Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 123

PDP 2010

กฟผ
ก.ฟ.ผ

ก า ร ไ ฟ ฟ้ า ฝ่ า ย ผ ลิ ต แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย

สรุป
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย
แผนพฒนากาลงผลตไฟฟาของประเทศไทย
พ.ศ. 2553-2573

รายงานเลขที่ 912000-5304 ฝ่ ายวางแผนระบบไฟฟ้ า


เมษายน 2553
สรุป
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย
พ.ศ. 2553-2573

ฝ่ ายวางแผนระบบไฟฟ้า
การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่ งประเทศไทย
เมษายน 2553
สารบัญ
หน้า
1. บทนํา 1
2. บทสรุ ป 3
3. สมมติฐานในการจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย (PDP 2010) 12
4. การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ า 18
5. แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2573 (PDP 2010) 21
5.1 กําลังผลิตไฟฟ้ าในช่วงปี 2553-2563 21
5.2 กําลังผลิตไฟฟ้ าในช่วงปี 2564-2573 24
5.3 การผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียน 26
5.4 การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ า 28
6. การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้ า (Demand Side Management : DSM) 37
7. พลังงานหมุนเวียน 41
7.1 แผนพลังงานทดแทน 15 ปี ของกระทรวงพลังงาน 41
7.2 โครงการพลังงานหมุนเวียนของ กฟผ. 41
7.3 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Small Power Producer : SPP)
พลังงานหมุนเวียน 43
7.4 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (Very Small Power Producer : VSPP)
พลังงานหมุนเวียน 44
8. โครงการผลิตไฟฟ้ าระบบการผลิตพลังงานความร้อนและไฟฟ้ าร่ วมกัน
(Cogeneration) 47
8.1 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กระบบการผลิตพลังงานความร้อน
และไฟฟ้ าร่ วมกัน (SPP Cogeneration) 47
8.2 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมากระบบการผลิตพลังงานความร้อน
และไฟฟ้ าร่ วมกัน (VSPP Cogeneration) 48
9. โครงการโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ 49
10. การลดปริ มาณการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกในภาคการผลิตไฟฟ้ า 53
11. แผนพัฒนาระบบส่ งไฟฟ้ า 56
ภาคผนวก

หน้า
1. เปรี ยบเทียบแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย 65

2. แผนที่ระบบไฟฟ้ า 69

3. กําลังผลิตไฟฟ้ าในปั จจุบนั 73

4. ระบบส่ งไฟฟ้ าในปั จจุบนั 77

5. สถิติและพยากรณ์การผลิตพลังไฟฟ้ าและพลังงานไฟฟ้ า 81

6. ประมาณการกําลังผลิตไฟฟ้ าแยกตามประเภทโรงไฟฟ้ า 87

7. กําหนดปลดโรงไฟฟ้ า 91

8 ประมาณการการผลิตพลังงานไฟฟ้ าแยกตามประเภทเชื้อเพลิง 95

9. แผนพลังงานหมุนเวียนและปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าจาก 99

ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP) และ รายเล็กมาก (VSPP)

10. โครงการขยายระบบส่ งไฟฟ้ า 107


1. บทนํา

ตามที่กระทรวงพลังงานร่ วมกับการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้จดั ทํา


แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย โดยฉบับล่าสุ ดคือ แผน PDP 2007 ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 2
ซึ่งปรับปรุ งจากแผน PDP 2007 ซึ่งคณะรัฐมนตรี ได้ให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2550 และ
PDP 2007 ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 1 ซึ่งคณะรัฐมนตรี รับทราบการปรับปรุ งแผนดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 18
ธันวาคม 2550 ตามลําดับ

เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ทางเศรษฐกิจได้ส่งผลให้ความต้องการใช้ไฟฟ้ า
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก อีกทั้งเพื่อให้เกิดความชัดเจนของการพัฒนาในภาคการผลิตไฟฟ้ า
กระทรวงพลังงานจึงได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการพิจารณาปรับปรุ งแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟ้ า
ของประเทศไทยเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2552 เพื่อดําเนินการจัดทําแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟ้ าฉบับ
ใหม่ และมีการแต่งตั้งคณะทํางานทบทวนสมมติฐานแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย
เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2552 โดยการจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย (PDP 2010) นี้
ได้กาํ หนดให้เป็ นแผนฉบับ Green PDP ที่ให้ความสําคัญกับความมัน่ คงระบบไฟฟ้ า การลดการปล่อย
ก๊าซเรื อนกระจกจากโรงไฟฟ้ า การเพิ่มประสิ ทธิภาพการใช้พลังงาน และการส่ งเสริ มการผลิตไฟฟ้ า
อย่างมีประสิ ทธิภาพ ด้วยระบบผลิตไฟฟ้ าและความร้อนร่ วมกัน (Cogeneration) รวมทั้งนําโครงการที่มี
ความชัดเจนในการดําเนินการได้แก่ การรับซื้อไฟฟ้ าจาก SPP ระบบ Cogeneration และการรับซื้อ
ไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้านซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี แล้ว ตลอดจนการกําหนด
ประมาณการปริ มาณพลังงานหมุนเวียนให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี และการ
ปรับปรุ งตามข้อมูลที่ได้จากการรับฟังความคิดเห็นในการจัดทําแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟ้ าของ
ประเทศไทย PDP 2007 ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 2 เพื่อให้เกิดความชัดเจนในด้านการจัดหาไฟฟ้ าของ
ประเทศและการส่ งเสริ มการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียนเพื่อกระตุน้ ให้เกิดการลงทุนด้านพลังงาน
และให้เห็นภาพการลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกจากการขยายกําลังการผลิตไฟฟ้ าในอนาคตอย่างเป็ น
รู ปธรรม เพื่อนําไปใช้ในการพิจารณาวางแผนการลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกจากภาคพลังงานต่อไป
ดังนั้น กฟผ. จึงได้จดั ทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2573 (PDP 2010) ขึ้น
โดยมีประเด็นสําคัญดังนี้
(1) ขยายแผนการพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าจาก 15 ปี เป็ น 20 ปี (พ.ศ. 2553-2573)
(2) ปรับค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าตามผลการศึกษาเบื้องต้นของโครงการประมาณ
การณ์แนวโน้มเศรษฐกิจไทยระยะยาว

1
(3) วิเคราะห์ผลประหยัดพลังไฟฟ้ าจากโครงการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้ า (Demand Side
Management: DSM) ในการพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ า และการจัดทําแผน
(4) ปรับประมาณการการรับซื้อไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียนตามกรอบแผนพัฒนา
พลังงานทดแทน 15 ปี (2551-2565) ของกระทรวงพลังงาน เข้ามาบรรจุในแผน
(5) ปรับสัดส่ วนการรับซื้อไฟฟ้ าจาก SPP ให้สอดคล้องกับการดําเนินการรับซื้อไฟฟ้ าจาก
SPP ในช่วงปี 2552-2558 และสอดคล้องกับมติ กพช. เมื่อวันที่ 24 ส.ค. 52 เรื่ องแนวทางการส่ งเสริ ม
การผลิตไฟฟ้ าด้วยระบบ Cogeneration
(6) ทบทวนสัดส่ วนการรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน บรรจุโครงการที่มีความ
ชัดเจนในอนาคต
(7) พิจารณาปรับลดปริ มาณการปล่อยก๊าซเรื อนกระจก

แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2573 (PDP 2010) ฉบับนี้


คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ได้มีมติเห็นชอบในการประชุม เมื่อวันที่ 12 มีนาคม
2553 และ คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2553

2
2. บทสรุป

2.1 สถานภาพปัจจุบัน

ในปี พ.ศ. 2552 (สิ้ นสุ ดธันวาคม 2552) ความต้องการการผลิตไฟฟ้ าสู งสุ ดสุ ทธิของ
ประเทศเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2552 มีค่าเท่ากับ 22,315.4 เมกะวัตต์ ซึ่งสู งกว่าปี 2551 จํานวน
78.4 เมกะวัตต์ หรื อเพิม่ ขึ้นร้อยละ 0.35

2.1.1 แหล่ งผลิตไฟฟ้า กําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศเมื่อสิ้ นสุ ดเดือนธันวาคม 2552 มี


จํานวนรวมทั้งสิ้ น 29,212 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย โรงไฟฟ้ าของ กฟผ. 14,328.1 เมกะวัตต์ (ร้อยละ
49.0) และการรับซื้อไฟฟ้ าจากเอกชน 14,883.9 เมกะวัตต์ (ร้อยละ 51.0) ซึ่งประกอบด้วย การรับซื้อ
ไฟฟ้ าจากเอกชนในประเทศ จํานวน 14,243.9 เมกะวัตต์ (ร้อยละ 48.8) และรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศ
เพื่อนบ้านจํานวน 640 เมกะวัตต์ (ร้อยละ 2.2) (รายละเอียดแสดงไว้ในภาคผนวก 3)

2.1.2 ระบบส่ งไฟฟ้า ระดับแรงดันไฟฟ้ ามาตรฐานในระบบส่ งของ กฟผ. ประกอบด้วย


500 กิโลโวลต์ 230 กิโลโวลต์ 132 กิโลโวลต์ 115 กิโลโวลต์ และ 69 กิโลโวลต์ ที่ความถี่ 50 เฮิร์ทซ์
เมื่อสิ้ นเดือนธันวาคม 2552 สายส่ งมีความยาวทั้งสิ้ น 30,446 วงจรกิโลเมตร แยกเป็ นสายส่ ง 500 กิโล
โวลต์ 3,722 วงจรกิโลเมตร สายส่ ง 230 กิโลโวลต์ 13,393 วงจรกิโลเมตร สายส่ ง 132 กิโลโวลต์ 9
วงจรกิโลเมตร สายส่ ง 115 กิโลโวลต์ 13,280 วงจรกิโลเมตร สายส่ ง 69 กิโลโวลต์ 19 วงจร
กิโลเมตร และสายส่ งกระแสตรง (HVDC) 300 กิโลโวลต์ 23 วงจรกิโลเมตร โดยมีสถานีไฟฟ้ าแรงสูง
500 กิโลโวลต์ จํานวน 10 แห่ ง ติดตั้งหม้อแปลง 15,850 เอ็มวีเอ สถานีไฟฟ้ าแรงสูง 230 กิโล
โวลต์ จํานวน 68 แห่ง ติดตั้งหม้อแปลง 41,860 เอ็มวีเอ สถานีไฟฟ้ าแรงสู ง 132 กิโลโวลต์ ติดตั้ง
หม้อแปลง 133 เอ็มวีเอ สถานีไฟฟ้ าแรงสูง 115 กิโลโวลต์ จํานวน 131 แห่ง ติดตั้งหม้อแปลง
14,556 เอ็มวีเอ และสายส่ งกระแสตรง (HVDC) 300 กิโลโวลต์ ติดตั้งหม้อแปลง 388 เอ็มวีเอ รวมมี
สถานีไฟฟ้ าแรงสูงทั้งสิ้ น 209 แห่ง มีพิกดั หม้อแปลงรวมทั้งสิ้ น 72,787 เอ็มวีเอ (รายละเอียดแสดงไว้ใน
ภาคผนวก 4)

3
2.2 ประเด็นพิจารณาในการจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ า
ของประเทศไทย (PDP 2010)
2.2.1 ในการการจัดทําแผนฯ ใช้ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ า โดยอาศัยข้อมูลการ
พยากรณ์ระดับจําหน่ายจาก กฟภ. และ กฟน. ด้วยวิธีประมาณการแนวโน้มในอนาคตทางสถิติ
(Regression) และใช้ค่าอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP growth) กรณี ฐาน จากผลการศึกษาเบื้องต้น
ของ สศช. เพื่อเร่ งปรับแผนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบนั และเพื่อให้เกิดความชัดเจนในการ
พัฒนาตามแผนที่มีภาระผูกพันแล้ว หรื อมีแผนงานที่ชดั เจนแล้ว ให้สามารถดําเนินการได้อย่างต่อเนื่อง

2.2.2 พิจารณาผลประหยัดไฟฟ้ าจากโครงการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้ า (DSM) จากข้อมูล


ของ สนพ. โดยโครงการที่มีการดําเนินการต่อเนื่องอยูแ่ ล้ว จะถูกรวมอยูใ่ นประมาณการแนวโน้มใน
อนาคตทางสถิติ ในขณะที่โครงการใหม่ที่ยงั ไม่มีการดําเนินการมาก่อนหรื อเป็ นนวัตกรรมใหม่ ได้หกั
จากค่าพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้ า

2.2.3 ประมาณการปริ มาณการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียนในช่วงปี 2553-2565 ตาม


กรอบแผนพลังงานทดแทน 15 ปี ของกระทรวงพลังงาน หลังจากนั้นในปี 2566-2573 ขยายปริ มาณ
พลังงานหมุนเวียนตามประมาณการรายปี

2.2.4 พิจารณาปรับสัดส่ วนการรับซื้อไฟฟ้ าจาก SPP ให้สอดคล้องกับการดําเนินการรับ


ซื้อไฟฟ้ าจาก SPP ในช่วงปี 2552-2558 และสอดคล้องกับมติ กพช. เมื่อวันที่ 24 สิ งหาคม 2552
เรื่ องแนวทางการส่ งเสริ มการผลิตไฟฟ้ าด้วยระบบ Cogeneration และกําหนดสัดส่ วนการรับซื้อไฟฟ้ า
จาก SPP ระบบ Cogeneration ตั้งแต่ปี 2565 ปี ละ 360 เมกะวัตต์

2.2.5 ระดับกําลังผลิตไฟฟ้ าสํารองไม่ต่าํ กว่าร้อยละ 15 หรื อปริ มาณกําลังผลิตที่มีความ


เสี่ ยงต่อการจัดหาก๊าซธรรมชาติฝั่งตะวันตก ซึ่งจะมีผลกระทบต่อกําลังผลิตจํานวน 6,961 เมกะวัตต์
ทําให้ระดับกําลังผลิตสํารองที่เหมาะสมในช่วงแรกของแผนอาจสูงกว่าร้อยละ 20

2.2.6 กําลังผลิตใหม่ที่เป็ นทางเลือกที่จะบรรจุในแผนฯ ประกอบด้วย โรงไฟฟ้ าถ่านหิ น


สะอาดขนาด 800 เมกะวัตต์โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่ วมขนาด 800 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ขนาด
1,000 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้ ากังหันแก๊สขนาด 250 เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้ าพลังนํ้าแบบสูบกลับ
ลําตะคองส่ วนขยาย ขนาด 500 เมกะวัตต์

4
2.2.7 รักษาดุลยภาพของปริ มาณการใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้ าโดยกําหนด
โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่ วมทดแทนโรงไฟฟ้ าที่ปลดออกจากระบบ

2.2.8 ปรับลดปริ มาณการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกจากโรงไฟฟ้ าที่จะเข้าระบบในอนาคต


กําหนดเป้ าหมายให้สามารถลดปริ มาณการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกต่อหน่วยพลังงานไฟฟ้ าในปี
2563 ตํ่ากว่าแผนฯ เดิม (PDP2007 ปรับปรุ งครั้งที่ 2)

2.2.9 การพิจารณาสัดส่ วนการใช้ทรัพยากรพลังงานและเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ า


พิจารณาดังนี้
-พลังงานหมุนเวียน ตามกรอบแผนพลังงานทดแทน 15 ปี และ SPP Cogeneration
ถูกกําหนดเข้าแผนฯก่อนเป็ นลําดับแรกหลังจากนั้นจึงจัดสัดส่ วนที่เหลือด้วยโรงไฟฟ้ าทางเลือกประเภท
อื่น
-โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ พิจารณาให้มีการพัฒนาไม่เกินปี ละ 1 หน่วย ติดต่อกัน 2 ปี
และเว้นช่วง 2 ปี เพื่อลดภาระการลงทุน
-การรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้านให้มีสดั ส่ วนไม่เกินร้อยละ 25 ของกําลัง
ผลิต
-โรงไฟฟ้ าส่ วนที่เหลือเป็ นการพิจารณาระหว่างโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่ วมที่ใช้
ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชื้อเพลิง ซึ่งกําหนดให้ก่อสร้างบนพื้นที่โรงไฟฟ้ าเดิมของ กฟผ. ที่ปลดออกจาก
ระบบไป และโรงไฟฟ้ าถ่านหิ นซึ่งใช้เทคโนโลยีถ่านหิ นสะอาด

2.3 แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย (PDP 2010)


จากข้อมูลแหล่งผลิตไฟฟ้ าในอนาคต การรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน ประมาณการ
ความต้องการใช้ไฟฟ้ า และสมมติฐานในการวางแผนดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น กฟผ. และ กระทรวง
พลังงานได้จดั ทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2573 (PDP 2010) ดังนี้

2.3.1 โครงการโรงไฟฟ้ าในช่วงปี 2553-2563 ประกอบด้วย


- โรงไฟฟ้ าที่ก่อสร้างโดย กฟผ. 4,821 เมกะวัตต์
- โครงการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายใหญ่ (IPP) 4,400 เมกะวัตต์
- โครงการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP) 3,539 เมกะวัตต์
- โครงการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 2,335 เมกะวัตต์

5
- โครงการโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่ วมใหม่เพื่อสนับสนุน
การผลิต LPG ที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ อ.ขนอม 800 เมกะวัตต์
- รับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน 5,669 เมกะวัตต์

2.3.2 โครงการโรงไฟฟ้ าใหม่ในช่วงปี 2564-2573 ประกอบด้วย


- โรงไฟฟ้ าใหม่ของ กฟผ. (พลังงานหมุนเวียน) 97 เมกะวัตต์
- โรงไฟฟ้ าใหม่ของ กฟผ. (ก๊าซธรรมชาติ) 13x800 เมกะวัตต์
- โรงไฟฟ้ าใหม่ของ กฟผ. (ถ่านหิ นสะอาด) 8x800 เมกะวัตต์
- โรงไฟฟ้ าใหม่ของ กฟผ. (นิวเคลียร์) 4x1,000 เมกะวัตต์
- โครงการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP) 3,800 เมกะวัตต์
- โครงการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 1,745 เมกะวัตต์
- รับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน 6,000 เมกะวัตต์

รายละเอียดแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2573 (PDP 2010)


แสดงรายชื่อโรงไฟฟ้ าที่จะดําเนินการแล้วเสร็ จในช่วงปี 2553-2563 และ ช่วงปี 2564-2573 ได้แสดงไว้
ในตารางที่ 2.1 และ 2.2 ตามลําดับ

2.3.3 แผนการดําเนินงานต่อเนื่องจาก PDP 2010


ตามที่การจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิตแห่งประเทศไทย PDP 2010 นี้ มีเป้ าหมายเพื่อ
ลดการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกตามนโยบายด้านสิ่ งแวดล้อม ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว และได้กาํ หนด
มาตรฐานตลอดจนแนวทางการดําเนินการ ดังรายละเอียดในบทที่ 10 นั้น กฟผ. มีการเตรี ยมความ
พร้อมตอบสนองนโยบายดังกล่าวโดยมี แผนการดําเนินงาน ดังนี้
- การศึกษาทางเลือกเพิ่มเติมและแนวทางการพัฒนาโครงการจัดการด้านการใช้
ไฟฟ้ า (DSM) อย่างต่อเนื่อง
- โครงการเพิม่ ประสิ ทธิภาพโรงไฟฟ้ าเก่าของ กฟผ. โดยมีการพิจารณาศักยภาพ
และแนวทางการดําเนินการแยกรายโรงไฟฟ้ า
- โครงการปรับปรุ งระบบส่ งไฟฟ้ าเพื่อลดการสูญเสี ยพลังงานในระบบ
- การจัดทําแผนพัฒนาพลังงานหมุนเวียนของ กฟผ. เพื่อให้สอดคล้องกับ
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ า PDP 2010 และแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี

6
2.3.4 แนวทางการรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้านรวมทั้ง SPP และ VSPP พลังงาน
หมุนเวียน

ปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้านรายปี ที่กาํ หนดในแผน เป็ นประมาณ


การไว้ในเบื้องต้นเพื่อจัดทําแผนระยะยาว การรับซื้อจริ งขึ้นอยูก่ บั ขนาดกําลังผลิตของแต่ละโครงการ
รวมทั้งกําหนดแล้วเสร็ จที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ ทั้งนี้การรับซื้อจะเป็ นไปภายใต้
กรอบความร่ วมมือตามบันทึกข◌้อตกลงระหว่างรัฐบาลที่ได้ลงนามกันไว้

สําหรับการรับซื้อไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียน (SPP และ VSPP) ที่กาํ หนดไว้ใน


แผนนั้น เป็ นประมาณการเบื้องต้นเพื่อจัดทําแผนระยะยาว โดยพิจารณาจากกรอบแผนพลังงานทดแทน
15 ปี ของกระทรวงพลังงาน และมีการปรับปรุ งข้อมูลบางส่ วนตามสถานะภาพการรับซื้อในปัจจุบนั
จนถึงสิ้ นปี 2552 อนึ่งการรับซื้อจริ งจะขึ้นอยูก่ บั ศักยภาพของโครงการแต่ละประเภท และจะต้อง
สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐ

7
ตารางที่ 2.1
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยในช่ วงปี 2553-2563
PDP 2010
ความต้ องการ กําลังผลิต กําลังผลิตไฟฟ้ า
ปี ไฟฟ้าสู งสุ ด โครงการโรงไฟฟ้า สํ ารองตํ่าสุ ด
(เมกะวัตต์ ) (เมกะวัตต์ ) (%)
2552 22,044.9 กําลังผลิตไฟฟ้ า ถึง ธันวาคม 2552 29,212 27.6
2553 23,249 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 367 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Renewables) (มิ.ย.) 90 MW
ซื้ อจากโครงการใน สปป.ลาว(นํ้าเทิน 2) (มี.ค.) 920 MW
รฟ.พระนครเหนื อ ชุดที่ 1 (พ.ค.) 670 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (พ.ย.) 90 MW 31,349 28.1
2554 24,568 ปลด รฟ.ขนอม เครื่ องที่ 1 (ก.ค.) -70 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 258 MW
พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 18 MW
ซื้ อจากโครงการใน สปป.ลาว (นํ้างึม 2) (ม.ค.) 597 MW
เขื่อนเจ้าพระยา # 1-2 (ม.ค.) 2x6 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Renewables) (มิ.ย.) 160 MW
เขื่อนนเรศวร (ต.ค.) 8 MW
บริ ษทั เก็คโค่วนั จํากัด (พ.ย.) 660 MW 32,992 27.1
2555 25,913 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 162 MW
เขื่อนแม่กลอง # 1-2 (ม.ค.) 2x6 MW
เขื่อนขุนด่านปราการชล (เม.ย.) 10 MW
เขื่อนป่ าสักชลสิ ทธิ์ (พ.ค.) 7 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Renewables) (มิ.ย.) 65 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.-ธ.ค.) 704 MW
ซื้ อจากโครงการในสปป.ลาว (เทินหิ นบุน ส่ วนขยาย) (ก.ค.) 220 MW 34,172 23.7
2556 27,188 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 187 MW
เขื่อนแควน้อย #1-2 (ม.ค.) 2x15 MW
พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 24 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มี.ค.-ก.ย.) 720 MW
บริ ษทั สยามเอ็นเนยี่จาํ กัด ชุดที่ 1-2 (มี.ค.,ก.ย.) 2x800 MW
บริ ษทั เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลายจํากัด เครื่ องที่ 1-2 (พ.ย.) 2x135 MW 37,003 25.4
2557 28,341 ปลด รฟ.บางปะกง เครื่ องที่ 1-2 (ม.ค.) -1052 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 192 MW
พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 18 MW
บริ ษทั เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลายจํากัด เครื่ องที่ 3-4 (มี.ค.) 2x135 MW
รฟ.วังน้อย ชุดที่ 4 (มิ.ย.) 800 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.) 90 MW
บริ ษทั เพาเวอร์เจนเนอเรชัน่ ซัพพลายจํากัด ชุดที่ 1-2 (มิ.ย., ธ.ค 2x800 MW
รฟ.จะนะ ชุดที่ 2 (ก.ค.) 800 MW 39,720 23.4
2558 29,463 ปลด รฟ.ระยอง ชุดที่ 1-4 (ม.ค.) -1175 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 167 MW
พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 14 MW
รฟ.พลังนํ้าเขื่อนบางลาง(ปรับปรุ ง) (ม.ค.) 12 MW
ซื้ อจากโครงการในสปป.ลาว (หงสา เครื่ องที่ 1-2) (พ.ค.,ต.ค.) 2x491 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.) 270 MW 39,990 26.0

8
ตารางที่ 2.1 (ต่อ)
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยในช่ วงปี 2553-2563
PDP 2010
ความต้ องการ กําลังผลิต กําลังผลิตไฟฟ้ า
ปี ไฟฟ้าสู งสุ ด โครงการโรงไฟฟ้า สํ ารองตํ่าสุ ด
(เมกะวัตต์ ) (เมกะวัตต์ ) (%)
2559 30,754 ปลด รฟ.ขนอม เครื่ องที่ 2 (มิ.ย.) -70 MW
ปลด รฟ.ขนอม ชุดที่ 1 (ก.ค.) -678 MW
พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 17 MW
ซื้ อจากโครงการในพม่า (มาย-กก เครื่ องที่ 1-3) (ม.ค,เม.ย,ก.ค.) 3x123 MW
ซื้ อจากโครงการในสปป.ลาว (หงสา เครื่ องที่ 3) (ก.พ.) 491 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (มิ.ย.) 231 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.) 270 MW
รฟ.ใหม่_ภาคใต้ (ก.ค.) 800 MW 41,419 27.2
2560 32,225 ปลด รฟ.บางปะกง ชุดที่ 3 (ม.ค.) -314 MW
ปลด ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (เม.ย.-ต.ค.) -180 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 229 MW
พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 11 MW
ซื้ อจากโครงการในสปป.ลาว (นํ้างึม 3) (ม.ค.) 440 MW
เขื่อนลําตะคองชลภาวัฒนา (สู บกลับ เครื่ องที่ 3-4) (มิ.ย.) 2x250 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.) 270 MW 42,374 23.2
2561 33,688 ปลด รฟ.บางปะกง ชุดที่ 4 (ม.ค.) -314 MW
ปลด รฟ.นํ้าพอง ชุดที่ 1 (ม.ค.) -325 MW
ปลด ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (ก.พ.-เม.ย.) -42 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 176 MW
พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 30 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 270 MW
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (มิ.ย.) 450 MW 42,619 17.3
2562 34,988 ปลด ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (มิ.ย.-ก.ย.) -185 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 177 MW
พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 8 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 270 MW
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (มิ.ย.) 600 MW
รฟ.ถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 1 (มิ.ย.) 800 MW 44,289 15.0
2563 36,336 ปลด รฟ.พระนครใต้ ชุดที่ 1 (ม.ค.) -316 MW
ปลด รฟ.นํ้าพอง ชุดที่ 2 (ม.ค.) -325 MW
ปลด บริ ษทั ไตรเอนเนอยี่ (มิ.ย) -700 MW
ปลด ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (ก.พ.-ส.ค.) -188 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 190 MW
พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 22 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 270 MW
รฟ.นิ วเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 1 (ม.ค.) 1000 MW
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (มิ.ย.) 600 MW 44,842 15.6
รวมกําลังผลิตที่เพิ่มขึ้น ในช่วงปี 2553-2563 21,564 เมกะวัตต์
โรงไฟฟ้ าที่ปลดออกจากระบบ ในช่วงปี 2553-2563 - 5,933 เมกะวัตต์

9
ตารางที่ 2.2
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยในช่ วงปี 2564-2573
PDP 2010
ความต้ องการ กําลังผลิต กําลังผลิตไฟฟ้ า
ปี ไฟฟ้าสู งสุ ด โครงการโรงไฟฟ้า สํ ารองตํ่าสุ ด
(เมกะวัตต์ ) (เมกะวัตต์ ) (%)
2564 37,856 ปลด ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (ก.พ.-ต.ค.) -200 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 135 MW
พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 61 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 380 MW
รฟ.นิ วเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 2 (ม.ค.) 1000 MW
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 600 MW
รฟ.ถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 2 (มิ.ย.) 800 MW 47,618 15.4
2565 39,308 ปลด รฟ.บางปะกง เครื่ องที่ 3 (ม.ค.) -576 MW
ปลด ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (ส.ค.-ต.ค.) -150 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 294 MW
พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 36 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 360 MW
รฟ.ก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 1 (ม.ค.) 800 MW
ซื อไฟฟ้ าจากประเทศเพือนบ้าน (ม.ค.) 600 MW 48,982 16.0
2566 40,781 ปลด รฟ.วังน้อย เครื่ องที่ 1-3 (ม.ค.) -1910 MW
ปลด รฟ.พระนครใต้ ชุดที่ 2 (ม.ค.) -562 MW
ปลด รฟ.บางปะกง
รฟ บางปะกง เครองท
เครื่ องที่ 4 (ม.ค.)
(ม ค ) -576
576 MW
ปลด เทินหิ นบุน (ม.ค.) -214 MW
ปลด อีสเทอร์น เพาเวอร์ (เม.ย.) -350 MW
ปลด ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (เม.ย.) -41 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 146 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 360 MW
รฟ.ก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 2-6 (ม.ค.) 5x800 MW
รฟ.ถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 3 (ม.ค.) 800 MW
ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 600 MW 51,235 16.7
2567 42,236 ปลด ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (ก.พ.-ก.ย.) -680 MW
ปลด รฟ.แม่เมาะ เครื่ องที่ 4 (ม.ค.) -140 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 148 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 360 MW
รฟ.นิ วเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 3 (ม.ค.) 1000 MW
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 600 MW 52,523 16.5
2568 43,962 ปลด รฟ.แม่เมาะ เครื่ องที่ 5-6 (ม.ค.) -280 MW
ปลด ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (เม.ย.-ต.ค.) -244 MW
ปลด บ.ผลิตไฟฟ้ าอิสระ (ก.ย.) -700 MW
ปลด รฟ.ราชบุรี เครื่ องที่ 1-2 (พ.ย.) -1440 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 163 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 360 MW
รฟ.นิ วเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 4 (ม.ค.) 1000 MW
รฟ.ก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 7 (ม.ค.) 800 MW
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 600 MW 52,782 16.3

10
ตารางที่ 2.2 (ต่อ)
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยในช่ วงปี 2564-2573
PDP 2010
ความต้ องการ กําลังผลิต กําลังผลิตไฟฟ้ า
ปี ไฟฟ้าสู งสุ ด โครงการโรงไฟฟ้า สํ ารองตํ่าสุ ด
(เมกะวัตต์ ) (เมกะวัตต์ ) (%)
2569 45,621 ปลด รฟ.แม่เมาะ เครื่ องที่ 7 (ม.ค.) -140 MW
ปลด ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (ก.ย.) -5 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 159 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 360 MW
รฟ.ก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 8-9 (ม.ค.) 2x800 MW
รฟ.ถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 4-5 (ม.ค.) 2x800 MW
ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 600 MW 56,956 15.9
2570 47,344 ปลด ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (ก.พ.) -15 MW
ปลด รฟ.ราชบุรี ชุดที่ 1-2 (พ.ค.) -1360 MW
ปลด รฟ.ราชบุรี ชุดที่ 3 (พ.ย.) -681 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 169 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 360 MW
รฟ.ก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 10 (ม.ค.) 800 MW
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 600 MW 56,830 15.4
2571 49,039 ปลด ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (ม.ค.-ธ.ค.) -95 MW
ปลด โกลว์ ไอพีพี (ก.พ.) -713 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก็ มาก (VSPP) (ม.ค.) 173 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 360 MW
รฟ.นิ วเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 5 (ม.ค.) 1000 MW
รฟ.ก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 11-12 (ม.ค.) 2x800 MW
รฟ.ถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 6-7 (ม.ค.) 2x800 MW
ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 600 MW 61,355 16.3
2572 50,959 ปลด รฟ.แม่เมาะ เครื่ องที่ 8 (ม.ค.) -270 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 179 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 360 MW
รฟ.ก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 13 (ม.ค.) 800 MW
รฟ.ถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 8 (ม.ค.) 800 MW
ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 600 MW 63,824 16.3
2573 52,890 ปลด รฟ.แม่เมาะ เครื่ องที่ 9 (ม.ค.) -270 MW
ปลด ห้วยเฮาะ (ม.ค.) -126 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 179 MW
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 540 MW
รฟ.ถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 9 (ม.ค.) 800 MW
ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 600 MW 65,547 15.0
รวมกําลังผลิตที่เพิ่มขึ้น ในช่วงปี 2564-2573 32,442 เมกะวัตต์
โรงไฟฟ้ าที่ปลดออกจากระบบ ในช่วงปี 2564-2573 - 11,737 เมกะวัตต์
กําลังผลิตไฟฟ้ าถึง ธันวาคม 2552 29,212 เมกะวัตต์
รวมกําลังผลิตที่เพิ่มขึ้น ในช่วงปี 2553-2573 54,005 เมกะวัตต์
โรงไฟฟ้ าที่ปลดออกจากระบบ ในช่วงปี 2553-2573 - 17,671 เมกะวัตต์
รวมกําลังผลิตไฟฟ้าทั้งสิ้นถึงปี 2573 65,547
, เมกะวัตต์

11
3. สมมุตฐิ านในการจัดทําแผนแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ า
ของประเทศไทย (PDP2010)
สมมุติฐานสําคัญที่ใช้ในการจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศสามารถ
พิจารณาได้เป็ น 3 ส่ วนได้แก่
1. ความมัน่ คงของระบบไฟฟ้ า
- ระดับกําลังผลิตไฟฟ้ าสํารองของระบบไฟฟ้ า
- สัดส่ วนการรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน
2. พลังงานสะอาด และประสิ ทธิภาพการใช้พลังงาน
- การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้ า (Demand Side Management: DSM)
- ปริ มาณการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียน
- การผลิตพลังไฟฟ้ าจากระบบ Cogeneration
- การลดการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจก
3. ค่าพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้ า

3.1 ระดับกําลังผลิตไฟฟ้ าสํ ารองของระบบไฟฟ้ า


เมื่อพิจารณาสถานการณ์ความเสี่ ยงในการจัดหาก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็ นเชื้อเพลิงหลักใน
การผลิตไฟฟ้ าปัจจุบนั โดยเฉพาะกรณี การหยุดจ่ายก๊าซธรรมชาติฉุกเฉิ นของแหล่งก๊าซฯ และระบบท่อ
ก๊าซฝั่งตะวันตกหลายครั้งที่ผา่ นมาทําให้ระดับกําลังผลิตไฟฟ้ าสํารองที่เหมาะสมอาจสู งกว่าร้อยละ 20
นอกจากนี้ยงั ควรมีการกระจายแหล่งเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ าอย่างหลากหลายเช่น ถ่านหิ น นิวเคลียร์
พลังงานหมุนเวียน และการรับซื้อไฟฟ้ าต่างประเทศ

