Napiagrass

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

คูมือ

การปลูกหญาเนเปยรปากชอง 1

โดย...ดร.ไกรลาศ เขียวทอง
ศูนยวิจัยและพัฒนาอาหารสัตวนครราชสีมา
1
ดร.ไกรลาศ เขียวทอง

ประวัติผูเขียน
ตำแหนงปจจุบัน : นักวิชาการสัตวบาลชำนาญการพิเศษ
ศูนยวิจัยและพัฒนาอาหารสัตวนครราชสีมา
กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว
ประวัติการศึกษา:
ปริญญาตรี วท.บ. (เกษตรศาสตร) สาขาสัตวศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
ปริญญาโท M.Sc. in Biology สาขา Tropical Livestock Systems
Swedish University of Agricultural Sciences ประเทศสวีเดน
ปริญญาเอก Ph.D. สาขา Ruminant Nutrition
Newcastle University ประเทศอังกฤษ

ประสบการณ และผลงานทางวิชาการ :
ประสบการณดานการวิจัย
-สรางสรรคผลงานวิจัยดานพืชอาหารสัตวและโภชนศาสตรสัตวเคี้ยวเอื้อง
ตีพิมพในวารสารไทยและตางประเทศ ประมาณ 20 เรื่อง
ประสบการณดานการสอน
-อาจารยพิเศษ (ปริญญาตรี) สาขาวิชาสัตวศาสตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
งานบริการวิชาการและงานเกียรติคุณ
-ใหคำปรึกษาดานวิชาการพืชอาหารสัตวและโภชนศาสตรสัตวเคี้ยวเอื้อง
การเลี้ยงโคนมแกเกษตรกร เปนประจำ เฉลี่ย 7 ครั้งตอเดือน
สาขาที่มีความสนใจและมีความชำนาญพิเศษ
-งานวิจัยเกี่ยวกับพืชอาหารสัตวและโภชนศาสตรสัตวเคี้ยวเอื้อง
-งานวิจัยเกี่ยวกับพืชพลังงาน
ความเปนมาและลักษณะทั่วไป 2

หญาเนเปยรปากชอง 1 เปนหญาลูกผสมเนเปยรสายพันธุหนึ่ง ซึ่งเกิดจากการ


ผสมขามพันธุระหวางหญาเนเปยรยักษและหญาไขมุก เปนพืชอาหารสัตวที่มีศักยภาพสูง
ทั้งในแงการใหผลผลิต และมีคุณคาทางอาหารสัตวดีตามที่สัตวตองการ เหมาะสำหรับ
ใชเลี้ยงสัตว โดยเฉพาะสัตวเคี้ยวเอื้อง เชน โคนม โคเนื้อ กระบือ แพะ และแกะ

ปจจุบันกรมปศุสัตวไดสนับสนุนสงเสริมใหเกษตรกรปลูกกันอยางแพรหลาย
ทั่วประเทศไทย หญาเนเปยรสายพันธุนี้มีอายุหลายปโตเต็มที่สูงประมาณ 4 เมตร มีระบบ
รากที่แข็งแรง แผกระจายอยูในดิน ดูดซึมน้ำและปุยไดดี ลักษณะลำตนและทรงตนตั้งตรง
ปลูกขยายพันธุ โดยใชทอนพันธุ
3
ลักษณะเดน
เติบโตเร็ว ใหผลผลิตตอไรสงู โปรตีนสูง มีความนากินสูง สัตวชอบกิน

ลักษณะเดน
ตอบสนองตอการใหนำ้ และปุย ดีิ แตกกอดี แกชา ทนแลง ในฤดูหนาวยังเติบโตไดดไี มชงัก
ไมมรี ะยะพักตัว ใบและลำตนออนนุม ขอบใบไมคมไมมขี น ทีท่ ำใหเกิดอาการคันคาย
ระยะออกดอกสัน้ ไมตดิ เมล็ด ใหผลผลิตตลอดทัง้ ป มีปริมาณน้ำตาลในใบและลำตนสูง
ทำเปนหญาหมักโดยไมจำเปนตองเติมสารเสริมใดๆ ปรับตัวไดดใี นดินหลายสภาพ
ไมมโี รคและแมลงรบกวน เก็บเกีย่ วงาย ปลูกครัง้ เดียวสามารถเก็บเกีย่ วไดนานถึง 6-7 ป
เหมาะกับเกษตรกรทีม่ พี น้ื ทีจ่ ำกัด

