Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 27

แนวคิดการปรับเปลี่ยนระบบการรับซื้อไฟฟ้า

จากพลังงานหมุนเวียนจาก Adder เป็น แบบ Feed-in tariff


สาหรับกลุ่มพลังงานชีวภาพ
โดย นายวัฒนพงษ์ คุโรวาท
ผู้อานวยการกลุ่มส่งเสริมการแข่งขันกิจการไฟฟ้า สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ณ ห้องจตุรทิศ โรงแรม โกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพมหานคร
หัวข้อการนาเสนอ

1 ความเป็นมาของนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

2 มาตรการส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder)

3 เป้าหมายการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

4 สถานะโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เปรียบเทียบกับแผน AEDP

5 แนวคิดการกาหนดอัตรารับซื้อแบบ FIT สาหรับพลังงานชีวภาพ


2
หัวข้อการนาเสนอ

1 ความเป็นมาของนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

2 มาตรการส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder)

3 เป้าหมายการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

4 สถานะโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เปรียบเทียบกับแผน AEDP

5 แนวคิดการกาหนดอัตรารับซื้อแบบ FIT สาหรับพลังงานชีวภาพ


3
ความเป็นมาของนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
2535 2537 2545
• ประกาศรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP พลังงาน • ประกาศรับซื้อไฟฟ้า • ประกาศระเบียบ VSPP พลังงาน
นอกรูปแบบ กากหรือเศษวัสดุเหลือใช้ จาก IPP ระยะแรก หมุนเวียน ขนาดไม่เกิน 1 MW
และระบบ Cogeneration
• ขนาดปริมาณขายไม่เกิน 50 MW
• เริ่มมีแนวคิดการรับซื้อจาก IPP

2536 2540
• แก้ไขระเบียบรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP เป็นปริมาณ • เห็นชอบให้มีการรับซื้อไฟฟ้า
ขายไม่เกิน 60 MW จาก SPP ประเภท Non-Firm
• หากเกิน 60 MW แต่ไม่เกิน 90 MW ให้เจรจากับ • โดยไม่กาหนดระยะเวลาและ
กฟผ. ถ้าระบบรองรับได้ ก็สามารถจ่ายไฟได้ ปริมาณ

IPP คือ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ / SPP คือ ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก / VSPP คือ ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กมาก 4


ความเป็นมาของนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

2550
• ขยายเวลาการให้ Adder สาหรับ แสงอาทิตย์
และพลังงานลม จาก 7 ปี เป็น 10 ปี โดยไม่มี
การวางค้าหลักประกันข้อเสนอ

2552
• ประกาศแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี (REDP)
2549 • มีเป้าหมายผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน 5,608 MW
• ประกาศระเบียบ VSPP พลังงาน • โดยมีผลกระทบค่า Ft ไม่เกิน 8 สตางค์ต่อหน่วย
หมุนเวียน เป็นขนาดไม่เกิน 10 MW • ปรับปรุง Adder เชื้อเพลิงชีวมวล/ก๊าซชีวภาพ สาหรับระบบขนาด
• ประกาศใช้มาตรการส่วนเพิ่มราคารับ < 1 MW เชื้อเพลิงขยะ (Thermal) พลังงานลมและพลังงานน้า
ซื้อไฟฟ้า (Adder) • เริ่มให้วางหลักประกันยื่นข้อเสนอ
• ครม.ให้รับซื้อเกินเป้าหมายได้ หากไม่กระทบ Ft อย่างมีนัยสาคัญ
REDP = Renewable Energy Development Plan พ.ศ. 2551-2565 5
ความเป็นมาของนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

2553 2556
• หยุดรับข้อเสนอขายไฟฟ้าจาก Solar • คัดกรองโครงการที่ไม่สามารถดาเนินการได้ตาม SCOD
• ปรับลดราคารับซื้อ Adder สาหรับ Solar จาก • ประกาศใช้มาตรการ FIT สาหรับหญ้าเนเปียร์ (นาร่อง)
8.0 บาทต่อหน่วย เหลือ 6.5 บาทต่อหน่วย Solar Rooftop 200 MW และ Solar ชุมชน 800 MW
• ตั้งคณะกรรมการบริหารมาตรการส่งเสริมการ • ประกาศปรับเป้าหมาย/แผน AEDP 10 ปี เพิ่มขึ้นเป็น
ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน 13,927 MW
• เห็นชอบในหลักการปรับรูปแบบจาก Adder
เป็น Feed-in tariff (FIT)