3.2 สั ดส่ วนการรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน


ปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้านที่กาํ หนดในแผนฯ พิจารณาจากโครงการที่
มีความชัดเจนในการดําเนินการเช่น เป็ นโครงการที่ผา่ นการลงนามบันทึกข้อตกลงราคาไฟฟ้ า (Tariff
MOU) แล้ว และกําหนดกรอบการรับซื้อตามสัดส่ วนจํานวนประเทศที่รับซื้อไฟฟ้ า ตามผลการศึกษา
การรับซื้อไฟฟ้ าจากแหล่งผลิตที่อยูน่ อกระบบไฟฟ้ าดังนี้
1. ปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าจาก 1 ประเทศ ไม่เกิน 13 % ของกําลังผลิตทั้งหมด
2. ปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าจาก 2 ประเทศ ไม่เกิน 25 % ของกําลังผลิตทั้งหมด
3. ปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าจาก 3 ประเทศ ไม่เกิน 33 % ของกําลังผลิตทั้งหมด
4. ปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าจาก 4 ประเทศ ไม่เกิน 38 % ของกําลังผลิตทั้งหมด

12
3.3 การจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ า (Demand Side Management: DSM)
ในการจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าฉบับนี้ ได้พิจารณาผลประหยัดไฟฟ้ าจากโครงการ
จัดการด้านการใช้ไฟฟ้ า (DSM) ที่ประมาณการในระดับการใช้ไฟฟ้ า (Consumption) และพิจารณาผล
ประหยัดพลังไฟฟ้ า ณ เวลาที่เกิดการใช้พลังไฟฟ้ าสูงสุ ดของระบบ (Peak Load) อย่างไรก็ตามการ
พยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้ าโดยใช้แนวโน้มทางสถิติ (Regression) สามารถครอบคลุมผลของ DSM
ที่เป็ นการรณรงค์ส่งเสริ มด้านการประหยัด การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพอุปกรณ์ไฟฟ้ า ซึ่งอาศัยกลไก
ทางการตลาด ตามพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภคที่มีวิวฒั นาการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องมาจากอดีตถึงปัจจุบนั สู่
อนาคต เช่น ฉลากเบอร์ 5 ได้ในตัวแบบการพยากรณ์อยูแ่ ล้ว ดังนั้น จึงมีเพียง DSM ที่เป็ นอุปกรณ์
รู ปแบบใหม่หรื อเป็ นนวัตรกรรม เช่น โครงการ T5 เท่านั้น ที่ยงั ไม่มีขอ้ มูลแนวโน้มที่เคยเกิดขึ้นในอดีต
และค่าพยากรณ์โดย Regression ไม่ครอบคลุม จึงพิจารณาหักผลประหยัดไฟฟ้ าจากโครงการ T5 จาก
ค่าพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้ าที่ระดับการใช้ไฟฟ้ า

3.4 ปริมาณการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียน


การพิจารณาปริ มาณการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียนในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ า
นั้น พบว่าโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ยนื่ เสนอขายเข้ามาในปัจจุบนั ยังมีความไม่ชดั เจน ด้านความซํ้า
ซ้อนของสถานที่ต้ งั และไม่มีหลักประกันว่าจะดําเนินการจริ ง นอกจากนี้ยงั ต้องพิจารณาผลกระทบต่อ
ความมัน่ คงในระบบไฟฟ้ า และความพร้อมของระบบส่ งไฟฟ้ าที่จะรองรับการเชื่อมต่อของโครงการ
อีกด้วย จากเหตุผลดังกล่าวในการจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ า PDP 2010 จึงกําหนดปริ มาณ
พลังงานหมุนเวียน ตามกรอบแผนพลังงานทดแทน 15 ปี จนถึงปี 2565 หลังจากนั้นควบคุมสัดส่ วนให้
มีการผลิตพลังงานไม่ต่าํ กว่า 5% โดยใช้ผลการประมาณการ VSPP ของการไฟฟ้ าฝ่ ายจําหน่าย โดย
สามารถสรุ ปปริ มาณพลังงานหมุนเวียนดังนี้
แผนการผลิตพลังไฟฟ้าสะสมจากพลังงานหมุนเวียน (เมกะวัตต์ )
ประเภท ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ แสงอาทิตย์ ขยะ พลังงานลม พลังนํ้า รวม
ธันวาคม 2552 663.04 49.04 9.23 10.82 3.07 18.33 753.52
ณ สิ้ นปี 2565 2,272.04 152.04 707.23 159.32 1,231.07 281.33 4,803.02
ณ สิ้ นปี 2573 3,032.04 176.04 1,107.23 183.32 1,321.07 281.33 6,101.02
หมายเหตุ : รวมกําลังผลิต SPP สัญญา Non-firm จํานวน 730 เมกะวัตต์
นอกจากนี้ในการพิจารณากําลังผลิตพึ่งได้ของพลังงานหมุนเวียนนั้น พลังงานหมุนเวียน
หลายประเภท ยังเป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่เริ่ มพัฒนาและดําเนินการเชิงพาณิ ชย์ ซึ่งไม่มีขอ้ มูลเพียงพอที่จะ
ให้ความมัน่ ใจต่อการพึ่งพากําลังผลิตในระบบไฟฟ้ า โดยเฉพาะพลังงานหมุนเวียนที่มีความไม่แน่นอน
เช่น พลังงานลม และแสงอาทิตย์ ประกอบกับข้อมูลที่มีอยูใ่ นปัจจุบนั มักเป็ นค่าเฉลี่ยรายวันหรื อ

13
รายเดือน ซึ่งไม่สามารถสะท้อนผลกระทบต่อระบบไฟฟ้ าที่ตอ้ งพิจารณาขณะเวลาใดเวลาหนึ่งได้
ดังนั้นในระยะแรกของการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนเชิงพาณิ ชย์ในแผนฯ ควรพิจารณากําลังผลิตพึ่งได้
ในระดับที่หลีกเลี่ยงความเสี่ ยงต่อความมัน่ คงของระบบไฟฟ้ า (Risk Aversion) จากนั้นเมื่อมีขอ้ มูล
เพิ่มขึ้นจากโครงการที่ดาํ เนินการได้จริ ง และสามารถสร้างความมัน่ ใจต่อการพึ่งพากําลังผลิตในระบบ
ไฟฟ้ า จึงปรับมาตรฐานการพิจารณากําลังผลิตพึ่งได้ต่อไป

3.5 การผลิตพลังไฟฟ้ าจากระบบ Cogeneration


ในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ านี้ ได้พิจารณาปรับสมมุติฐานเพิ่มปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ า
จาก SPP Cogeneration ให้สอดคล้องกับการดําเนินการรับซื้อไฟฟ้ าจาก SPP ในช่วงปี 2552-2558 และ
สอดคล้องกับมติ กพช. เมื่อวันที่ 24 ส.ค. 52 เรื่ องแนวทางการส่ งเสริ มการผลิตไฟฟ้ าด้วยระบบ
Cogeneration โดยกําหนดให้มี SPP Cogeneration จํานวน 2,000 เมกะวัตต์ ในช่วงปี 2558–2564 และ
ในช่วงปี 2565–2573 กําหนดให้มีปริ มาณเพิ่มขึ้นอีกปี ละ 360 MW ทั้งนี้เพื่อเป็ นการเพิ่มสัดส่ วนการใช้
พลังงานอย่างมีประสิ ทธิภาพในระบบ Cogeneration ทําให้สามารถใช้โครงสร้างพื้นฐานก๊าซธรรมชาติ
ที่มีอยูใ่ ห้เกิดประโยชน์มากขึ้น ตามที่รัฐบาลมีแนวโน้มให้การสนับสนุน ส่ งเสริ มให้มีการบริ หาร
จัดการก๊าซธรรมชาติ และพื้นที่อุตสาหกรรมที่มีการใช้ไอนํ้าที่เหมาะสม
แผนการผลิตพลังไฟฟ้าจาก Cogeneration (เมกะวัตต์ )
ประเภทผูผ้ ลิต SPP-Firm SPP-NonFirm VSPP รวม สะสม
ปั จจุบนั ณ ธันวาคม 2552 1,787 169 6 1,962 1,962
เสนอขายแล้วสิ้ นปี 2557 1,604 40 65 1,709 3,671
อนุมตั ิ กพช. 2558 - 2564 2,000 - 23 2,023 5,694
เพิ่มปี ละ 360 MW 2565-2573 3,420 - 25 3,445 9,139
รวม 8,811 209 119 9,139

3.6 การพยากรณ์ ความต้ องการไฟฟ้ า


จากผลการศึกษาค่าพยากรณ์เศรษฐกิจไทยระยะยาวเบื้องต้น โดย สศช. ร่ วมกับสถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ ได้มีการจัดทําค่าพยากรณ์ GDP ในระยะยาว (เบื้องต้น) ไว้ 3 กรณี คือ
กรณี สูง กรณี ฐาน และกรณี ต่าํ คณะอนุกรรมการพิจารณาปรับปรุ งแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟ้ าของ
ประเทศไทย จึงพิจารณาให้ใช้ GDP กรณี ฐาน เป็ นเกณฑ์ในการจัดทําค่าพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้ า
สําหรับจัดทําแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย PDP 2010 โดยค่าพยากรณ์ความต้องการ
พลังไฟฟ้ าสูงสุ ดเมื่อสิ้ นปี 2564 มีค่าประมาณ 37,718 เมกะวัตต์ ลดลงจากค่าพยากรณ์ความต้องการพลัง
ไฟฟ้ าสูงสุ ดที่ใช้ในการจัดทําแผน PDP 2007 ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 2 ประมาณ 6,563 เมกะวัตต์ ในขณะที่

14
ค่าพยากรณ์ความต้องการพลังไฟฟ้ าสูงสุ ดเมื่อสิ้ นสุ ดแผน PDP 2010 ในปี 2573 มีค่าประมาณ 52,691
เมกะวัตต์

3.7 การปรับลดการปลดปล่ อยก๊ าซเรือนกระจก


ในปี 2552 ภาคการผลิตไฟฟ้ ามีปริ มาณการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกต่อหน่วยพลังงาน
ไฟฟ้ าประมาณ 0.546 ก.ก. คาร์บอนไดออกไซด์ต่อหน่วยพลังงานไฟฟ้ า เพื่อเป็ นการสนองนโยบายการ
ส่ งเสริ มพลังงานสะอาด และ Green PDP จึงกําหนดแผนฯ ให้มีการลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกจาก
การขยายกําลังการผลิตไฟฟ้ าในอนาคตอย่างเป็ นรู ปธรรม เพื่อนําไปใช้ในการพิจารณาวางแผนการลด
การปล่อยก๊าซเรื อนกระจกจากภาคพลังงาน โดยกําหนดเป้ าหมายให้สามารถลดปริ มาณการปลดปล่อย
ก๊าซเรื อนกระจกต่อหน่วยพลังงานไฟฟ้ าในปี 2020 ตํ่ากว่าแผนฯ เดิม (PDP 2007 ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 2)
และหลังจากนั้นควบคุมอัตราการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกไม่ให้สูงขึ้น ในการควบคุมปริ มาณการ
ปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกให้เป็ นไปตามเป้ าหมาย จะพิจารณาปรับสัดส่ วนของโรงไฟฟ้ าประเภท
ต่างๆ โดยปรับลดจํานวนโรงไฟฟ้ าที่มีการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกมากลง

3.8 การกําหนดสั ดส่ วนกําลังผลิตใหม่ ในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ า


ของประเทศไทย
กําลังผลิตไฟฟ้ าใหม่ที่บรรจุในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าแห่ งประเทศไทย PDP 2010
พิจารณาจัดสรรสัดส่ วนระหว่างพลังงานหมุนเวียน ระบบ Co-generation การรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศ
เพื่อนบ้าน โรงไฟฟ้ าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชื้อเพลิง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ และโรงไฟฟ้ าถ่านหิ นสะอาด
โดยมีขอ้ กําหนดที่ใช้พิจารณาดังนี้

พลังงานหมุนเวียนและ Co-generation
พลังงานหมุนเวียนและSPP Cogeneration ถูกบรรจุในแผนฯ เป็ นลําดับแรก โดยปริ มาณ
พลังงานหมุนเวียนกําหนดตามกรอบแผนพลังงานทดแทน 15 ปี จนถึงปี 2565 หลังจากนั้นควบคุม
สัดส่ วนให้มีการผลิตพลังงานไม่ต่าํ กว่า 5% โดยใช้ผลการประมาณการ VSPP ของการไฟฟ้ าฝ่ าย
จําหน่าย ขณะที่ SPP Cogeneration เป็ นการสนับสนุนการใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิภาพ และการใช้
โครงสร้างพื้นฐาน ก๊าซธรรมชาติที่มีอยูใ่ ห้เกิดประโยชน์มากขึ้น โดยกําหนดปริ มาณตามที่มีการเสนอ
ขายจริ งถึงปี 2557 จากนั้นกําหนดปริ มาณรวม 2,000 เมกะวัตต์ ในช่วงปี 2558-2564 ตามมติ กพช. เมื่อ
วันที่ 24 สิ งหาคม 2552 หลังจากนั้นกําหนดให้มีปริ มาณขยายเพิ่มอีกปี ละ 360 เมกะวัตต์ ตั้งแต่ปี 2565-
2573

15
การรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน
การรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้านในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าแห่ งประเทศไทย
กําหนดให้มีสดั ส่ วนตํ่ากว่าร้อยละ 25 ของกําลังผลิต เมื่อพิจารณาการรับซื้อจาก 2 ประเทศ นอกจากนี้
ลักษณะโครงการส่ วนใหญ่ในประเทศเพื่อนบ้านเป็ นโครงการไฟฟ้ าพลังนํ้า ซึ่งไม่มีการปลดปล่อยก๊าซ
เรื อนกระจกในการผลิตไฟฟ้ า จึงสามารถกําหนดสัดส่ วนเป็ นตัวแปร ในการควบคุมการปลดปล่อยก๊าซ
เรื อนกระจก เพื่อจํากัดจํานวนโรงไฟฟ้ าเชื้อเพลิงฟอสซิลประเภทอื่นๆ เช่นโรงไฟฟ้ าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติ
และถ่านหิ น อย่างไรก็ตามปริ มาณที่กาํ หนดถูกจํากัดไม่เกินร้อยละ 25 ของกําลังผลิตทั้งหมดในระบบ
ไฟฟ้ า เพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ ยงต่อความมัน่ คงของระบบไฟฟ้ า

โรงไฟฟ้าทีใ่ ช้ ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชื้อเพลิง


จากประเด็นความเสี่ ยงในการจัดหาก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะกรณี ในระบบท่อก๊าซฝั่ง
ตะวันตก แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าแห่ งประเทศไทยฉบับนี้ จึงได้ลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติในการ
ผลิตไฟฟ้ า เพื่อบรรเทาความเสี่ ยงต่อความมัน่ คงระบบไฟฟ้ า โดยการกระจายเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ า
(Fuel Diversification) ไปสู่ พลังงานหมุนเวียน ระบบ Co-generation ถ่านหิ น พลังงานนิวเคลียร์ และ
การรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน อย่างไรก็ตามจําเป็ นต้องคํานึงถึงการใช้ทรัพยากรพลังงานใน
ประเทศ และการใช้โครงสร้างพื้นฐานด้านก๊าซธรรมชาติที่มีอยูเ่ ดิมหรื อมีการลงทุนอยูแ่ ล้ว ให้เกิด
ประโยชน์เต็มที่ ดังนั้นจึงได้กาํ หนดจํานวนโรงไฟฟ้ าก๊าซธรรมชาติ โดยพิจารณาเป็ นการทดแทน
โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่ วมที่หมดอายุ และถูกปลดออกจากระบบ

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์เป็ นโรงไฟฟ้ าฐานที่สามารถผลิตไฟฟ้ าอย่างต่อเนื่องได้เป็ นระยะ
เวลานาน จึงทําให้ระบบไฟฟ้ ามัน่ คง และยังมีตน้ ทุนการผลิตตํ่า จึงถูกกําหนดเข้าแผนโดยแบบจําลอง
การจัดสรรแหล่งผลิตไฟฟ้ า เนื่องจากส่ งผลให้ตน้ ทุนการผลิตไฟฟ้ าโดยรวมตลอดแผนฯ มีค่าตํ่า
นอกจากนี้การผลิตไฟฟ้ าโดยพลังงานนิวเคลียร์ยงั เป็ นพลังงานสะอาด ไม่ปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจก จึง
สามารถใช้เป็ นตัวแปร ในการควบคุมการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกในภาคการผลิตไฟฟ้ าได้อีกด้วย
อย่างไรก็ตามโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ยงั คงมีปัญหาด้านการยอมรับของชุมชน และต้องใช้เงินลงทุนสู ง ใน
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าแห่งประเทศไทยนี้ จึงจํากัดจํานวนโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ประมาณ 5 โรง โดยมี
สัดส่ วนกําลังผลิตไม่เกิน 10% ของกําลังผลิตทั้งหมดของระบบไฟฟ้ า และกําหนดให้มีการเว้นระยะการ
พัฒนาเป็ นช่วงๆ เพื่อลดภาระการลงทุน

16
โรงไฟฟ้าถ่ านหินสะอาด
โรงไฟฟ้ าถ่านหิ นเป็ นโรงไฟฟ้ าฐานทําให้ระบบไฟฟ้ ามีความมัน่ คง และมีตน้ ทุนการผลิต
ตํ่า จึงถูกกําหนดเข้าแผนโดยแบบจําลองการจัดสรรแหล่งผลิตไฟฟ้ า เนื่องจากส่ งผลให้ตน้ ทุนการผลิต
ไฟฟ้ าโดยรวมตลอดแผนฯ มีค่าตํ่า แต่ยงั มีขอ้ จํากัดในการหาที่ต้ งั โรงไฟฟ้ า มีการปลดปล่อยก๊าซเรื อน
กระจกในปริ มาณมาก และมีปัญหาด้านการยอมรับของชุมชน ซึ่งจําเป็ นต้องมีการให้ความรู ้ ความเข้าใจ
กับชุมชน แม้จะกําหนดเป็ นโรงไฟฟ้ าเทคโนโลยีถ่านหิ นสะอาด โดยใช้ระบบ Supercritical หรื อ Ultra-
supercritical และใช้ถ่านหิ นประเภท Bituminous เป็ นเชื้อเพลิง ตลอดจนติดตั้งอุปกรณ์ระบบ FGD เพื่อ
ลดปริ มาณการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกก็ตาม ดังนั้นจึงได้กาํ หนดจํานวนโรงไฟฟ้ าถ่านหิ นเท่าที่
จําเป็ นตามความต้องการใช้ไฟฟ้ าในระบบ ส่ วนที่เหลือจากโรงไฟฟ้ าประเภทอื่นๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการ
ปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจก

17
4. การพยากรณ์ ความต้ องการไฟฟ้ า

การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ านี้ เป็ นการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าในระบบไฟฟ้ าของ


ประเทศ เพื่อใช้ในการจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ า ซึ่งจะเรี ยกชื่อว่า “ค่ าพยากรณ์ ความต้ องการ
ไฟฟ้าฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2553” ดําเนินการโดยคณะทํางานจัดทําค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าซึ่ง
สมมติฐานต่างๆ ในการจัดทําค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าครั้งนี้ มีรายละเอียด ดังนี้
1. กําหนดขอบเขตการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าในช่วงปี 2553 – 2573
2. ใช้ขอ้ มูลความต้องการไฟฟ้ าที่เป็ นค่าที่เกิดขึ้นจริ งของปี 2552 ทั้งค่าพลังไฟฟ้ าสู งสุ ด (Peak)
และค่าพลังงานไฟฟ้ า (Energy)
3. ใช้ขอ้ มูลประมาณการแนวโน้มเศรษฐกิจไทยหรื อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross
Domestic Products: GDP) เป็ นข้อมูลพื้นฐานในการจัดทําค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ า
(ดังตารางที่ 4.1) ซึ่งที่ประชุมคณะทํางานจัดทําค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าได้เห็นชอบ
ให้ใช้ค่าประมาณการแนวโน้มเศรษฐกิจ (GDP) ดังนี้
 ในช่วงสั้น (ปี 2553 – 2554) ใช้ค่าประมาณการแนวโน้มเศรษฐกิจ (GDP) ที่
สอดคล้องกับค่าที่ใช้ในการจัดทํางบประมาณประจําปี 2554 ของทั้งสามการไฟฟ้ า
 ในช่วงยาว (ปี 2555 – 2567) ใช้ค่าประมาณการแนวโน้มเศรษฐกิจ (GDP) ระยะยาว
จากผลการศึกษา (เบื้องต้น) ของโครงการศึกษาและจัดทําข้อมูลพยากรณ์เศรษฐกิจ
ระยะยาว ซึ่งมีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ (นิดา้ ) เป็ นที่ปรึ กษาโครงการฯ
ภายใต้การกํากับดูแลจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่ งชาติ (สศช.)
 สําหรับในปี 2568 – 2573 ใช้ค่าประมาณการแนวโน้มเศรษฐกิจ (GDP) เท่ากับค่า
GDP ปี 2567 จากผลการศึกษาฯ (เบื้องต้น) ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์
(นิดา้ )
4. ใช้ขอ้ มูลประมาณการปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าที่การไฟฟ้ าฝ่ ายจําหน่ายรับซื้อจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ า
เอกชนรายเล็กมาก (Very Small Power Producer: VSPP) ประเภทพลังงานหมุนเวียน ให้
สอดคล้องกับแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี ของกระทรวงพลังงาน โดยกรมพัฒนา
พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ซึ่งแผนพัฒนาพลังงานหมุนเวียน 15 ปี นี้ ได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2552 ซึ่งรายละเอียดดังแสดง
ในบทที่ 7
5. ใช้ขอ้ มูลแผนอนุรักษ์พลังงานตามที่สาํ นักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) รวบรวม
และคํานวณ โดยนําข้อมูลโครงการการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้ า (Demand Side

18
Management: DSM) ไปปรับลดความต้องการไฟฟ้ าในระดับผูใ้ ช้ไฟฟ้ า (Consumption)
ทั้งนี้ จะคํานึงถึงเฉพาะโครงการหรื ออุปกรณ์ที่เป็ นโครงการใหม่ ซึ่งยังไม่รวมอยูใ่ นตัวแบบ
การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ า (รายละเอียด ดังแสดงในบทที่ 6)

ตารางที่ 4.1 ประมาณการแนวโนมเศรษฐกิจไทย (GDP) เบือ้ งต้ นเพือ่ การพยากรณความตองการไฟฟา


ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2553
(หน่วย: ร้อยละ)
ปี กรณีตา่ํ กรณีฐาน กรณีสูง
2553 3.41 3.41 3.41
2554 3.88 4.02 4.28
2555 3.84 4.24 4.78
2556 3.50 4.06 4.24
2557 4.32 4.78 5.12
2558 3.97 4.46 4.83
2559 3.82 4.28 4.61
2560 3.85 4.28 4.60
2561 3.68 4.10 4.43
2562 3.75 4.15 4.49
2563 3.87 4.24 4.58
2564 3.82 4.18 4.53
2565 3.63 4.01 4.37
2566 3.60 3.95 4.31
2567 3.58 3.92 4.28
2568 3.58 3.92 4.28
2569 3.58 3.92 4.28
2570 3.58 3.92 4.28
2571 3.58 3.92 4.28
2572 3.58 3.92 4.28
2573 3.58 3.92 4.28

ที่มา: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ (2553) รายงานผลการศึกษา (เบื้องต้น) โครงการศึกษาและจัดทําข้อมูล


พยากรณ์เศรษฐกิจไทยระยะยาว

19
ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ที่ใช้ในการจัดทําแผน PDP 2010
แสดงดังภาคผนวก 4 ทั้งนี้ในภาพรวมจะเห็นว่า ณ ปี 2573 ความต้องการพลังไฟฟ้ าสู งสุ ด (Peak) จะ
ประมาณ 52,890 เมกะวัตต์ หรื อเพิ่มขึ้นประมาณ 2.37 เท่าของปี 2552 (ซึ่งพลังไฟฟ้ าสูงสุ ดที่เกิดขึ้น
เท่ากับ 22,315.35 เมกะวัตต์) โดยอัตราการเพิ่มเฉลี่ยในปี 2553 – 2573 ประมาณร้อยละ 4.19 ต่อปี ส่ วน
ความต้องการพลังงานไฟฟ้ า (Energy) จะประมาณ 347,947 ล้านหน่วย หรื อเพิ่มขึ้นประมาณ 2.38 เท่า
ของปี 2552 (ที่มีค่าพลังงานไฟฟ้ า เท่ากับ 146,182 ล้านหน่วย) โดยอัตราการเพิ่มเฉลี่ยในปี 2553 – 2573
ประมาณร้อยละ 4.22 ต่อปี ทั้งนี้ ในระยะยาวจะมีค่าตัวประกอบการใช้ไฟฟ้ า (Load Factor) อยูท่ ี่ประมาณ
ร้อยละ 74-75

ในการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ที่ใช้ในการจัดทําแผน PDP 2010


นี้ ได้พิจารณาถึงโครงการการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้ า (Demand Side Management: DSM) ซึ่งเป็ น
โครงการหรื อมาตรการประหยัดพลังงานไฟฟ้ าและเพิม่ ประสิ ทธิการใชไฟฟา โดยได้นาํ ประมาณการผล
การประหยัดไฟฟ้ าที่คาดว่าจะประหยัดได้จากโครงการ DSM (ที่เป็ นโครงการใหม่) ไปปรับลดความ
ต้องการไฟฟ้ าในระดับผูใ้ ช้ไฟฟ้ า (Consumption) จึงทําให้ค่า Elasticity 1 ในอนาคตมีแนวโนมที่ลดลง
โดยจะลดลงจาก 1.36 ในปี 2553 เป็ นประมาณ 0.99 ในปี 2573 (ดังแสดงในภาคผนวก 5)

ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าฉบับนี้ (ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2553) เมื่อเปรี ยบเทียบกับค่า


พยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าฉบับเดือนธันวาคม 2551 มีการเปลี่ยนแปลงในทางลดลง ซึ่งรายละเอียด
แสดงดังภาคผนวก 4 ทั้งนี้สาเหตุมาจากมีการปรับปรุ งค่าประมาณการแนวโน้มเศรษฐกิจไทยระยะยาว
เนื่องจากเศรษฐกิจโลกที่ถดถอย ส่ งผลให้สภาวะเศรษฐกิจของประเทศชะลอตัวลง เป็ นผลให้ตอ้ งมีการ
ปรับปรุ งค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ

1
Elasticity หมายถึง สัดส่ วนของอัตราเพิ่มของพลังงานไฟฟ้ า (Energy) ที่ใชตออัตราเพิ่มของ GDP

20
5. แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2573
(PDP 2010)
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย (PDP 2010) ครอบคลุมแผนการพัฒนากําลัง
ผลิตไฟฟ้ าในช่วงปี พ.ศ. 2553-2573 โดยจะมีกาํ ลังผลิตเพิ่มขึ้นสุ ทธิ 36,334 เมกะวัตต์ เป็ นกําลังผลิต
ที่เพิ่มขึ้นของโครงการใหม่ท้ งั หมด รวมกับการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก และรายเล็ก
มาก จํานวน 54,005 เมกะวัตต์ หักด้วยกําลังผลิตโรงไฟฟ้ าเก่าที่หมดอายุ จํานวน 17,671 เมกะวัตต์
เมื่อรวมกําลังผลิตตามสัญญาปัจจุบนั ในปี 2552 จํานวน 29,212 เมกะวัตต์ จะทําให้กาํ ลังผลิตเมื่อสิ้ น
แผนฯ ในปลายปี 2573 มีจาํ นวน 65,547 เมกะวัตต์ รายละเอียดรายชื่อโรงไฟฟ้ า การรับซื้อไฟฟ้ าจาก
เอกชน และรับซื้อจากต่างประเทศ แสดงในตารางที่ 5.1 และ รู ปที่ 5.1 สําหรับรายละเอียดกําลังผลิต
ไฟฟ้ าแยกตามประเภทโรงไฟฟ้ าได้แสดงไว้ใน ภาคผนวก 6 และกําหนดปลดโรงไฟฟ้ าแสดงไว้ใน
ภาคผนวก 7

5.1 กําลังผลิตไฟฟ้ าในช่ วงปี 2553 - 2563 โครงการโรงไฟฟ้ าตามแผนฯช่วงนี้เป็ น


โครงการที่มีภาระผูกพันหรื อมีแผนการดําเนินงานที่ชดั เจนแล้ว หรื อเป็ นกําลังผลิตที่ตอ้ งดําเนินการเพื่อ
ตอบสนองความต้องการของระบบไฟฟ้ าโดยกําลังผลิตเพิม่ ขึ้นในช่วงปี 2553-2563 มีจาํ นวน 21,564
เมกะวัตต์ มีรายละเอียด ดังนี้
5.1.1 โครงการขนาดใหญ่ ทกี่ ่อสร้ างโดย กฟผ. รวม 4,582 เมกะวัตต์ ประกอบด้ วย
- โรงไฟฟ้ าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 ขนาด 670 เมกะวัตต์
- โรงไฟฟ้ าวังน้อย ชุดที่ 4 ขนาด 800 เมกะวัตต์
- โรงไฟฟ้ าจะนะ ชุดที่ 2 ขนาด 800 เมกะวัตต์
- โรงไฟฟ้ าลําตะคองแบบสู บกลับ เครื่ องที่ 3-4 ขนาด 2x250 เมกะวัตต์
- โรงไฟฟ้ าใช้ถ่านหิ นสะอาดเป็ นเชื้อเพลิง ขนาด 800 เมกะวัตต์
- โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ 1,000 เมกะวัตต์
- ไฟฟ้ าพลังนํ้าเขื่อนบางลาง (ปรับปรุ ง) 12 เมกะวัตต์

21
โครงการที่ก่อสร้างโดย กฟผ. ซึ่งสามารถกําหนดที่ต้ งั ได้แล้ว มีรายละเอียดดังนี้

โครงการโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุ ดที่ 1 เป็ นโครงการโรงไฟฟ้ าของ กฟผ. ตั้งอยูใ่ น


บริ เวณเดียวกับโรงไฟฟ้ าพระนครเหนือเดิม ตําบลบางกรวย อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-เป็ นโรงไฟฟ้ าที่ผลิตพลังงานไฟฟ้ าฐาน (Base Load Plant)
-ขนาดกําลังผลิตตามสัญญา ชุดละ 670 เมกะวัตต์
-ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชื้อเพลิง
-กําหนดแล้วเสร็ จ พฤษภาคม 2553
:คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิโครงการเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2549

โครงการโรงไฟฟ้าวังน้ อย ชุ ดที่ 4 เป็ นโครงการของ กฟผ. ตั้งอยูใ่ นบริ เวณเดียวกับ


โรงไฟฟ้ าวังน้อยปัจจุบนั ต.ข้าวงาม และ ต.วังจุฬา อ.วังน้อย จ.พระนครศรี อยุธยา
-เป็ นโรงไฟฟ้ าที่ผลิตพลังงานไฟฟ้ าฐาน (Base Load Plant)
-ขนาดกําลังผลิต ชุดละ 800 เมกะวัตต์
-ใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชื้อเพลิง
-การศึกษาผลกระทบสิ่ งแวดล้อม ได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อม
แห่ งชาติ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 (กําลังผลิตประมาณ 700 เมกะวัตต์) เมื่อขยายกําลังผลิตใหม่เป็ น
800 เมกะวัตต์ กฟผ.ต้องวิเคราะห์ผลกระทบเพิ่มเติม
-กําหนดแล้วเสร็ จ มิถุนายน 2557

โครงการโรงไฟฟ้าจะนะ ชุ ดที่ 2 เป็ นโครงการของ กฟผ. ที่ก่อสร้างเพื่อรองรับความ


ต้องการไฟฟ้ าที่ภาคใต้ โดยก่อสร้างบริ เวณภาคใต้ตอนล่าง บริ เวณโรงไฟฟ้ าจะนะ ชุดที่ 1 ซึ่งเป็ น
ศูนย์กลางความต้องการไฟฟ้ าในภาคใต้
- เป็ นโรงไฟฟ้ าที่ผลิตพลังงานไฟฟ้ าฐาน (Base Load Plant)
- ขนาดกําลังผลิต ชุดละ 800 เมกะวัตต์
- ใช้ ก๊าซธรรมชาติ จากแหล่ง JDA เป็ นเชื้อเพลิง
- กําหนดแล้วเสร็ จ กรกฎาคม 2557

โครงการโรงไฟฟ้าพลังนํา้ ลําตะคองแบบสู บกลับ เครื่องที่ 3-4 เป็ นโรงไฟฟ้ าพลังนํ้าที่มี


โรงไฟฟ้ าใต้ดินโดยอยูล่ ึกจากผิวดิน 300 เมตร บริ เวณเดียวกับโรงไฟฟ้ าเครื่ องที่ 1 และ 2 ใช้น้ าํ จากอ่าง
เก็บนํ้าลําตะคองของกรมชลประทานที่มีอยูเ่ ดิม กําหนดแล้วเสร็ จโครงการมิถุนายน 2560

22
5.1.2 รับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) รวม 4,400 เมกะวัตต์
ประกอบด้ วย
- บริ ษทั เก็คโค-วัน จํากัด 660 เมกะวัตต์
- บริ ษทั สยามเอนเนอร์ยี่ จํากัด ชุดที่ 1-2 2x800 เมกะวัตต์
- บริ ษทั เนชันแนลเพาเวอร์ซพั พลาย จํากัด เครื่ องที่ 1-4 4x135 เมกะวัตต์
- บริ ษทั เพาเวอร์เจนเนอเรชัน่ ซัพพลาย จํากัด ชุดที่ 1-2 2x800 เมกะวัตต์
เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2550 กระทรวงพลังงาน โดยสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
(สนพ.) และคณะอนุกรรมการประเมินและคัดเลือกข้อเสนอการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนราย
ใหญ่ได้ออกประกาศเชิญชวนการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายใหญ่รอบที่ 2 โดยได้จดั สรร
กําลังผลิตไฟฟ้ าในช่วงปี 2555-2557
จากการพิจารณาของคณะอนุกรรมการฯโดยใช้เกณฑ์ค่าไฟฟ้ าเฉลี่ยตํ่าที่สุด คณะอนุกรรม
การฯได้คดั เลือกข้อเสนอรวม 4 โครงการ ประกอบด้วยโครงการดังนี้

กําหนดการจ่ายไฟฟ้ า
โครงการที่ บริ ษทั เชื้อเพลิง กําลังผลิตเสนอขาย เข้าระบบใหม่
(เมกะวัตต์) (SCOD)
1 Coal 660 พ.ย. 2554
GHECO-One
2 Siam Energy Gas 1,600 มี.ค. – ก.ย. 2556
3 Coal 540 พ.ย. 2556 – มี.ค. 2557
National Power

Supply (NPS)
4 Power Generation Gas 1,600 มิ.ย.-ธ.ค. 2557
Supply
รวม 4,400

5.1.3 โครงการโรงไฟฟ้าใหม่ (ภาคใต้ ) ขนาด 800 เมกะวัตต์

5.1.4 โครงการพลังงานหมุนเวียนของ กฟผ. รวม 239.2 เมกะวัตต์ ประกอบด้ วย


- โรงไฟฟ้ าพลังนํ้าขนาดเล็ก 184.7 เมกะวัตต์
- โรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ 1 เมกะวัตต์
- โรงไฟฟ้ าพลังงานลม 46 เมกะวัตต์
- โรงไฟฟ้ าจากขยะ 7.5 เมกะวัตต์

