอบความสมบูรณ์
ของบรรทัดเหล็กก่อนนาไปใช้งาน
1. บรรทัดเหล็กต้องไม่บิดงอ
2. ขีดสเกลบนบรรทัดเหล็กต้องชัดเจน
3. ที่ปลายและขอบบรรทัดเหล็กต้องไม่มีรอยเยิน
4. บรรทัดเหล็กต้องสะอาด ปราศจากคราบสนิม
พร้อมใช้งาน
1. เลือกใช้บรรทัดเหล็กที่มีความสมบูรณ์ และเหมาะสม
กับชิ้นงานที่ต้องการวัด
2. ทาความสะอาดบรรทัดเหล็กและชิ้นงานก่อนทาการวัด
ชิ้นงานที่มีรอยเยินควรลบรอยเยินก่อน
3. บรรทัดเหล็กต้องแยกออกจากเครือ่ งมือและชิ้นงาน
ต่างๆ อย่าวางสิ่งของ วัสดุทบั บรรทัดเหล็ก เพราะอาจทาให้
บรรทัดเหล็กบิดงอ
4. ห้ามใช้บรรทัดเหล็กแทนเครือ่ งมืออื่นๆ เช่น ใช้เคาะ
ชิ้นงาน ใช้หมุนเกลียวแทนไขควง เป็ นต้น
5) หลังจากเลิกใช้งาน ควรทาความสะอาดบรรทัด
เหล็ก และเก็บไว้ในที่ที่เหมาะสม
1. ก่อนวัดชิ้นงานควรลบคมชิ้นงานก่อนการวัด
เพราะชิ้นงานอาจบาดมือผูป้ ฏิบตั ิ งานได้
2. ห้ามนาบรรทัดเหล็กหยอกล้อ ไล่ตีกนั แกว่ง
บรรทัดเหล็ก ไป-มา หรือดีดใส่เพื่อน
3. ห้ามนาบรรทัดเหล็กเสียบไว้ในกระเป๋า เพราะ
บรรทัดเหล็กอาจแทงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย หรืออาจนัง่
ทับทาให้บรรทัดบิดงอกรณี เสียบไว้ที่กระเป๋าหลัง
ขนาดของเวอร์เนี ยร์คาลิเปอร์ แบบต่างๆ ที่ใช้อยู่ทวๆั ่ ไป
คือ150 มม. (6 นิ้ว), 200 มม.(8 นิ้ว) และ 300 มม.(12 นิ้ว)
1) เวอร์คาลิเปอร์แบบสเกลเลื่อน (Vernier Caliper)
ระบบเมตริก มีคา่ ความละเอียด 0.05 (1/20) มม.และ0.02
(1/50) มม.ระบบอังกฤษ มีคา่ ความละเอียด 1/128 นิ้วและ
1/1000(0.001) นิ้ว
ปากวัดใน หรือ เขี้ยวไขว้

สเกลหลัก หรือ
สเกลเลื่อน นิ้ว เมนสเกล นิ้ว ก้านวัดลึก

สเกลเลื่อน มม. สเกลหลัก หรือ เมน


สเกล มม.

ปากวัดนอก
หน้ าปัด และสเกล
ละเอียด

สเกลหลัก
ปุ่ มเปลี่ยน มม./
นิ้ว

ปุ่ มตัง้ ค่าศูนย์


ปุ่ ม ปิด เปิด
การวัดขนาดชิ้นงาน การวัดชิ้นงานรูป
กลม เหลี่ยม

การวัดขนาดรูในชิ้นงาน
การใช้ก้านวัดลึกวัด การใช้เวอร์เนี ยร์คาลิเปอร์วดั
ขนาด ขนาด
ความลึกของชิ้นงาน แบบขัน้ บันไดหรือวัดแบบสเต็ป
การอ่านค่าบนสเกลหลัก มีค่าขีดละ 1
มิลลิเมตร

0 มม.
การอ่านค่าบนสเกลหลัก มีค่าขีดละ 1
มิลลิเมตร

1 มม.
การอ่านค่าบนสเกลหลัก มีค่าขีดละ 1
มิลลิเมตร

2 มม.
การอ่านค่าบนสเกลหลัก มีค่าขีดละ 1
มิลลิเมตร

5 มม.
การอ่านค่าบนสเกลหลัก มีค่าขีดละ 1
มิลลิเมตร

10 มม.
การอ่านค่าบนสเกลหลัก มีค่าขีดละ 1
มิลลิเมตร

13 มม.
การอ่านค่าบนสเกลหลัก มีค่าขีดละ 1
มิลลิเมตร

13 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.05 มิลลิเมตร(1/20
มม.)
0.1 0.2 0.3
0.05 0.15 0.25 0.35 0.45

0.4 0.5
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.05 มิลลิเมตร(1/20
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 0.05 มม.

0 มม.

0.05 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.05 มิลลิเมตร(1/20
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 0.1 มม.

0 มม.

0.1 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.05 มิลลิเมตร(1/20
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 0.15 มม.

0 มม.