2554
• ประกาศเป้าหมาย/แผน AEDP 10 ปี โดยปรับเพิ่มเป้าจาก REDP เป็น 9,201 MW
• คกก.บริหารฯ วางหลักเกณฑ์/คัดกรอง/เร่งรัดโครงการ Solar
• สนพ. ศึกษาการสนับสนุนรูปแบบ FIT
AEDP = Alternative Energy Development Plan พ.ศ. 2555-2564 6
หัวข้อการนาเสนอ

1 ความเป็นมาของนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

2 มาตรการส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder)

3 เป้าหมายการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

4 สถานะโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เปรียบเทียบกับแผน AEDP

5 แนวคิดการกาหนดอัตรารับซื้อแบบ FIT สาหรับพลังงานชีวภาพ


7
การกาหนดมาตรการส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder)

• เพื่อเป็นแรงจูงใจให้ผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนที่มีต้นทุนสูง เข้า
1 มามีส่วนร่วมในการผลิตไฟฟ้าให้กับระบบเพิ่มขึ้น

• คานึงถึงต้นทุนในการผลิตไฟฟ้า
2

• คานึงถึงภาระค่าไฟฟ้าของประชาชน
3
• มูลค่าการรับซื้อไฟฟ้าตามส่วนเพิ่มฯ ให้ส่งผ่านค่าไฟฟ้าตามสูตรการ
4 ปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft)

8
โครงสร้างมาตรการส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder)

• ระยะเวลาสนับสนุน 7 ปี นับจากวันจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ
(10 ปี สาหรับพลังงานแสงอาทิตย์, พลังงานลม)
• อัตราส่วนเพิ่มแตกต่างกันตามเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีที่
ให้ในการผลิตไฟฟ้า
• ส่งผ่านเม็ดเงินสนับสนุนไปยังผู้ใช้ไฟฟ้าในรูปของ Ft

ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft)

หมายเหตุ Adder ลักษณะการสนับสนุนแบบ Up Front ในระยะเวลา 7-10 ปี ซึ่งมีข้อดีที่จะจูงใจให้เอกชนลงทุนมากกว่าเนื่องจาก