23
5.1.5 รับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก รวม 3,539.5 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย
- ระบบ Co-Generation 3,224 เมกะวัตต์
- พลังงานหมุนเวียน 315 เมกะวัตต์

5.1.6 รับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก รวม 2,335 เมกะวัตต์

5.1.7 รับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน รวม 5,668.6 เมกะวัตต์ ประกอบด้ วย


- โครงการนํ้าเทิน 2 (สปป.ลาว) 920 เมกะวัตต์
- โครงการนํ้างึม 2 (สปป.ลาว) 596.6 เมกะวัตต์
- โครงการเทินหิ นบุน ส่ วนขยาย (สปป.ลาว) 220 เมกะวัตต์
- โครงการหงสา (สปป.ลาว) 1,473 เมกะวัตต์
- โครงการมายกก (สหภาพพม่า) 369 เมกะวัตต์
- โครงการนํ้างึม 3 (สปป.ลาว) 440 เมกะวัตต์
- รับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน 1,650 เมกะวัตต์

5.2 กําลังผลิตไฟฟ้ าในช่ วงปี 2564 - 2573 โครงการที่บรรจุในแผนฯช่วงนี้เป็ น


โครงการใหม่ที่ยงั ไม่ระบุสถานที่ แต่เป็ นการกําหนดกําลังผลิตที่ระบบไฟฟ้ าต้องการในแต่ละปี เพื่อตอบ
สนองความต้องการใช้ไฟฟ้ า มีกาํ ลังผลิตทั้งหมดรวม 32,441 เมกะวัตต์ และมีรายละเอียด ดังนี้
โครงการโรงไฟฟ้าใหม่ ทใี่ ช้ ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชื้อเพลิง รวม 10,400 เมกะวัตต์
โครงการโรงไฟฟ้าใหม่ ทใี่ ช้ ถ่านหินสะอาดเป็ นเชื้อเพลิง รวม 6,400 เมกะวัตต์
โครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ใหม่ รวม 4,000 เมกะวัตต์
โครงการพลังงานหมุนเวียนของ กฟผ. รวม 96 เมกะวัตต์
รับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนขนาดเล็ก รวม 3,800 เมกะวัตต์
รับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนขนาดเล็กมาก รวม 1,745 เมกะวัตต์
รับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน รวม 6,000 เมกะวัตต์

ทั้งนี้ปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้านมีกรอบการพิจารณาตามความร่ วมมือ


ระหว่างประเทศ ดังนี้

24
การรับซื้อไฟฟ้ าจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
รัฐบาลไทยและรัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ได้ร่วมลงนาม
ในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) หลายครั้งเพื่อส่ งเสริ มและให้ความ
ร่ วมมือในการพัฒนาโครงการผลิตพลังงานไฟฟ้ าใน สปป.ลาว มีรายละเอียดดังนี้
- 4 มิถุนายน 2536 จะรับซื้อไฟฟ้ า จํานวน 1,500 เมกะวัตต์
- 19 มิถุนายน 2539 ขยายการรับซื้อไฟฟ้ าเป็ น 3,000 เมกะวัตต์
- 18 ธันวาคม 2549 ขยายการรับซื้อไฟฟ้ าเป็ น 5,000 เมกะวัตต์
- 22 ธันวาคม 2550 ขยายการรับซื้อไฟฟ้ าเป็ น 7,000 เมกะวัตต์
ปัจจุบนั โครงการที่มีการลงนามในสัญญาซื้อขายไฟฟ้ า และมีการซื้อ-ขายไฟฟ้ าแล้ว
จํานวน 2 โครงการได้แก่ โครงการเทินหิ นบุน ขนาดกําลังผลิต 214 เมกะวัตต์ และโครงการห้วยเฮาะ
ขนาดกําลังผลิต 126 เมกะวัตต์
สําหรับโครงการที่มีการลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้ า (Power Purchase Agreement : PPA)
แล้ว และอยูร่ ะหว่างก่อสร้างประกอบด้วย โครงการนํ้าเทิน 2 ขนาด 920 เมกะวัตต์ โครงการนํ้างึม 2
ขนาด 597 เมกะวัตต์ โครงการเทินหิ นบุน ส่ วนขยาย ขนาด 220 เมกะวัตต์
นอกจากนี้ยงั มีโครงการที่ได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจเรื่ องอัตราค่าไฟฟ้ า (Tariff
MOU) แล้ว คือ โครงการหงสา ขนาด 1,473 เมกะวัตต์ และโครงการนํ้างึม 3 ขนาด 440 เมกะวัตต์

การซื้อขายไฟฟ้ากับประเทศสหภาพพม่ า
รัฐบาลไทยและรัฐบาลสหภาพพม่าได้มีการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum
of Understanding : MOU) เรื่ องการรับซื้อไฟฟ้ าจากสหภาพพม่า เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2540 ซึ่งมี
สาระสําคัญโดยสรุ ปว่า ทั้งสองฝ่ ายจะส่ งเสริ มและร่ วมมือกันในการพัฒนาโครงการผลิตไฟฟ้ าใน
สหภาพพม่าเพื่อขายไฟฟ้ าให้แก่ประเทศไทยในประมาณ 1,500 เมกะวัตต์ และต่อมาได้มีการลงนามใน
MOU เพิม่ เติมเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2548 โดยทั้งสองฝ่ ายตกลงร่ วมกันที่จะพัฒนาโครงการบนลุ่มนํ้า
สาละวิน และในเบื้องต้นมีโครงการผลิตไฟฟ้ าบนลุ่มนํ้าสาละวินที่จะขายให้ไทยจํานวน 2 โครงการ
ประกอบด้วย
(1) โครงการโรงไฟฟ้ าพลังนํ้าฮัจยี (Hutgyi) กําลังผลิต 1,190 เมกะวัตต์ คาดว่าจะ
เชื่อมโยงโครงการฯเข้าสู่ ประเทศไทยบริ เวณอําเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก
(2) โครงการโรงไฟฟ้ าพลังนํ้าท่าซาง (Tasang) กําลังผลิต 7,000 เมกะวัตต์ คาดว่าจะ
เชื่อมโยงโครงการเข้าสู่ประเทศไทยบริ เวณอําเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่
สําหรับโครงการที่มีการลงนามบันทึกความเข้าใจเรื่ องอัตราค่าไฟฟ้ า (Tariff MOU) แล้ว
คือโครงการมายกก ขนาด 369 เมกะวัตต์

25
การรับซื้อไฟฟ้ าจากสาธารณรัฐประชาชนจีน
รัฐบาลไทยและรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้ร่วมกันลงนามในบันทึกความเข้าใจ
(Memorandum of Understanding : MOU) เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2541 ณ กรุ งปั กกิ่ง โดยมี
สาระสําคัญ คือ รัฐบาลไทยตกลงที่จะรับซื้อไฟฟ้ าจากโครงการผลิตไฟฟ้ าในจีน จํานวน 3,000
เมกะวัตต์ ภายในปี 2560 โดยจีนจะเป็ นผูค้ ดั เลือกโครงการที่เหมาะสมมาเสนอแก่ไทย และทั้งสองฝ่ าย
จะร่ วมมือกันวางแผนและก่อสร้างระบบสายส่ งเชื่อมโยงระหว่าง 2 ประเทศ รวมทั้งเจรจากับประเทศ
สปป.ลาว เรื่ องค่าชดเชยอัตราค่ากรรมสิ ทธิ์ที่ดินแนวสายส่ ง ที่จะต้องก่อสร้างผ่านประเทศ สปป.ลาว

การรับซื้อไฟฟ้ าจากประเทศกัมพูชา
รัฐบาลไทยและรัฐบาลกัมพูชาไม่มีการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of
Understanding : MOU) แต่มีเอกชนเข้าไปพัฒนาโครงการและเสนอขายไฟฟ้ าให้ประเทศไทย เช่น
โครงการโรงไฟฟ้ าเกาะกง เป็ นโรงไฟฟ้ าพลังงานถ่านหิ น ตั้งอยูท่ ี่เกาะกง ขนาดกําลังผลิต 3,600
เมกะวัตต์ โดยแบ่งโครงการเป็ น 2 ระยะ ระยะแรกมีขนาดกําลังผลิต 1,800 เมกะวัตต์

5.3 การผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียน


แผน PDP 2010 ฉบับนี้ได้บรรจุปริ มาณการผลิตไฟฟ้ าและการรับซื้อจากพลังงาน
หมุนเวียนในช่วงปี 2553–2573 รวมเป็ น 5,347.5 เมกะวัตต์ โดยแบ่งออกเป็ น 2 ช่วงระยะเวลา

ช่วงปี 2553-2565 กําหนดปริ มาณพลังงานหมุนเวียนตามกรอบแผนพลังงานทดแทน 15


ปี ของกระทรวงพลังงานรายปี (รายละเอียดในหัวข้อ 7.1) ปริ มาณกําลังผลิตและรับซื้อ จํานวน 4,049.5
เมกะวัตต์ ซึ่งรวมทั้งส่ วนที่รับซื้อไฟฟ้ าจาก VSPP SPP และจากการพัฒนาโครงการของ กฟผ. โดย
สรุ ปได้ดงั นี้

26
หน่วย : เมกะวัตต์
ปี กฟผ. SPP 1/ VSPP รวม
2553 - 465.0 331.0 796.0
2554 38.0 425.0 236.0 699.0
2555 28.7 65.0 162.3 256.0
2556 54.0 - 181.0 235.0
2557 18.0 - 190.5 208.5
2558 14.0 90.0 165.0 269.0
2559 16.5 - 224.5 241.0
2560 10.5 - 227.5 238.0
2561 30.0 - 173.0 203.0
2562 7.5 - 170.0 177.5
2563 22.0 - 188.0 210.0
2564 60.5 - 133.0 193.5
2565 36.0 - 287.0 323.0
รวม 335.7 1,045.0 2,668.8 4,049.5

ช่วงปี 2566-2573 กําหนดปริ มาณพลังงานหมุนเวียนตามประมาณการการรับซื้อไฟฟ้ า


ของ VSPP จากการไฟฟ้ าฝ่ ายจําหน่าย จํานวน 1,298.0 เมกะวัตต์ สรุ ปได้ดงั นี้
หน่วย : เมกะวัตต์
ปี VSPP
2566 145.0
2567 146.0
2568 156.0
2569 157.0
2570 168.0
2571 168.0
2572 179.0
2573 179.0
รวม 1,298.0

รายละเอียดกําลังผลิตและปริ มาณการรับซื้อแยกตามประเภทเชื้อเพลิงได้แสดงไว้ในบทที่ 7
หมายเหตุ : 1/ รวมกําลังผลิต SPP สัญญา Non-firm จํานวน 730 เมกะวัตต์

27
5.4 การใช้ เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ า
ปริ มาณการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ าตามแผน PDP 2010 สรุ ปได้ดงั นี้
ปี ลิกไนต์ ถ่านหิ น Gas/LNG 1/ Heavy Oil Diesel Oil Nuclear
(ล้านตัน) (ล้านตัน) (ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน) (ล้านลิตร) (ล้านลิตร) (ตัน)
2553 15.9 3.6 1,986 226.5 25.74 -
2554 16.4 4.2 2,003 66.0 9.30 -
2555 16.0 5.5 1,978 234.5 9.05 -
2556 16.4 5.5 1,907 364.1 22.73 -
2557 16.1 6.9 1,963 201.3 19.10 -
2558 17.2 7.0 1,862 - 7.20 -
2559 17.0 7.0 1,774 - 7.22 -
2560 16.0 7.0 1,843 - 7.00 -
2561 14.8 7.0 1,943 - 6.30 -
2562 15.1 8.2 1,955 - 6.30 -
2563 15.2 9.2 1,842 - 5.61 18.6
2564 15.2 10.4 1,702 - 5.60 37.1
2565 15.2 11.4 1,722 - 5.60 37.1
2566 15.2 13.6 1,711 - 5.60 37.1
2567 13.9 13.7 1,715 - 5.61 55.7
2568 11.8 13.6 1,755 - 5.60 74.1
2569 10.7 18.0 1,665 - 5.60 74.1
2570 10.7 18.0 1,767 - 5.60 74.1
2571 10.7 22.5 1,531 - 5.61 92.9
2572 8.9 24.6 1,598 - 5.60 92.6
2573 6.9 26.6 1,637 - 5.60 92.6
หมายเหตุ : 1/ ไม่รวมเชื้อเพลิงโรงไฟฟ้ า SPP และ VSPP

รายละเอียดประมาณการผลิตพลังงานไฟฟ้ าแยกตามประเภทเชื้อเพลิง แสดงไว้ในภาคผนวก 8

28
ตารางที่ 5.1
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย
PDP 2010
ชื่อโครงการโรงไฟฟ้ า ชนิดของ กําลังผลิต รวม กําหนดแล้ วเสร็จ
เชื้อเพลิง (เมกะวัตต์ ) (เมกะวัตต์ )
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 367 367 มกราคม 2553
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Renewables) - 90 90 มิถุนายน 2553
ซื้ อจากโครงการใน สปป.ลาว(นํ้าเทิน 2) พลังนํ้า 920 920 มีนาคม 2553
โรงไฟฟ้ าพระนครเหนื อ ชุดที่ 1 ก๊าซ 670 670 พฤษภาคม 2553
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 90 90 พฤศจิกายน 2553
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 258 258 มกราคม 2554
ซื้ อจากโครงการใน สปป.ลาว (นํ้างึม 2) พลังนํ้า 597 597 มกราคม 2554
เขื่อนเจ้าพระยา # 1-2 พลังนํ้า 2x6 12 มกราคม 2554
โรงไฟฟ้ าพลังงานหมุนเวียน_กฟผ. - 18 18 มกราคม 2554
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Renewables) - 160 160 มิถุนายน 2554
เขื่อนนเรศวร พลังนํ้า 8 8 ตุลาคม 2554
บริ ษทั เก็คโค่วนั จํากัด ถ่านหิ น 660 660 พฤศจิกายน 2554
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 162 162 มกราคม 2555
เขื่อนแม่กลอง # 1-2 พลังนํ้า 2x6 12 มกราคม 2555
เขื่อนขุนด่านปราการชล พลังนํ้า 10 10 เมษายน 2555
เขื่อนป่ าสักชลสิ ทธิ์ พลังนํ้า 7 7 พฤษภาคม 2555
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Renewables) - 65 65 มิถุนายน 2555
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 704 704 มิ.ย. 55 - ธ.ค. 55
ซื้ อจากโครงการในสปป.ลาว (เทินหิ นบุน ส่ วนขยาย) พลังนํ้า 220 220 กรกฎาคม 2555
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 187 187 มกราคม 2556
เขื่อนแควน้อย #1-2 พลังนํ้า 2x15 30 มกราคม 2556
โรงไฟฟ้ าพลังงานหมุนเวียน_กฟผ. - 24 24 มกราคม 2556
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 720 720 มี.ค. 56 - ก.ย. 56
บริ ษทั สยามเอ็นเนยีจ่ าํ กัด ชุดที่ 1-2 ก๊าซ 2x800 1,600 มี.ค. 56 - ก.ย. 56
บริ ษทั เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลายจํากัด เครื่ องที่ 1-2 ถ่านหิ น 2x135 270 พฤศจิกายน 2556
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 192 192 มกราคม 2557
โรงไฟฟ้ าพลังงานหมุนเวียน_กฟผ. - 18 18 มกราคม 2557
บริ ษทั เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลายจํากัด เครื่ องที่ 3-4 ถ่านหิ น 2x135 270 มีนาคม 2557
โรงไฟฟ้ าวังน้อย ชุดที่ 4 ก๊าซ 800 800 มิถุนายน 2557
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 90 90 มิถุนายน 2557
บริ ษทั เพาเวอร์เจนเนอเรชัน่ ซัพพลายจํากัด ชุดที่ 1-2 ก๊าซ 2x800 1,600 มิ.ย. 57 - ธ.ค. 57
โรงไฟฟ้ าจะนะ ชดที่ 2 ก๊าซ 800 800 กรกฎาคม 2557

29
ตารางที่ 5.1 (ต่อ)
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย
PDP 2010
ชื่อโครงการโรงไฟฟ้ า ชนิดของ กําลังผลิต รวม กําหนดแล้ วเสร็จ
เชื้อเพลิง (เมกะวัตต์ ) (เมกะวัตต์ )
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 167 167 มกราคม 2558
โรงไฟฟ้ าพลังงานหมุนเวียน_กฟผ. - 14 14 มกราคม 2558
รฟ.พลังนํ้าเขื่อนบางลาง(ปรับปรุ ง) พลังนํ้า 12 12 มกราคม 2558
ซื้ อจากโครงการในสปป.ลาว (หงสา เครื่ องที่ 1-2) ถ่านหิ น 2x491 982 พ.ค. 58 - ต.ค. 58
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 270 270 มิถุนายน 2558
โรงไฟฟ้ าพลังงานหมุนเวียน_กฟผ. - 17 17 มกราคม 2559
ซื้ อจากโครงการในพม่า (มาย-กก เครื่ องที่ 1-3) ถ่านหิ น 3x123 369 ม.ค. 59 - ก.ค. 59
ซื้ อจากโครงการในสปป.ลาว (หงสา เครื่ องที่ 3) ถ่านหิ น 491 491 กุมภาพันธ์ 2559
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 231 231 มิถุนายน 2559
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 270 270 มิถุนายน 2559
โรงไฟฟ้ าใหม่_ภาคใต้ ก๊าซ 800 800 กรกฎาคม 2559
ผูผ้ผลตไฟฟาเอกชนรายเลกมาก
ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 229 229 มกราคม 2560
โรงไฟฟ้ าพลังงานหมุนเวียน_กฟผ. - 11 11 มกราคม 2560
ซื้ อจากโครงการในสปป.ลาว (นํ้างึม 3) พลังนํ้า 440 440 มกราคม 2560
เขื่อนลําตะคองชลภาวัฒนา (สู บกลับ เครื่ องที่ 3-4) พลังนํ้า 2x250 500 มิถุนายน 2560
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 270 270 มิถุนายน 2560
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 176 176 มกราคม 2561
โรงไฟฟ้ าพลังงานหมุนเวียน_กฟผ. - 30 30 มกราคม 2561
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 270 270 มกราคม 2561
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 450 450 มิถุนายน 2561
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 177 177 มกราคม 2562
โรงไฟฟ้ าพลังงานหมุนเวียน_กฟผ. - 8 8 มกราคม 2562
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 270 270 มกราคม 2562
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 600 600 มิถุนายน 2562
โรงไฟฟ้ าถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 1 ถ่านหิ น 800 800 มิถุนายน 2562
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 190 190 มกราคม 2563
โรงไฟฟ้ าพลังงานหมุนเวียน_กฟผ. - 22 22 มกราคม 2563
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 270 270 มกราคม 2563
โรงไฟฟ้ านิ วเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 1 นิ วเคลียร์ 1,000 1,000 มกราคม 2563
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 600 600 มิถุนายน 2563

30
ตารางที่ 5.1 (ต่อ)
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย
PDP 2010
ชื่อโครงการโรงไฟฟ้ า ชนิดของ กําลังผลิต รวม กําหนดแล้ วเสร็จ
เชื้อเพลิง (เมกะวัตต์ ) (เมกะวัตต์ )
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 135 135 มกราคม 2564
โรงไฟฟ้ าพลังงานหมุนเวียน_กฟผ. - 61 61 มกราคม 2564
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 380 380 มกราคม 2564
โรงไฟฟ้ านิ วเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 2 นิ วเคลียร์ 1,000 1,000 มกราคม 2564
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 600 600 มกราคม 2564
โรงไฟฟ้ าถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 2 ถ่านหิ น 800 800 มิถุนายน 2564
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 294 294 มกราคม 2565
โรงไฟฟ้ าพลังงานหมุนเวียน_กฟผ. - 36 36 มกราคม 2565
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 360 360 มกราคม 2565
โรงไฟฟ้ าก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 1 ก๊าซ 800 800 มกราคม 2565
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 600 600 มกราคม 2565
ผูผ้ผลตไฟฟาเอกชนรายเลกมาก
ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 146 146 มกราคม 2566
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 360 360 มกราคม 2566
โรงไฟฟ้ าก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 2-6 ก๊าซ 5x800 4,000 มกราคม 2566
โรงไฟฟ้ าถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 3 ถ่านหิ น 800 800 มกราคม 2566
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 600 600 มกราคม 2566
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 148 148 มกราคม 2567
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 360 360 มกราคม 2567
โรงไฟฟ้ านิ วเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 3 นิ วเคลียร์ 1,000 1,000 มกราคม 2567
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 600 600 มกราคม 2567
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) - 163 163 มกราคม 2568
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) - 360 360 มกราคม 2568
โรงไฟฟ้ านิ วเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 4 นิ วเคลียร์ 1,000 1,000 มกราคม 2568
โรงไฟฟ้ าก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 7 ก๊าซ 800 800 มกราคม 2568
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 600 600 มกราคม 2568
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 159 159 มกราคม 2569
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 360 360 มกราคม 2569
โรงไฟฟ้ าก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 8-9 ก๊าซ 2x800 1,600 มกราคม 2569
โรงไฟฟ้ าถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 4-5 ถ่านหิ น 2x800 1,600 มกราคม 2569
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 600 600 มกราคม 2569

31
ตารางที่ 5.1 (ต่อ)
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย
PDP 2010
ชื่อโครงการโรงไฟฟ้ า ชนิดของ กําลังผลิต รวม กําหนดแล้ วเสร็จ
เชื้อเพลิง (เมกะวัตต์ ) (เมกะวัตต์ )
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 169 169 มกราคม 2570
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 360 360 มกราคม 2570
โรงไฟฟ้ าก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 10 ก๊าซ 800 800 มกราคม 2570
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 600 600 มกราคม 2570
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 173 173 มกราคม 2571
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 360 360 มกราคม 2571
โรงไฟฟ้ านิ วเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 5 นิ วเคลียร์ 1,000 1,000 มกราคม 2571
โรงไฟฟ้ าก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 11-12 ก๊าซ 2x800 1,600 มกราคม 2571
โรงไฟฟ้ าถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 6-7 ถ่านหิ น 2x800 1,600 มกราคม 2571
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 600 600 มกราคม 2571
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 179 179 มกราคม 2572
ผูผ้ผลตไฟฟาเอกชนรายเลก
ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co
(Co-Gen)
Gen) - 360 360 มกราคม 2572
โรงไฟฟ้ าก๊าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 13 ก๊าซ 800 800 มกราคม 2572
โรงไฟฟ้ าถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 8 ถ่านหิ น 800 800 มกราคม 2572
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 600 600 มกราคม 2572
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) - 179 179 มกราคม 2573
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) - 540 540 มกราคม 2573
โรงไฟฟ้ าถ่านหิ นสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 9 ถ่านหิ น 800 800 มกราคม 2573
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน - 600 600 มกราคม 2573

กําลังผลิตไฟฟ้ าถึง ธันวาคม 2552 29,212 เมกะวัตต์


รวมกําลังผลิตที่เพิ่มขึ้น 54,005 เมกะวัตต์
โรงไฟฟ้ าที่ปลดออกจากระบบ - 17,671 เมกะวัตต์
รวมกําลังผลิตไฟฟ้ าทั้งสิ้ นถึงปี 2573 65,547 เมกะวัตต์

32
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้า
PDP2010_Base Load กองวางแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้า
ความต้ องการไฟฟ้าชุด : 23 กุมภาพันธ์ 2553 ฝ่ ายวางแผนระบบไฟฟ้า
วันที่พิมพ์ : 9 มีนาคม 2553 การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่ งประเทศไทย
ความต้ องการไฟฟ้าสูงสุดและกําลังผลิต (เมกะวัตต์ )
10000 20000 30000 40000 50000 60000 70000 80000 90000 100000 110000 เมกะวัตต์
กําลังผลิตปั จจุบนั 29,212.0
2553 ม.ค. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 367 MW 367.0
ก.พ.
มี.ค. นํ ้าเทิน 2 920 MW 920.0
เม.ย.
พ.ค. พระนครเหนือ ชุดที่ 1 670 MW 670.0
มิ.ย. บจก. ไฟฟ้ าชีวมวล 90 MW 90.0
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 23,249.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 28.1 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 2,137.0 เมกะวัตต์
ต.ค. กําํ ลังั ผลิติ ทีป่ี ลดออก 0.0 เมกะวัตั ต์์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 2,137.0 เมกะวัตต์ บจก. สยามเพาเวอร์ ฯ : ระเบียบรับซื ้อปี 2548 60 MW; บจก. สยามเพาเวอร์ ฯ (เฟส 1) 30 MW 90.0
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 31,349.0 เมกะวัตต์ นํ ้างึม 2 596.6 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 258 MW; เขื่อนเจ้ าพระยา #1-2 12 MW;
2554 ม.ค. พลังงานหมุนเวียน กฟผ. 18 MW 884.6
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย. บมจ. แอ็ดวานซ์อะโกร 25 MW; ไทยเพาเวอร์ เจนเนอเรติงโครงการ 1 70 MW; บจก. เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลาย 65160.0
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 24,568.0 เมกะวัตต์ ปลดขนอม เครื่องที่ 1 -69.9 MW -69.9
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 27.1 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 1,712.6 เมกะวัตต์
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -69.9 เมกะวัตต์ เขื่อนนเรศวร 8 MW 8.0
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 1,642.7 เมกะวัตต์ เก็คโค-วัน 660 MW 660.0
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 32,991.7 เมกะวัตต์
2555 ม.ค. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 162.3 MW; เขื่อนแม่กลอง #1-2 12 MW 174.3
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย. เขื่อนขุนด่านปราการชล 10 MW 10.0
พ.ค. เขื่อนป่ าสักชลสิทธิ์ 6.7 MW 6.7
มิ.ย. บจก. ไทยเพาเวอร์ ซพั พลาย 65 MW; บจก. อมตะสตีมซัพพลาย 90 MW; บจก. โกลว์พลังงาน 3 74 229.0
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 25,913.0 เมกะวัตต์ บจก. นวนครการไฟฟ้ า 90 MW; เทินหินบุน (ส่วนขยาย) 220 MW 310.0
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 23.7 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 1,180.0 เมกะวัตต์ บจก. อมตะเพาเวอร์ 90 MW; บจก. สระบุรี บี โคเจนฯ 90 MW 180.0
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก 0.0 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 1,180.0 เมกะวัตต์ บจก. อินดัสเทรียล โคเจน 90 MW 90.0
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 34,171.7 เมกะวัตต์ บจก. สระบุรี เอ โคเจนฯ 90 MW; บจก. ไทยเนชัน่ แนลพาวเวอร์ 2 90 MW 180.0
2556 ม.ค. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 187 MW; เขื่อนแควน้ อย #1-2 30 MW; พลังงานหมุนเวียน กฟผ. 24 241.0
ก.พ.
มี.ค. สยามเอ็นเนอร์ ยี่ ชุดที่ 1 800 MW; บจก. ฉะเชิงเทรา โคเจนฯ 90 MW 890.0
เม.ย. บจก. อาร์ ไอแอล โคเจนฯ 90 MW 90.0
พ.ค. บจก. ที่ดินบางปะอิน 90 MW; บจก. โรจนะเพาเวอร์ 2 90 MW; บจก. อมตะเพาเวอร์ (ปลวกแดง) 90
มิ.ย. บจก. สยามเพาเวอร์ เจนฯ 2 90 MW; บจก. ปทุม โคเจนฯ 90 MW 450.0
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 27,188.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 25.4 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 2,831.0 เมกะวัตต์ บมจ. คอมไบน์ฮีทฯ 90 MW; สยามเอ็นเนอร์ ยี่ ชุดที่ 2 800 MW 890.0
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก 0.0 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 2,831.0 เมกะวัตต์ เนชัน่ แนล เพาเวอร์ ซัพพลาย เครื่องที่ 1-2 2x135 MW 270.0
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 37,002.7 เมกะวัตต์ ปลดบางปะกง เครื่องที่ 1-2 -1052 MW;
2557 ม.ค. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 191.5 MW; พลังงานหมุนเวียน กฟผ. 18 MW -842.5
ก.พ.
มี.ค. เนชัน่ แนล เพาเวอร์ ซัพพลาย เครื่องที่ 3-4 2x135 MW 270.0
รูปที่ 5.1 แผนพัฒ

เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย. วังน้ อย ชุดที่ 4 800 MW; เพาเวอร์ เจนเนอเรชัน่ ซัพพลาย ชุดที่ 1 800 MW; บจก. บี กริม จอยน์ฯ 90 1,690.0
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 28,341.0 เมกะวัตต์ จะนะ ชุดที่ 2 800 MW 800.0
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 23.4 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 3,769.5 เมกะวัตต์
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -1,052.0 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 2,717.5 เมกะวัตต์
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 39,720.2 เมกะวัตต์ เพาเวอร์ เจนเนอเรชัน่ ซัพพลาย ชุดที่ 2 800 MW 800.0
2558 ม.ค. ปลดระยอง ชุดที่ 1-4 -1175.1 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 167 MW;
ก.พ. พลังงานหมุนเวียน กฟผ. 14 MW; ไฟฟ้ าพลังนํ ้าเขื่อนบางลาง (ปรับปรุง) 12 MW -982.1
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค. หงสา เครื่องที่ 1 491 MW 491.0
มิ.ย. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 270 MW 270.0
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 29,463.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 26.0 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 1,445.0 เมกะวัตต์
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -1,175.1 เมกะวัตต์ หงสา เครื่องที่ 2 491 MW 491.0
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 269.9 เมกะวัตต์
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 39,990.1 เมกะวัตต์
2559 ม.ค. มาย-กก เครื่องที่ 1 123 MW; พลังงานหมุนเวียน กฟผ. 16.5 MW 139.5
ก.พ. หงสา เครื่องที่ 3 491 MW 491.0
มี.ค.
เม.ย. มาย-กก เครื่องที่ 2 123 MW 123.0
พ.ค. ปลดขนอม เครื่องที่ 2 -70.2 MW;
มิ.ย. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 270 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 230.5 430.3
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 30,754.0 เมกะวัตต์ ปลดขนอม ชุดที่ 1 -678 MW; มาย-กก เครื่องที่ 3 123 MW; โรงไฟฟ้ าใหม่_ภาคใต้ 800 MW 245.0
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 27.2 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 2,177.0 เมกะวัตต์
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -748.2 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 1,428.8 เมกะวัตต์
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 41,418.9 เมกะวัตต์ ปลดบางปะกง ชุดที่ 3 -314 MW;
2560 ม.ค. นํ ้างึม 3 440 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 228.5 MW; พลังงานหมุนเวียน กฟผ. 10.5 365.0
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย. ปลด บจก. โกลว์พลังงาน โครงการ 1 -90 MW -90.0
พ.ค.
มิ.ิ ย. ผู้ ผลิติ ไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก็ (SPP
( Co-Gen)) 270 MW; เขือื่ นลําํ ตะคองชลภาวัฒ
ั นา #3-4 (สู
( บกลับั ) 500 770.0
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 32,225.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 23.2 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 1,449.0 เมกะวัตต์
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -494.0 เมกะวัตต์ ปลด บจก. โกลว์พลังงาน โครงการ 2 -90 MW -90.0
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 955.0 เมกะวัตต์
กําลังผลิตรวม 42,373.9 เมกะวัตต์
ั นากําลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย ( PDPP2010 )

ธ.ค. ปลดบางปะกง ชุดที่ 4 -314 MW; ปลดนํ ้าพอง ชุดที่ 1 -325 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen)
2561 ม.ค. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 176 MW; พลังงานหมุนเวียน กฟผ. 30 -163.0
ก.พ. ปลด บจก. ทีพที ี ยูทีลติ ี ้ส์ -9.5 MW -9.5
มี.ค.
เม.ย. ปลด บจก. ปตท. เคมิคอล -32 MW -32.0
พ.ค.
มิ.ย. ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 450 MW 450.0
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 33,688.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 17.3 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 926.0 เมกะวัตต์
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -680.5 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 245.5 เมกะวัตต์
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 42,619.4 เมกะวัตต์ ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 270 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 177 MW;
2562 ม.ค. พลังงานหมุนเวียน กฟผ. 7.5 MW 454.5
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค. ปลด กรมการพลังงานทหาร -4.5 MW;
มิ.ย. รฟ.ถ่านหินสะอาด_กฟผ. เครื่องที่ 1 800 MW; ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 600 1,395.5
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 34,988.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 15.0 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 1,854.5 เมกะวัตต์ ปลด บจก. กัลฟ์ โคเจนเนอเรชัน่ -90 MW; ปลด บจก. อมตะ-เอ็กโก เพาเวอร์ -90 MW -180.0
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -184.5 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 1,670.0 เมกะวัตต์ ปลดนํ ้าพอง ชุดที่ 2 -325 MW; ปลดพระนครใต้ ชุดที่ 1 -316 MW; รฟ.นิวเคลียร์_กฟผ. เครื่องที่ 1 1000
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 44,289.4 เมกะวัตต์ ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 270 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 190 MW;
2563 ม.ค. พลังงานหมุนเวียน กฟผ. 22 MW 841.0
ก.พ. ปลด บจก. บางกอก โคเจนเนอเรชัน่ -90 MW -90.0
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค. ปลด บจก. บีพเี ค เพาเวอร์ ซัพพลาย -8 MW -8.0
มิ.ย. ปลดไตรเอนเนอยี่ -700 MW; ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 600 MW -100.0
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 36,336.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 15.6 % ปลด บจก. สมุทรปราการ โคเจนเนอเรชัน่ -90 MW -90.0
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 2,082.0 เมกะวัตต์
ต.ค. กาลั
ํ งั ผลิติ ทีป่ี ลดออก -1,529.0 เมกะวัตั ต์์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 553.0 เมกะวัตต์
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 44,842.4 เมกะวัตต์

10000 20000 30000 40000 50000 60000 70000 80000 90000 100000 110000
ความต้ องการไฟฟ้าสูงสุด
ความต้ องการไฟฟ้าสูงสุด + 15%
กําลังผลิตพึ่งได้
กําลังผลิตรวม
 