ขอบใบไมคมไมมีขน ลำตนออนนุม

เก็บเกี่ยวงาย ตอบสนองตอน้ำและปุยดี
4
พื้นที่ปลูกที่เหมาะสม
พื้นที่ปลูกที่เหมาะสม

ปลูกไดทั่วทุกภาคของประเทศไทย เจริญเติบโตไดดีในดินหลายประเภท ไมวา


จะเปนดินรวนปนทราย ดินเหนียว หรือดินลูกรัง ชอบดินที่มีการระบายน้ำดีและมีความ
อุดมสมบูรณ ทนแลง แตไมทนน้ำทวมขัง ตองการน้ำฝน ประมาณ 1,000 มิลลิเมตร/ป
เมื่อเปรียบเทียบกับออยที่ตองการน้ำฝน 1,200-1,500 มิลลิเมตร/ป

กลาวไดวา ในพืน้ ทีแ่ หงแลงทีป่ ลูกออยไดกส็ ามารถปลูกหญาเนเปยรสายพันธุน ไ้ี ด


สำหรับพื้นที่ลุมหรือที่นาที่น้ำอาจจะทวมขังใหยกรองเพื่อระบายน้ำก็จะสามารถ
ปลูกไดเชนกัน
หญ า เนเป ย ร ส ายพั น ธุ  น ี ้ ต  อ งการแสงแดดเพื ่ อ ใช ใ นการเจริ ญ เติ บ โต
พบวาการปลูกใกลรมเงาหรือที่รมในสวนผลไมจะใหผลผลิตไมมาก จึงควรปลูกใน
บริเวณพื้นที่ที่มีแสงแดดสองถึงอยางเพียงพอ
5

ชวงเวลาปลูก และการเตรียมดิน
ชวงเวลาปลูก
ในเขตชลประทานหรือเขตทีท่ ำการใหนำ้ ได สามารถปลูกไดตลอดทัง้ ป
สวนการปลูกในเขตอาศัยน้ำฝนควรปลูกตนฤดูฝน ประมาณเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคม

เขตชลประทานหรือมีแหลงน้ำ นอกเขตชลประทานไมมีแหลงน้ำ
ปลูกไดตลอดทั้งป ปลูกในตนฤดูฝน

การเตรียมดิน
เพื่อใหหญาที่ปลูกไดรับแสงแดดอยางเต็มที่ พื้นที่ที่จะปลูกควรโลงเตียน ไมควรมี
ตนไมใหญขึ้นบัง ในกรณีที่ตองการวางแผนใหน้ำแบบรองลูกฟูก พื้นที่ควรมีความลาดเท
เพียงพอ ที่จะสามารถใหน้ำไดสะดวก

หญาเนเปยรสายพันธุนี้เปนพืชที่ปลูกเพียงครั้งเดียว สามารถไวตอ และเก็บเกี่ยว


ผลผลิตไดตอเนื่องนาน 6-7 ป โดยไมตองปลูกใหม การเตรียมดินสำหรับปลูก
มีหลักการสำคัญคือ ตองไถดินใหลึกมากที่สุดเทาที่จะทำได โดยเฉพาะในกรณีที่
ปลูกปลายฝน แตถาปลูกตนฤดูฝนก็ไมจำเปนตองไถใหดินแตกมากนัก การไถดิน
แตกละเอียดเกินไป จะทำใหหนาดินเกาะกันเปนแผนเมื่อฝนตก มักเกิดการไหลบา
ทวมผิวดินมากขึ้นและน้ำซึม ลงใตดินไดนอยลง
6
เครื่องมือประกอบการไถเตรียมดินที่ใชกันมาก คือ ไถจาน ทั้งแบบ 4 จาน
และ 7 จาน หรือไถหัวหมู การใชไถจานจะสามารถไถกลบดินไดดี แตมักมีปญหาสำคัญ
การเตรียมดิน