0.15 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.05 มิลลิเมตร(1/20
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 0.2 มม.

0 มม.

0.2 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.05 มิลลิเมตร(1/20
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 0.6 มม.

0 มม.

0.6 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.05 มิลลิเมตร(1/20
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 0.95 มม.

0 มม.

0.95 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.05 มิลลิเมตร(1/20
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 10.05 มม.

10 มม.

0.05 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.05 มิลลิเมตร(1/20
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 12.6 มม.
12 มม.

0.6 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.05 มิลลิเมตร(1/20
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 22.25 มม.

22 มม.

0.25 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.02 มิลลิเมตร (1/50
มม.)

22 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.02 มิลลิเมตร (1/50
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 2.7 มม.

2 มม.

0.7 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.02 มิลลิเมตร (1/50
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 10.08 มม.

10 มม.

0.08 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.02 มิลลิเมตร (1/50
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 3.46 มม.

3 มม.
0.46 มม.
การอ่านค่าบนสเกลเลื่อน มีค่าขีดละ 0.02 มิลลิเมตร (1/50
มม.)
ค่าที่อ่านได้ 15.4 มม.

15 มม.
0.4 มม.
ใบวัดมุมเป็ นเครื่องมือวัดมุมที่มีขีดมาตราวัดอยู่บนตัว ที่
ใช้วดั มุมต่างๆ เช่น การใช้วดั มุมของเครือ่ งมือตัด ได้แก่
การวัดมุมลับมุมมีดกลึง มีดไส และ วัดมุมชิ้นงาน เป็ นต้น
ใบวัดมุมมีหน่ วยวัดเป็ นองศา มีตงั ้ แต่ 0 -180 องศา
ขีด
สเกล ก้านวัด
มุม
ใบวัดมุม

ขีดชี้บอก
ปุ่ มล็อก
ตาแหน่ ง
ใบวัดมุมจะมีการอ่านค่าเป็ นองศา มีคา่ ความละเอียด 1 องศา วัด
มุมได้ 180 องศา สามารถวัดได้ทงั ้ ตามเข็มนาฬิกาและทวนเข็ม
ตาแหน่ งอ่าน นาฬิกา
ค่า

45 องศา
135 องศา
ฉากช่างกลเป็ นเครื่องมือวัดตรวจสอบมุมของ
ชิ้นงาน ที่ใช้ทวๆไป
ั่ คือ วัดและตรวจสอบ มุมฉาก คือ
มุม 90 องศา แต่จริง ๆ แล้วมีมมุ ขนาดอื่น ๆ อีก เช่น ฉาก
มุม 45,120 และ135 องศา เป็ นต้น ฉากช่างกลมีหลาย
ชนิดที่ควรรู้จกั ได้แก่ ฉากตาย ฉากผสม เป็ นต้น

เป็ นฉากที่มีมมุ คงที่ ไม่


สามารถปรับได้
ฉากตายมีหลายชนิด ที่ควรรูจ้ กั คือ ฉากแบนหรือฉาก
เครือ่ งกลแบบธรรมดา ฉากตัง้ ฉากใบคมมีดและฉากปี ก

ฉากแบนหรือฉาก ฉากตัง้ ฉากปี ก


ฉากใบคมมีด
เครื่องกลแบบ
ธรรมดา
ตรวจสอบมุมโดยใช้ ตรวจสอบมุมโดยใช้
ภายในของฉากตรวจสอบ ภายนอกของฉาก
ตรวจสอบ
ตรวจสอบระนาบ
ผิวของชิ้นงาน
เป็ นบรรทัดวัดมุมอเนกประสงค์ สามารถใช้วดั มุม ใช้รา่ งแบบ
ได้ ส่วนประกอบที่สาคัญๆ ของบรรทัดฉากผสม
ระดับน้า
ชุดวัดมุมปรับ
ชุดหา
องศา
ศูนย์กลาง
ชุดวัดมุม
ฉาก

ใบบรรทัดวัด
1. ค่าผิดพลาดจากการเลือกเครือ่ งมือวัดและเครือ่ งมือตรวจสอบ
การเลือกต้องเหมาะสมกับการงาน ต้องมีความสมบูรณ์ มีการ
สอบเทียบ
2. ค่าผิดพลาดจากบุคคล บุคคลไม่มคี วามชานาญในการใช้
เครือ่ งมือนัน้ ๆ ค่าผิดพลาดจากการอ่านค่า จากการตรวจสอบ
หรือคานวณค่าผิด ค่าผิดพลาดจากแนวเล็งในการอ่านค่าตาแหน่ง
การออกแรงกดมากเกินไป เป็ นต้น
3. ค่าผิดพลาดจากสภาพแวดล้อม อุณหภูม ิ ในการวัดและการ
ตรวจสอบ ควรวัดทีอ่ ุณหภูมิ ห้อง 20 องศาเซียส
4. ค่าผิดพลาดจากชิน้ งาน ชิน้ งานมีอุณหภูมริ อ้ น หรือ เย็นจัด

You might also like