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้า
PDP2010_Base Load กองวางแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้า
ความต้ องการไฟฟ้าชุด : 23 กุมภาพันธ์ 2553 ฝ่ ายวางแผนระบบไฟฟ้า
วันที่พิมพ์ : 9 มีนาคม 2553 การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่ งประเทศไทย
ความต้ องการไฟฟ้าสูงสุดและกําลังผลิต (เมกะวัตต์ )
10000 20000 30000 40000 50000 60000 70000 80000 90000 100000 110000 เมกะวัตต์
กําลังผลิตปั จจุบนั 29,212.0
รฟ.นิวเคลียร์ _กฟผ. เครื่องที่ 2 1000 MW; ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 600 MW;
ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 380 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 135 MW;
2564 ม.ค. พลังงานหมุนเวียน กฟผ. 60.5 MW 2,175.5
ก.พ. ปลด บจก. โกลว์เอสพีพี 1 โครงการ 1 -55 MW -55.0
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย. รฟ.ถ่านหินสะอาด_กฟผ. เครื่องที่ 2 800 MW 800.0
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 37,856.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 15.4 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 2,975.5 เมกะวัตต์ ปลด บจก. โกลว์ เอสพีพี 1 โครงการ 2 -55 MW -55.0
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -200.0 เมกะวัตต์ ปลด บจก. หนองแค โคเจนเนอเรชัน่ -90 MW -90.0
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 2,775.5 เมกะวัตต์ ปลดบางปะกง เครื่องที่ 3 -576 MW;
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 47,617.9 เมกะวัตต์ รฟ.ก๊ าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 1 800 MW; ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 600 MW; พลังงานหมุนเวียน กฟผ. 36 MW;
2565 ม.ค. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 360 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 294 MW 1,514.0
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 39,308.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 16.0 % ปลด บจก. แหลมฉบังเพาเวอร์ -60 MW -60.0
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 2,090.0 เมกะวัตต์
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -726.0 เมกะวัตต์ ปลด บจก. อมตะเพาเวอร์ (บางปะกง) -90 MW -90.0
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 1,364.0 เมกะวัตต์ ปลดวังน้ อย ชุดที่ 1-3 -1910 MW; ปลดพระนครใต้ ชุดที่ 2 -562 MW; ปลดบางปะกง เครื่องที่ 4 -576 MW; ปลดเทินหินบุน -214
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 48,981.9 เมกะวัตต์ รฟ.ถ่านหินสะอาด_กฟผ. เครื่องที่ 3 800 MW; รฟ.ก๊ าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 2-6 4000 MW; ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 600
2566 ม.ค. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 360 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 146 MW 2,644.0
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย. ปลดอีสเทริ์นเพาเวอร์ -350 MW; ปลด บจก. ไทยออยล์เพาเวอร์ -41 MW -391.0
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 40,781.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 16.7 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 5,906.0 เมกะวัตต์
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -3,653.0 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 2,253.0 เมกะวัตต์
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 51,234.9 เมกะวัตต์ ปลดแม่เมาะ เครื่องที่ 4 -140 MW; รฟ.นิวเคลียร์ _กฟผ. เครื่องที่ 3 1000 MW; ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 600
2567 ม.ค. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 360 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 148 MW 1,968.0
ก.พ. ปลด ทีแอลพี โคเจนเนอเรชัน่ -60 MW -60.0
มี.ค. ปลด เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลาย (1) -90 MW -90.0
เม.ย. ปลด โกลว์ เอสพีพี 2 โครงการ 1 -60 MW -60.0
พ.ค. ปลด สหโคเจน (ชลบุรี) -90 MW; ปลด ไทยเพาเวอร์ซพั พลาย (1) -41 MW; ปลด โกลว์เอสพีพี 2 โครงการ 2 -60 -191.0
มิ.ย. ปลด โรจนะเพาเวอร์ -90 MW;; ปลด ร้ อยเอ็ดกรีน -8.8 MW -98.8
รูปที่ 5.1 แผนพัฒ

ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 42,236.0 เมกะวัตต์ ปลด เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลาย (2) -90 MW -90.0
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 16.5 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 2,108.0 เมกะวัตต์ ปลด โกลว์เอสพีพี 3 โครงการ 1 -90 MW -90.0
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -819.8 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 1,288.2 เมกะวัตต์ ปลดแม่เมาะ เครื่องที่ 5-6 -280 MW; รฟ.นิวเคลียร์ _กฟผ. เครื่องที่ 4 1000 MW; รฟ.ก๊ าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 7 800
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 52,523.1 เมกะวัตต์ ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 600 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 360 MW;
2568 ม.ค. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 163 MW 2,643.0
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย. ปลด บจก. โกลว์เอสพีพี 3 โครงการ 2 -90 MW -90.0
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 43,962.0 เมกะวัตต์ ปลด บจก. ด่านช้ าง ไบโอ-เอ็นเนอร์ ยี -27 MW -27.0
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 16.3 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 2,923.0 เมกะวัตต์ ปลด ภูเขียวไบโอเอ็นเนอร์ ยี -29 MW; ปลด ผลิตไฟฟ้ าอิสระ -700 MW -729.0
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -2,664.0 เมกะวัตต์ ปลด บจก. ไทยเนชัน่ แนลพาวเวอร์ -90 MW; ปลด บจก. นํ ้าตาลมิตรกาฬสินธุ์ -8 MW -98.0
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 259.0 เมกะวัตต์ ปลด ราชบุรี เครื่องที่ 1-2 -2x720 MW -1,440.0
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 52,782.1 เมกะวัตต์ ปลดแม่เมาะ เครื่องที่ 7 -140 MW; รฟ.ถ่านหินสะอาด_กฟผ. เครื่องที่ 4-5 1600 MW;
2569 ม.ค. รฟ.ก๊ าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 8-9 1600 MW; ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 600 MW;
ก.พ. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 360 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 159 MW 4,179.0
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 45,621.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 15.9 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 4,319.0 เมกะวัตต์ ปลด บจก. ไบโอ-แมส เพาเวอร์ -5 MW -5.0
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -145.0 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 4,174.0 เมกะวัตต์
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 56,956.1 เมกะวัตต์ รฟ.ก๊ าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 10 800 MW; ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 600 MW;
2570 ม.ค. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 360 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 169 MW 1,929.0
ก.พ. ปลด บจก. มุ่งเจริญกรีนเพาเวอร์ -8 MW; ปลด บจก. สตึกไบโอแมส -6.5 MW -14.5
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค. ปลดราชบุรี ชุดที่ 1-2 -1360 MW -1,360.0
มิ.ย.
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 47,344.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 15.4 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 1,929.0 เมกะวัตต์
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -2,055.5 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง -126.5 เมกะวัตต์ ปลดราชบรีร ชดที
ปลดราชบุ ชุดท่ 3 -681
681 MW 681 0
-681.0
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 56,829.6 เมกะวัตต์ ปลด บจก. โรงไฟฟ้ านํ ้าตาลขอนแก่น -20 MW; รฟ.นิวเคลียร์ _กฟผ. เครื่องที่ 5 1000 MW; ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 600
2571 ม.ค. รฟ.ถ่านหินสะอาด_กฟผ. เครื่องที่ 6-7 1600 MW; รฟ.ก๊ าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 11-12 1600 MW; 5,313.0
ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 360 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 173 MW
ก.พ. ปลด โกลว์ -713 MW -713.0
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 49,039.0 เมกะวัตต์
ฒนากําลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย ( PDP20010 ) (ต่อ)

ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 16.3 %


ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 5,333.0 เมกะวัตต์
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -808.0 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 4,525.0 เมกะวัตต์ ปลด บจก. แอ๊ ดวานซ์ อะโกร (1) -50 MW -50.0
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 61,354.6 เมกะวัตต์ ปลด บจก. แอ๊ ดวานซ์ อะโกร (2) -25 MW -25.0
2572 ม.ค. ปลดแม่เมาะ เครื่องที่ 8 -270 MW; รฟ.ถ่านหินสะอาด_กฟผ. เครื่องที่ 8 800 MW;
ก.พ. รฟ.ก๊ าซธรรมชาติ_กฟผ. ชุดที่ 13 800 MW; ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 600 MW;
มี.ค. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 360 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 179 MW 2,469.0
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 50,959.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 16.3 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 2,739.0 เมกะวัตต์
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -270.0 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 2,469.0 เมกะวัตต์
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 63,823.6 เมกะวัตต์
2573 ม.ค. ปลดแม่เมาะ เครื่องที่ 9 -270 MW; ปลด ห้ วยเฮาะ -126 MW;
ก.พ. รฟ.ถ่านหินสะอาด_กฟผ. เครื่องที่ 9 800 MW; ซื ้อไฟฟ้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน 600 MW;
มี.ค. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP Co-Gen) 540 MW; ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) 179 MW 1,723.0
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค. พลังไฟฟ้าสูงสุด 52,890.0 เมกะวัตต์
ส.ค. กําลังผลิตสํารองตํา่ สุด 15.0 %
ก.ย. กําลังผลิตที่เพิ่มขึ ้น 2,119.0 เมกะวัตต์
ต.ค. กําลังผลิตที่ปลดออก -396.0 เมกะวัตต์
พ.ย. กําลังผลิตที่เปลี่ยนแปลง 1,723.0 เมกะวัตต์
ธ.ค. กําลังผลิตรวม 65,546.6 เมกะวัตต์

10000 20000 30000 40000 50000 60000 70000 80000 90000 100000 110000
ความต้ องการไฟฟ้าสูงสุด
ความต้ องการไฟฟ้าสูงสุด + 15%
กําลังผลิตพึ่งได้
กําลังผลิตรวม
 
6. การจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ า (Demand Side Management: DSM)
การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้ า (Demand Side management: DSM) หรื อ การส่ งเสริ มการใช้
ไฟฟ้ าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ (Promotion of Electricity Energy Efficiency) ในความหมายกว้าง เป็ น
แนวทางที่เกิดขึ้นและแพร่ หลายในประเทศสหรัฐอเมริ กา เมื่อโลกประสบวิกฤตการณ์พลังงานในช่วง
ทศวรรษ 1970 ทําให้ทวั่ โลกได้ตระหนักว่า การผลิตพลังงานเพื่อสนองความต้องการใช้พลังงานเพียง
ทางเดียว ย่อมก่อให้เกิดปั ญหาหลายประการติดตามมา เช่น ทรัพยากรพลังงานที่นบั วันจะหมดไป
ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมจากมลภาวะที่เกิดจากการเผาผลาญพลังงาน เป็ นต้น แนวคิดการส่ งเสริ มให้เกิดการ
ใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ จึงได้รับการเผยแพร่ และคิดค้นวิจยั ไปสู่ การปฏิบตั ิอย่างเป็ นรู ปธรรม
และจริ งจัง อาจกล่าวได้ว่า DSM เป็ นทางเลือกอีกทางหนึ่ งสําหรับการวางแผนพัฒนาการผลิตและส่ ง
ไฟฟ้ า โดยประเทศไทยนับเป็ นประเทศแรกในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉี ยงใต้ ที่มีการดําเนิ นการจัดการ
ด้านการใช้ไฟฟ้ าอย่างเป็ นรู ปธรรม

การบริ หารจัดการการด้านพลังงานไฟฟ้ าของไทยแบ่งออกเป็ น 2 มุมมอง ได้แก่ 1) ด้าน


Supply-Side Management คือ การวางแผน ก่อสร้าง และจัดหาแหล่งผลิตไฟฟ้ าเพื่อสนองความต้องการ
ของผูใ้ ช้ และ 2) ด้าน Demand-Side Management คือ มาตรการที่ปรับเปลี่ยนปริ มาณ และหรื อ ลักษณะ
ของการใช้ไฟฟ้ าของผูใ้ ช้ไฟฟ้ า (End-use) ทั้งนี้ เพื่อวัตถุประสงค์หลัก 2 ด้าน คือ 1) เพื่อปรับการใช้
ไฟฟ้ าของผูใ้ ช้ไฟฟ้ าให้สมดุลกับการผลิตไฟฟ้ า โดยผ่านเทคโนโลยีที่มีประสิ ทธิภาพ หรื ออาจเป็ นการ
ปรั บ เปลี่ ย นแบบแผนการใช้ไ ฟฟ้ าด้ว ยวิ ธี ก ารจัด การบริ ห ารความต้อ งการใช้ไ ฟฟ้ า และ 2) เพื่ อ
เสริ มสร้างและส่ งเสริ มการอนุรักษ์พลังงาน (Energy Conservation)

โครงการ DSM และมาตรการต่างๆ มีวตั ถุประสงค์ที่จะส่ งเสริ มและสนับสนุน ผูใ้ ช้ไฟฟ้ า


กลุ่มเป้ าหมายให้ปรับปรุ งแนวทางการใช้ไฟฟ้ า ให้สอดคล้องกับความต้องการของกิจการไฟฟ้ า ในขณะ
ที่ผใู ้ ช้ไฟฟ้ ายังคงได้รับคุณประโยชน์ รวมทั้งความพึงพอใจเท่าเดิมหรื อดีกว่าเดิม เช่น ลดค่าใช้จ่ายของ
กิจการไฟฟ้ าและผูใ้ ช้ไฟฟ้ า ลดค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโรงไฟฟ้ าและระบบไฟฟ้ า รวมทั้งลดผลกระทบ
ต่อสิ่ งแวดล้อม ในการพัฒนาและผลิตไฟฟ้ า เป็ นต้น

6.1 การประเมินผลประหยัดโครงการ DSM

ปั จจุบนั ผลการประหยัดจากการดําเนินการโครงการ DSM ไม่สามารถประเมินผลได้อย่าง


ชัดเจน เนื่องจาก DSM เป็ นเพียงโครงการหนึ่ งที่สนับสนุนและส่ งเสริ มผูใ้ ช้ไฟฟ้ าให้มีพฤติกรรมการใช้
ไฟฟ้ าเพื่อให้เกิ ดประโยชน์สูงสุ ดเท่านั้น หากจะนํามาหักลบจากความต้องการไฟฟ้ าในการพยากรณ์
ความต้องการไฟฟ้ าหรื อการวางแผนพัฒนากําลังผลิ ตไฟฟ้ าโดยตรง จะต้องผ่านการวิเคราะห์ เป็ น

37
โครงการๆไป ว่าแต่ละโครงการซํ้าซ้อนกับพฤติกรรมการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่มีอยู่ใน
ตัวแบบการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าหรื อไม่ และในแต่ละโครงการมีศกั ยภาพที่แท้จริ งในการลด
ความต้องการไฟฟ้ ามากน้อยเพียงใด เนื่องจากค่าการประหยัดไฟฟ้ าของโครงการ DSM แต่ละโครงการ
ไม่สามารถวัดได้ว่าสามารถลดการใช้ไฟฟ้ าไปเป็ นปริ มาณเท่าไร ทําได้เพียงแค่การประมาณจํานวน
อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ส่งออกจากโรงงานผูผ้ ลิตเข้าสู่ ตลาดในแต่ละปี และประมาณการว่าการใช้ไฟฟ้ าที่ลดลง
เฉลี่ยของอุปกรณ์ไฟฟ้ าแต่อุปกรณ์เท่านั้น อีกทั้งอุปกรณ์ใหม่ที่ถูกทดแทนในตลาด ไม่ได้ถูกใช้พร้อม
กันทั้งหมด จึงไม่สามารถประหยัดไฟฟ้ าให้เต็มตามเป้ าหมายการประหยัดของโครงการ DSM ได้ ดังนั้น
ก่อนที่จะนําเป้ าหมายการประหยัดจากโครงการ DSM มาปรับลดค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ านั้น
จําเป็ นจะต้องคัดเลือกและลดทอนเป้ าหมายการประหยัดจากโครงการต่างๆ โดยคํานึงถึงความน่าจะเป็ น
ที่จะประหยัดไฟฟ้ าได้ ศักยภาพการประหยัดที่แท้จริ ง การใช้งานจริ งๆในแต่ละช่วงเวลา และโครงการ
นั้น ๆ เป็ นโครงการที่ ผลประหยัดได้นําไปรวมอยู่ในตัวแบบการพยากรณ์ ความต้องการไฟฟ้ าแล้ว
หรื อไม่ เพื่อไม่ให้ไปหักลบค่าความต้องการไฟฟ้ ามากเกินความเป็ นจริ ง หรื อซํ้าซ้อนกับผลประหยัด
ที่ได้รวมไว้ในตัวแบบการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ า ซึ่ งอาจก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนหรื อปรับ
ลดลงมากเกินจากความเป็ นจริ ง จนอาจเป็ นผลให้กาํ ลังผลิตไฟฟ้ าไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ไฟฟ้ า
ในอนาคตได้

6.2 การพิจารณาคัดเลือกโครงการ DSM

การพิจารณาคัดเลือกโครงการ DSM เพื่อปรับค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าให้ถูกต้อง


และเหมาะสม จะต้องพิจารณาว่าโครงการใด เป็ นโครงการที่ รวมอยู่ในตัวแบบการพยากรณ์ ความ
ต้องการไฟฟ้ าอยูแ่ ล้ว หรื อโครงการที่ได้ดาํ เนินการมาตั้งแต่ในอดีตจนกระทัง่ ปั จจุบนั เมื่อนําข้อมูลการ
ใช้ไ ฟฟ้ าในอดี ตที่ มีผ ลจาก DSM เข้าสู่ ตวั แบบการพยากรณ์ ค วามต้อ งการไฟฟ้ า และตัว แบบการ
พยากรณ์ฯนั้นได้เรี ยนรู ้อตั ราการประหยัด ที่ส่งผลต่อการใช้ไฟฟ้ าในปี ต่างๆ เช่น โครงการหลอดผอม
T8 โครงการฉลากเบอร์ 5 (ตูเ้ ย็น เครื่ องปรับอากาศ) ไว้แล้ว และตัวแบบการพยากรณ์ฯดังกล่าวยังได้
เรี ยนรู ้ ถึงอัตราเพิ่มของการประหยัดพลังงานในอนาคตแล้วด้วย ดังนั้นโครงการใหม่ ๆที่ มีลกั ษณะ
คล้ายคลึงกับโครงการฉลากเบอร์ 5 จะถือว่าได้มีการรวมอยูใ่ นตัวแบบการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ า
แล้ว จึงไม่นาํ ไปหักลบค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าที่ปรับปรุ งครั้งนี้ อีก อันจะเกิดความซํ้าซ้อนกับ
ของ DSM จากตัวแบบการพยากรณ์ฯได้

โครงการที่จะสามารถนําไปหักลบจากค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ า เป็ นโครงการหรื อ


อุปกรณ์ใหม่ที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้ของผูใ้ ช้ไฟฟ้ าในประเทศ โดยอาจเป็ นการเปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟ้ า
รู ปแบบใหม่ที่ไม่เคยมีในตลาด เพื่อมาทดแทนอุปกรณ์รุ่นเก่าที่ประสิ ทธิ ภาพตํ่ากว่า เช่น การทดแทน

38
หลอดผอมเดิม (T8) ด้วยหลอดผอมใหม่ (T5) ซึ่งเป็ นโครงการเดียวที่สามารถปรับลดจากความต้องการ
ไฟฟ้ าได้ ต้องพิจารณาถึงเป้ าหมายหรื อกลุ่มผูใ้ ช้ไฟฟ้ าที่เข้าร่ วมโครงการ โดยจุดประสงค์ของโครงการ
ต้องการปรับลดความต้องการไฟฟ้ าของผูใ้ ช้ไฟฟ้ ากลุ่มธุรกิจและอุตสาหกรรม เพื่อประโยชน์ในการลด
การใช้ไฟฟ้ าทั้งพลังไฟฟ้ าสูงสุ ดและพลังงานไฟฟ้ า

6.3 การปรับลดเป้าหมายการประหยัดพลังไฟฟ้ าโดยอาศัยพฤติกรรมการ


ใช้ ไฟฟ้ าของอุปกรณ์ ต่างๆ

การประเมินเป้ าหมายการประหยัดจากโครงการ DSM นั้น หากคํานวณโดยใช้สมมุติฐาน


ที่วา่ อุปกรณ์ที่ส่งออกจากโรงงานเข้าสู่ตลาด ถูกเปิ ดใช้พร้อมกันทั้งหมดนั้นไม่ถูกต้องตามความเป็ นจริ ง
อุปกรณ์บางชิ้นอาจถูกใช้ในเวลาหนึ่ งแต่จะถูกปิ ดในเวลาอื่นๆ จึงจําเป็ นจะต้องศึกษาถึงความน่าจะเป็ น
ของอุปกรณ์ชนิ ดต่างๆ ว่าแต่ละอุปกรณ์มีโอกาสถูกเปิ ดใช้ในแต่ละช่วงเวลามากน้อยต่างกันเพียงไร
ดังนั้นการศึกษาพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ าจากกลุ่มตัวอย่าง เพื่อเก็บข้อมูลลักษณะการใช้ไฟฟ้ านั้น
มี ค วามจํา เป็ นอย่า งยิ่ง เพื่ อที่ จ ะสามารถกํา หนดได้ว่า ในช่ ว งเวลาที่ มีค วามต้อ งการใช้ไ ฟฟ้ าสู ง สุ ด
อุปกรณ์ดงั กล่าวมีสดั ส่ วนการใช้ไฟฟ้ าเป็ นเท่าไรของอุปกรณ์ท้ งั หมด

สมมุติฐานโครงการ DSM เพือ่ หักลบจากค่ าพยากรณ์ ความต้ องการไฟฟ้า

1. จะต้อ งไม่ เ ป็ นโครงการต่ อ เนื่ อ งจากโครงการเดิ ม เช่ น โครงการที่ เ ป็ นการเพิ่ ม


ประสิ ทธิภาพอุปกรณ์ไฟฟ้ า เนื่องจากได้มีการรวมอยูใ่ นตัวแบบการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ าแล้ว
2. จะต้องเป็ นโครงการใหม่ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้ าใหม่ ซึ่งจะมีเพียงโครงการ
เปลี่ยนหลอดผอมใหม่ (T5) เท่านั้น ที่นาํ มาปรับลดความต้องการไฟฟ้ าลงอีก จากค่าพยากรณ์ความ
ต้องการไฟฟ้ าที่ได้จากตัวแบบการพยากรณ์ฯ
3. ในอนาคต DSM ควรจะมีโครงการใหม่ๆ เพิ่มขึ้นอีก หลังจากแผนสนับสนุนโครงการ
DSM ในระยะสั้นสิ้ นสุ ดลง เพื่อความต่อเนื่องในการใช้พลังงานไฟฟ้ าอย่างมีประสิ ทธิภาพ

39
6.4 โครงการ DSM ทีน่ ํามาปรับค่ าพยากรณ์ ความต้ องการไฟฟ้ า

1. โครงการส่ งเสริมการใช้ หลอดผอมใหม่ (T5) เพือ่ ทดแทนหลอดผอมเดิม (T8)

เป้าหมายของโครงการ มุ่งส่ งเสริ มให้เกิดการใช้หลอดผอมใหม่ (T5) ทดแทนการ


ใช้หลอดผอมเดิม (T8) เฉพาะผูใ้ ช้ไฟฟ้ าในภาคธุ รกิจและอุตสาหกรรม รวมจํานวน 83 ล้านหลอด
ภายในปี 2558

วิธีดําเนินการ การส่ งเสริ มให้อาคารธุรกิจและอุตสาหกรรมทั้งอาคารเก่า และอาคารที่


จะสร้ างใหม่เปลี่ยนมาใช้หลอดผอมใหม่ (T5) โดยการให้การสนับสนุ นหรื อการช่ วยเหลือทางด้าน
การเงิน แล้วให้ผรู ้ ่ วมโครงการผ่อนชําระต่อ กฟผ. โดยตรง เป็ นระยะเวลา 2 ปี โดยไม่เสี ยดอกเบี้ย

ตารางที่ 6.1 เป้าหมายผลประหยัดไฟฟ้าจากโครงการเปลีย่ นหลอดผอมใหม่ T5 (สะสม)

ปี 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561


พลังไฟฟ้า (เมกะวัตต์ ) 43 129 215 344 473 584 498 369 198
พลังงานไฟฟ้า (ล้านหน่ วย) 210 629 1049 1,678 2,307 2,852 2,433 1,804 965
ที่มา: สนพ.

2. เป้าหมายการประหยัดไฟฟ้าจากโครงการ DSM ในอนาคต


เมื่อโครงการสนับสนุนการทดแทนหลอดผอมใหม่ T5 สิ้ นสุ ดลงในปี 2561 กฟผ. ได้
ตั้งเป้ าหมายการประหยัดไฟฟ้ าในอนาคต โดยโครงการใหม่ ซึ่ งคาดว่าอัตราการประหยัดการใช้ไฟฟ้ า
ของปี 2562 ควรจะดี ข้ ึนกว่า (มากกว่า) ปี 2561 ประมาณร้ อยละ 21 (จากอัตราเติ บโตเฉลี่ ยของการ
ประหยัดการใช้ไฟฟ้ าปี 2553 – 2561) หลังจากนั้นให้อตั ราการเติบโตของการประหยัดการใช้ไฟฟ้ าคงที่
ตลอดช่วงการพยากรณ์ ดังนั้น ตั้งแต่ปี 2562 – 2573 ซึ่งประมาณการว่า สามารถลดความต้องการใช้พลัง
ไฟฟ้ าปี ละ 240 เมกะวัตต์ และลดการใช้พลังงานไฟฟ้ าปี ละ 1,170 ล้านหน่วย

40
7. พลังงานหมุนเวียน
7.1 แผนพลังงานทดแทน 15 ปี ของกระทรวงพลังงาน
ปั จจุบนั ประเทศไทยนําเข้าพลังงานในหลายรู ปแบบมีมูลค่าหลายล้านบาท เนื่องจาก
พลังงานเป็ นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ จากอดีตการเกิดวิกฤติดา้ นราคาพลังงาน
ที่ปรับตัวขึ้นลง ทําให้การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศได้รับผลกระทบ และเริ่ มตระหนักว่าพลังงานที่
แปรรู ปจากธรรมชาติบางชนิด เช่น นํ้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ เป็ นต้น กําลังจะหมดไป กระทรวงพลังงาน
จึงมีนโยบายที่จะพัฒนาพลังงานทดแทนขึ้น และผลักดันให้เกิดแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี
(2551-2565) โดยมีเป้ าประสงค์ที่จะเพิ่มสัดส่ วนการใช้พลังงานทดแทนให้เป็ นร้อยละ 20.3 ของการใช้
พลังงานขั้นสุ ดท้ายของประเทศในปี พ.ศ. 2565 และมีสดั ส่ วนการใช้พลังงานทดแทนในภาคการผลิต
ไฟฟ้ าร้อยละ 2.4 คิดเป็ นกําลังผลิต 5,608 เมกะวัตต์ โดยแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี ได้แบ่งเป็ น
3 ระยะ ดังนี้

(1) ระยะสั้ น (พ.ศ. 2551 – 2554) มุ่งเน้นส่ งเสริ มเทคโนโลยีพลังงานทดแทนที่ไดรับการ


ยอมรับแล้วและมีศกั ยภาพแหล่งพลังงานทดแทนสูง โดยมีเป้ าหมายสะสมในการพัฒนาพลังงาน
ทดแทนเพื่อการผลิตไฟฟ้ า 3,273 เมกะวัตต์ หรื อเทียบเท่า 1,587 ktoe

(2) ระยะกลาง (พ.ศ. 2555 – 2559) ส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีพลังงานทดแทน และ


สนับสนุนพัฒนาต้นแบบเทคโนโลยีพลังงานทดแทนใหม่ๆ ให้มีความคุมค่าทางเศรษฐศาสตร์เพิ่มสู งขึ้น
รวมถึงส่ งเสริ มการใช้เทคโนโลยีใหม่ในการนําไปสู่การสร้างความเข้มแข็งให้กับการผลิตพลังงาน
ทดแทนระดับชุมชน โดยมีเป้ าหมายสะสมในการพัฒนาพลังงานทดแทนเพื่อการผลิตไฟฟ้ า 4,191
เมกะวัตต์ หรื อเทียบเท่า 1,907 ktoe

(3) ระยะยาว (พ.ศ. 2560 – 2565) ส่ งเสริ มเทคโนโลยีพลังงานทดแทนใหม่ๆ ที่มีความ


คุมค่า ทางเศรษฐศาสตร์ รวมถึงการขยายผลพลังงานชุมชนโดยมีเป้ าหมายสะสมในการพัฒนาพลังงาน
ทดแทนเพื่อการผลิตไฟฟ้ า 5,608 เมกะวัตต์ เทียบเท่า 2,290 ktoe

รายละเอียดแสดงในภาคผนวก 9

7.2 โครงการพลังงานหมุนเวียนของ กฟผ.


การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้มีการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนเพือ่ ผลิต
ไฟฟ้ ามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 โดยส่ วนใหญ่เป็ นการวิจยั และพัฒนาต้นแบบของระบบการผลิตไฟฟ้ าเพื่อ
เป็ นตัวอย่างแก่หน่วยงานต่างๆ และขยายผลการพัฒนาสู่ภาคประชาชน โดยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั

41
กฟผ. มีการพัฒนาใช้งานพลังงานหมุนเวียนเพื่อผลิตไฟฟ้ า ได้แก่ กังหันลมผลิตไฟฟ้ าที่ลาํ ตะคอง
กังหันลมผลิตไฟฟ้ าที่สถานีพลังงานทดแทนแหลมพรหมเทพ โรงไฟฟ้ าเซลล์แสงอาทิตย์ผาบ่อง
โรงไฟฟ้ าเซลล์แสงอาทิตย์เขื่อนสิ รินธร เป็ นต้น นอกจากนี้ กฟผ. ยังได้พฒั นาโครงการโรงไฟฟ้ าพลัง
นํ้าขนาดเล็กเพื่อติดตั้งท้ายเขื่อนของกรมชลประทานที่มีอยูแ่ ล้ว เพื่อเป็ นการใช้ทรัพยากรนํ้าให้เกิด
ประโยชน์สูงสุ ดในการผลิตพลังงาน โดยมีการดําเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2547

เพื่อเป็ นการสานต่อการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนของ กฟผ. และตอบสนองนโยบายของ


กระทรวงพลังงาน กฟผ. จึงได้จดั ทําแผนพัฒนาพลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้ า (แผนเบื้องต้น)
โดยพิจารณาพลังงานหมุนเวียนที่เหมาะสมต่อการดําเนินการของ กฟผ. 4 ประเภท ได้แก่ พลังงานลม
พลังงานแสงอาทิตย์ พลังนํ้าขนาดเล็กท้ายเขื่อนชลประทาน และพลังงานจากขยะ

ในการกําหนดเป้ าหมายการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนของ กฟผ. ได้คาํ นึงถึงความเป็ นไป


ได้ในทางปฏิบตั ิ ผลกระทบต่อราคาไฟฟ้ าและประชาชน ตลอดจนการลงทุนของภาครัฐ ประกอบด้วย
1. ต้นทุนการผลิตไฟฟ้ า
2. การพึ่งพาเทคโนโลยีและการลงทุนจากต่างประเทศ
3. ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมและประชาชน
4. ข้อจํากัดและเงื่อนไขในการเชื่อมต่อเข้าระบบไฟฟ้ า
5. กําลังผลิตที่สามารถพึ่งพาได้ (Dependable Capacity)
6. ศักยภาพเชิงพื้นที่ในการผลิตไฟฟ้ า

แผนการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนของ กฟผ. ได้กาํ หนดให้มีกาํ ลังผลิตไฟฟ้ าจากพลังงาน


หมุนเวียนที่มีความเหมาะสมต่อการพัฒนาในเชิงพาณิ ชย์ โดยมีตน้ ทุนการผลิตไม่สูงกว่าราคาขายส่ ง
เฉลี่ยของพลังงานไฟฟ้ ารวมกับส่ วนเพิ่มราคาไฟฟ้ าที่รัฐบาลกําหนด (Adder) รวมทั้งโครงการพลังงาน
หมุนเวียนอีกส่ วนหนึ่งที่แม้จะไม่ผา่ นเกณฑ์พิจารณาด้านราคา แต่ได้พิจารณากําหนดไว้ในแผนด้วยใน
ลักษณะของโครงการต้นแบบกึ่งงานวิจยั เพื่อเป็ นกิจกรรมส่ งเสริ มพลังงานสะอาดตามนโยบายความ
รับผิดชอบต่อสังคม (CSR) และเพื่อติดตามเทคโนโลยีและประเมินผลการดําเนินการจริ งในทางปฏิบตั ิ
(รายละเอียดแสดงในภาคผนวก 9)

แผนพัฒนาพลังงานหมุนเวียนของ กฟผ. (แผนเบื้องต้น) แบ่งออกเป็ น 3 ช่วงคือ ระยะสั้น


ปี 2552-2555 ระยะกลาง ปี 2556-2560 และระยะยาว ปี 2561-2565 แสดงในตารางที่ 7.1

42
ตารางที่ 7.1 กําลังผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแผนการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนระยะต่ างๆ (เมกะวัตต์ )

ระยะสั้ น ระยะกลาง ระยะยาว


รวมทั้งสิ้น
2552 - 2555 2556 – 2560 2561 - 2565
พลังนํ้าขนาดเล็ก 48.7 86.0 59.0 193.7
พลังงานลม 20.5 19.0 89.0 128.5
แสงอาทิตย์ 1.0 0.5 0.5 2.0
พลังงานขยะ - 7.5 7.5 15.0
รวมทั้งสิ้น 70.2 113.0 156.0 339.2

7.3 ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Small Power Producer : SPP) พลังงาน


หมุนเวียน
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก หมายถึง ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนซึ่งผลิตไฟฟ้ าขายให้ กฟผ. โดยมี
ปริ มาณพลังไฟฟ้ ารับซื้อระหว่าง 10–90 เมกะวัตต์ โดยใช้ระบบการผลิตพลังงานความร้อนและไฟฟ้ า
ร่ วมกัน (Cogeneration) ซึ่งส่ วนใหญ่จะใช้ก๊าซธรรมชาติหรื อถ่านหิ นเป็ นเชื้อเพลิง และใช้พลังงาน
หมุนเวียน (Renewable Energy) เช่น กาก หรื อ เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ขยะ ก๊าซชีวภาพ
พลังงานแสงอาทิตย์ เป็ นเชื้อเพลิง การรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กเริ่ มตั้งแต่ ปี 2535 โดย
คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2535 เห็นชอบร่ างระเบียบการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ า
เอกชนรายเล็ก (SPP) ต่อมาในวันที่ 27 ตุลาคม 2536 กพช. ได้มีมติแก้ไขระเบียบการรับซื้อไฟฟ้ าจาก
SPP โดยให้เพิม่ ปริ มาณพลังไฟฟ้ ารับซื้อแต่ละรายไม่เกิน 90 เมกะวัตต์ เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2538
คณะรัฐมนตรี จึงได้มีมติขยายปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก เป็ น 1,444 เมกะ
วัตต์ และในปี 2539 ขยายเป็ น 3,200 เมกะวัตต์ จากนั้นคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2539
อนุมตั ิให้มีปรับปรุ งระเบียบการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กให้มีการรับซื้อไฟฟ้ าจาก
SPP ที่ผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานนอกรู ปแบบ กาก หรื อ เศษวัสดุเหลือใช้ เป็ นเชื้อเพลิง โดยไม่กาํ หนด
ปริ มาณในการรับซื้อไฟฟ้ าและระยะเวลาในการรับซื้อไฟฟ้ า อีกทั้งยังมีมาตรการจูงใจให้ส่วนเพิ่มค่า
ไฟฟ้ า (Adder) ให้กบั ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าในปี 2550 อีกด้วย (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก 9)

ปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียนจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ ารายเล็กช่วงปี 2553 - 2558


ในแผน PDP 2010 รวมทั้งสิ้ น 1,045 เมกะวัตต์ โดยแบ่งเป็ นสัญญาประเภท Firm 315 เมกะวัตต์ และ
สัญญาประเภท Non-Firm 730 เมกะวัตต์ มีรายละเอียดแสดงในตารางที่ 7.2

43
ตารางที่ 7.2 ปริมาณการรับซื้อไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ รายปี จากพลังงานหมุนเวียนจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก
หน่วย : เมกะวัตต์
ประเภทเชื้อเพลิง 2553 2554 2555-2558 รวม
SPP –Firm
ชีวมวล 90 160 65 315
SPP- Non Firm
ชีวมวล 29 - - 29
ก๊าซชีวภาพ 6 - - 6
แสงอาทิตย์ - 85 90 175
พลังงานลม 340 180 - 520
รวม 465 425 155 1,045

ปั จจุบนั ณ มกราคม 2553 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กที่ใช้เชื้อเพลิงจากพลังงานหมุนเวียน


ที่ดาํ เนินโครงการมีท้ งั หมด 35 ราย รวม 902.923 เมกะวัตต์ โดยแบ่งเป็ นสัญญาประเภท Firm จํานวน
18 ราย รวม 395.3 เมกะวัตต์ และสัญญาประเภท Non-Firm จํานวน 17 ราย รวม 507.623 เมกะวัตต์
โดยมีผผู ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กที่ จ่ายเข้าระบบแล้วจํานวน 26 ราย รวม 384.923 เมกะวัตต์ แบ่งเป็ น
ประเภท Firm จํานวน 17 ราย รวม 305.3 เมกะวัตต์ และประเภท Non-Firm อีกจํานวน 9 ราย รวม
79.623 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ยงั มีผผู ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กที่ยงั ไม่จาํ หน่ายเข้าระบบอีกจํานวน 9 ราย
รวม 518.0 เมกะวัตต์ โดยแบ่งเป็ นประเภท Firm จํานวน 1 ราย รวม 90.0 เมกะวัตต์ และประเภท
Non-Firm จํานวน 8 ราย รวม 428.0 เมกะวัตต์ (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก 9)

7.4 ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (Very Small Power Producer : VSPP)


พลังงานหมุนเวียน

ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก หมายถึง ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าซึ่งผลิตไฟฟ้ าขายให้การไฟฟ้ านคร


หลวง (กฟน.) และการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค (กฟภ.) โดยมีกาํ ลังผลิตไฟฟ้ าตํ่ากว่า 10 เมกะวัตต์ โดยใช้
ระบบการผลิตพลังงานความร้อนและไฟฟ้ าร่ วมกัน (Cogeneration) และพลังงานหมุนเวียน (Renewable
Energy) เช่น ก๊าซชีวภาพ ขยะ ชีวมวล พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ เป็ นเชื้อเพลิง

44
ในปี 2545 รัฐบาลมีนโยบายส่ งเสริ มการรับซื้อไฟฟ้ าจากพลังงานนอกรู ปแบบและ
พลังงานหมุนเวียน แต่เป็ นโครงการผลิตไฟฟ้ าที่มีขนาดเล็กมาก โดยให้การไฟฟ้ าฝ่ ายจําหน่ายรับซื้อเข้า
ระบบไม่เกิน 1 เมกะวัตต์ ปัจจุบนั จากการประเมินศักยภาพพลังงานหมุนเวียนและความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยี พบว่า VSPP ที่ใช้พลังงานหมุนเวียนสามารถผลิตไฟฟ้ าขายเข้าระบบได้มากกว่า 1 เมกะวัตต์
จึงมีการปรับปรุ งระเบียบการรับซื้อใหม่ โดย กพช. ในการประชุมเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2549 มีมติให้
ขยายปริ มาณการรับซื้อจาก 1 เมกะวัตต์เป็ น 10 เมกะวัตต์ จากนั้นได้มีมาตรการสนับสนุนการผลิตไฟฟ้ า
จากพลังงานหมุนเวียนโดยให้ค่าส่ วนเพิ่มไฟฟ้ า (Adder) ในปี 2550 กับผูผ้ ลิตไฟฟ้ า

ในอนาคตการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียนจะมีปริ มาณมากขึ้น และเป็ นยุทธศาสตร์ที่


มีความสําคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างยิง่ ในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย พ.ศ. 2553 –
2573 (PDP 2010) ฉบับนี้ได้บรรจุการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียนไว้ในแผนและแสดงให้เห็น
อย่างชัดเจนกว่าในอดีต การจัดทําแผนประมาณการการรับซื้อไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียนของ VSPP
มีรายละเอียดการพิจารณาดังนี้

- ช่วงปี 2553–2565 กําหนดปริ มาณ VSPP พลังงานหมุนเวียนตามกรอบแผนพลังงาน


ทดแทน 15 ปี ของกระทรวงพลังงาน โดยปริ มาณประมาณการรายปี ของโครงการที่จะดําเนินการโดย
กฟผ. การรับซื้อไฟฟ้ าจาก SPP และ VSPP รวมกันไม่นอ้ ยกว่าปริ มาณรายปี ตามแผนพลังงานทดแทน
15 ปี ของกระทรวงพลังงานในภาคการผลิตไฟฟ้ า ซึ่งในส่ วนของ VSPP ที่รับซื้อจาก กฟภ. ช่วงปี
2553–2556 (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก 9) กฟภ. ได้พิจารณาปริ มาณรับซื้อจากความพร้อมของ
โครงการมีหลักเกณฑ์ คือ
1) โครงการก่อสร้างแล้วเสร็ จแต่รอใบอนุญาตจําหน่ายไฟฟ้ า
2) โครงการที่ดาํ เนินการก่อสร้างแล้ว และ
3) โครงการได้วางหลักประกันในการยืน่ ข้อเสนอขอจําหน่ายไฟฟ้ ากับ กฟภ.