ระยะเวลาคืนทุนเร็วขึ้น แต่ก็จะส่งผลต่อภาระของประชาชน(ค่าไฟฟ้า) ที่เพิ่มอย่างรวดเร็วเช่นเดียวกัน นอกจากนี้อาจ
ส่งผลให้มีการเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีประสิทธิภาพในระยะยาว (สาหรับโครงการที่ Adder สูงๆ) จึงมีความเสี่ยงที่จะ
หยุดดาเนินการภายหลังสิ้นสุด Adder 9
ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) : แยกตามประเภทเทคโนโลยีและเชื้อเพลิง
ส่วนเพิม่ ฯ พิเศษสาหรับ 3
ส่วนเพิม่ ฯ ปี ส่วนเพิม่ ฯ ปี ส่วนเพิม่ ฯ ปี ส่วนเพิม่ พิเศษ
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ระยะเวลาสนับสนุน
เชื้อเพลิง 2550 2552 2553 เพือ่ ทดแทนดีเซล
และ 4อ.ในจ.สงขลา* (ปี)
(บาท/หน่วย) (บาท/หน่วย) (บาท/หน่วย) (บาท/หน่วย)
(บาท/หน่วย)
1. ชีวมวล
- กาลังการผลิตติดตัง้ ≤ 1 MW 0.30 0.50 0.50 1.00 1.00 7
- กาลังการผลิตติดตัง้ > 1 MW 0.30 0.30 0.30 1.00 1.00 7
2. ก๊าซชีวภาพ (จากทุกประเภทแหล่งผลิต)
- กาลังการผลิตติดตัง้ ≤ 1 MW 0.30 0.50 0.50 1.00 1.00 7
- กาลังการผลิตติดตัง้ > 1 MW 0.30 0.30 0.30 1.00 1.00 7
3. ขยะ (ขยะชุมชน / ขยะอุตสาหกรรมทีไ่ ม่ใช่ขยะอันตราย และไม่เป็นขยะทีเ่ ป็นอินทรียวัตถุ)
- ระบบหมักหรือหลุมฝังกลบขยะ 2.50 2.50 2.50 1.00 1.00 7
- พลังงานความร้อน (Thermal Process) 2.50 3.50 3.50 1.00 1.00 7
4. พลังงานลม
- กาลังการผลิตติดตัง้ ≤ 50 kW 3.50 4.50 4.50 1.50 1.50 10
- กาลังการผลิตติดตัง้ > 50 kW 3.50 3.50 3.50 1.50 1.50 10
5. พลังงานน้าขนาดเล็ก
- 50 kW ≤ กาลังการผลิตติดตัง้ ≤ 200 kW 0.40 0.80 0.80 1.00 1.00 7
- กาลังการผลิตติดตัง้ < 50 kW 0.80 1.50 1.50 1.00 1.00 7
6. พลังงานแสงอาทิตย์ 8.00 8.00 6.50 1.50 1.50 10
* 4 อาเภอในจังหวัดสงขลาได้แก่ อ.จะนะ อ.เทพา อ.สะบ้าย้อย และ อ.นาทวี 10
เปรียบเทียบการส่งเสริมในรูปแบบ Adder และ Feed-in Tariff
Adder Feed-in Tariff (FIT)
 ผู้ประกอบการจะได้รับ Adder เพิ่มเติมจากค่าไฟฟ้าฐาน + Ft ใน  ผู้ประกอบการจะได้ราคารับซื้อคงที่ตลอดอายุสัญญา 20 หรือ 25 ปี
การขายไฟฟ้าเป็นระยะเวลา 7 หรือ 10 ปี (ตามแต่ประเภทพลังงาน (ตามแต่ประเภทพลังงานหมุนเวียน)
หมุนเวียน
 การสนับสนุนภายใต้ระยะเวลาจากัด 7-10 ปี แม้ว่าจะมีข้อดีที่จะจูง  FIT ทาให้ภาครัฐมีความมั่นใจว่าผู้ประกอบการจะมีแรงจูงใจในการ
ใจเอกชนลงทุนมากกว่า เนื่องจากระยะเวลาคืนทุนเร็วขึ้น แต่อาจ ผลิตไฟฟ้าจนครบอายุสัญญา
ส่ ง ผลให้ ผู้ ป ระกอบการหยุ ด ด าเนิ น โครงการภายหลั ง จากสิ้ น สุ ด
ระยะเวลาการรับ Adder

 ภายหลังจากหมดระยะเวลา Adder 7-10 ปี ผู้ประกอบการจะ  สะดวกต่ อ ภาครั ฐ ในการก าหนดนโยบายการจั ด หาไฟฟ้ า และ
สามารถขายไฟฟ้าได้ในราคาขายส่งเฉลี่ย + Ft ซึ่งมีความไม่แน่นอน โครงสร้างราคา เนื่องจากภายใต้โครงสร้าง FIT ภาครัฐสามารถทราบ
สูงในอนาคต ทาให้เกิดความเสี่ยงต่อผู้ประกอบการ หรือความไม่เป็น ต้นทุนค่าไฟฟ้าล่วงหน้าในราคาคงที่เป็นระยะเวลา 20-25 ปี ซึ่งจะ
ธรรมต่อภาครัฐ/ประชาชน ลดความผันผวนด้านราคาไฟฟ้าลงได้

 FIT ทาให้ปัญหาความซ้าซ้อนในโครงสร้างค่าไฟฟ้าหมดไป ทั้งนี้ ใน


อนาคต FIT อาจทาให้เกิด Grid parity ได้
11
ความเสี่ยงจากของราคารับซื้อไฟฟ้าระบบ Adder ในการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวล

SCOD ปี 50 ราคารับซื้อเฉลี่ย 3.53 บาท/หน่วย


SCOD ปี 56 ราคารับซื้อเฉลี่ย 4.06 บาท/หน่วย

12
ความเสี่ยงจากของราคารับซื้อไฟฟ้าระบบ Adder ในการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวล

ผู้ประกอบการที่ลงทุนในเวลาต่างกันอาจได้ผลตอบแทนไม่เท่ากัน

ค่าไฟฟ้าขายส่งเป็นการคาดการณ์จากแผน PDP และสามารถ


เปลี่ยนแปลงได้หากมีการปรับแผน PDP ซึ่งอาจสูงหรือต่ากว่าที่
คาดการณ์ไว้

ระบบ Adder เป็นการสนับสนุนแบบ Upfront อาจเกิด Cost


Overrun ในช่วงที่ครบระยะเวลาให้สว่ นเพิ่ม 7-10 ปี แล้ว
โดยเฉพาะประเภทพลังงานที่มี Adder สูง

การปรับตัวของราคาชีวมวลไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับราคา
เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า
13
หัวข้อการนาเสนอ

1 ความเป็นมาของนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

2 มาตรการส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder)

3 เป้าหมายการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

4 สถานะโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เปรียบเทียบกับแผน AEDP

5 แนวคิดการกาหนดอัตรารับซื้อแบบ FIT สาหรับพลังงานชีวภาพ


14
เป้าหมายการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
เป้าหมายตามแผน REDP เป้าหมายตามแผน AEDP เป้าหมายตามแผน AEDP ใหม่
ประเภทเชื้อเพลิง ปี 2551 - 2565 ปี 2555 - 2564 ปี 2555 - 2564
MW GWh ktoe MW GWh ktoe MW GWh ktoe
1. พลังงานแสงอาทิตย์ 500 657 56 2,000 2,628 224 3,000 3,942 336
บนพื้นดิน 500 657 56 2,000 2,628 224 2,000 2,628 224
บนหลังคา 200 263 22
ชุมชน 800 1,051 90
2. พลังงานลม 800 1,044 89 1,200 1,577 134 1,800 2,365 202
3. พลังงานน้า 324 993 85 1,608 8,866 756 324 993 85
พลังน้้าขนาดเล็ก 324 993 85 324 993 85 324 993 85
พลังงานสูบกลับ 1,284 7,873 671
4. พลังงานชีวมวล 3,700 22,685 1,933 3,630 22,259 1,896 4,800 29,434 2,508
5. ก๊าซชีวภาพ 120 633 54 600 3,154 270 3,600 24,178 2,060
น้้าเสีย/ของเสีย 120 633 54 600 3,154 270 600 3,154 269
หญ้าเนเปียร์ 3,000 21,024 1,791
6. พลังงานจากขยะ 160 845 72 160 841 72 400 2,102 179
7. พลังงานรูปแบบใหม่ 3 10 1 3 10 1 3 10 1
รวมทั้งสิ้น 5,607 26,867 2,290 9,201 39,336 3,352 13,927 63,025 5,370
หมายเหตุ แผน REDP และ แผน AEDP จัดทาและนาเสนอโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 15
หัวข้อการนาเสนอ

1 ความเป็นมาของนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

2 มาตรการส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder)

3 เป้าหมายการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

4 สถานะโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เปรียบเทียบกับแผน AEDP

5 แนวคิดการกาหนดอัตรารับซื้อแบบ FIT สาหรับพลังงานชีวภาพ


16
สถานะโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เปรียบเทียบกับแผน AEDP

17
การวิเคราะห์ปริมาณคงเหลือที่สามารถเปิดรับซื้อเพิ่มได้ ตามแผน AEDP
กาลังผลิตติดตั้ง (MW)
ประเภท เป้าหมาย AEDP ผูกพันกับภาครัฐ โครงการโดยภาครัฐ นโยบายรัฐบาล ปริมาณคงเหลือ ยื่นข้อเสนอ
แสงอาทิตย์ 3,000 1,955 12 1,000 33 942
พลังงานลม 1,800 1,902 74 -176 911
พลังงานน้า 324 29 295 0 0.03
ชีวมวล 4,800 3,638 1,162 289
ก๊าซชีวภาพ 3,600 360 3,000 240 12
ขยะ 400 198 202 126