อยูที่ไถดิน ไดตื้นกวาไถหัวหมู หากมีตอไม หิน และกรวดจะทำใหเครื่องมือเสียหายงาย


และมักเสียเวลาทำงานมาก กอนการไถเตรียมดินควรเก็บ กรวด หิน และตอไม
ออกจากแปลงเพื่อลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับเครื่องมือ

ในพื ้ น ที ่ ท ี ่ ม ี ก ารปลู ก พื ช ชนิ ด อื ่ น มาเป น เวลานานและมี เ ครื ่ อ งจั ก รกล


เขาทำงานในแปลงบอยๆ ทำใหเกิดการอัดตัวของดินจนเปนชั้นดินดานแข็งลาง
ควรมีการไถระเบิดชั้นดินดาน ซึ่งไถดินไดลึกไมต่ำกวา 40 เซนติเมตร
จะชวยใหรากหญาที่ปลูกหยั่งลงไปในดินไดลึกยิ่งขึ้น ทำใหหญาสามารถใชน้ำใตดิน
ไดอยางเต็มที่ นอกจากนี้พบวาดินดานบนมักจะแนนมาก มีผลใหปจจัยในดิน
ที่จำเปนสำหรับการเจริญเติบโตของหญาที่ปลูกซึ่งไดแก น้ำ อากาศ และอินทรียวัตถุ
อยูในสัดสวนที่ไมเหมาะสม
7
การเตรียมดินและการปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพของดินจึงเปนสิ่งจำเปน
โดยการไถพรวนที่เหมาะสม และการเติมอินทรียวัตถุลงในดิน เพื่อชวยใหดินรวนซุยขึ้น

การเตรียมดิน
อินทรียวัตถุที่ใชเติมลงในแปลงปลูกมีหลายชนิด เชน ปุยคอก ปุยหมัก ปุยพืชสด
กากตะกอนของบอแกสชีวภาพจากโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร อัตราปุยคอกและ
ปุยหมักที่แนะนำ 2,000 กิโลกรัม/ไร หรือใสปุยรองพื้นโดยใชปุยเคมีสูตร 15-15-15
อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร
ขั้นตอนการเตรียมดิน

1.ไถกำจัดวัชพืช 2.ตากดินทิ้งไวประมาณ 5-7 วัน

3.ใสปุยคอก ปุยหมัก 4.คลุกเคลาใหเขากัน

หญาเนเปยรสายพันธุนี้เจริญเติบโตไดดี ในดินที่มีความเปนกรดเปนดาง 6.0 -


7.5 แปลงที่จะปลูกถาเคยปลูกพืชชนิดอื่นและใสปุยเคมีมาเปนเวลานานอาจทำใหดิน
มีปฏิกิริยาเปนกรดได ถาหากระดับความเปนกรดสูงเกินไปหรือมี pH ต่ำจะทำให
ธาตุอาหารพวกฟอสฟอรัส แคลเซียม และแมกนีเซียม อยูในรูปที่ไมละลายน้ำ
ซึ่งทำใหหญาที่ปลูก ไมสามารถนำไปใชประโยชนในการเจริญเติบโตได ขณะที่ธาตุ
อาหารอีกกลุมหนึ่ง คือ เหล็ก ทองแดง แมงกานีส สังกะสี และอะลูมิเนียม จะละลาย
ออกมาอยูในสารละลายดินมากเกินไปจนอยูในระดับที่เปนพิษกับหญาที่ปลูกได
8
ดินที่เปนกรดสามารถจัดการปรับเปลี่ยนไดโดยการใสปูนขาวลงในดิน ซึ่งนอกจาก
จะชวยลดระดับความเปนกรดของดินแลว ยังเพิ่มธาตุอาหารพืช โดยเฉพาะ
การเตรียมวัสดุปลูก