- ช่วงปี 2566-2573 ปริ มาณการรับซื้อพลังงานหมุนเวียนของ VSPP กําหนดตามประมาณ


การรับซื้อของการไฟฟ้ าฝ่ ายจําหน่าย ซึ่ง ณ ปี 2573 จะทําให้มีการผลิตพลังงานไฟฟ้ าด้วยพลังงาน
หมุนเวียนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของปริ มาณพลังงานไฟฟ้ าที่ผลิตทั้งหมด

45
ตารางที่ 7.3 ปริมาณการรับซื้อไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ รายปี จากพลังงานหมุนเวียนของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กมาก

ปี ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ แสงอาทิตย์ ขยะ พลังงานลม พลังนํ้า รวม


2553 235.0 20.0 5.0 44.0 - 27.0 331.0
2554 186.0 17.0 6.0 20.0 50.0 2.0 236.0
2555 44.0 9.0 27.0 20.0 60.0 2.0 162.0
2556 100.0 4.0 34.0 8.0 35.0 - 181.0
2557 50.0 6.0 50.0 10.0 47.5 27.0 190.5
2558 50.0 7.0 50.0 6.0 50.0 2.0 165.0
2559 120.0 4.0 50.0 0.5 50.0 - 224.5
2560 80.0 10.0 50.0 5.0 73.5 9.0 227.5
2561 50.0 7.0 50.0 5.0 61.0 - 173.0
2562 40.0 5.0 50.0 5.0 70.0 - 170.0
2563 60.0 3.0 50.0 5.0 70.0 - 188.0
2564 60.0 3.0 50.0 - 20.0 - 133.0
2565 190.0 2.0 50.0 5.0 40.0 - 287.0
2566 80.0 3.0 50.0 3.0 9.0 - 145.0
2567 80.0 3.0 50.0 3.0 10.0 - 146.0
2568 90.0 3.0 50.0 3.0 10.0 - 156.0
2569 90.0 3.0 50.0 3.0 11.0 - 157.0
2570 100.0 3.0 50.0 3.0 12.0 - 168.0
2571 100.0 3.0 50.0 3.0 12.0 - 168.0
2572 110.0 3.0 50.0 3.0 13.0 - 179.0
2573 110.0 3.0 50.0 3.0 13.0 - 179.0
รวม 2,025.0 121.0 922.0 157.5 672.0 69.3 3,966.8

ปั จจุบนั ณ ธันวาคม 2552 สถานภาพการรับซื้อไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าฝ่ ายจําหน่ายในส่ วน


ของผูผ้ ลิตไฟฟ้ ารายเล็กมากที่ใช้เชื้อเพลิงจากพลังงานหมุนเวียนที่ขายไฟฟ้ าเข้าระบบแล้วมี 159 ราย
รวม 350.3 เมกะวัตต์ แบ่งตามชนิดเชื้อเพลิงได้ดงั นี้ พลังงานแสงอาทิตย์ 51 ราย รวม 7.8 เมกะวัตต์ ก๊าซ
ชีวภาพ 41 ราย รวม 43.0 เมกะวัตต์ ชีวมวล 53 ราย รวม 287.8 เมกะวัตต์ ขยะ 8 ราย รวม 10.8 เมกะวัตต์
พลังนํ้า 3 ราย รวม 0.5 เมกะวัตต์ และ พลังงานลม 3 ราย รวม 0.4 เมกะวัตต์ (รายละเอียดแสดงใน
ภาคผนวก 9)

46
8. โครงการผลิตไฟฟ้ า ระบบการผลิตพลังงานความร้ อนและ
ไฟฟ้ าร่ วมกัน (Cogeneration)
8.1 ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก ระบบการผลิตพลังงานความร้ อนและไฟฟ้ า
ร่ วมกัน (SPP Cogeneration)

เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2550 ครม. มีมติเห็นชอบตามมติ กพช. เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2549


ให้ กฟผ. เปิ ดการรับซื้อไฟฟ้ าจาก SPP ทุกประเภทเชื้อเพลิง โดยให้ขยายปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าจาก
เดิม 3,200 เมกะวัตต์เป็ น 4,000 เมกะวัตต์ ต่อมา กฟผ. ได้ออกประกาศรับซื้อไฟฟ้ าจาก SPP โดยกําหนด
ปริ มาณรับซื้อไฟฟ้ าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm ระบบ Cogeneration จํานวน 500 เมกะวัตต์ มี SPP
ระบบ Cogeneration จํานวน 28 โครงการยืน่ ข้อเสนอรวมปริ มาณพลังไฟฟ้ าเสนอขายตามสัญญาทั้งสิ้ น
2,191 เมกะวัตต์ ซึ่งสูงกว่าปริ มาณที่ประกาศรับซื้อ มีผลให้ กพช. มีมติให้ กฟผ. ยุติการรับซื้อไฟฟ้ าจาก
SPP ระบบ Cogeneration เมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2550 ต่อมาได้มีมติ กพช. เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน
2550 ให้สามารถรับซื้อได้มากกว่า 500 เมกะวัตต์ท้ งั นี้รวมแล้วไม่เกิน 4,000 เมกะวัตต์ ตามที่มติก่อน
หน้านั้น

ต่อมาเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2552 ครม. เห็นชอบตามมติ กพช. วันที่ 24 สิ งหาคม 2552


เรื่ องแนวทางการส่ งเสริ มการผลิตไฟฟ้ าด้วยระบบ Cogeneration เห็นควรให้มีการกําหนดเป้ าหมาย
ปริ มาณพลังไฟฟ้ ารับซื้อจาก SPP ระบบ Cogeneration ประเภทสัญญา Firm ที่ใช้เชื้อเพลิงเชิงพาณิ ชย์
สําหรับการจัดหาไฟฟ้ าช่วงปี 2558-2564 ปริ มาณรวม 2,000 เมกะวัตต์ และในระยะยาวได้กาํ หนด
ปริ มาณการรับซื้อไฟฟ้ าจาก SPP ระบบ Cogeneration เพิ่มขึ้นในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของ
ประเทศไทย (PDP 2010) ดังนั้น ในแผน PDP 2010 ได้กาํ หนดการรับซื้อ SPP ระบบ Cogeneration
ดังนี้
- ช่วงปี 2553–2557 ปริ มาณรับซื้อจาก SPP สัญญาประเภท Firm ตามระเบียบการรับซื้อ
พ.ศ. 2550 รวมทั้งสิ้ น 1,604 เมกะวัตต์ และSPP สัญญาประเภท Non-Firm 40 เมกะวัตต์ รวมทั้งสิ้น
1,644 เมกะวัตต์
- ช่วงปี 2558–2564 ปริ มาณรับซื้อรวม 2,000 เมกะวัตต์ โดยเป็ นการรับซื้อจาก SPP
สัญญาประเภท Firm ในปี 2558–2563 ปี ละ 270 เมกะวัตต์ และปี 2564 อีก 380 เมกะวัตต์
- ช่วงปี 2565–2573 เป็ นการประมาณการขยายปริ มาณการรับซื้ออีกปี ละ 360 เมกะวัตต์
ในปี 2565-2572 และปี 2573 อีก 540 เมกะวัตต์ รวมทั้งสิ้ น 3,420 เมกะวัตต์

47
ปั จจุบนั ณ มกราคม 2553 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ ารายเล็กที่ใช้ระบบการผลิตพลังงานความร้อนและ
ไฟฟ้ าร่ วมกัน (Cogeneration) ที่ดาํ เนินโครงการมีท้ งั หมด 50 ราย รวม 3,600 เมกะวัตต์ โดยแบ่งเป็ น
สัญญาประเภท Firm จํานวน 43 ราย รวม 3,391 เมกะวัตต์ และสัญญาประเภท Non-Firm จํานวน 7 ราย
รวม 209 เมกะวัตต์ โดยมีผผู ้ ลิตไฟฟ้ ารายเล็กที่ จ่ายเข้าระบบแล้วจํานวน 31 ราย รวม 1,956 เมกะวัตต์
แบ่งเป็ นประเภท Firm จํานวน 25 ราย รวม 1,787 เมกะวัตต์ และประเภท Non-Firm อีกจํานวน 6 ราย
รวม 169 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ยงั มีผผู ้ ลิตไฟฟ้ ารายเล็กที่ยงั ไม่จาํ หน่ายเข้าระบบอีกจํานวน 19 ราย รวม
1,644 เมกะวัตต์ โดยแบ่งเป็ นประเภท Firm จํานวน 18 ราย รวม 1,604 เมกะวัตต์ และประเภท Non-
Firm จํานวน 1 ราย รวม 40 เมกะวัตต์ (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก 9)

8.2 ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก ระบบการผลิตพลังงานความร้ อนและ


ไฟฟ้ าร่ วมกัน (VSPP Cogeneration)

เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2549 คณะรัฐมนตรี ได้เห็นชอบตามมติ กพช. เมื่อวันที่ 6


พฤศจิกายน 2549 เรื่ อง นโยบายและแผนพัฒนาพลังงานของประเทศ ในการกําหนดมาตรการในการ
จัดหาพลังงาน โดยส่ งเสริ มให้มีการใช้พลังงานอย่างประหยัดและมีประสิ ทธิภาพ ด้วยการสนับสนุน
ให้มีการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าด้วยระบบ Cogeneration ในปริ มาณที่เหมาะสมผ่านระเบียบการ
รับซื้อไฟฟ้ าจาก SPP และระเบียบการรับซื้อไฟฟ้ าจาก VSPP ต่อมาเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2552 ครม.
เห็นชอบตามมติ กพช. วันที่ 24 สิ งหาคม 2552 เรื่ องแนวทางการส่ งเสริ มการผลิตไฟฟ้ าด้วยระบบ
Cogeneration เห็นควรให้รับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าระบบ Cogeneration ขนาดเล็กที่มีการผลิตไฟฟ้ า
และไอนํ้าหรื อความเย็น ณ จุดใช้งาน โดยให้รับซื้อไฟฟ้ าโดยไม่กาํ หนดระยะเวลาและปริ มาณ

ในแผน PDP 2010 ได้กาํ หนดแผนการรับซื้อ VSPP ระบบ Cogeneration ตามประมาณ


การการรับซื้อของการไฟฟ้ าฝ่ ายจําหน่าย ช่วงปี 2553 – 2573 รวมทั้งสิ้ น 113 เมกะวัตต์

ปั จจุบนั ณ ธันวาคม 2552 สถานภาพการรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก


ระบบ Cogeneration มีท้ งั สิ้ น 17 ราย รวม 70.65 เมกะวัตต์ ที่ขายไฟฟ้ าเข้าระบบแล้วมีท้ งั หมด 2 ราย
รวม 6.0 เมกะวัตต์ มีโครงการที่ลงนามซื้อขายไฟฟ้ าแล้ว 11 ราย รวม 53.6 เมกะวัตต์ โครงการที่ไดัรับ
การตอบรับซื้อแล้ว 1 ราย รวม 3.6 เมกะวัตต์ และโครงการที่อยูร่ ะหว่างการพิจารณา 3 ราย รวม 7.45
เมกะวัตต์ (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก 9)

48
9. โครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

9.1 วิวฒ
ั นาการของโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์
โรงไฟฟ้ าพลังนิวเคลียร์เป็ นโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนที่ผลิตพลังงานโดยอาศัยปฎิกิริยา
นิวเคลียร์ฟิชชัน (Fission nuclear reaction) เป็ นแหล่งกําเนิดความร้อน ซึ่งหลักการทํางานโดยทัว่ ไป
เหมือนกับโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนที่ใช้เชื้อเพลิงประเภทอื่น การทํางานของโรงไฟฟ้ าพลังนิวเคลียร์น้ นั
สามารถแบ่งเป็ น 2 ส่ วนหลัก คือ
1. เครื่ องปฎิกรณ์นิวเคลียร์ แหล่งกําเนิดพลังงานจากปฎิกิริยานิวเคลียร์ ใช้ผลิตไอนํ้า
สําหรับหมุนกังหันผลิตไฟฟ้ า
2. ระบบผลิตไฟฟ้ า เป็ นส่ วนที่รับไอนํ้าจากเครื่ องปฎิกรณ์นิวเคลียร์ เพื่อหมุนกังหันผลิต
ไฟฟ้ า โดยองค์ประกอบส่ วนนี้เหมือนกับโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนทุกชนิด
โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์มีวิวฒั นาการมาอย่างยาวนาน สามารถแบ่งการพัฒนาได้เป็ น 4 ยุค คือ

ปฎิกรณ์นิวเคลียร์ยคุ ที่ 1 (1st Generation Nuclear Reactor : Early Prototypes Reactors)


ระยะเวลา : พ.ศ. 2493- พ.ศ. 2512
เป็ นช่วงแรกของวิวฒั นาการโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ มีวตั ถุประสงค์เพื่อทําการทดลองวิจยั
ต้นแบบ ได้แก่ ศึกษาสารประกอบของเชื้อเพลิง ลักษณะของแกนปฎิกรณ์ รู ปทรง ชนิดของสาร
พาความร้อน เพื่อนําความรู ้ดงั กล่าวมาใช้งานจริ ง

ปฎิกรณ์นิวเคลียร์ยคุ ที่ 2 (2ndGeneration Nuclear Reactor : Commercial Power Reactors)


ระยะเวลา : พ.ศ. 2512- พ.ศ. 2533
เป็ นช่วงที่นาํ ความรู ้ยคุ ก่อนมาสู่การใช้งานในเชิงพาณิ ชย์ มีวตั ถุประสงค์เพื่อผลิตพลังงาน
ซึ่งมีตน้ ทุนตํ่า โดยโรงไฟฟ้ าในยุคนี้ไม่มีความซับซ้อนมากนัก แม้เตาปฎิกรณ์ในยุคนี้มีการยอมรับและ
ใช้งานอย่างแพร่ หลาย (หลายโรงยังคงมีการใช้งานจนปัจจุบนั ) แต่ยงั มีอีกหลายประเด็นที่ตอ้ งมีการ
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ระบบความปลอดภัย ระยะเวลาการใช้งาน ประสิ ทธิภาพ ระยะเวลาการ
ก่อสร้าง ปริ มาณขยะปนเปื้ อนกัมมันตภาพรังสี

ปฎิกรณ์นิวเคลียร์ยคุ ที่ 3 และ 3+ (3rd Generation Nuclear Reactor : Advanced LWRs and
3rd Generation Nuclear Reactor Plus : Evolutionary Design)
ระยะเวลา : พ.ศ. 2533- พ.ศ. 2573

49
ในยุคนี้มีการนําโรงไฟฟ้ าซึ่งได้รับความนิยมในยุคที่ 2 ได้แก่ โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์แบบ
นํ้าความดันสูง (Pressurized Water Reactor, PWR) แบบนํ้าเดือด (Boiling Water Reactor, BWR) และ
แบบนํ้ามวลหนักความดันสู ง (Pressurized Heavy Water Reactor, PHWR) มาปรับปรุ งเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพในด้านต่างๆ ได้แก่ การก่อสร้างใช้ระยะเวลาสั้นลง จากประมาณ 7 ปี เหลือเพียง 3 หรื อ 4
ปี การเพิ่มระบบความปลอดภัยที่ไม่ตอ้ งใช้มนุษย์ ที่เรี ยกว่า Passive Safety System ทั้งสามารถรองรับ
กรณี เกิดเหตุฉุกเฉินหลายเหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมๆกัน ระบบความปลอดภัยแบ่งเป็ นหลายส่ วนแต่ละ
ส่ วนทํางานเป็ นอิสระต่อกัน ด้วยเทคโนโลยีที่เน้นกระบวนการตามธรรมชาติ ได้แก่ แรงโน้มถ่วงการ
ไหลวนตามธรรมชาติ การระเหย ร่ วมกับการใช้อุปกรณ์เครื่ องจักรกล เช่น ปั๊ม หรื อ มอเตอร์ การเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพ การใช้เชื้อเพลิงทําให้ปริ มาณขยะลดลงและมีอายุการใช้งานนานขึ้น

9.2 ความจําเป็ นทีจ่ ะต้ องมีการพัฒนาโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ในประเทศไทย


แม้วา่ ในอดีตโรงไฟฟ้ าพลังนิวเคลียร์มีความไม่มนั่ ใจในด้านความปลอดภัย แต่ปัจจุบนั
เทคโนโลยีดา้ นนี้ได้พฒั นารุ ดหน้ามากขึ้น โดยเน้นในด้านความปลอดภัยเป็ นสําคัญ ทําให้โรงไฟฟ้ า
นิวเคลียร์ได้รับการยอมรับมากขึ้น ในปั จจุบนั (กุมภาพันธ์ 2553) ทัว่ โลกมีโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ซ่ ึง
กําลังเดินเครื่ องจํานวน 436 โรง ใน 30 ประเทศ และอยูใ่ นระหว่างการก่อสร้างอีกจํานวน 53 โรง
โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์จึงเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งที่นาํ มาพิจารณาในการวางแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าใน
ระยะยาว มีขอ้ ได้เปรี ยบด้านต่างๆ ดังนี้
1. สนองความต้องการไฟฟ้ าที่เพิ่มสูงขึ้น
ประเทศไทยเป็ นประเทศที่กาํ ลังพัฒนา มีประชากรเพิ่มมาก ทําให้ความต้องการไฟฟ้ าใน
ประเทศเพิ่มขึ้นทุกปี โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์เป็ นทางเลือกที่จะสนองตอบความต้องการใช้ไฟฟ้ าในอนาคต
ของประเทศได้เป็ นอย่างดี
2. เพิ่มความมัน่ คงด้านระบบไฟฟ้ าและพลังงานของประเทศ
เนื่องจากเชื้อเพลิงฟอสซิลมีจาํ นวนจํากัด โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย ที่มีปริ มาณ
สํารองเหลือน้อยมากในขณะนี้ และปัจจุบนั การผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทยใช้ก๊าซธรรมชาติเป็ นส่ วน
ใหญ่ มากกว่าร้อยละ 70 ของปริ มาณเชื้อเพลิงที่ใช้ท้ งั หมด ในขณะนี้การผลิตไฟฟ้ าควรมีการกระจาย
แหล่งผลิตและชนิดเชื้อเพลิง เพื่อลดความเสี่ ยงในการขาดแคลนเชื้อเพลิง อีกทั้งเพื่อสร้างความมัน่ คงใน
การผลิตไฟฟ้ าของประเทศ โรงไฟฟ้ าฐานในระบบไฟฟ้ าควรเป็ นโรงไฟฟ้ าที่มีประสิ ทธิภาพ ความ
มัน่ คงพอที่จะไม่เกิดการตัดวงจรออกจากระบบได้ง่ายๆ โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์สามารถเดินเครื่ อง
ติดต่อกันได้เป็ นเวลานานถึง 18 เดือนต่อการเติมเชื้อเพลิงแต่ละครั้ง มี Capacity Factor มากกว่า 80%
และมีแหล่งเชื้อเพลิงจํานวนมาก จึงสามารถใช้เป็ นโรงไฟฟ้ าฐาน สร้างความมัน่ คงของระบบไฟฟ้ าได้
เป็ นอย่างดี

50
3. เพิม่ ประสิ ทธิภาพและความน่าเชื่อถือในการผลิตไฟฟ้ า
โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์มีอตั ราการใช้เชื้อเพลิงที่นอ้ ยมาก จึงเป็ นโรงไฟฟ้ าที่มีประสิ ทธิภาพสู ง
เมื่อพิจารณาพลังงานไฟฟ้ าที่ผลิตได้ต่อเชื้อเพลิงที่ใช้ โดยถ่านหิ น 1 กิโลกรัม ผลิตไฟฟ้ าได้ 3 หน่วย
ก๊าซธรรมชาติ 1 กิโลกรัม ผลิตไฟฟ้ าได้ 4 หน่วย แต่ยเู รเนียม 1 กิโลกรัม ผลิตไฟฟ้ าได้ 50,000 หน่วย
4. ลดความเสี่ ยงด้านราคาเชื้อเพลิง
สถานการณ์เชื้อเพลิงที่กาํ ลังจะขาดแคลนทัว่ โลก ทําให้ราคาเชื้อเพลิงฟอสซิลมีความไม่
แน่นอนสูง ดังนั้นเพื่อลดความเสี่ ยงในเรื่ องนี้ จึงควรใช้เชื้อเพลิงหลากหลายชนิด ยูเรเนียมเป็ น
เชื้อเพลิงที่มีราคาตํ่าและไม่มีความผันผวนในเรื่ องราคา อีกทั้งการกําหนดราคาไม่ได้ผนั แปรตามกับ
ราคานํ้ามัน จึงเป็ นเชื้อเพลิงทางเลือกที่เหมาะสมในการลดความเสี่ ยงด้านราคาเชื้อเพลิง
5. สนองความต้องการใช้พลังงานที่สะอาด
โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์เป็ นโรงไฟฟ้ าที่ไม่ปล่อยก๊าซซึ่งเป็ นมลพิษ (NOx , SO2 , CO2) ที่เป็ น
อันตรายต่อสิ่ งแวดล้อมจึงไม่ก่อให้เกิดปรากฎการณ์เรื อนกระจกเหมือนการผลิตไฟฟ้ าจากเชื้อเพลิง
ฟอสซิล ปั จจุบนั ทัว่ โลกกําลังประสบปัญหาเรื่ องภาวะโลกร้อน หากประเทศไทยมีความตระหนักใน
เรื่ องนี้ โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์กจ็ ะเป็ นทางเลือกที่ทาํ ให้ประเทศไทยมีส่วนช่วยลดภาวะโลกร้อน

9.3 ความคืบหน้ าโครงการโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ในประเทศไทย


ตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) เห็นชอบในหลักการของ
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ า (PDP 2007) เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2550 กําหนดให้โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์เป็ น
หนึ่งเลือกเพื่อผลิตไฟฟ้ า ต่อมาเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2550 กพช. แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อเตรี ยม
การศึกษาความเหมาะสมการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานนิวเคลียร์ (Nuclear Power Infrastructure
Preparation Committee : NPIPC) พร้อมจัดตั้งคณะอนุกรรมการขึ้น 6 ชุด เพื่อศึกษาด้านต่างๆในการยก
ร่ างแผนจัดตั้งโครงสร้างพื้นฐานพลังงานนิวเคลียร์ (Nuclear Power Infrastructure Establishment
Cooperation Committee : NPIECC) ซึ่งได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการประสานงานด้านต่างๆ 5 คณะ
ประกอบด้วย
1. คณะอนุกรรมการประสานงานด้านกฎหมาย ระบบกํากับ และข้อผูกพันระหว่าง
ประเทศ
2. คณะอนุกรรมการประสานงานด้านการวางแผนการดําเนินการโครงการโรงไฟฟ้ า
นิวเคลียร์
3. คณะอนุกรรมการด้านโครงสร้างพื้นฐานอุตสาหกรรมและการพาณิ ชย์ การถ่ายทอด
พัฒนาเทคโนโลยีและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
4. คณะอนุกรรมการด้านความปลอดภัยและการคุม้ ครองของสิ่ งแวดล้อม

51
5. คณะอนุกรรมการสื่ อสารสาธารณะและการมีส่วนร่ วมของประชาชน
โดยคณะอนุกรรมการประสานงานด้านการวางแผนการดําเนินการโครงการโรงไฟฟ้ า
นิวเคลียร์ได้มอบหมายให้ กฟผ. เป็ นหน่วยงานหลักในการดําเนินการให้เป็ นไปตามแผน นํามาซึ่งการ
จ้างบริ ษทั ที่ปรึ กษา Burns and Roe Asia จํากัด เพื่อศึกษาความเหมาะสมของโครงการ (Feasibility
Study) เตรี ยมความพร้อมพัฒนาโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ในประเทศไทย การคัดเลือกเทคโนโลยี การ
ประเมินและคัดเลือกสถานที่ก่อสร้าง การศึกษาผลกระทบสิ่ งแวดล้อมเบื้องต้น การศึกษาด้าน
เศรษฐศาสตร์และการเงิน รวมถึงการวางแผนพัฒนาบุคลากร โดยใช้เวลาในการศึกษา 20 เดือน (ตั้งแต่
วันที่ 1 ตุลาคม 2551) สามารถแบ่งงานออกเป็ น 6 งานหลัก ได้แก่
Task 1 : Energy Economics and Financing
Task 2 : Technical and Safety Aspects of Nuclear Power
Task 3 : Fuel Cycle and Waste Management
Task 4 : Reactor Technology, Supplier and Fuel Supplier Selection
Task 5 : Site and Environmental Study
Task 6 : Human Resources Development and Management Aspects

9.4 โครงการโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ในแผน


จากสมมติฐานที่วา่ โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ควรมีกาํ ลังผลิตในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ า
(PDP 2010) ไม่เกินร้อยละ 10 ของกําลังผลิตไฟฟ้ าทั้งหมด ประกอบกับความเหมาะสมของแผนการ
ลงทุนและการดําเนินการตามขั้นตอนในการพัฒนาด้านต่างๆของโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ จึงพิจารณา
กําหนดการเข้าระบบเพียงปี ละ 1 โรง ขนาด 1,000 เมกะวัตต์ ดังนี้
โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ เครื่ องที่ 1 1,000 เมกะวัตต์ ปี 2563
โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ เครื่ องที่ 2 1,000 เมกะวัตต์ ปี 2564
โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ เครื่ องที่ 3 1,000 เมกะวัตต์ ปี 2569
โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ เครื่ องที่ 4 1,000 เมกะวัตต์ ปี 2570
โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ เครื่ องที่ 5 1,000 เมกะวัตต์ ปี 2573

52
10. การลดปริมาณการปลดปล่ อยก๊ าซเรือนกระจกในภาคการผลิตไฟฟ้ า

10.1 การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (Climate Change)

ภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็ นปั ญหาหนึ่ งในปั จจุบนั ที่มีการกล่าวถึงทัว่ โลก
เนื่ องจากผลกระทบของเหตุการณ์ดงั กล่าวจะส่ งผลเป็ นวงกว้างต่อประชากรทัว่ โลก โดยผลกระทบที่
ชัดเจนจากภาวะโลกร้อนคือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ซึ่งมีหลายด้าน เช่น
การที่ โ ลกมี อุ ณ หภู มิ แ ละระดับ นํ้าทะเลสู ง ขึ้ น นํ้าท่ ว มรุ น แรง หรื อ ฝนไม่ ต กตามฤดู ก าล ซึ่ งการ
เปลี่ยนแปลงเหล่านี้ นอกจากจะส่ งผลกระทบต่อด้านสิ่ งแวดล้อมแล้วยังส่ งผลกระทบต่อสังคมอีกด้วย
เช่น ด้านสุ ขภาพ และ ด้านเศรษฐกิจ เป็ นต้น

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเกิดจากการที่รังสี จากดวงอาทิตย์ส่วนที่ส่งผ่านมายังพื้น
โลกและถูกดูดซับไว้โดยพื้นดินและทะเล ซึ่ งปกติแล้วรังสี ในส่ วนนี้ จะถูกสะท้อนออกไปนอกโลกใน
รู ปของรังสี ความร้อน เพื่อรักษาสมดุลของอุณหภูมิภายในชั้นบรรยากาศไม่ให้เพิ่มสู งมากขึ้น แต่การที่
รังสี ความร้อนไม่สามารถสะท้อนออกไปนอกชั้นบรรยากาศได้ แต่สะท้อนกลับมาที่ผวิ โลก ทําให้ความ
ร้อนถูกสะสมอยูภ่ ายใน ซึ่งปรากฏการณ์น้ ี เรี ยกว่า ปรากฏการณ์เรื อนกระจก (Greenhouse Effect) โดย
เหตุการณ์ที่รังสี ความร้อนไม่สามารถสะท้อนออกไปได้น้ ี เกิ ดจากการเพิ่มขึ้นของความหนาแน่ นของ
ก๊าซเรื อนกระจก (Greenhouse Gas) ในชั้นบรรยากาศ

ก๊าซเรื อนกระจก (Greenhouse Gas) เป็ นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสี ความ


ร้อน หรื อรั งสี อินฟาเรดได้ดี ซึ่ งได้แก่ ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซคลอโร
ฟลูออโรคาร์บอน (CFCs) ก๊าซโอโซน (O3) และก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) ปริ มาณของก๊าซเหล่านี้บน
โลกจะมี ผลต่อการรั กษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่ ซึ่ งหากไม่มีก๊าซเรื อนกระจกในชั้น
บรรยากาศ จะทําให้อุณหภูมิในตอนกลางวันร้อนจัด และในตอนกลางคืนหนาวจัด เนื่ องจากก๊าซเหล่านี้
ดูดคลื่นรังสี ความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วค่อยๆ แผ่รังสี ความร้ อนออกมาในเวลากลางคืน ทําให้
อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน แต่ถา้ ปริ มาณของก๊าซเรื อนกระจกเพิ่มขึ้นมาก
จะส่ งผลให้ช้ นั บรรยากาศมี ความสามารถในการกักเก็บรั งสี ความร้ อนได้มากขึ้น ซึ่ งผลที่ตามมาคือ
อุณหภูมิเฉลี่ยของชั้นบรรยากาศจะเพิ่มขึ้นด้วย ดังนั้นจึงต้องมีการควบคุมปริ มาณก๊าซเรื อนกระจกให้
อยูใ่ นปริ มาณที่เหมาะสม

53
ก๊ า ซเรื อนกระจกสํ า คั ญ ที่ มี ป ริ มาณเพิ่ ม ขึ้ นจากกิ จ กรรมของมนุ ษ ย์ ไ ด้ แ ก่ ก๊ า ซ
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซึ่งเกิดจากกระบวนการเผาไหม้เชื้อเพลิงและการตัดไม้ทาํ ลายป่ า ก๊าซมีเทน
(CH4) ซึ่ งเกิดจากกระบวนย่อยอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้องและการปลูกข้าว ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O)
ซึ่ งเกิดจากกระบวนการทางชีววิทยาของดินและการใช้ปุ๋ยสังเคราะห์ในภาคการเกษตร และสารในกลุ่ม
ฮาโลคาร์ บอน (Halocarbons) ซึ่ งเกิดจากกระบวนการผลิตและแปรรู ปทางอุตสาหกรรม เช่น ก๊าซคลอ
โรฟลูออโรคาร์บอน (CFCs)