หมายเหตุ
(1) อ้างอิงฐานข้อมูลของ สานักงาน กกพ. ณ เดือนพฤศจิกายน 2556
(2) โครงการที่ผูกพันกับภาครัฐ คือ โครงการที่อยู่ในสถานะ ขายไฟแล้ว+ทาสัญญาแล้ว+ตอบรับซื้อแล้ว
(3) โครงการโดยภาครัฐ คือ โครงการที่ดาเนินการโดยหน่วยงานภาครัฐ เช่น พพ. กฟผ. เป็นต้น
(4) นโยบายรัฐบาล ประกอบด้วย
- โครงการ Solar ชุมชน 800 MW
- โครงการ Solar Rooftop 200 MW
- โครงการก๊าซชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์ 3,000 MW
18
กาลังผลิตติดตั้งโครงการพลังงานหมุนเวียนรายปี เปรียบเทียบกับแผน AEDP

19
กาลังผลิตติดตั้งโครงการพลังงานหมุนเวียนรายปี เปรียบเทียบกับแผน AEDP

20
หัวข้อการนาเสนอ

1 ความเป็นมาของนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

2 มาตรการส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder)

3 เป้าหมายการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

4 สถานะโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เปรียบเทียบกับแผน AEDP

5 แนวคิดการกาหนดอัตรารับซื้อแบบ FIT สาหรับพลังงานชีวภาพ


21
แบบจาลองทางการเงินของโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

โครงสร้างของทุน (Capital Structure)


สาหรับโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

โดย D/E จะขึ้นอยู่กับความสามารถใน


การก่อหนี้ของนักลงทุน และความเสี่ยง
ของแต่ละประเภทโครงการ

หลักสาคัญ กระแสเงินสดรับของโครงการ
หลั งจากหั กค่ า ใช้จ่ ายต่ างๆ จะต้อ งสร้า ง
ผลตอบแทนเฉลี่ยไม่ ต่ากว่าการลงทุนใน
กิจการอื่นที่มีความเสี่ยงในระดับเดียวกัน
22
แบบจาลองทางการเงินของโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
รายละเอียดของกระแสเงินสดของโครงการฯ (Project’s Cash flow)

รายได้หลัก คือ การขายไฟฟ้าเข้าสู่ระบบในรูปแบบ FIT


รายจ่ายหลัก คือ ค่า O&M ค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิง (ถ้ามี) ค่าใช้จ่ายเงินต้นกู้และดอกเบี้ย ภาษีเงินได้
กระแสเงินสดที่เหลือจึงค่อยกลับไปสู่นักลงทุนเป็นผลตอบแทนการลงทุนในแต่ละปี
23
โครงสร้างการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนรูปแบบ Feed-in Tariff

24
โครงสร้างการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนรูปแบบ Feed-in Tariff

• คงที่ตลอดอายุโครงการ
ราคารับซื้อในส่วนคงที่ • ชดเชยความเสี่ยงส่วนต้นทุนคงที่
กลุ่มพลังงานธรรมชาติ
(FITF) • ต้ น ทุ น ที่ ไ ม่ ผั น ผวนและสามารถคาดการณ์
ล่วงหน้าได้

กลุ่มพลังงานชีวภาพ

• เปลี่ยนตามช่วงเวลา
ราคารับซื้อในส่วนผันแปร • ชดเชยความเสี่ยงของต้นทุนเชื้อเพลิง
(FITV) • ต้ น ทุ น ที่ มี ค วามผั น ผวนและไม่ ส ามารถ
คาดการณ์ล่วงหน้าได้แม่นยา

ราคารับซื้อในส่วนผันแปร (FITv,t) = ราคาเชื้อเพลิงอ้างอิง (PF,t ) x ค่า Heat Rate โรงไฟฟ้า


25
จบการนาเสนอ
โดย นายวัฒนพงษ์ คุโรวาท
ผู้อานวยการกลุ่มส่งเสริมการแข่งขันกิจการไฟฟ้า สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ณ ห้องจตุรทิศ โรงแรม โกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพมหานคร
ความเสี่ยงจากของราคารับซื้อไฟฟ้าระบบ Adder ในการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวล

SCOD ปี 50 ราคารับซื้อเฉลี่ย 3.53 บาท/หน่วย


SCOD ปี 56 ราคารับซื้อเฉลี่ย 4.06 บาท/หน่วย

27

You might also like