แคลเซียมใหแกดินดวย ในทางกลับกันดินที่ใชปลูกบางชุด ที่มีปฏิกิริยาเปนดางมาก


หรือมี pH สูงเกินไป จะทำใหธาตุอาหารจำพวกเหล็ก ทองแดง แมงกานีส และสังกะสี
เปลี่ยนไปอยูในรูปที่ไมละลายน้ำพืชก็ไมสามารถใชประโยชนได นอกจากนี้ปฏิกิริยา
ดินยังอาจทำใหสมดุลของปริมาณจุลินทรียในดินเปลี่ยนแปลงจนทำใหเกิดผลลบกับ
หญาที่ปลูกได การปรับระดับความเปนกรดเปนดางของดินใหอยูในระดับที่เหมาะสม
จะสามารถทำใหหญาเจริญเติบโตไดอยางรวดเร็วและใหผลผลิตสูง

การเตรียมวัสดุปลูก
การเตรียมตนพันธุสำหรับปลูกนับวาเปนขั้นตอนหนึ่ง ที่มีผลตอความสำเร็จ
หรือลมเหลวของการปลูกหญาเนเปยรสายพันธุนี้ ตนพันธุที่ใชควรมาจากแปลง
เพาะพั น ธุ  ท ี ่ ม ี ค วามสมบู ร ณ แ ข็ ง แรงและท อ นพั น ธุ  ต  อ งมี ต าที ่ ส มบู ร ณ
ทอนพันธุควรอายุประมาณ 3-4 เดือน
การปลูก
9
ทำไดโดยใชแรงงานคน หรือปลูกดวยเครื่องปลูก
- สำหรับการปลูกพื้นที่ขนาดเล็กและใชแรงงานคน

การปลูก
ภายหลังจากที่เตรียมดินเสร็จ เพื่อปองกันการสูญเสียความชื้นจากดินควรปลูก
ทันที ตนพันธุที่เตรียมไวใหตัดเปนทอนๆ ใหมีขอติดอยูทอนละ 2 ขอ นำไปปลูกโดย
ใชระยะปลูกระหวางแถว 120 เซนติเมตร ระหวางตน 80 เซนติเมตร ปลูกหลุมละ 2 ทอน
ปกไขวทอนพันธุเอียง 30 องศา ให 1 ขอจมอยูในดินประมาณ 1-2 นิ้ว

80 เซนติเมตร
ตัดทอนพันธุ ใหมีขอติดอยู 2 ขอ

120 เซนติเมตร

ปกไขวทอนพันธุเอียง 30 องศา ให 1 ขอจมอยูในดินประมาณ 1-2 นิ้ว


- การยกรองปลูกหรือปลูกแบบออย
10
เปนวิธีการปลูกอีกวิธีหนึ่งที่ชวยการปฏิบัติงานสะดวกมากขึ้น ทั้งในการปลูก
การใหน้ำ และการระบายน้ำ ซึ่งจะชวยใหรากสามารถหยั่งลึกลงไปในดินไดดี
การปลูก

การยกรองควรวางแนวรอง ขวางแนวลาดเอียงของพื้นที่ เพื่อลดการพัดพา


ของดินเนื่องจากน้ำและทำใหน้ำซึมลงดินไดดีขึ้น การปลูกปลายฝนตองไถใหลึกและ
ยกรองใหสูง ภายหลังจากการยกรองเสร็จควรปลูกทันที อยาเปดรองไวนาน
เพื่อปองกันการสูญเสียความชื้นจากดิน การปลูกลึกจะชวยใหทนแลงไดดี ผลผลิตสูง
และไวตอ ไดนานกวาการปลูกตื้น การปลูกโดยการยกรองปลูก ระยะรองหางกัน
ประมาณ 85 เซนติเมตร นำตนพันธุทั้งลำวางลงในรองลำตอลำ แลวใชมีดสับ
ใหลำตนขาดออกจากกัน ภายหลังจากวางตนพันธุเรียบรอยแลว ควรกลบดินใหมี
ความหนาพอประมาณ ถาปลูกขามแลงจะตองกลบดินใหหนากวาการปลูกตนฝน