10.2 นโยบายควบคุมการปลดปล่ อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์

การควบคุมปริ มาณการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรื อนกระจก เป็ นการช่วยชะลออัตราการเพิ่มขึ้น


ของภาวะโลกร้อน ซึ่งสามารถทําได้หลายวิธีโดยการจํากัดปริ มาณจากแหล่งกําเนิดก๊าซเหล่านั้น สําหรับ
ในภาคพลั ง งานนั้ น การผลิ ต ไฟฟ้ าเป็ นส่ วนหนึ่ งที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด การเพิ่ ม ปริ มาณขึ้ นของก๊ า ซ
คาร์ บอนไดออกไซด์จากกระบวนการเผาไหม้เชื้ อเพลิ งฟอสซิ ล โดยเชื้ อเพลิ งฟอสซิ ลหลักที่ ใ ช้ใ น
กระบวนการผลิตไฟฟ้ า ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิ น และนํ้ามัน

การกําหนดปริ มาณการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการผลิตไฟฟ้ าสามารถทํา


ได้โดยการกําหนดสัดส่ วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ า โดยควบคุมสัดส่ วนการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล
ให้อยู่ในปริ มาณที่ เหมาะสม และใช้พลังงานงานทางเลือกเข้ามาช่ วยเสริ มในระบบ เมื่อทําการปรั บ
สัดส่ วนการใช้เชื้อเพลิงแล้ว ระบบไฟฟ้ ายังคงต้องมีเสถียรภาพอยูไ่ ด้ภายใต้ขอ้ กําหนดทางเทคนิค

การผลิตไฟฟ้ า นอกจากจะใช้เชื้อเพลิงฟอสซิ ลแล้ว ยังมีพลังงานทางเลือกอื่นที่สามารถ


นํามาใช้ผลิตไฟฟ้ าเพื่อช่วยเสริ มระบบได้ อาทิ พลังงานนํ้า พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงาน
นิวเคลียร์ เป็ นต้น ซึ่งพลังงานทางเลือกเหล่านี้ มีคุณสมบัติ คือ ไม่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา
จากกระบวนการผลิตไฟฟ้ า แต่พลังงานแต่ละประเภทต่างมีขอ้ จํากัดที่แตกต่างกัน เช่น มีตน้ ทุนการผลิต
ไฟฟ้ าสู ง และมีความไม่แน่นอนในการผลิตไฟฟ้ า ดังนั้นจึงไม่ควรพึ่งพิงเชื้อเพลิงชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ งมาก
เกินไป ทําให้ตอ้ งมีการกระจายความเสี่ ยงการใช้เชื้อเพลิงต่างๆที่เหมาะสม

ขั้น ตอนการจัด ทํา แผนพัฒ นากํา ลัง ผลิ ต ไฟฟ้ า จะต้อ งพิ จ ารณาข้อ มู ล หลายส่ ว นทั้ง
ทางด้านนโยบายและด้านเทคนิ ค เพื่อจัดทําแผนฯให้ออกมาเหมาะสมที่สุด ซึ่ งในแผนฯ ฉบับนี้ ได้
คํานึ งถึงภาวะของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงได้มีการกําหนดนโยบายการควบคุมปริ มาณการ
ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยตั้งเป้ าหมายเพื่อลดปริ มาณการปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เฉลี่ย
ต่อหน่วยพลังงานไฟฟ้ าที่ผลิต ณ ปี 2563 ให้ต่าํ กว่าแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ า 2550 ฉบับปรับปรุ งครั้ง

54
ที่ 2 (PDP 2007 Revision 2) และควบคุมอัตราการปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ปี 2564-2573 ให้อยู่
ในปริ มาณที่เหมาะสม

การประมาณการปริ ม าณก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์จ ากกระบวนการผลิ ต ไฟฟ้ าที่ ใ ช้


เชื้อเพลิงฟอสซิ ลตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ า จะใช้วิธีการคํานวณโดยอ้างอิงตามหลักการสากลคือ
“2006 IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories” (รายละเอียดดังตารางที่ 10.1)

ตารางที่ 10.1 ปริมาณการปล่ อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้า

PDP 2007
PDP 2010
ปี ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 2
2553 0.464 0.482
2554 0.459 0.471
2555 0.459 0.470
2556 0.456 0.462
2557 0.447 0.468
2558 0.440 0.448
2559 0.452 0.423
2560 0.465 0.408
2561 0.456 0.398
2562 0.445 0.401
2563 0.425 0.387
2564 0.406 0.374
2565 - 0.373
2566 - 0.381
2567 - 0.361
2568 - 0.341
2569 - 0.357
2570 - 0.354
2571 - 0.363
2572 - 0.367
2573 - 0.368

55
11. แผนพัฒนาระบบส่ งไฟฟ้า
โครงการ/แผนงานระบบส่ งไฟฟ้ าที่บรรจุในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย
พ.ศ. 2553 - 2573 (PDP 2010) ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ดังนี้

11.1 โครงการขยายระบบไฟฟ้ าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลระยะที่ 2


เป็ นโครงการดําเนินการต่อเนื่องจากโครงการขยายระบบไฟฟ้ าในเขตกรุ งเทพฯ และ
ปริ มณฑล ระยะที่ 1 ประกอบด้วยการก่อสร้างสถานีไฟฟ้ าแรงสู งแห่งใหม่ เพื่อเป็ นจุดจ่ายไฟฟ้ าใหม่ให้
การไฟฟ้ านครหลวง (กฟน.) สําหรับรองรับความต้องการไฟฟ้ าที่เพิ่มขึ้น พร้อมทั้งก่อสร้างและปรับปรุ ง
สายส่ งเพิ่มเติมเป็ นการเปลี่ยนแรงดันในการจ่ายไฟฟ้ าจากระบบ 230 กิโลโวลต์ เป็ น 500 กิโลโวลต์ ซึ่ง
จะทําให้จ่ายไฟฟ้ าในเขตกรุ งเทพฯและปริ มณฑลได้มากขึ้น โดยระบบไฟฟ้ าจะมีความมัน่ คงและความ
เชื่อถือได้สูงขึ้น ช่วยให้ขยายระบบจําหน่ายของ กฟน. ออกไปยังพื้นที่ต่างๆ ที่มีความต้องการได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ กําหนดแล้วเสร็ จประมาณปี 2552 - 2555
: คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิโครงการเมื่อวันที่ 8 สิ งหาคม 2549

11.2 โครงการขยายระบบไฟฟ้ าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลระยะที่ 3


เป็ นโครงการขยายระบบไฟฟ้ าในเขตกรุ งเทพฯและปริ มณฑลระยะถัดมา ประกอบด้วย
การก่อสร้างและขยายสถานีไฟฟ้ าแรงสูงแห่งใหม่ เพื่อเป็ นจุดจ่ายไฟฟ้ าให้ กฟน. ตามความต้องการ
ไฟฟ้ าที่เพิ่มขึ้นในเขตกรุ งเทพฯและปริ มณฑล พร้อมทั้งก่อสร้างและปรับปรุ งสายส่ งเพิ่มเติมโดยเปลี่ยน
แรงดันในการจ่ายไฟฟ้ าจากระบบ 230 กิโลโวลต์ เป็ น 500 กิโลโวลต์ ซึ่งจะทําให้จ่ายไฟฟ้ าในเขต
กรุ งเทพฯและปริ มณฑลได้มากขึ้น โดยมีความมัน่ คงและความเชื่อถือได้สูงขึ้น ช่วยสนับสนุนให้การ
ขยายระบบจําหน่ายออกไปยังพื้นที่ต่างๆที่มีความต้องการไฟฟ้ าเพิม่ ขึ้นได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ กําหนด
แล้วเสร็ จประมาณปี 2557 - 2559

11.3 โครงการสายส่ ง 500 กิโลโวลต์ เพือ่ รับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้าพลังนํา้


เขือ่ นนํา้ งึม 2
เป็ นโครงการก่อสร้างระบบส่ งไฟฟ้ า 500 กิโลโวลต์ จากสถานีไฟฟ้ าแรงสู งอุดรธานี 3 ไป
ยังชายแดนไทย-ลาว (บริ เวณจังหวัดหนองคาย) ด้วยเสาวงจรคู่ ระยะทางประมาณ 80 กิโลเมตร
(ระยะแรกจ่ายไฟฟ้ าด้วยระบบ 230 กิโลโวลต์) เพื่อรับซื้อไฟฟ้ าจากโครงการโรงไฟฟ้ าพลังนํ้าเขื่อนนํ้า
งึม 2 รวมประมาณ 597 เมกะวัตต์ กําหนดแล้วเสร็ จประมาณปี 2553
: คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิโครงการเมื่อวันที่ 22 สิ งหาคม 2549

56
11.4 โครงการสายส่ ง 500 กิโลโวลต์ เพือ่ รับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้าเอกชน
เป็ นโครงการก่อสร้างสายส่ ง 500 กิโลโวลต์ วงจรที่ 3 และ 4 (แนวที่ 2) จากสถานี
ไฟฟ้ าแรงสูงปลวกแดงไปยังจุดเชื่อมหนองจอกแล้วเชื่อมโยงไปยังสถานีไฟฟ้ าแรงสูงวังน้อย เพื่อเสริ ม
ระบบส่ งไฟฟ้ าหลักและรองรับการรับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าเอกชนอันจะช่วยเสริ มความมัน่ คงและเพิ่ม
ความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้ า กําหนดแล้วเสร็ จในปี 2554

11.5 โครงการขยายระบบส่ งไฟฟ้ า ระยะที่ 11


เป็ นโครงการขยาย/ปรับปรุ งระบบส่ งไฟฟ้ าในเขตภูมิภาคเพื่อสนองความต้องการไฟฟ้ าที่
เพิม่ ขึ้นทั้งประเทศ (ยกเว้นเขตกรุ งเทพฯและปริ มณฑล) และรักษาความมัน่ คงเชื่อถือได้ของการจ่าย
ไฟฟ้ า ซึ่งเป็ นการดําเนินการต่อเนื่องจากโครงการขยายระบบส่ งไฟฟ้ า ระยะที่ 10 (TS.10) ช่วยให้การ
ไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค (กฟภ.) ขยายระบบจําหน่ายออกไปยังพื้นที่ต่างๆ ที่มีความต้องการได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ กําหนดแล้วเสร็ จ ปี 2553 - 2555
: คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิโครงการเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2550

11.6 โครงการขยายระบบส่ งไฟฟ้ า ระยะต่ างๆ


เป็ นโครงการขยาย/ปรับปรุ งระบบส่ งไฟฟ้ าในเขตภูมิภาค เพื่อสนองความต้องการไฟฟ้ าที่
เพิ่มขึ้นทั้งประเทศ (ยกเว้นเขตกรุ งเทพฯและปริ มณฑล) และรักษาความมัน่ คงเชื่อถือได้ของการจ่าย
ไฟฟ้ า ซึ่งเป็ นการดําเนินการต่อเนื่องจากโครงการ TS.11 เป็ นระยะๆตามความต้องการไฟฟ้ าที่เพิ่มขึ้น
ช่วยให้การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค (กฟภ.) ขยายระบบจําหน่ายออกไปยังพื้นที่ต่างๆ ที่มีความต้องการได้
อย่างมีประสิ ทธิภาพ กําหนดแล้วเสร็ จ ดังนี้
กําหนดแล้วเสร็ จ
โครงการขยายระบบไฟฟ้ าระยะที่ 12 2557 - 2559
โครงการขยายระบบไฟฟ้ าระยะที่ 13 2560 - 2562
โครงการขยายระบบไฟฟ้ าระยะที่ 14 2563 - 2565

11.7 โครงการระบบส่ งเพือ่ รับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าพลังนํา้ เขือ่ นเทินหินบุน


ส่ วนขยาย
เป็ นโครงการระบบส่ ง ไฟฟ้ าในเขตประเทศไทย โดยการก่ อสร้ างสถานี ไ ฟฟ้ าแรงสู ง
นครพนม 2 เป็ นสถานี ไฟฟ้ าแรงสู งแห่ งใหม่ พร้อมทั้งเปลี่ยนสายส่ ง 230 กิโลโวลต์ จากชายแดนไทย/
ลาว (จังหวัดนครพนม) – นครพนม 2 และก่อสร้างสายส่ ง 230 กิโลโวลต์ และ 115 กิโลโวลต์ เพิ่มเติม

57
เพื่อรับซื้ อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าพลังนํ้าเขื่อนเทินหิ นบุนปั จจุบนั และโรงไฟฟ้ าพลังนํ้าเขื่อนเทินหิ นบุน
ส่ วนขยาย กําลังผลิตรวม 440 เมกะวัตต์ กําหนดแล้วเสร็ จในปี 2555

11.8 โครงการระบบส่ งเพือ่ รับซื้อไฟฟ้ าจากผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายใหญ่


เป็ นโครงการระบบส่ งไฟฟ้ าเพื่อรับซื้อไฟฟ้ าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายใหญ่ (IPP) เพื่อ
เชื่อมโยงโครงการ IPP ต่างๆ เข้ากับระบบไฟฟ้ าของ กฟผ. ตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศ
ไทย พ.ศ. 2550 - 2564 ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 1 ซึ่งกําหนดให้มีการรับซื้อไฟฟ้ าจาก IPP เพื่อจ่ายไฟฟ้ าเข้า
ระบบในปี 2554 - 2556 โดยมีโครงการ IPP จํานวน 4 โครงการที่ผา่ นการประมูล ได้แก่ บริ ษทั เก็คโค-
วัน จํากัด บริ ษทั เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลาย จํากัด บริ ษทั สยามเอ็นเนอยี่ จํากัด และ บริ ษทั เพาเวอร์เจ
เนอเรชัน่ ซัพพลาย จํากัด รวมกําลังผลิต 4,400 เมกะวัตต์ กําหนดแล้วเสร็ จในปี 2554 - 2556

11.9 โครงการระบบส่ งเพือ่ รับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าพลังความร้ อนหงสา


ลิกไนต์
เป็ นโครงการระบบส่ งไฟฟ้ าเพื่อรับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนหงสาลิกไนต์ ใน
ประเทศ สปป. ลาว ตามแผนการซื้อไฟฟ้ าจากต่างประเทศในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศ
ไทย พ.ศ. 2550 - 2564 ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 2 ขนาดกําลังผลิตรวม 3x626 เมกะวัตต์ เพื่อจ่ายไฟฟ้ าเข้า
ระบบ กฟผ. กําหนดแล้วเสร็ จในปี 2557

11.10 โครงการระบบส่ งเพือ่ รับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าพลังความร้ อนมายกก


เป็ นโครงการระบบส่ งไฟฟ้ าเพื่อรับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนมายกก ใน
สหภาพพม่า ตามแผนการซื้อไฟฟ้ าจากต่างประเทศในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย พ.ศ.
2550-2564 ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 2 ขนาดกําลังผลิตรวม 3x135 เมกะวัตต์ ขายไฟฟ้ าให้ประเทศไทย 369
เมกะวัตต์ โดยจ่ายไฟฟ้ าเข้าระบบ กฟผ. กําหนดแล้วเสร็ จในปี 2558

11.11 โครงการระบบส่ งเพือ่ เชื่อมต่ อโรงไฟฟ้ าใหม่ ของ กฟผ.


เป็ นโครงการระบบส่ งเพื่อรองรับโรงไฟฟ้ าใหม่ของ กฟผ. สําหรับกําลังผลิตส่ วนที่
ต้องการใหม่หรื อต้องการเพิ่ม ในส่ วนของ กฟผ. ประกอบด้วย
- โครงการโรงไฟฟ้ าวังน้อย ชุดที่ 4 ขนาด 800 เมกะวัตต์ เข้าระบบ มิถุนายน 2557
- โครงการโรงไฟฟ้ าจะนะ ชุดที่ 2 ขนาด 800 เมกะวัตต์ เข้าระบบ กรกฎาคม 2557

58
11.12 โครงการระบบส่ งเพือ่ เชื่อมต่ อโรงไฟฟ้ าพลังความร้ อน (ถ่ านหิน)
เป็ นโครงการระบบส่ งเพื่อเชื่อมต่อโรงไฟฟ้ าพลังความร้อน (ถ่านหิ น) ซึ่งจะช่วยกระจาย
แหล่งเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้ าและลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติ ตลอดจนช่วยเพิ่มความมัน่ คง
เชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้ า กําหนดให้มีโครงการโรงไฟฟ้ าถ่านหิ น ชุดที่ 1 ขนาด 800 เมกะวัตต์ เข้า
ระบบในปี 2562

11.13 โครงการระบบส่ งไฟฟ้ าเพือ่ เชื่อมต่ อโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์


เป็ นโครงการระบบส่ งเพื่อเชื่อมต่อโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ซึ่งจะช่วยกระจายแหล่งเชื้อเพลิงที่
ใช้ในการผลิตไฟฟ้ าและลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติ ตลอดจนช่วยเพิม่ ความมัน่ คงเชื่อถือได้ของระบบ
ไฟฟ้ า จึงกําหนดให้มีโครงการโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ชุดที่ 1 ขนาด 1,000 เมกะวัตต์ เข้าระบบในปี 2563

11.14 โครงการระบบส่ งไฟฟ้ าเพือ่ เชื่อมต่ อโรงไฟฟ้ าพลังความร้ อนร่ วม


เป็ นโครงการระบบส่ งเพื่อเชื่อมต่อโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่ วม เพื่อเพิ่มความมัน่ คงเชื่อถือ
ได้ของระบบไฟฟ้ า กําหนดให้มีโครงการโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่ วม ชุดที่ 1 ขนาด 800 เมกะวัตต์ เข้า
ระบบในปี 2565

11.15 โครงการระบบส่ งเพือ่ รับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าในประเทศเพือ่ นบ้ าน


เป็ นโครงการระบบส่ งเพื่อรับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าในประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อลดการ
พึ่งพาก๊าซธรรมชาติและเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้ า ตลอดจนตอบสนองนโยบายของรัฐฯ ในด้าน
ความร่ วมมือระหว่างประเทศ จึงกําหนดให้มีโครงการระบบส่ งเพื่อรับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าใน
ประเทศเพื่อนบ้าน โดยพิจารณาความเหมาะสมจากศักยภาพในการผลิตไฟฟ้ าของโครงการต่างๆ
เพื่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อประเทศมากที่สุด

11.16 แผนงานระบบส่ งไฟฟ้ าเชื่อมต่ อจุดใหม่ ระหว่ างสถานีไฟฟ้ าแรงสู ง


สุ ไหงโก - ลก – สถานีไฟฟ้ าแรงสู ง Rantau Panjang
เป็ นแผนงานก่อสร้างระบบส่ งไฟฟ้ าเชื่อมโยงจุดใหม่ระหว่างสถานีไฟฟ้ าแรงสู งสุ ไหงโก-
ลก ของ กฟผ. ในจังหวัดนราธิวาส กับสถานีไฟฟ้ าแรงสูง Rantau Panjang ของบริ ษทั Tenaga Nasional
Berhad จํากัด (TNB) รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เพื่อขอรับไฟฟ้ าจากประเทศมาเลเซียอีกทางหนึ่งซึ่ง
จะช่วยเสริ มความมัน่ คงระบบไฟฟ้ าเพิ่มขึ้น โดยก่อสร้างสายส่ ง 132 เควี จาก สุ ไหงโก-ลก – ชายแดน
วงจรคู่ ตามแนวถนน พร้อมติดตั้งหม้อแปลง 115/132 เควี ที่ สุ ไหงโก-ลก ขนาด 100 เอ็มวีเอ จํานวน 2

59
ชุด ทั้งนี้มาเลเซียจะส่ งพลังไฟฟ้ าให้ไทยได้สูงสุ ดประมาณ 100 เมกะวัตต์ โครงการฯ มีกาํ หนดแล้วเสร็ จ
ในเดือน กันยายน 2555

11.17 โครงการปรับปรุงและขยายระบบส่ งไฟฟ้ าทีเ่ สื่ อมสภาพตามอายุ


การใช้ งาน
เป็ นโครงการปรับปรุ งและขยายระบบส่ งไฟฟ้ าเพื่อเสริ มความมัน่ คงระบบส่ งไฟฟ้ าให้มี
ประสิ ทธิภาพในการส่ งจ่ายพลังไฟฟ้ าได้มากขึ้น เนื่องจากปัจจุบนั สายส่ งไฟฟ้ าและสถานีไฟฟ้ าแรงสู งที่
กระจายอยูท่ วั่ ประเทศนั้น พบว่ามีสายส่ งไฟฟ้ าและสถานีไฟฟ้ าแรงสู งที่มีอายุการใช้งานมานานมากแล้ว
อยูเ่ ป็ นจํานวนมาก ส่ งผลต่อประสิ ทธิภาพในการส่ งจ่ายพลังไฟฟ้ า ดังนั้นเพื่อเสริ มสร้างความมัน่ คงและ
ประสิ ทธิภาพของระบบส่ งไฟฟ้ า จึงจัดทําโครงการปรับปรุ งและขยายระบบส่ งไฟฟ้ าที่เสื่ อมสภาพตาม
อายุการใช้งาน เพื่อปรับปรุ งสายส่ งไฟฟ้ าและสถานีไฟฟ้ าแรงสู งต่างๆ ทัว่ ประเทศให้มีประสิ ทธิภาพ
มากขึ้นมีกาํ หนดแล้วเสร็ จปี 2556 - 2560

11.18 แผนงานปรับปรุงและขยายระบบส่ งไฟฟ้ าเบ็ดเตล็ดเพือ่ เชื่อมต่ อ


โรงไฟฟ้ าผู้ผลิตไฟฟ้ ารายเล็ก
ตามที่ ภ าครั ฐ มี น โยบายส่ ง เสริ ม ให้ภ าคเอกชนเข้า มามี ส่ว นร่ ว มในการผลิ ต ไฟฟ้ าจาก
พลังงานทดแทน เพื่อลดการนําเข้าพลังงานจากต่างประเทศ และพึ่งพาพลังงานทดแทนในประเทศให้
มากที่ สุ ด รวมทั้ง สนับ สนุ น การใช้พ ลัง งานอย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพโดยส่ ง เสริ ม โรงไฟฟ้ าประเภท
Cogeneration กฟผ. จึงมีแผนการปรับปรุ งและขยายระบบส่ งไฟฟ้ าเบ็ดเตล็ดที่ไม่รวมอยูใ่ นโครงการ
อื่นๆ เพื่อรองรับการขยายระบบส่ งไฟฟ้ าเพื่อการเชื่อมต่อของโรงไฟฟ้ าต่างๆดังกล่าว ทั้งนี้ เมื่อ กฟผ.
ตอบรั บซื้ อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าดังกล่าวแล้ว กฟผ.จะจัดทําแผนงานขยายระบบไฟฟ้ าเพื่อรองรับการ
เชื่อมต่อกับโรงไฟฟ้ านั้น เป็ นครั้งๆไปตามความเหมาะสม

60
ตารางที่ 11.1
รายชื่อโครงการ/แผนงานระบบส่ งไฟฟ้ าในช่ วงปี 2553 – 2563
PDP 2010

ชื่อโครงการ กําหนดแล้ วเสร็จ


ก. โครงการ/แผนงาน ที่กฟผ.ได้ รับอนุมัติและอยู่ระหว่ างก่ อสร้ าง
1. ขยายระบบส่งไฟฟ้ าในเขตกรุ งเทพฯและปริ มณฑล ระยะที่ 2 2552-2555
2. ระบบส่ งเพื่อรับซื้อไฟฟ้ าจาก สปป.ลาว (นํ้างึม 2) 2553
3. สายส่ง 500 กิโลโวลต์ สําหรับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าเอกชน 2554
4. ขยายระบบส่งไฟฟ้ า ระยะที่ 11 (2550-2554) 2553-2555
5. ระบบส่ งเพื่อรับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายใหญ่ 2554-2556
6. ระบบส่ งเพื่อรับซื้อไฟฟ้ าจาก สปป.ลาว (เทินหินบุนส่วนขยาย) 2555
ข. โครงการ/แผนงาน ที่กฟผ. จะขออนุมัติ
1. ระบบส่ ง ไฟฟ้ าเชื่ อ มต่ อ จุ ด ใหม่ ร ะหว่ า ง สฟ.สุ ไ หงโก-ลก – สฟ. Rantau 2555
Panjang
2. ปรับปรุ งและขยายระบบส่ งไฟฟ้ าที่เสื่ อมสภาพตามอายุการใช้งาน 2556-2560
3. ระบบส่ งเพื่อรับซื้อไฟฟ้ าจาก สปป.ลาว (หงสาลิกไนต์) 2557
4. ระบบส่ งเพื่อรับซื้อไฟฟ้ าจากสหภาพพม่า (มายกก) 2558
5. ขยายระบบไฟฟ้ าในเขตกรุ งเทพฯและปริ มณฑล ระยะที่ 3 (2553-2559) 2557-2559
6. ขยายระบบส่งไฟฟ้ า ระยะที่ 12 (2553-2559) 2557-2559
7. ขยายระบบส่งไฟฟ้ า ระยะที่ 13 (2556-2562) 2560-2562
8. ขยายระบบส่งไฟฟ้ า ระยะที่ 14 (2559-2565) 2563-2565
9. ปรับปรุ งและขยายระบบส่ งไฟฟ้ าเบ็ดเตล็ด เพื่อการเชื่ อมต่อโรงไฟฟ้ าผูผ้ ลิต 2556-2563
ไฟฟ้ ารายเล็ก

61
 

62
ภาคผนวก

63
64
ภาคผนวก 1
เปรียบเทียบแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย

65
66
เปรียบเทียบแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย
( ปี 2553 - 2564 )
PDP2007 : ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 PDP2010 : กรณีฐาน
ปี
โรงไฟฟ้ า เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้ า เมกะวัตต์
2553 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (ม.ค.) 10 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 367
(2010) เขื่อนเจ้าพระยา # 2 (มี.ค.) 6 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Renewables) (มิ.ย.) 90
รฟ.พระนครเหนือ ชุดที่ 1 (พ.ค.) 670 ซื้อจากโครงการใน สปป.ลาว(นํ้าเทิน 2) (มี.ค.) 920
เขื่อนแม่กลอง # 1-2 (ส.ค.,ธ.ค.) 2x6 รฟ.พระนครเหนือ ชุดที่ 1 (พ.ค.) 670
เขื่อนป่ าสักชลสิทธิ์ (ต.ค.) 6.7 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (พ.ย.) 90
เขื่อนขุนด่านปราการชล (พ.ย.) 10
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (พ.ย.) 90
2554 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (ม.ค.) 48 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 258
(2011) ซื้อจากโครงการใน สปป.ลาว (นํ้างึม 2) (ม.ค.) 597 พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 18
เขื่อนแควน้อย # 1-2 (ม.ค.,เม.ย.) 2x15 ซื้อจากโครงการใน สปป.ลาว (นํ้างึม 2) (ม.ค.) 597
เขื่อนนเรศวร (ก.พ.) 8 เขื่อนเจ้าพระยา # 1-2 (ม.ค.) 2x6
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Renew) (ส.ค.) 250 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Renewables) (มิ.ย.) 160
บริ ษทั เก็คโค่วนั จํากัด (พ.ย.) 660 เขื่อนนเรศวร (ต.ค.) 8
บริ ษทั เก็คโค่วนั จํากัด (พ.ย.) 660
2555 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (ม.ค.) 50 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 162
(2012) ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Renew) (ม.ค.) 65 เขื่อนแม่กลอง # 1-2 (ม.ค.) 2x6
ซื้อจากโครงการในสปป.ลาว (เทินหินบุน ส่วนขยาย) (ก.ค.) 220 เขื่อนขุนด่านปราการชล (เม.ย.) 10
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.) 924 เขื่อนป่ าสักชลสิทธิ์ (พ.ค.) 7
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Renewables) (มิ.ย.) 65
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.-ธ.ค.) 704
ซื้อจากโครงการในสปป.ลาว (เทินหินบุน ส่วนขยาย) (ก.ค.) 220
2556 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (ม.ค.) 50 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 187
(2013) บริ ษทั สยามเอ็นเนยี่จาํ กัด ชุดที่ 1-2 (มี.ค.,ก.ย.) 2x800 เขื่อนแควน้อย #1-2 (ม.ค.) 2x15
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.) 540 พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 24
บริ ษทั เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลายจํากัด เครื่ องที่ 1-2 (พ.ย.) 2x135 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มี.ค.-ก.ย.) 720
บริ ษทั สยามเอ็นเนยี่จาํ กัด ชุดที่ 1-2 (มี.ค.,ก.ย.) 2x800
บริ ษทั เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลายจํากัด เครื่ องที่ 1-2 (พ.ย.) 2x135
2557 ผ้ผู ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก ((ม.ค.)) 50 ผ้ผู ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก ((VSPP)) ((ม.ค.)) 192
(2014) บริ ษทั เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลายจํากัด เครื่ องที่ 3-4 (มี.ค.) 2x135 พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 18
วังน้อย ชุดที่ 4 (มิ.ย.) 800 บริ ษทั เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลายจํากัด เครื่ องที่ 3-4 (มี.ค.) 2x135
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.) 90 รฟ.วังน้อย ชุดที่ 4 (มิ.ย.) 800
บริ ษทั เพาเวอร์เจนเนอเรชัน่ ซัพพลายจํากัด ชุดที่ 1-2 (มิ.ย., ธ.ค.) 2x800 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.) 90
รฟ.จะนะ ชุดที่ 2 (ก.ค.) 800 บริ ษทั เพาเวอร์เจนเนอเรชัน่ ซัพพลายจํากัด ชุดที่ 1-2 (มิ.ย., ธ.ค.) 2x800
รฟ.จะนะ ชุดที่ 2 (ก.ค.) 800
2558 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (ม.ค.) 50 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 167
(2015) ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (มิ.ย.) 450 พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 14
รฟ.พลังนํ้าเขื่อนบางลาง(ปรับปรุ ง) (ม.ค.) 12
ซื้อจากโครงการในสปป.ลาว (หงสา เครื่ องที่ 1-2) (พ.ค.,ต.ค.) 2x491
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.) 270
2559 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (ม.ค.) 50 พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 17
(2016) รฟ.ถ่านหิน_กฟผ. เครื่ องที่ 1-2 (ม.ค.) 2x700 ซื้อจากโครงการในพม่า (มาย-กก เครื่ องที่ 1-3) (ม.ค,เม.ย,ก.ค.) 3x123
ซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (มี.ค.) 450 ซื้อจากโครงการในสปป.ลาว (หงสา เครื่ องที่ 3) (ก.พ.) 491
รฟ.ใหม่_ภาคใต้ (ก.ค.) 800 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (มิ.ย.) 230.5
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.) 270
รฟ.ใหม่_ภาคใต้ (ก.ค.) 800
2560 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (ม.ค.) 50 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 228.5
(2017) รฟ.ถ่านหิน_กฟผ. เครื่ องที่ 3-4 (ม.ค.) 2x700 พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 11
รฟ.ใหม่ (ม.ค.) 800 ซื้อจากโครงการในสปป.ลาว (นํ้างึม 3) (ม.ค.) 440
ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 450 เขื่อนลําตะคองชลภาวัฒนา (สูบกลับ เครื่ องที่ 3-4) (มิ.ย.) 2x250
ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (มิ.ย.) 270
2561 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (ม.ค.) 50 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 176
(2018) รฟ.พระนครใต้ ชุดที่ 4-5 (ม.ค.) 2x800 พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 30
รฟ.บางปะกง ชุดที่ 6 (ม.ค.) 800 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 270
ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 450 ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (มิ.ย.) 450
2562 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (ม.ค.) 50 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 177
(2019) รฟ.พระนครเหนือ ชุดที่ 2 (ม.ค.) 800 พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 8
รฟ.ใหม่ (ม.ค.) 2x800 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 270
ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 500 ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (มิ.ย.) 600
รฟ.ถ่านหินสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 1 (มิ.ย.) 800
2563 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (ม.ค.) 50 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 190
(2020) รฟ.นิวเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 1 (ม.ค.) 1000 พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 22
รฟ.ใหม่_IPP (ม.ค.) 2x800 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 270
ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 500 รฟ.นิวเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 1 (ม.ค.) 1000
ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (มิ.ย.) 600
2564 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (ม.ค.) 50 ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) (ม.ค.) 135
(2021) รฟ.นิวเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 2 (ม.ค.) 1000 พลังงานหมุนเวียน กฟผ. (ม.ค.) 61
รฟ.ใหม่ (ม.ค.) 2x800 ผูผู้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Co-Gen) (ม.ค.) 380
ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 500 รฟ.นิวเคลียร์_กฟผ. เครื่ องที่ 2 (ม.ค.) 1000
ซื้อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน (ม.ค.) 600
รฟ.ถ่านหินสะอาด_กฟผ. เครื่ องที่ 2 (มิ.ย.) 800

67
 

68
ภาคผนวก 2
แผนทีร่ ะบบไฟฟ้า

69
70
 

72
ภาคผนวก 3
กําลังผลิตไฟฟ้าในปัจจุบัน

73
74
กําลังผลิตตามสั ญญาของโรงไฟฟ้ าในระบบไฟฟ้ า
(ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552)
กําลังผลิตตามสั ญญา
โรงไฟฟ้า เชื้อเพลิง
(เมกะวัตต์)
โรงไฟฟ้าพลังนํ้า
เขื่อนภูมิพล - 779.2
เขื่อนสิ ริกิต์ิ - 500.0
เขื่อนอุบลรัตน์ - 25.2
เขื่อนสิ รินธร - 36.0
เขื่อนจุฬาภรณ์ - 40.0
เขื่อนนํ้าพุง - 6.0
เขื่อนศรีนครินทร์ - 720.0
เขื่อนวชิราลงกรณ - 300.0
เขื่อนท่ าทุ่งนา - 39.0
เขื่อนแก่ งกระจาน - 19.0
เขื่อนบางลาง - 72.0
เขื่อนบ้ านสั นติ - 1.275
เขื่อนแม่ งดั - 9.0
เขื่อนห้ วยกุ่ม - 1.06
เขื่อนรัชชประภา - 240.0
เขื่อนปากมูล - 136.0
เขื่อนลําตะคอง ชลภาวัฒนา - 500.0
โรงไฟฟ้าพลังนํ้าเขื่อนขนาดเล็ก - 0.445
รวม 3,424.180 11.72%
โรงไฟฟ้า
พระนครใต้ ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 316.0
ชุดที่ 2 ก๊ าซธรรมชาติ 562.0
ชุดที่ 3 ก๊ าซธรรมชาติ 710.0
รวม 1,588.0
บางปะกง เครื่องที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ/นํ้ามันเตา 525.5
เครื่องที่ 2 ก๊ าซธรรมชาติ/นํ้ามันเตา 526.5
เครื่องที่ 3 ก๊ าซธรรมชาติ/นํ้ามันเตา 576.0
เครื่องที่ 4 ก๊ าซธรรมชาติ/นํ้ามันเตา 576.0
บางปะกง ชุดที่ 3 ก๊ าซธรรมชาติ 314.0
ชุดที่ 4 ก๊ าซธรรมชาติ 314.0
ชุดที่ 5 ก๊ าซธรรมชาติ 710.0
รวม 3,542.0
แม่ เมาะ เครื่องที่ 4-7 ลิกไนต์ 560.0
เครื่องที่ 8-13 ลิกไนต์ 1,620.0
รวม 2,180.0
กระบี่ เครื่องที่ 1 นํ้ามันเตา 315.0
รวม 315.0
นํ้าพอง ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 325.0
ชุดที่ 2 ก๊ าซธรรมชาติ 325.0
รวม 650.0
วังน้ อย ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 612.0
ชุดที่ 2 ก๊ าซธรรมชาติ 612.0
ชุดที่ 3 ก๊ าซธรรมชาติ 686.0
รวม 1,910.0
จะนะ ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 710.0
รวม 710.0
รวม 10,895.0 37.30%
โรงไฟฟ้าดีเซล
แม่ ฮ่องสอน ดีเซล 4.4
รวม 4.4 0.02%
โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
รวม 4.546 0.02%
รวมกําลังผลิตของ กฟผ. 14,328.1 49.05%

75
File : 00-ภาคผนวก03_กําลังผลิตไฟฟ้าปั จจุบนั
กําลังผลิตตามสั ญญาของโรงไฟฟ้ าในระบบไฟฟ้ า (ต่ อ)
(ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552)
กําลังผลิตตามสั ญญา
โรงไฟฟ้า เชื้อเพลิง
(เมกะวัตต์)
โรงไฟฟ้าจากการซื้อ
โรงไฟฟ้าพลังนํ้า
พลังนํ้าเทิน-หินบุน - 214.0
พลังนํ้าห้ วยเฮาะ - 126.0
รวม 340.0 1.16%
โรงไฟฟ้า
ขนอม เครื่องที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ/นํ้ามันเตา 69.9
เครื่องที่ 2 ก๊ าซธรรมชาติ/นํ้ามันเตา 70.2
ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 678.0
รวม 818.1
ราชบุรี เครื่องที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ/นํ้ามันเตา 720.0
เครื่องที่ 2 ก๊ าซธรรมชาติ/นํ้ามันเตา 720.0
ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 685.0
ชุดที่ 2 ก๊ าซธรรมชาติ 675.0
ชุดที่ 3 ก๊ าซธรรมชาติ 681.0
รวม 3,481.0
บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ จํากัด เครื่องที่ 1 ถ่ านหินบีทูมินัส 673.3
เครื่องที่ 2 ถ่ านหินบีทูมินัส 673.3
รวม 1,346.5
ระยอง ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 294.7
ชุดที่ 2 ก๊ าซธรรมชาติ 287.7
ชุดที่ 3 ก๊ าซธรรมชาติ 289.8
ชุดที่ 4 ก๊ าซธรรมชาติ 302.9
รวม 1,175.0
บริษัทไตรเอนเนอยี่ จํากัด ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 700.0
รวม 700.0
บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ จํากัด ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 700.0
รวม 700.0
บริษัท โกลว์ ไอพีพี จํากัด ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 356.5
ชุดที่ 2 ก๊ าซธรรมชาติ 356.5
รวม 713.0
บริษัทอีสเทริ์น เพาเวอร์ แอนด์ อิเล็คตริค จํากัด ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 350.0
รวม 350.0
บริษัทกัลฟ์ เพาเวอร์ เจอร์ เนอเรชั่น จํากัด ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 734.0
ชุดที่ 2 ก๊ าซธรรมชาติ 734.0
รวม 1,468.0
บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จํากัด ชุดที่ 1 ก๊ าซธรรมชาติ 700.0
ชุดที่ 2 ก๊ าซธรรมชาติ 700.0
รวม 1,400.0
ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก ถ่ านหิน 369.5
นํ้ามันเตา 4.5
ก๊ าซธรรมชาติ 1,293.0
รวม 1,667.0
รวม 13,818.6 47.30%
โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก ชีวมวล 305.3 1.05%
โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ ส
ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก ก๊ าซธรรมชาติ 120.0 0.41%
อื่นๆ
สายส่ งเชื่อมโยงไทย-มาเลเซีย - 300.0 1.03%
รวมกําลังผลิตจากการรับซื้อ 14,883.9 50.95%
รวมกําลังผลิตตามสั ญญาทั้งหมด 29,212.0 100.00%
แหล่งที่มา : ฝ่ ายควบคุมระบบไฟฟ้ าและฝ่ ายสัญญาซื้อขายไฟฟ้ า กฟผ.