85 เซนติเมตร

ระยะรองหางกัน 85 เซนติเมตร ใชมีดสับใหลำตนขาด ออกจากกัน

หญาเริ่มงอกตามรอง
11
- การปลูกในพื้นที่ขนาดใหญอาจปลูกโดยใชเครื่องปลูก
ซึ่งสามารถปลูกไดรวดเร็วและสม่ำเสมอ เครื่องปลูกสามารถทำงานไดหลาย
อยางคือเริ่มตั้งแตเปดรอง ตัดตนพันธุทั้งลำออกเปนทอน วางทอนพันธุ ใสปุยและกลบ

การปลูก
ในเวลา 1 ชั่วโมงสามารถปลูกไดประมาณ 3-4 ไร

การปลูกอาจมีวิธีการปลูก ระยะปลูก และอัตราปลูกแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับ


ความพรอมของเกษตรกร สภาพแวดลอม พื้นที่ปลูก และความสะดวกในการ
ใชเครื่องมือปลูก ชวงแรกของการปลูก ทอนพันธุตองการน้ำมาก ควรรดน้ำ
ใหชุมทุกวัน จะทำใหอัตรางอกดี แตอยาใหน้ำทวมขังแปลงปลูก จะทำใหทอนพันธุเนา
และตายได
การกำจัดวัชพืช 12
วั ช พื ช เป น ป ญ หาอย า งหนึ ่ ง ที ่ ม ี ค วามสำคั ญ และส ง ผลให ผ ลผลิ ต ของหญ า
เนเปยรสายพันธุนี้ลดต่ำลงเปนอันมาก ควรจะมีการกำจัดวัชพืชตั้งแตยังมีขนาดเล็กอยู
การกำจัดวัชพืช

เพราะวัชพืชอายุมากความยุงยากในการกำจัดก็เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ และทำใหผลผลิต
ลดลง ใหกำจัดวัชพืชครั้งแรก หลังจากปลูกประมาณ 2-3 สัปดาห โดยใชแรงงานคน
แรงงานสัตว หรือเครื่องจักรกลเกษตร การใชแรงงานคนเปนวิธีที่ใชกันอยูทั่วไป ไดแก
ใชมือถอน หรือใชจอบถาก วิธีนี้เหมาะสมสำหรับเกษตรกรที่มีพื้นที่ปลูกนอยๆ
แตในพื้นที่ขนาดใหญอาจจะทำไดชา ไมทันเวลากับการเติบโตของหญาที่ปลูก สวนการ
ใชแรงงานสัตวนั้นเปนการใชวัวควายลากไถ เพื่อพรวนดินและกำจัดวัชพืช วิธีนี้สะดวก
กวาแรงคน และควรทำในขณะที่วัชพืชไมโตจนเกินไป อยางไรก็ตามการใชแรงงาน
สั ต ว จ ะมี ค วามสะดวกบนดิ น เนื ้ อ หยาบหรื อ ดิ น เนื ้ อ ทรายมากกว า ดิ น เหนี ย ว
ในทางปฏิบัติมักทำควบคูไปกับการใชแรงงานคน โดยใชจอบถากวัชพืชที่อยูใกล
บริเวณตนหญาที่ปลูก การปลูกที่มีพื้นที่ขนาดใหญอาจใชเครื่องจักรกลเกษตร เชน
รถไถดินเดินตาม หรือแทรกเตอรขนาดใหญติดเครื่องมือพรวน (จอบหมุนตีนเปด
หรือคราดสปริง) เขากำจัดวัชพืชโดยวิ่งไประหวางแถวหญาที่ปลูก สวนใหญจะกำจัด
วัชพืชแคครั้งเดียว

กำจัดวัชพืชโดยใชแรงงานคน กำจัดวัชพืชโดยเครื่องจักร

หลังจากกำจัดวัชพืชใหใสปุยยูเรีย (46-0-0) กอละ 1 ชอนโตะ เรงใหหญาตั้งตัว


และเจริญเติบโตเร็ว แตกกอดี ใบเขียวเขมดกงาม ลำตนสูงใหญ ทำใหคลุมวัชพืช
ที่เกิดขึ้นอีกในแปลงได ซึ่งวัชพืชจะชะงักการเจริญเติบโตและตายไป
13
การใหน้ำ
หญาเนเปยรสายพันธุนี้ตอบสนองตอการใหน้ำไดดีมาก ถาสามารถวางระบบ

การใหน้ำ
การใหน้ำในแปลงปลูกไดจะมีการเจริญเติบโต และใหผลผลิตสูงตอเนื่องตลอดทั้งป
การใหน้ำสามารถใหไดหลายระบบ เชน สปริงเกิ้ลน้ำเหวี่ยง มินิสปริงเกิ้ล ทอน้ำหยด
เทปน้ำพุง หรือปลอยไหลไปตามรองหนาดิน

สปริงเกิ้ลน้ำเหวี่ยง มินิสปริงเกิ้ล

เทปน้ำพุง ปลอยไหลไปตามรองหนาดิน

การใหน้ำแบบระบบน้ำหยดหากสามารถใสปุยไปพรอมกับน้ำไดเลย จะยิ่งชวย
ประหยัดเวลา และทำใหการใสปุยไดผลดีมากขึ้น พบวาการใหน้ำแบบระบบสปริงเกิ้ล
น้ำเหวี่ยง และ มินิสปริงเกิ้ล ทุกๆ 3-5 วัน หรือปลอยน้ำไหลไปตามรองหนาดินทุกๆ
7-10 วัน ทำใหหญาสามารถใหผลผลิตไดตลอดทั้งป
14
การเก็บเกี่ยวผลผลิต
เพื่อใหระบบรากของหญาพัฒนาเจริญเติบโตและแข็งแรงเต็มที่ ใหตัดครั้งแรก
การเก็บเกี่ยวผลผลิต

หลังปลูก ประมาณ 75 วัน จากนั้น ใหตัดทุกๆ 45-60 วัน การตัดหญาทำไดโดยการใช


มีด เคียว เครื่องตัดหญาสะพายไหล เครื่องเก็บเกี่ยว Double Chopper หรือ
เครื่องเก็บเกี่ยว M-I
การเก็บเกี่ยวหญาเนเปยรสายพันธุนี้ ตองตัดใหชิดดินที่สุด เพื่อให
แตกหนอใหมจากใตดิน จะทำใหมีขนาดโตอวบอวน แลวจะกลายเปนลำตนที่สมบูรณ
ใหผลผลิตสูง ถาตัดสูงเหลือขอไวจะมีแขนงออกมาจากขางขอ ลำตนเล็กทำให
ไดผลผลิตต่ำ
การตัดหญาดวยวิธีตางๆ

มีด หรือ เคียว เครื่องตัดหญาสะพายไหล เครื่องเก็บเกี่ยว Double Chopper

ตองตัดใหชิดดินที่สุด เพื่อไดลำตนที่สมบูรณใหผลผลิตสูง

การปลูกในเขตชลประทานหรือเขตที่ทำการใหน้ำไดและมีการใสปุยสม่ำเสมอ
ตัดไดปละ 5-6 ครั้ง ใหผลผลิตน้ำหนักสดประมาณ 100 ตัน/ไร/ป
การปลูกในพื้นที่ 1 ไรพบวาสามารถเลี้ยงโคได 7-8 ตัว ตลอดทั้งป
15

การใสปุยหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
การใสปุยหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
หลังการตัดหญาทุกครั้งใหใสปุยคอกและปุยยูเรีย เพื่อหญาแตกกอมาก
ไดขนาดลำตนใหญอวบ ใบดกเขียวเขมงาม ทำใหผลผลิตสูง และมีโปรตีนสูงสม่ำเสมอ
การใสปุยคอกควรใสประมาณครึ่งบุงกี๋โปะลงไปที่โคนกอ ไมวาจะเปนในรูปสด
หรือแหง แลวรีบใหน้ำทันที หรือทำบอเกรอะรองรับขี้วัวและน้ำฉีดลางคอก
ใหไหลมารวมกัน แลวสูบไปรดแปลงหญาโดยตรงเลยก็ได