76
File : 00-ภาคผนวก03_กําลังผลิตไฟฟ้าปั จจุบนั
ภาคผนวก 4
ระบบส่ งไฟฟ้าในปัจจุบัน

77
78
สรุปสถานีไฟฟ้าแรงสู งและสายส่ งในระบบ กฟผ.
( สี้นสุ ดเดือน ธันวาคม 2552 )
ขนาดแรงดันไฟฟ้ า สถานี ไฟฟ้ าแรงสู ง สายส่ ง
(กิโลโวลต์) จํานวน ขนาดหม้อแปลง (วงจร-กิโลเมตร)
(แห่ ง) (MVA)
เขตนครหลวง
500 2 4,050.0 414.6
230 13 14,700.0 810.5
115 - 25.0 -
รวม 15 18,775.0 1,225.1
ภาคกลาง
500 5 6,000.0 1,844.5
230 25 14,393.3 4,157.8
115 42 5,254.8 2,618.6
69 - - 18.8
รวม 72 25,648.1 8,639.7
ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ
500 1 2,000.0 320.4
230 11 4,300.0 2,151.2
115 37 3,938.0 5,426.8
รวม 49 10,238.0 7,898.4
ภาคใต้
230 13 4,566.7 3,049.6
132 - 1/ 133.4 8.7
115 18 2,379.0 2,383.9
1/
300 (HVDC) - 388.0 23.0
รวม 31 7,467.1 5,465.3
ภาคเหนือ
500 2 3,800.0 1,142.5
230 6 3,900.0 3,223.9
115 34 2,959.5 2,850.4
รวม 42 10,659.5 7,216.8
รวมทุกภาค
500 10 15,850.0 3,722.0
230 68 41,860.0 13,393.0
132 - 133.4 8.7
115 131 14,556.2 13,279.7
69 - - 18.8
300 (HVDC) - 388.0 23.0
รวมทั้งหมด 209 72,787.7 30,445.2
หมายเหตุ : 1/ สฟ.สะเดา และ สฟ.คลองแงะ ได้นับรวมใน สฟ. ขนาดแรงดัน 115 kV และ 230 kV แล้ว
แหล่งที่มา : ฝ่ ายควบคุมระบบไฟฟ้ า กฟผ.

79
File :00‐ภาคผนวก04_ระบบสายส่งไฟฟ้ า
 

80
ภาคผนวก 5
สถิตแิ ละพยากรณ์ การผลิต
พลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า

81
82
สถิตแิ ละพยากรณ์ ความต้ องการไฟฟ้ าสําหรับจัดทําแผน PDP
(รวมระบบ กฟผ. และไฟฟ้ าที่รับซื้อจาก VSPP)
ฉบับ กุมภาพันธ์ 2553

พลังไฟฟ้าสู งสุ ด พลังงานไฟฟ้า โหลด Elasticity


ปี เมกะวัตต์ เพิม่ ล้านหน่ วย เพิม่ แฟกเตอร์
เมกะวัตต์ % ล้ านหน่ วย % %
ค่าจริ ง : NET Generation
2550 22,078.79 N/A N/A 143,813.65 4,989.93 3.59 74.36 0.73
2551 22,236.96 158.17 0.72 145,816.50 2,002.85 1.39 74.65 0.57
2552 22,315.35 78.39 0.35 146,182.00 365.50 0.25 74.58 -
ค่าพยากรณ์ : NET Generation
2553 23,249 934 4.18 152,954 6,772 4.63 75.10 1.36
2554 24,568 1,319 5.67 160,331 7,377 4.82 74.50 1.20
2555 25,913 1,345 5.47 168,049 7,718 4.81 74.03 1.14
2556 27,188 1,275 4.92 175,631 7,582 4.51 73.74 1.11
2557 28,341 1,153 4.24 183,452 7,821 4.45 73.89 0.93
2558 29,463 1,122 3.96 191,224 7,772 4.24 74.09 0.95
2559 30,754 1,291 4.38 200,012 8,788 4.60 74.24 1.07
2560 32,225 1,471 4.78 209,329 9,317 4.66 74.15 1.09
2561 33,688 1,463 4.54 218,820 9,491 4.53 74.15 1.11
2562 34,988 1,300 3.86 227,599 8,779 4.01 74.26 0.97
2563 36,336 1,348 3.85 236,956 9,357 4.11 74.44 0.97
2564 37,856 1,520 4.18 246,730 9,774 4.12 74.40 0.99
2565 39,308 1,452 3.84 256,483 9,753 3.95 74.49 0.99
2566 40,781 1,473 3.75 266,488 10,005 3.90 74.60 0.99
2567 42,236 1,455 3.57 276,805 10,317 3.87 74.81 0.99
2568 43,962 1,726 4.09 287,589 10,784 3.90 74.68 0.99
2569 45,621 1,659 3.77 298,779 11,190 3.89 74.76 0.99
2570 47,344 1,723 3.78 310,387 11,608 3.89 74.84 0.99
2571 49,039 1,695 3.58 322,427 12,040 3.88 75.06 0.99
2572 50,959 1,920 3.92 334,921 12,494 3.87 75.03 0.99
2573 52,890 1,931 3.79 347,947 13,026 3.89 75.10 0.99
อัตราเพิม่ เฉลีย่
2551-2553 - 390 1.74 - 3,047 2.08 - -
2554-2558 - 1,243 4.85 - 7,654 4.57 - -
2559-2563 - 1,375 4.28 - 9,146 4.38 - -
2564-2568 - 1,525 3.88 - 10,127 3.95 - -
2569-2573 - 1,786 3.77 - 12,072 3.88 - -
2553-2573 - 1,456 4.19 - 9,608 4.22 - -
หมายเหตุ รวมไฟฟ้าทีซ่ ื้อจาก VSPP กุมภาพันธ์ 2553

83
เปรียบเทียบค่ าพยากรณ์ ความต้ องการไฟฟ้า (รวมระบบ กฟผ. และไฟฟ้าที่รับซื้อจาก VSPP)
ฉบับ ธันวาคม 2551 ฉบับ กุมภาพันธ์ 2553 แตกต่ าง
ปี (1) (2) (2)-(1)
เมกะวัตต์ ล้ านหน่ วย เมกะวัตต์ ล้ านหน่ วย เมกะวัตต์ ร้ อยละ ล้ านหน่ วย ร้ อยละ
2553 24,264 157,079 23,249 152,954 -1,015 -4.18 -4,125 -2.63
2554 25,692 165,671 24,568 160,331 -1,124 -4.38 -5,340 -3.22
2555 27,492 176,762 25,913 168,049 -1,579 -5.74 -8,713 -4.93
2556 29,148 188,374 27,188 175,631 -1,960 -6.72 -12,743 -6.76
2557 30,918 200,183 28,341 183,452 -2,577 -8.34 -16,731 -8.36
2558 32,820 212,753 29,463 191,224 -3,357 -10.23 -21,529 -10.12
2559 34,797 225,727 30,754 200,012 -4,043 -11.62 -25,715 -11.39
2560 36,832 239,051 32,225 209,329 -4,607 -12.51 -29,722 -12.43
2561 38,925 252,824 33,688 218,820 -5,237 -13.45 -34,004 -13.45
2562 41,062 266,839 34,988 227,599 -6,074 -14.79 -39,240 -14.71
2563 43,292 281,472 36,336 236,956 -6,956 -16.07 -44,516 -15.82
2564 45,572 296,414 37,856 246,730 -7,716 -16.93 -49,684 -16.76
2565 - - 39,308 256,483 - - - -
2566 - - 40,781 266,488 - - - -
2567 - - 42,236 276,805 - - - -
2568 - - 43,962
, 287,589
, - - - -
2569 - - 45,621 298,779 - - - -
2570 - - 47,344 310,387 - - - -
2571 - - 49,039 322,427 - - - -
2572 - - 50,959 334,921 - - - -
2573 - - 52,890 347,947 - - - -
กุมภาพันธ์ 2553

84
สถิตแิ ละพยากรณ์ ความต้ องการไฟฟ้ าในระบบ กฟผ. (ไม่ รวม VSPP)
ฉบับ กุมภาพันธ์ 2553

พลังไฟฟ้าสู งสุ ด พลังงานไฟฟ้า โหลด Elasticity


ปี เมกะวัตต์ เพิม่ ล้านหน่ วย เพิม่ แฟกเตอร์
เมกะวัตต์ % ล้ านหน่ วย % %
ค่าจริ ง : NET Generation
2550 22,009.20 N/A N/A 143,740.98 4,940.16 3.56 74.55 0.72
2551 22,018.00 8.80 0.04 145,227.50 1,486.52 1.03 75.09 0.42
2552 22,044.90 26.90 0.12 145,233.00 5.50 0.00 75.00 -
ค่าพยากรณ์ : NET Generation
2553 22,690 645 2.93 150,454 5,221 3.59 75.69 1.05
2554 23,788 1,098 4.84 156,656 6,202 4.12 75.18 1.03
2555 24,995 1,207 5.07 163,914 7,258 4.63 74.86 1.09
2556 26,111 1,116 4.46 170,712 6,798 4.15 74.63 1.02
2557 27,101 990 3.79 177,944 7,232 4.24 74.95 0.89
2558 28,081 980 3.62 185,215 7,271 4.09 75.29 0.92
2559 29,176 1,095 3.90 193,157 7,942 4.29 75.58 1.00
2560 30,453 1,277 4.38 201,761 8,604 4.45 75.63 1.04
2561 31,766 1,313 4.31 210,748 8,987 4.45 75.74 1.09
2562 32,915 1,149 3.62 219,040 8,292 3.93 75.97 0.95
2563 34,102 1,187 3.61 227,853 8,813 4.02 76.27 0.95
2564 35,507 1,405 4.12 237,162 9,309 4.09 76.25 0.98
2565 36,709 1,202 3.39 245,700 8,538 3.60 76.41 0.90
2566 38,058 1,349 3.67 255,143 9,443 3.84 76.53 0.97
2567 39,387 1,329 3.49 264,893 9,750 3.82 76.77 0.97
2568 40,974 1,587 4.03 275,021 10,128 3.82 76.62 0.98
2569 42,498 1,524 3.72 285,586 10,565 3.84 76.71 0.98
2570 44,077 1,579 3.72 296,552 10,966 3.84 76.80 0.98
2571 45,625 1,548 3.51 307,932 11,380 3.84 77.05 0.98
2572 47,393 1,768 3.88 319,734 11,802 3.83 77.01 0.98
2573 49,172 1,779 3.75 332,068 12,334 3.86 77.09 0.98
อัตราเพิม่ เฉลีย่
2551-2553 - 226.93 1.02 - 2,237.67 1.53 - -
2554-2558 - 1,078.20 4.36 - 6,952.20 4.24 - -
2559-2563 - 1,204.20 3.96 - 8,527.60 4.23 - -
2564-2568 - 1,374.40 3.74 - 9,433.60 3.83 - -
2569-2573 - 1,639.60 3.72 - 11,409.40 3.84 - -
2553-2573 - 1,291.77 3.89 - 8,896.90 4.02 - -
กุมภาพันธ์ 2553

85
เปรียบเทียบค่าพยากรณ์ ความต้ องการไฟฟ้ าในระบบ กฟผ. (ไม่ รวม VSPP)
ฉบับ ธันวาคม 2551 ฉบับ กุมภาพันธ์ 2553 แตกต่ าง
ปี (1) (2) (2)-(1)
เมกะวัตต์ ล้ านหน่ วย เมกะวัตต์ ล้ านหน่ วย เมกะวัตต์ ร้ อยละ ล้านหน่ วย ร้ อยละ
2553 23,936 155,645 22,690 150,454 -1,246 -5.21 -5,191 -3.34
2554 25,085 162,884 23,788 156,656 -1,297 -5.17 -6,228 -3.82
2555 26,572 172,593 24,995 163,914 -1,577 -5.93 -8,679 -5.03
2556 28,188 183,218 26,111 170,712 -2,077 -7.37 -12,506 -6.83
2557 29,871 194,326 27,101 177,944 -2,770 -9.27 -16,382 -8.43
2558 31,734 206,604 28,081 185,215 -3,653 -11.51 -21,389 -10.35
2559 33,673 219,339 29,176 193,157 -4,497 -13.35 -26,182 -11.94
2560 35,668 232,413 30,453 201,761 -5,215 -14.62 -30,652 -13.19
2561 37,725 245,950 31,766 210,748 -5,959 -15.80 -35,202 -14.31
2562 39,828 259,740 32,915 219,040 -6,913 -17.36 -40,700 -15.67
2563 42,024 274,144 34,102 227,853 -7,922 -18.85 -46,291 -16.89
2564 44,281 288,920 35,507 237,162 -8,774 -19.81 -51,758 -17.91
2565 - - 36,709 245,700 - - - -
2566 - - 38,058 255,143 - - - -
2567 - - 39,387 264,893 - - - -
2568 - - 40,974 275,021 - - - -
2569 - - 42,498 285,586 - - - -
2570 - - 44,077 296,552 - - - -
2571 - - 45,625 307,932 - - - -
2572 - - 47,393 319,734 - - - -
2573 - - 49,172 332,068 - - - -
กุมภาพันธ์ 2553

86
ภาคผนวก 6
ประมาณการกําลังผลิตไฟฟ้าแยกตามประเภท

โรงไฟฟ้า

87
88
ประมาณการกําลังผลิตไฟฟ้าแยกตามชนิดของโรงไฟฟ้า
PDP 2010
ชนิดของโรงไฟฟ้า หน่ วย ปี
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573
- กฟผ. เมกะวัตต์ 3,424 3,424 3,424 3,424 3,424 3,436 3,436 3,936 3,936 3,936 3,936 3,936 3,936 3,936 3,936 3,936 3,936 3,936 3,936 3,936 3,936
พลังนํา้ / % 10.9 10.4 10.0 9.3 8.6 8.6 8.3 9.3 9.2 8.9 8.8 8.3 8.0 7.7 7.5 7.5 6.9 6.9 6.4 6.2 6.0

ซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน - สปป. ลาว เมกะวัตต์ 1,260 1,857 2,077 2,077 2,077 3,059 3,550 3,990 3,990 3,990 3,990 3,990 3,990 3,776 3,776 3,776 3,776 3,776 3,776 3,776 3,650
% 4.0 5.6 6.1 5.6 5.2 7.7 8.6 9.4 9.4 9.0 8.9 8.4 8.2 7.4 7.2 7.2 6.6 6.6 6.2 5.9 5.6
- สหภาพพม่า เมกะวัตต์ - - - - - - 369 369 369 369 369 369 369 369 369 369 369 369 369 369 369
% - - - - - - 0.9 0.9 0.9 0.8 0.8 0.8 0.8 0.7 0.7 0.7 0.7 0.7 0.6 0.6 0.6
- ซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน เมกะวัตต์ - - - - - - - - 450 1,050 1,650 2,250 2,850 3,450 4,050 4,650 5,250 5,850 6,450 7,050 7,650
% - - - - - - - - 1.1 2.4 3.7 4.7 5.8 6.7 7.7 8.8 9.2 10.3 10.5 11.1 11.7

รวม เมกะวัตต์ 4,684 5,281 5,501 5,501 5,501 6,495 7,355 8,295 8,745 9,345 9,945 10,545 11,145 11,531 12,131 12,731 13,331 13,931 14,531 15,131 15,605
% 14.9 16.0 16.1 14.9 13.9 16.2 17.8 19.6 20.5 21.1 22.2 22.2 22.8 22.5 23.1 24.1 23.4 24.5 23.7 23.7 23.8
นํา้ มัน - กฟผ. เมกะวัตต์ 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315
พลังความร้ อน 1.0 1.0 0.9 0.9 0.8 0.8 0.8 0.7 0.7 0.7 0.7 0.7 0.6 0.6 0.6 0.6 0.6 0.6 0.5 0.5 0.5
%
- SPP เมกะวัตต์ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 - - - - - - - - - - - -
% 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 - - - - - - - - - - - -
นํา้ มัน / ก๊ าซ - กฟผ. เมกะวัตต์ 2,204 2,204 2,204 2,204 1,152 1,152 1,152 1,152 1,152 1,152 1,152 1,152 576 - - - - - - - -
% 7.0 6.7 6.5 6.0 2.9 2.9 2.8 2.7 2.7 2.6 2.6 2.4 1.2 - - - - - - - -
- IPP เมกะวัตต์ 1,580 1,510 1,510 1,510 1,510 1,510 1,440 1,440 1,440 1,440 1,440 1,440 1,440 1,440 1,440 - - - - - -
% 5.0 4.6 4.4 4.1 3.8 3.8 3.5 3.4 3.4 3.3 3.2 3.0 2.9 2.8 2.7 - - - - - -
ลิกไนต์ - กฟผ. เมกะวัตต์ 2,180 2,180 2,180 2,180 2,180 2,180 2,180 2,180 2,180 2,180 2,180 2,180 2,180 2,180 2,040 1,760 1,620 1,620 1,620 1,350 1,080
% 7.0 6.6 6.4 5.9 5.5 5.5 5.3 5.1 5.1 4.9 4.9 4.6 4.5 4.3 3.9 3.3 2.8 2.9 2.6 2.1 1.7
ถ่ านหิน - กฟผ. เมกะวัตต์ - - - - - - - - - 800 800 1,600 1,600 2,400 2,400 2,400 4,000 4,000 5,600 6,400 7,200
% - - - - - - - - - 1.8 1.8 3.4 3.3 4.7 4.6 4.6 7.0 7.0 9.1 10.0 11.0
- IPP เมกะวัตต์ 1,347 2,007 2,007 2,277 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547 2,547
% 4.3 6.1 5.9 6.2 6.4 6.4 6.2 6.0 6.0 5.8 5.7 5.4 5.2 5.0 4.9 4.8 4.5 4.5 4.2 4.0 3.9
- SPP เมกะวัตต์ 370 370 370 370 370 370 370 370 360 360 360 360 360 360 90 - - - - - -
% 1.2 1.1 1.1 1.0 0.9 0.9 0.9 0.9 0.8 0.8 0.8 0.8 0.7 0.7 0.2 - - - - - -

รวม เมกะวัตต์ 8,000 8,590 8,590 8,860 8,078 8,078 8,008 8,008 7,998 8,794 8,794 9,594 9,018 9,242 8,832 7,022 8,482 8,482 10,082 10,612 11,142
% 25.5 26.0 25.1 23.9 20.3 20.2 19.3 18.9 18.8 19.9 19.6 20.2 18.4 18.0 16.8 13.3 14.9 14.9 16.4 16.6 17.0
- กฟผ. เมกะวัตต์ 6,866 6,866 6,866 6,866 8,466 8,466 8,466 8,152 7,513 7,513 6,872 6,872 6,872 4,400 4,400 4,400 4,400 4,400 4,400 4,400 4,400
พลังความร้ อนร่ วม ก๊ าซ
% 21.9 20.8 20.1 18.6 21.3 21.2 20.4 19.2 17.6 17.0 15.3 14.4 14.0 8.6 8.4 8.3 7.7 7.7 7.2 6.9 6.7

89
- IPP เมกะวัตต์ 9,225 9,225 9,225 10,825 12,425 11,250 10,572 10,572 10,572 10,572 9,872 9,872 9,872 9,522 9,522 8,822 8,822 6,781 6,068 6,068 6,068
% 29.4 28.0 27.0 29.3 31.3 28.1 25.5 25.0 24.8 23.9 22.0 20.7 20.2 18.6 18.1 16.7 15.5 11.9 9.9 9.5 9.3
- SPP เมกะวัตต์ 1,293 1,293 1,293 1,293 1,293 1,293 1,293 1,113 1,081 901 721 521 371 330 90 - - - - - -
% 4.1 3.9 3.8 3.5 3.3 3.2 3.1 2.6 2.5 2.0 1.6 1.1 0.8 0.6 0.2 - - - - - -
- โรงไฟฟ้ าใหม่ เมกะวัตต์ - - - - - - 800 800 800 800 800 800 1,600 5,600 5,600 6,400 8,000 8,800 10,400 11,200 11,200
% - - - - - - 1.9 1.9 1.9 1.8 1.8 1.7 3.3 10.9 10.7 12.1 14.1 15.5 17.0 17.6 17.1

รวม เมกะวัตต์ 17,384 17,384 17,384 18,984 22,184 21,009 21,131 20,637 19,966 19,786 18,265 18,065 18,715 19,852 19,612 19,622 21,222 19,981 20,868 21,668 21,668
% 55.5 52.7 50.9 51.3 55.9 52.5 51.0 48.7 46.9 44.7 40.7 37.9 38.2 38.7 37.3 37.2 37.3 35.2 34.0 34.0 33.1
- กฟผ. เมกะวัตต์ 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4
กังหันแก็ส และดีเซล 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
%
- SPP เมกะวัตต์ 120 120 120 120 120 120 120 120 120 120 120 120 120 120 - - - - - - -
% 0.4 0.4 0.4 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.2 0.2 - - - - - - -

รวม เมกะวัตต์ 124 124 124 124 124 124 124 124 124 124 124 124 124 124 4 4 4 4 4 4 4
% 0.4 0.4 0.4 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
- กฟผ. เมกะวัตต์ 5 43 71 125 143 157 174 184 214 222 244 304 340 340 340 340 340 340 340 340 340
พลังงานหมุนเวียน 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.4 0.4 0.4 0.5 0.5 0.5 0.6 0.7 0.7 0.7 0.6 0.6 0.6 0.6 0.5 0.5
%
- SPP เมกะวัตต์ 305 305 305 305 305 305 305 305 305 305 297 297 297 297 248 184 179 164 69 69 69
% 1.0 0.9 0.9 0.8 0.8 0.8 0.7 0.7 0.7 0.7 0.7 0.6 0.6 0.6 0.5 0.4 0.3 0.3 0.1 0.1 0.1

รวม เมกะวัตต์ 310 348 377 431 449 463 479 490 520 527 541 602 638 638 588 524 519 504 409 409 409
% 1.0 1.1 1.1 1.2 1.1 1.2 1.2 1.2 1.2 1.2 1.2 1.3 1.3 1.2 1.1 1.0 0.9 0.9 0.7 0.6 0.6

ผู้ผลิตเอกชนรายเล็ก - พลังงานหมุนเวียน เมกะวัตต์ 90 250 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315 315
% 0.3 0.8 0.9 0.9 0.8 0.8 0.8 0.7 0.7 0.7 0.7 0.7 0.6 0.6 0.6 0.6 0.6 0.6 0.5 0.5 0.5
( รับซื้อเพิ่ม )
- โคเจนเนอเรชั่น เมกะวัตต์ 90 90 794 1,514 1,604 1,874 2,144 2,414 2,684 2,954 3,224 3,604 3,964 4,324 4,684 5,044 5,404 5,764 6,124 6,484 7,024
% 0.3 0.3 2.3 4.1 4.0 4.7 5.2 5.7 6.3 6.7 7.2 7.6 8.1 8.4 8.9 9.6 9.5 10.1 10.0 10.2 10.7

รวม เมกะวัตต์ 180 340 1,109 1,829 1,919 2,189 2,459 2,729 2,999 3,269 3,539 3,919 4,279 4,639 4,999 5,359 5,719 6,079 6,439 6,799 7,339
% 0.6 1.0 3.2 4.9 4.8 5.5 5.9 6.4 7.0 7.4 7.9 8.2 8.7 9.1 9.5 10.2 10.0 10.7 10.5 10.7 11.2

เมกะวัตต์ 367 625 787 974 1,166 1,333 1,563 1,792 1,968 2,145 2,335 2,470 2,764 2,910 3,058 3,221 3,380 3,549 3,722 3,901 4,080
ผู้ผลิตเอกชนรายเล็กมาก
% 1.2 1.9 2.3 2.6 2.9 3.3 3.8 4.2 4.6 4.8 5.2 5.2 5.6 5.7 5.8 6.1 5.9 6.2 6.1 6.1 6.2

เมกะวัตต์ 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300 300
สายส่ งเชื่อมโยงไทย-มาเลเซีย
% 1.0 0.9 0.9 0.8 0.8 0.8 0.7 0.7 0.7 0.7 0.7 0.6 0.6 0.6 0.6 0.6 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5

- กฟผ. เมกะวัตต์ - - - - - - - - - - 1,000 2,000 2,000 2,000 3,000 4,000 4,000 4,000 5,000 5,000 5,000
นิวเคลียร์
% - - - - - - - - - - 2.2 4.2 4.1 3.9 5.7 7.6 7.0 7.0 8.2 7.8 7.6
เมกะวัตต์ 31,349 32,992 34,172 37,003 39,720 39,990 41,419 42,374 42,619 44,289 44,842 47,618 48,982 51,235 52,523 52,782 56,956 56,830 61,355 63,824 65,547
รวมทั้งสิ้ น 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
%
 

90
ภาคผนวก 7
กําหนดปลดโรงไฟฟ้า

91
92
กําหนดปลดโรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า กําล ังผลิต กําหนดปลด
ตามส ัญญา
(เมกะว ัตต์)

โรงไฟฟ้า กฟผ.
พล ังความร้อน
แม่เมาะ #4 140 31 ธันวาคม 2566
#5 140 31 ธันวาคม 2567
#6 140 31 ธันวาคม 2567
#7 140 31 ธันวาคม 2568
#8 270 31 ธันวาคม 2571
#9 270 31 ธันวาคม 2572
# 10 270 31 ธันวาคม 2573
# 11 270 31 ธันวาคม 2574
# 12 270 31 ธันวาคม 2577
# 13 270 31 ธันวาคม 2578

บางปะกง #1 525.5 31 ธันวาคม 2556


#2 526.5 31 ธันวาคม 2556
#3 576 31 ธันวาคม 2564
#4 576 31 ธันวาคม 2565

กระบี่ #1 315 31 ธันวาคม 2576

พล ังความร้อนร่วม
บางปะกง #3 314 31 ธันวาคม 2559
#4 314 31 ธันวาคม 2560

นํ้ าพอง #1 325 31 ธันวาคม 2560


#2 325 31 ธันวาคม 2562

พระนครใต ้ #1 316 31 ธันวาคม 2562


#2 562 31 ธันวาคม 2565

วังน ้อย #1 612 31 ธันวาคม 2565


#2 612 31 ธันวาคม 2565
#3 686 31 ธันวาคม 2565

จะนะ #1 710 31 ธันวาคม 2576

โรงไฟฟ้าเอกชน
พล ังความร้อน
ขนอม #1 69.9 18 มิถน
ุ ายน 2554
#2 70.2 18 มิถน
ุ ายน 2559

ราชบุรี #1 720 30 ตุลาคม 2568


#2 720 30 ตุลาคม 2568

บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ จํากัด #1 673.25 30 กันยายน 2574


#2 673.25 31 มกราคม 2575

พล ังความร้อนร่วม
ระยอง #1 294.7 6 ธันวาคม 2557
#2 287.7 6 ธันวาคม 2557
#3 289.8 6 ธันวาคม 2557
#4 302.9 6 ธันวาคม 2557
ขนอม #1 678 18 มิถน
ุ ายน 2559

ราชบุรี #1 685 17 เมษายน 2570


#2 675 17 เมษายน 2570
#3 681 31 ตุลาคม 2570
บริษัท ผลิตไฟฟ้ าอิสระ จํากัด #1 700 14 สิงหาคม 2568
บริษัท อีสเทิรน
์ เพาเวอร์ แอนด์ อิเล็คตริค จํากัด #1 350 24 มีนาคม 2566
บริษัท ไตรเอนเนอยี่ จํากัด #1 700 30 มิถน
ุ ายน 2563
บริษัท โกล์ว ไอพีพี จํากัด #1 713 30 มกราคม 2571
บริษัท ราชบุรเี พาเวอร์ จํากัด #1 700 28 กุมภาพันธ์ 2576
#2 700 31 พฤษภาคม 2576
่ จํากัด
บริษัท กัลฟ์ เพาเวอร์ เจนเนอเรชัน #1 734 28 กุมภาพันธ์ 2575
#2 734 29 กุมภาพันธ์ 2576

93
 

94
ภาคผนวก 8
ประมาณการการผลิตพลังงานไฟฟ้าแยกตาม

ประเภทเชื้อเพลิง

95
96
ประมาณการการผลิตพลังงานไฟฟ้าแยกตามชนิดของเชื้อเพลิง
PDP 2010
ชนิดของเชื้อเพลิง หน่ วย ปี
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573
- กฟผ. ล้านหน่ วย 5,914 5,782 5,668 5,775 5,715 5,815 5,815 5,960 6,065 6,065 6,065 6,065 6,065 6,065 6,065 6,065 6,065 6,065 6,065 6,065 6,065
พลังนํา้ / % 3.9 3.6 3.4 3.3 3.1 3.0 2.9 2.9 2.8 2.7 2.6 2.5 2.4 2.3 2.2 2.1 2.0 2.0 1.9 1.8 1.7

ซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพือ่ นบ้ าน - สปป. ลาว ล้านหน่ วย 7,951 10,511 11,239 11,402 11,439 14,349 22,109 24,496 24,496 24,499 24,529 24,505 24,502 23,263 23,289 23,254 23,114 23,252 22,916 22,858 22,637
% 5.2 6.6 6.7 6.5 6.2 7.5 11.1 11.7 11.2 10.8 10.4 9.9 9.6 8.7 8.4 8.1 7.7 7.5 7.1 6.8 6.5

- สหภาพพม่ า ล้านหน่ วย - - - - - - 2,067 2,819 2,818 2,818 2,827 2,817 2,815 2,813 2,821 2,814 2,812 2,811 2,673 2,647 2,811
% - - - - - - 1.0 1.4 1.3 1.2 1.2 1.1 1.1 1.1 1.0 1.0 0.9 0.9 0.8 0.8 0.8

- ซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้ าน ล้านหน่ วย - - - - - - - - 1,455 4,250 7,330 11,549 14,628 17,708 20,788 23,867 26,947 30,027 33,106 36,186 39,266
% - - - - - - - - 0.7 1.9 3.1 4.7 5.7 6.6 7.5 8.3 9.0 9.7 10.3 10.8 11.3

รวม ล้านหน่ วย 13,865 16,293 16,907 17,177 17,153 20,163 29,990 33,275 34,834 37,632 40,750 44,935 48,010 49,849 52,962 56,001 58,938 62,155 64,760 67,756 70,778
% 9.1 10.2 10.1 9.8 9.4 10.5 15.0 15.9 15.9 16.5 17.2 18.2 18.7 18.7 19.1 19.5 19.7 20.0 20.1 20.2 20.3