ปุยคอก ใสปุยโปะลงไปที่โคนกอ

สำหรับปุย ยูเรียใหใสหลังจากหนอใหมทแ่ี ตกจากใตดนิ โผลขน้ึ มา ประมาณ 2 สัปดาห


โดยใสกอละ 1 ชอนโตะ เมือ่ เก็บเกีย่ วไปครบ 3 รอบ ถาจะใหดคี วรสลับมาใหปยุ สูตร
15-15-15 แทนปุย ยูเรียบาง ทัง้ นีเ้ พือ่ รักษาความสมดุลของธาตุอาหารหลักในแปลงหญา

ปุยยูเรียใหใสหลังจากแตกหนอใหม หยอดปุยลงไปที่โคนกอ
16
การผลิตหญาหมัก
เนื่องจากหญาเนเปยรสายพันธุนี้ใหผลผลิตตอไรสูง ผลผลิตหญาสดที่เหลือจาก
การผลิตหญาหมัก

การเลี้ยงสัตว ใหเก็บถนอมหญาไวเลี้ยงสัตวในยามขาดแคลน โดยวิธีการทำหญาหมัก


เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาการเนาเสีย และหญาหมักมีน้ำมากเกินไป ใหทำดังนี้

- ใหตัดหญาเมื่ออายุประมาณ 60 วัน หรือใหตัดแลวผึ่งหญาไวในรม 1 วัน

- สับดวยเครื่องสับใหเปนชิ้นๆ ขนาดยาว 2-3 เซนติเมตร

- บรรจุในภาชนะ เชน ถุงพลาสติคที่หุมดวยถุงสาน ถังเก็บหญาหมัก หรือบอหมัก


17
- ใชเครื่องดูดอากาศออก หรือไลอากาศออกมากที่สุด

การใชเลี้ยงสัตว
- ปดภาชนะใหสนิท แลวนำไปเก็บในที่รมประมาณ 21 วันจึงนำมาใชเลี้ยงสัตว

การใชเลี้ยงสัตว
หญาเนเปยรสายพันธุนี้ ใชเลี้ยงสัตวไดทั้งในรูปหญาสดและหญาหมัก หญาที่
เก็บเกี่ยวเมื่ออายุนอยประมาณ 45 วัน นำไปใหโคกินสดไดเลย โดยไมตองบดสับ
ถาเก็บเกี่ยวเมื่ออายประมาณ 60 วัน ขึ้นไปควรเขาเครื่องสับเสียกอน เพื่อชวยใหสัตว
กินไดหมดทุกสวน ทำใหสัตวสามารถใหผลผลิตไดอยางเต็มที่
18
ขอเปรียบเทียบกับหญาเนเปยรสายพันธุอื่นๆ
ปจจุบันในประเทศไทยมีการปลูกหญาเนเปยรหลายสายพันธุ เชน หญาบานา
หญาอาลาฟล หญาเนเปยรยักษ ซึ่งลักษณะประจำพันธุดังนี้
ขอเปรียบเทียบ

- หญาบานา เติบโตเร็ว ใหผลผลิตสูง ลำตนใหญอวบ แตการตอบสนองตอการใหน้ำ


ในหนาหนาวไมดีนัก จึงใหผลผลิตต่ำในหนาหนาว และมีขนที่ใบมากทำใหเกิดการ
คันคายเมื่อสัมผัส
- หญาอาลาฟล เติบโตเร็ว ใหผลผลิตสูง และใบดกนุม แตถากระทบอากาศหนาว
ก็ออกดอกทันที ถึงแมจะตัดแลวใหน้ำใหปุย ตนที่เกิดออกมาใหมก็จะออกดอก จึงให
ผลผลิตต่ำในหนาหนาว
- หญาเนเปยรยักษ เติบโตเร็ว ใหผลผลิตสูง ลำตนใหญอวบ มีขนที่ใบมาก ทำใหเกิด
การคันคายเมื่อสัมผัส แกเร็ว ลำตนและใบแข็งเมื่ออายุมาก

คุณคาทางโภชนะของหญาเนเปยรปากชอง 1 กับหญาอื่นๆ
% วัตถุแหง
รายการ วัตถุแหง
คารโบไฮเดรต
(%) โปรตีน ไขมัน เยื่อใยรวม เถา
ที่ละลายน้ำได
เนเปยรปากชอง 1
ตัดที่อายุ 45 วัน 14.9 15.9 1.3 35.8 14.5 36.5
ตัดที่อายุ 60 วัน 18.3 12.6 1.2 42.6 12.3 33.3
รูซี่
ตัดที่อายุ 45 วัน 21.2 8.6 1.8 30.0 8.8 50.8
ตัดที่อายุ 60 วัน 25.6 6.6 1.4 31.9 9.0 51.1
กินนีสีมวง
ตัดที่อายุ 45 วัน 22.6 7.9 1.2 35.5 10.7 44.7
ตัดที่อายุ 60 วัน 24.6 7.1 1.2 33.4 10.0 48.3
แพงโกลา
ตัดที่อายุ 45 วัน 25.2 7.8 1.6 32.3 8.1 50.2
ตัดที่อายุ 60 วัน 27.9 7.5 1.6 35.1 8.8 47.0
ที่มา: เฉลา พิทักษสินสุข จริยา บุญจรัชชะ และ จีรพัฒน วงศพิพัฒน .2553.
การรวบรวมและจัดทำขอมูลดานคุณคาทางโภชนะของพืชอาหารสัตว.รายงานผลงานวิจัยประจำป 2553.
กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ.77 หนา.
19
คาใชจายในการปลูกหญาเนเปยรปากชอง1 (บาท/ไร)

คาใชจายในการปลูก
รายการ รูปแบบการใสปุย
ปุยเคมี ปุยคอก
1. คาไถ (จางเหมาเตรียมพื้นที่)
- ไถจาน 4 300 300
- ไถจาน 7 300 300
- ไถพรวน 300 300
2. คาวัสดุการเกษตร
- คาทอนพันธุ กก.ละ 3 บาท 1,200 1,200
- คาปุยเคมีสูตร 15-15-15 กก.ละ 16 บาท 800
- คาปุยคอกรองพื้น กก.ละ 2 บาท 4,000
3. คาแรงงานในการปลูก
- คาปลูก/เตรียมทอนพันธุ 750 750
4. คากำจัดวัชพืช
- จอบหมุนติดรถไถ 300 300
คาใชจายรวม (บาท) 3,950 6,350
หมายเหตุ : ขอมูลคาใชจายจัดทำขึ้นเมื่อป 2554
เครื่องจักรกลเกษตรและวัสดุอุปกรณตางๆ ที่เกี่ยวของ 20
เครื่องจักรกล/วัสดุอุปกรณ
เครื่องจักรกลเกษตรและวัสดุอุปกรณตางๆ ที่ใชในการปลูกหญาและ
ทำหญาหมัก ในแตละขั้นตอนมีตอไปนี้
1) การเตรียมดิน ไดแก รถแทรกเตอร จาน 4 จาน 7 และจอบหมุนตีนเปด

2) การปลูก ไดแก รถแทรกเตอร และเครื่องปลูก

3) การกำจัดวัชพืช ไดแก จอบ เสียม รถแทรกเตอร จอบหมุนตีนเปด และคราดสปริง

4) การเก็บเกี่ยว ไดแก มีด เคียว รถแทรกเตอร เครื่องเก็บเกี่ยว double chopper


และเครื่องเก็บเกี่ยว M-I

5) การทำหญาหมัก ไดแก เครื่องดูดอากาศ เครื่องอัดหญาหมัก ถุงพลาสติคใส


และถุงพลาสติคสาน
ประสานงานการจัดทำโดย

สนับสนุนการผลิตโดย

ติดตอขอรับเอกสารเพิ่มเติมไดที่
โทรศัพท 08-9968-3720 หรือ Download ไดที่ www.milkforthai.org

You might also like