ก๊ าซธรรมชาติ / LNG - กฟผ. ล้านหน่ วย 39,365 41,426 39,636 35,123 40,384 37,455 36,914 37,148 35,907 35,897 33,495 32,405 31,877 24,559 24,694 22,456 13,214 13,037 5,244 4,721 5,418
% 25.7 25.8 23.6 20.0 22.0 19.6 18.5 17.8 16.4 15.8 14.1 13.1 12.4 9.2 8.9 7.8 4.4 4.2 1.6 1.4 1.6
ล้านลูกบาศก์ฟตุ ต่ อวัน 860 900 837 738 827 713 701 709 678 678 621 602 592 458 459 419 247 244 98 88 101
- IPP ล้านหน่ วย 55,577 54,745 56,721 58,826 57,131 59,246 53,308 53,523 60,291 60,944 58,220 51,880 47,485 24,306 24,502 22,776 15,741 15,272 2,670 1,598 2,523
% 36.3 34.1 33.8 33.5 31.1 31.0 26.7 25.6 27.6 26.8 24.6 21.0 18.5 9.1 8.9 7.9 5.3 4.9 0.8 0.5 0.7
ล้านลูกบาศก์ฟตุ ต่ อวัน 1,126 1,102 1,140 1,169 1,136 1,149 1,021 1,019 1,150 1,163 1,106 986 901 454 457 426 295 287 52 31 49
- SPP ล้านหน่ วย 9,275 9,301 9,207 9,123 9,056 9,902 9,902 9,272 8,473 8,049 6,367 5,286 4,159 3,225 1,384 473 - - - - -
% 6.1 5.8 5.5 5.2 4.9 5.2 5.0 4.4 3.9 3.5 2.7 2.1 1.6 1.2 0.5 0.2 - - - - -

- โรงไฟฟ้าใหม่ ล้านหน่ วย - - - - - - 2,869 6,183 6,185 6,192 6,215 6,176 12,362 42,821 42,956 48,797 60,003 66,081 72,915 77,658 78,217
% - - - - - - 1.4 3.0 2.8 2.7 2.6 2.5 4.8 16.1 15.5 17.0 20.1 21.3 22.6 23.2 22.5
ล้านลูกบาศก์ฟตุ ต่ อวัน - - - - - - 53 115 115 115 115 114 230 798 799 911 1,123 1,236 1,382 1,478 1,487
รวม ล้านหน่ วย 104,216 105,471 105,564 103,072 106,571 106,603 102,994 106,126 110,856 111,082 104,297 95,747 95,883 94,911 93,537 94,503 88,958 94,390 80,829 83,977 86,159
% 68.1 65.8 62.8 58.7 58.1 55.8 51.5 50.7 50.7 48.8 44.0 38.8 37.4 35.6 33.8 32.9 29.8 30.4 25.1 25.1 24.8
ล้านลูกบาศก์ฟตุ ต่ อวัน 1,986 2,003 1,978 1,907 1,963 1,862 1,774 1,843 1,943 1,955 1,842 1,702 1,722 1,711 1,715 1,755 1,665 1,767 1,531 1,598 1,637

นํา้ มันเตา - กฟผ. ล้านหน่ วย 643 205 727 1,130 625 - - - - - - - - - - - - - - - -


% 0.4 0.1 0.4 0.6 0.3 - - - - - - - - - - - - - - - -
ล้านลิตร 166.52 66.04 234.47 364.11 201.35 - - - - - - - - - - - - - - - -
- IPP ล้านหน่ วย 234 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
% 0.2 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ล้านลิตร 60.00 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

- SPP ล้านหน่ วย 33 33 33 33 33 32 32 32 32 16 - - - - - - - - - - -
% 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 - - - - - - - - - - -

รวม ล้านหน่ วย 910 238 760 1,163 658 32 32 32 32 16 - - - - - - - - - - -


% 0.6 0.2 0.5 0.7 0.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 - - - - - - - - - - -
ล้านลิตร 227 66 234 364 201 - - - - - - - - - - - - - - - -

ดีเซล - กฟผ. ล้านหน่ วย 112 28 28 91 81 26 26 26 23 23 21 21 21 21 21 21 21 21 21 21 21


0.1 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

97
%
ล้านลิตร 25.74 9.30 9.05 22.73 19.10 7.20 7.22 7.00 6.30 6.30 5.61 5.60 5.60 5.60 5.61 5.60 5.60 5.60 5.61 5.60 5.60

ลิกไนต์ - กฟผ. ล้านหน่ วย 16,359 17,075 16,693 17,079 16,739 17,153 17,202 17,153 17,153 17,153 17,202 17,153 17,153 17,153 16,107 13,875 12,782 12,782 12,819 10,652 8,522
% 10.7 10.7 9.9 9.7 9.1 9.0 8.6 8.2 7.8 7.5 7.3 7.0 6.7 6.4 5.8 4.8 4.3 4.1 4.0 3.2 2.5
ล้านตัน 15.94 16.42 16.04 16.42 16.08 17.19 16.98 16.03 14.84 15.08 15.22 15.17 15.17 15.17 13.89 11.77 10.68 10.68 10.72 8.90 6.92

ถ่ านหินนําเข้ า - กฟผ. ล้านหน่ วย - - - - - - - - - 3,375 6,125 9,476 12,200 18,261 18,302 18,237 30,424 30,329 42,538 48,465 53,931
% - - - - - - - - - 1.5 2.6 3.8 4.8 6.9 6.6 6.3 10.2 9.8 13.2 14.5 15.5
ล้านตัน - - - - - - - - - 1.23 2.23 3.45 4.44 6.64 6.66 6.63 11.07 11.03 15.48 17.63 19.62
- IPP ล้านหน่ วย 10,026 11,443 15,108 15,054 18,256 19,461 19,515 19,464 19,462 19,464 19,521 19,464 19,464 19,455 19,514 19,451 19,448 19,452 19,483 19,427 19,437
% 6.6 7.1 9.0 8.6 10.0 10.2 9.8 9.3 8.9 8.6 8.2 7.9 7.6 7.3 7.1 6.8 6.5 6.3 6.0 5.8 5.6
ล้านตัน 3.65 4.16 5.47 5.50 6.88 6.99 7.01 6.99 6.99 6.99 7.01 6.99 6.99 6.98 7.01 6.98 6.98 6.98 6.99 6.97 6.98
- SPP ล้านหน่ วย 2,294 2,323 2,360 2,420 2,369 2,593 2,593 2,593 2,529 2,523 2,523 2,523 2,523 2,523 1,472 158 - - - - -
% 1.5 1.5 1.4 1.4 1.3 1.4 1.3 1.2 1.2 1.1 1.1 1.0 1.0 1.0 0.5 0.1 - - - - -

รวม ล้านหน่ วย 12,320 13,766 17,468 17,473 20,625 22,054 22,108 22,057 21,991 25,362 28,170 31,463 34,187 40,239 39,288 37,845 49,871 49,781 62,021 67,892 73,368
% 8.1 8.6 10.4 10.0 11.2 11.5 11.1 10.5 10.1 11.1 11.9 12.8 13.3 15.1 14.2 13.2 16.7 16.0 19.2 20.3 21.1
ล้านตัน 3.65 4.16 5.47 5.50 6.88 6.99 7.01 6.99 6.99 8.22 9.24 10.43 11.43 13.63 13.66 13.62 18.05 18.02 22.47 24.61 26.60

พลังงานหมุนเวียน - กฟผ. ล้านหน่ วย 46 304 316 403 501 695 775 821 907 928 1,044 1,212 1,293 1,293 1,293 1,293 1,293 1,293 1,293 1,292 1,292
% 0.0 0.2 0.2 0.2 0.3 0.4 0.4 0.4 0.4 0.4 0.4 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.4 0.4 0.4 0.4 0.4

- SPP Firm ล้านหน่ วย 2,170 2,223 2,308 2,420 2,249 1,999 1,999 1,999 1,999 1,999 1,962 1,943 1,943 1,943 1,716 1,418 1,134 1,018 796 343 343
% 1.4 1.4 1.4 1.4 1.2 1.1 1.0 1.0 0.9 0.9 0.8 0.8 0.8 0.7 0.6 0.5 0.4 0.3 0.3 0.1 0.1

- SPP Non Firm ล้านหน่ วย 601 515 515 515 515 1,806 1,806 1,806 1,806 1,806 1,806 1,806 1,806 1,806 1,806 1,806 1,806 1,806 1,806 1,806 1,806
% 0.4 0.3 0.3 0.3 0.3 0.9 0.9 0.9 0.8 0.8 0.8 0.7 0.7 0.7 0.7 0.6 0.6 0.6 0.6 0.5 0.5

รวม ล้านหน่ วย 2,817 3,043 3,139 3,339 3,265 4,501 4,580 4,626 4,713 4,733 4,812 4,962 5,043 5,043 4,815 4,517 4,234 4,117 3,896 3,441 3,441
% 1.8 1.9 1.9 1.9 1.8 2.4 2.3 2.2 2.2 2.1 2.0 2.0 2.0 1.9 1.7 1.6 1.4 1.3 1.2 1.0 1.0

ผู้ผลิตเอกชนรายเล็ก - พลังงานหมุนเวียน ล้านหน่ วย 385 806 1,387 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348 2,348
% 0.3 0.5 0.8 1.3 1.3 1.2 1.2 1.1 1.1 1.0 1.0 1.0 0.9 0.9 0.9 0.8 0.8 0.8 0.7 0.7 0.7
( รับซื้อเพิ่ม) ล้านหน่ วย 105 631 1,984 8,613 10,978 12,345 14,237 16,129 18,809 20,702 22,594 25,257 27,780 30,303 32,825 35,348 37,871 40,394 42,917 45,440 49,224
- โคเจนเนอเรชั่ น
% 0.1 0.4 1.2 4.9 6.0 6.5 7.1 7.7 8.6 9.1 9.5 10.2 10.8 11.4 11.9 12.3 12.7 13.0 13.3 13.6 14.2

รวม ล้านหน่ วย 491 1,437 3,371 10,961 13,326 14,692 16,584 18,477 21,157 23,049 24,941 27,605 30,127 32,650 35,173 37,696 40,219 42,742 45,265 47,788 51,572
% 0.3 0.9 2.0 6.2 7.3 7.7 8.3 8.8 9.7 10.1 10.5 11.2 11.8 12.3 12.7 13.1 13.5 13.8 14.0 14.3 14.8

ผู้ผลิตเอกชนรายเล็กมาก - พลังงานหมุนเวียน ล้านหน่ วย 1,502 2,636 3,064 3,718 4,280 4,732 5,193 6,199 6,654 7,063 7,571 8,004 9,154 9,683 10,214 10,797 11,382 12,020 12,659 13,351 14,044
% 1.0 1.6 1.8 2.1 2.3 2.5 2.6 3.0 3.0 3.1 3.2 3.2 3.6 3.6 3.7 3.8 3.8 3.9 3.9 4.0 4.0

- โคเจนเนอเรชั่ น ล้านหน่ วย 50 92 123 253 280 330 361 421 470 547 584 616 680 714 750 822 863 867 888 888 888
% 0.0 0.1 0.1 0.1 0.2 0.2 0.2 0.2 0.2 0.2 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3

รวม ล้านหน่ วย 1,552 2,727 3,187 3,971 4,560 5,061 5,554 6,621 7,124 7,610 8,155 8,620 9,834 10,397 10,964 11,620 12,245 12,887 13,547 14,239 14,932
% 1.0 1.7 1.9 2.3 2.5 2.7 2.8 3.2 3.3 3.3 3.4 3.5 3.8 3.9 4.0 4.0 4.1 4.2 4.2 4.3 4.3

สายส่ งเชื่ อมโยง ไทย - มาเลเซีย ล้านหน่ วย 313 253 931 1,305 475 939 941 939 939 939 941 939 939 939 941 939 939 939 941 939 939
% 0.2 0.2 0.6 0.7 0.3 0.5 0.5 0.5 0.4 0.4 0.4 0.4 0.4 0.4 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3

นิวเคลียร์ - กฟผ. ล้านหน่ วย - - - - - - - - - - 7,666 15,286 15,286 15,286 22,998 30,573 30,573 30,573 38,329 38,216 38,216
% - - - - - - - - - - 3.2 6.2 6.0 5.7 8.3 10.6 10.2 9.9 11.9 11.4 11.0
ตัน - - - - - - - - - - 18.58 37.05 37.05 37.05 55.74 74.10 74.10 74.10 92.91 92.63 92.63
รวมทั้งสิ้ น ล้ านหน่ วย 152,954 160,331 168,049 175,631 183,452 191,224 200,012 209,329 218,820 227,599 236,956 246,730 256,483 266,488 276,805 287,589 298,779 310,387 322,428 334,922 347,948
 

98
ภาคผนวก 9
แผนพลังงานหมุนเวียนและการรับซื้อไฟฟ้าจาก
ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP) และ
รายเล็กมาก (VSPP)

99
100
ศักยภาพ และเปาหมาย
ประเภทพลังงาน ศักยภาพ existing พ.ศ. 2551-2554 พ.ศ. 2555-2559 พ.ศ. 2560-2565
ไฟฟา เมกะวัตต เมกะวัตต เมกะวัตต ktoe เมกะวัตต ktoe เมกะวัตต ktoe
แสงอาทิตย 50,000 32 55 6 95 11 500 56
พลังงานลม 1,600 1 115 13 375 42 800 89
ไฟฟาพลังน้ํา 700 56 165 43 281 73 324 85
ชีวมวล 4,400 1,610 2,800 1,463 3,220 1,682 3,700 1,933
กาซชีวภาพ 190 46 60 27 90 40 120 54
พลังงานขยะ 400 5 78 35 130 58 160 72
ไฮโดรเจน 0 0 0 0 3.5 1
รวม 1,750 3,273 1,587 4,191 1,907 5,608 2,290
พลังงานความรอ น ktoe ktoe ktoe ktoe ktoe
แสงอาทิตย 154 1 5 17.5 38

101
ชีวมวล 7,400 2,781 3,660 5,000 6,760
กาซชีวภาพ 600 224 470 540 600
พลังงานขยะ 1 15 24 35
รวม 3,007 4,150 5,582 7,433
เชื้อ เพลิงชีวภาพ ลานลิตร/วัน ลานลิตร/วัน ลานลิตร/วัน ktoe ลานลิตร/วัน ktoe ลานลิตร/วัน ktoe
เอทานอล 3.00 1.24 3.00 805 6.20 1,686 9.00 2,447
ไบโอดีเซล 4.20 1.56 3.00 950 3.64 1,145 4.50 1,415
ไฮโดรเจน 0 0 0 0 0.1 ลาน กก. 124
รวม 6.00 1,755 9.84 2,831 13.50 3,986
ความตองการใชพลังงานรวม (ktoe) 66,248 70,300 81,500 97,300
ความตองการใชพลังงานหมุนเวียน 4,237 7,492 10,319 13,709
สัดสวนการใชพลังงานหมุนเวี ยน 6.4% 10.6% 12.7% 14.1%
กาซ NGV (mmscfd) 108.1 393.0 3,469 596 5,260 690 6,090
(ktoe) 10,961 15,579 19,799
สัดสวนการใชพลังงานทดแทน 15.6% 19.1% 20.3%
อัตราส่ วนเพิม่ ราคารับซื้อไฟฟ้าสํ าหรับผู้ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
ทุกจงหวด
ทกจั งหวัด ยกเวน
ยกเว้ น ระยะเวลา
3 จังั หวัดั ภาคใต้
ใ้ พืนื้ ทีที่ ใี่ ช้้ ดเี ซล
ประเภทพลังงาน 3 จังหวัดภาคใต้
(บาท/หน่ วย) (บาท/หน่ วย)
(บาท/หน่ วย) (ปี )
ชีวมวล
กําลังผลิต ≤ 1 MW 0.5 1.5 1.5 7
กําลังผลิต > 1 MW 0.3 1.3 1.3
ก๊าซชีวภาพ
กําลังผลิต ≤ 1 MW
กาลงผลต 00.55 11.55 11.55 7

102
กําลังผลิต > 1 MW 0.3 1.3 1.3
พลังนํ้าขนาดเล็ก
50 kW ≤ กําลังผลิต < 200 kW 0.8 1.8 1.8 7
กําํ ลังั ผลิิต < 50 kW 1.5 2.5 2.5
ขยะ
- ระบบหมักหรื อหลุมฝังกลบขยะ 2.5 3.5 3.5 7
- พลังงานความร้อน (Thermal Process) 3.5 4.5 4.5
พลังงานลม
กําลังผลิต ≤ 50 kW 4.5 6.0 6.0 10
กําลังผลิต > 50 kW 3.5 5.0 5.0
พลังงานแสงอาทิตย์
พลงงานแสงอาทตย 80
8.0 95
9.5 95
9.5 10

หมายเหตุ : มติ กพช. ในการประชุมครั้งที่ 2/2552 (ครั้งที่ 124) เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2552
ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP) ที่เสนอขายเข้ าระบบของ กฟผ.
(ณ เดือน 31 มกราคม 2553)
หน่วย : เมกะวัตต์
ประเภท กําลังผลิตติดตั้ง ปริมาณพลังไฟฟ้ าตามสั ญญา
จําหน่ ายไฟฟ้ าเข้ าระบบ กฟผ. แล้ว
- Firm 3,389.1 2,092.3
ก๊าซธรรมชาติ 2,260.8 1,413.0
ถ่านหิน 703.0 369.5
นํ้ามันเตา 10.4 4.5
Black Liquor 32.9 25.0
แกลบ และเศษไม้ 211.6 167.5
กากอ้อย 160.5 104.0
ทะลายปาล์ม ใยปาล์ม กะลาปาล์ม 9.9 8.8
- Non-Firm 707.8 248.6
ก๊าซธรรมชาติ 355.0 110.0
ถ่านหิน 165.2 59.0
ก๊าซธรรมชาติที่เป็ นผลพลอยได้จากการผลิตนํ้ามันดิบ 2.0 1.7
แกลบ และเศษไม้ 9.0 5.9
กากอ้อย 157.6 66.0
Waste Gas 19.0 6.0
รวม 4,096.9 2,340.9

ยังไม่ จําหน่ ายไฟฟ้ าเข้ าระบบ กฟผ.


- Firm
- โครงการระหว่างปี 2553 - 2557
- ดําเนินการประสานงานกับ กฟผ. แล้ว 2,372.3 1,694.0
- อยูร่ ะหว่างการประสานงานกับ กฟผ. 250.0 225.0
- โครงการระหว่างปี 2558 - 2564 - 2,000.0
- โครงการระหว่างปี 2565 - 2573 - 3,420.0
- Non-Firm
- ดําเนินการประสานงานกับ กฟผ. แล้ว 620.6 468.0
- อยูร่ ะหว่างการประสานงานกับ กฟผ. - 300.0
รวม 3,242.9 8,107.0

รวมผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (SPP) ทั้งหมด


Firm 6,011.4 9,431.3
Non-Firm 1,328.4 1,016.6
รวมทั้งสิ้น 7,339.8 10,447.9
แหล่งที่มา : ฝ่ ายสัญญาซื้ อขายไฟฟ้ า,ฝ่ ายวางแผนระบบไฟฟ้ า กฟผ.

103
สถานภาพการรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP จําแนกตามประเภทเชื้อเพลิง (รวม กฟน. และ กฟภ.)
(ณ เดือนธันวาคม 2552)
อยูระหว่ างการพิจารณา ได้ รับการตอบรั บซื้อแล้ ว (ยังไม่ ลงนาม PPA) ลงนาม PPA แล้ ว (รอ COD) ขายไฟฟ้ าเข้ าระบบแล้ ว
จํานวน กําลังผลิต ปริมาณพลังไฟฟ้า จํานวน กําลังผลิต ปริมาณพลังไฟฟ้า จํานวน กําลังผลิต ปริมาณพลังไฟฟ้า จํานวน กําลังผลิต ปริมาณพลังไฟฟ้า
ประเภทเชื้อเพลิง/เทคโนโลยี
(ราย) ติดตั้ง (MW) เสนอขาย (MW) (ราย) ติดตั้ง (MW) เสนอขาย (MW) (ราย) ติดตั้ง (MW) เสนอขาย (MW) (ราย) ติดตั้ง (MW) เสนอขาย (MW)
เชือเพลิงเชิงพาณิชย์
ถ่านหิ น - - - - - - 4 147.9 24.0 2 19.0 6.0
ก๊าซธรรมชาติ 3 7.8 7.5 1 3.6 3.6 7 36.8 29.6 - - -
รวมเชือเพลิงเชิงพาณิชย์ 3 7.8 7.5 1 3.6 3.6 11 184.6 53.6 2 19.0 6.0
เชือเพลิงนอกรู ปแบบ
1 พลังงานแสงอาทิตย์ 135 649.2 637.6 94 415.3 398.4 291 1,421.8 1,331.9 51 7.8 7.7
PV 52 138.7 129.6 67 275.8 266.7 25 98.1 93.3 51 7.8 7.7
Thermal 83 510.5 508.0 27 139.5 131.6 266 1,323.7 1,238.6 - - -
- Parabolic trough 11 64.5 62.0 7 51.1 45.0 46 286.9 272.3 - - -
- Stirling engine 46 276.0 276.0 8 48.0 48.0 149 874.3 874.3 - - -
- others (Solar thermal) 7 56.0 56.0 10 28.4 26.6 71 162.5 92.0 - - -
- ยังไม่ได้ระบุ 19 114.0 114.0 2 12.0 12.0 - - - - - -
2 ก๊ าซชีวภาพ 21 68.5 61.6 31 52.4 44.8 32 80.7 69.2 41 51.0 43.0
มูลสัตว์ - - - 2 0.2 0.1 4 1.4 1.3 8 1.6 1.3
นําเสี ยจากโรงงานอุตสาหกรรม 20 66.6 60.6 19 46.3 39.1 25 76.1 64.7 29 47.6 40.1
ฟาง - - - 4 1.3 1.3 - - - 4 1.8 1.7
อืนๆ (หญ้าขน, ชีวภาพ) 1 1.9 1.0 6 4.7 4.3 3 3.2 3.2 - - -
3 ชีวมวล 65 539.9 413.7 36 275.0 213.4 201 1,970.9 1,495.9 53 720.0 287.8
กากปาล์ม - - - 2 2.8 2.0 1 9.5 8.0 1 12.0 8.5
กากสบู่ดาํ - - - 1 9.5 8.0 1 9.5 8.0 - - -

104
กากอ้อย 2 38.0 8.0 1 18.0 6.0 12 258.0 92.0 29 530.8 164.3
กากอ้อย+แกลบ - - - - - - - - - 1 39.4 8.0
แกลบ 9 75.6 63.5 7 62.7 53.2 35 314.9 267.9 13 71.5 67.4
แกลบ+เศษไม้/ไม้สับ 10 92.1 73.5 3 29.3 24.0 93 916.8 742.5 2 27.1 14.5
แกลบ+ซังข้าวโพด - - - - - - 1 9.0 7.8 - - -
ขีเลือย - - - - - - - - - 1 0.6 0.6
ขุยมะพร้าว 2 2.4 2.0 3 19.5 16.2 1 6.0 5.0 - - -
ซังข้าวโพด/แกน/เปลือก 1 1.8 1.8 - - - 1 9.9 8.0 1 - -
ซังข้าวโพด+แกลบ 1 9.9 8.0 - - - 1 6.0 5.4 - - -
ทะลายปาล์ม 2 17.5 12.3 3 22.0 20.0 6 48.5 36.5 4 26.5 18.2
เปลือกไม้ 1 7.5 6.8 - - - 1 6.0 5.5 - - -
ฟาง - - - 1 0.2 0.2 - - - - - -
มันสําปะหลัง (กาก+เหง้า) - - - - - - 4 21.9 17.6 - - -
ไม้โตเร็ ว - - - 1 1.4 1.0 5 24.3 21.3 - - -
เศษไม้/เศษวัสดุ/ไม้สับ 37 295.1 237.9 11 80.2 65.9 38 325.5 265.6 1 12.0 6.2
อืนๆ (ชีวมวล) - - - 3 29.4 17.0 1 5.1 4.8 - - -
4 ขยะ 20 140.4 120.6 13 74.6 59.5 14 108.6 96.4 8 12.5 10.8
Gas Engine 6 24.2 22.8 5 15.3 15.0 5 32.9 31.3 6 6.3 5.8
Steam terbine 3 22.0 18.8 6 48.2 39.0 8 70.5 60.1 2 6.2 5.0
Gasification 1 6.0 6.0 1 1.2 1.0 1 5.1 5.0 - - -
ยังไม่ระบุเทคโนโลยี 10 88.2 73.0 1 9.9 4.5 - - - - - -
5 พลังนํา 1 0.0 0.0 1 5.0 5.0 5 1.3 1.3 3 0.6 0.5
< 50 kW 1 0.0 0.0 - - - 1 0.0 0.0 2 0.1 0.1
50 - 200 kW - - - - - - 2 0.2 0.2 - - -
> 200 kW * - - - 1 5.0 5.0 2 1.1 1.1 1 0.5 0.5
6 พลังลม 13 94.1 85.3 7 18.1 17.8 5 26.4 25.0 3 0.4 0.4
7 นํามันพืชใช้ แล้ ว* - - - - - - 1 0.0 0.0 - - -
รวมเชือเพลิงนอกรู ปแบบ 255 1,492.1 1,318.8 182 840.4 738.8 549 3,609.7 3,019.6 159 792.3 350.3
รวมทังสิ น 258 1,499.9 1,326.2 183 844.0 742.4 560 3,794.3 3,073.2 161 811.3 356.3
* ไม่ได้รับส่วนเพิม่ ราคารับซื้ อไฟฟ้ า
สรุ ปรายละเอียดกําหนดการ SCOD ของ VSPP ทีเ่ ข้ าเกณฑ์ ทมี่ ศี ักยภาพสู งสุ ดในการก่ อสร้ างโรงไฟฟ้ า
เดือน มกราคม 2553

รายละเอียดโครงการ
รวม
COD ในปี 2553 COD ในปี 2554 COD ในปี 2555 COD ในปี 2556
ประเภทเชื้อเพลิง
จํานวน ปริมาณทีร่ ับซื้อ จํานวน ปริมาณทีร่ ับซื้อ จํานวน ปริมาณทีร่ ับซื้อ จํานวน ปริมาณทีร่ ับซื้อ จํานวน ปริมาณทีร่ ับซื้อ
โครงการ (MW) โครงการ (MW) โครงการ (MW) โครงการ (MW) โครงการ (MW)
ชี วมวล 19 130.8 4 28.8 6 43.6 - - 29 203.2
ก๊ าซชีวภาพ 8 19.0 6 16.2 - - - - 14 35.2

105
แสงอาทิตย์ 1 1.3 2 5.6 11 26.0 5 33.0 19 65.8
ขยะ 5 36.0 - - - - - - 5 36.0
พลังงานลม - - 1 4.8 3 20.7 - - 4 25.5
พลังงานนํา้ 3 1.1 - - - - - - 3 1.1
รวม 36 188.2 13 55.4 20 90.3 5 33.0 74 366.9
แหล่งข้อมูล : การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค ( กฟภ. )
 

106
ภาคผนวก 10
โครงการขยายระบบส่ งไฟฟ้า

107
 

108
รายละเอียดแผนการขยายระบบส่ งไฟฟ้า
( PDP 2010 )

รายการ ชื่อสายส่งไฟฟ้ าและสถานีไฟฟ้ าแรงสูง ความยาว จํานวน แรงดัน ขนาดสาย กําหนดแล้วเสร็ จ


(กม.) (วงจร) (กิโลโวลต์) (MCM) ปี
ก. โครงการระบบส่ งไฟฟ้ าสําหรับโครงการโรงไฟฟ้ า
1. โครงการในอนาคต
1.1 โรงไฟฟ้ าถ่ านหิน
1.1.1 โรงไฟฟ้ าถ่านหิน ชุดที่ 1-6 (6x800 เมกะวัตต์) - 1/ - 1/ 500 4x1272 2562-2569
1.1.2 โรงไฟฟ้ าถ่านหิน ชุดที่ 7-11 (5x800 เมกะวัตต์) -1/ -1/ 500 4x1272 2571-2573

109
รวมย่อย -
1.2 โครงการโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์
1.2.1 โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ชุดที่ 1-5 (5x1,000 เมกะวัตต์) -1/ -1/ 500 4x1272 2563-2571
รวมย่อย -
1.3 โรงไฟฟ้ าพลังความร้ อนร่ วม
1.1.1 โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่ วม ชุดที่ 1-6 (6x800 เมกะวัตต์) -1/ -1/ 500 4x1272 2565-2568
1.1.2 โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่ วม ชุดที่ 7-12 (6x800 เมกะวัตต์) -1/ -1/ 500 4x1272 2569-2572
รวมย่อย -
หมายเหตุ : 1/ อยู่ในระหว่างการศึกษาแผนทางเลือกที่เหมาะสม
รายละเอียดแผนการขยายระบบส่ งไฟฟ้า (ต่ อ)
( PDP 2010 )

รายการ ชื่อสายส่ งไฟฟ้ าและสถานี ไฟฟ้ าแรงสูง ความยาว จํานวน แรงดัน ขนาดสาย กําหนดแล้วเสร็ จ
(กม.) (วงจร) (กิโลโวลต์) (MCM) ปี
ข. โครงการขยายระบบส่ งไฟฟ้ า
1. โครงการระหว่างก่ อสร้ าง
1.1 โครงการขยายระบบส่ งไฟฟ้ าระยะที่ 10
1.1.1 งานติดตั้งหม้อแปลงตามสถานีไฟฟ้ าแรงสูงต่าง ๆ - - - - 2553
1.1.2 งานขยายระบบเบ็ดเตล็ดระหว่างโครงการ - - - - 2553
รวมย่อย -
1.2 โครงการขยายlส่ งระบบไฟฟ้ าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระยะที่ 2

110
1.2.1 งานปรับปรุ ง สฟ.ไทรน้อย และ สฟ.บางกอกน้อย - - 230 - 2553
1.2.2 งานติดตั้ง Shunt Capacitor - - - - 2552-2553
1.2.3 งานขยายระบบเบ็ดเตล็ดระหว่างโครงการ - - - - 2552-2553
1.2.4 หนองจอก - อ่อนนุช (18.0) 2 500 3/ 4x1272 2553
1.2.5 งานตัดสายส่ง บางปะกง - บางพลี ลง สฟ.คลองด่าน 2/
และก่อสร้าง บางปะกง - คลองด่าน - บางพลี 44 1/ 2 230 2x1272 2553-2554
1.2.6 งานติดตั้งหม้อแปลงตามสถานีไฟฟ้ าแรงสูงต่าง ๆ - - - - 2553-2555
รวมย่อย ความยาว 44 กิโลเมตร (หรื อ 88.0 วงจรกิโลเมตร) และสถานี ไฟฟ้ าแรงสูงแห่ งใหม่ 1 แห่ง
หมายเหตุ : 1/ ใช้เขตเดินสายไฟฟ้ าเดิม
2/ สถานีไฟฟ้ าแรงสู งแห่งใหม่
3/ เปลี่ยนระดับแรงดันจาก 230 กิโลโวลต์ เป็ น 500 กิโลโวลต์
รายละเอียดแผนการขยายระบบส่ งไฟฟ้า (ต่ อ)
( PDP 2010)

รายการ ชื่อสายส่งไฟฟ้ าและสถานีไฟฟ้ าแรงสูง ความยาว จํานวน แรงดัน ขนาดสาย กําหนดแล้วเสร็ จ


(กม.) (วงจร) (กิโลโวลต์) (MCM) ปี
1.3 โครงการสายส่ ง 500 กิโลโวลต์สําหรับรับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าเอกชน
1.4.1 ปลวกแดง - จุดแยกหนองจอก วงจรที่ 3 และ 4 159 2 500 4x1272 2554
รวมย่อย ความยาว 159.0 กิโลเมตร (หรื อ 318.0 วงจรกิโลเมตร)
1.4 โครงการสายส่ ง 500 กิโลโวลต์ เพือ่ รับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าพลังนํา้ เขื่อนนํา้ งึม 2
1.4.1 ชายแดน (จ.หนองคาย) - อุดรธานี 31/ 80 2 500 2/ 4x1272 2553
รวมย่อย ความยาว 80.0 กิโลเมตร (หรื อ 160.0 วงจรกิโลเมตร) และสถานีไฟฟ้ าแรงสูงใหม่ 1 แห่ง
1.5 โครงการขยายระบบส่ งไฟฟ้ าระยะที่ 11
ภาคกลาง

111
1.5.1 ระยอง 3 - ระยอง 1 15.4 3/ 2 115 2x795 2553
1.5.2 กาญจนบุรี 1 - กาญจนบุรี 2 14 2 115 2x795 2553
1.5.3 ตัดสายส่งวังน้อย - สระบุรี 2 ลงที่ สฟ.สระบุรี 5 1/ 5 4 4/ 230 2x1272 2554
1.5.4 ท่าวุง้ - ลพบุรี 1 13 3/ 2 115 2x795 2554
และ ท่าตะโก - ชัยบาดาล 90 2 115 795 2554
3/ 3/ 4/ 4/
1.5.5 ราชบุรี 3 - สมุทรสาคร 4 - สมุทรสาคร 3 - สามพราน 1 40/25.5/15.5 2/4/4 230/230 4x1272/2x1272 2554
(Invar)
3/ 3/
และ สมุทรสาคร 1 - สมุทรสาคร 3 - สามพราน 1 (7.1)/(15.5) - 115/115 2x795 2554

หมายเหตุ : 1/ สถานีไฟฟ้ าแรงสู งแห่งใหม่


2/ ระยะแรกจ่ายไฟฟ้ าด้วยระดับแรงดัน 230 กิโลโวลต์
3/ ใช้เขตเดินสายไฟฟ้ าเดิม
4/ เสาไฟฟ้ า 4 วงจร
รายละเอียดแผนการขยายระบบส่ งไฟฟ้ า (ต่ อ)
( PDP 2010 )
รายการ ชื่อสายส่ งไฟฟ้ าและสถานีไฟฟ้ าแรงสู ง ความยาว จํานวน แรงดัน ขนาดสาย กําหนดแล้วเสร็ จ
(กม.) (วงจร) (กิโลโวลต์) (MCM) ปี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1.5.6 อุดรธานี 2 - หนองบัวลําภู (55.2) 15/ 115 795 2553
และ หนองบัวลําภู - เลย 80 2 115 795 2554
1.5.7 นํ้าพอง 2 - อุดรธานี 3 85 2 500 4/ 4x1272 2554
1.5.8 ตัดสายส่ ง ลําตะคอง - นครราชสี มา 2 ลงที่ สฟ.สี คิว้ 5 4 230 2x1272 ((GAP)) 2554
และ สี คิว้ - นครราชสี มา 31/ 45 2 230 2x1272 2554

112
1.5.9 สุ รินทร์ 2 - (สุ รินทร์ 1) - บุรีรัมย์ 2/46 2/ 2 230 3/ 1272 2554
1.5.10 ร้อยเอ็ด 1 - มหาสารคราม 38 2/ 2 115 2x795 2554
ภาคใต้
2/ 2/
1.5.11 กระบี่ - พังงา 21/- ภูเก็ต 31/ 98/(76.9) 2/2 230/230 6/ 2x1272/1272 2554

หมายเหตุ : 1/ สถานีไฟฟ้ าแรงสูงแห่งใหม่


2/ ใช้เขตเดินสายไฟฟ้ าเดิม
3/ ระยะแรกจ่ายไฟฟ้ าด้วยระดับแรงดัน 115 กิโลโวลต์
4/ ระยะแรกจ่ายไฟฟ้ าด้วยระดับแรงดัน 230 กิโลโวลต์
5/ ขึงสายส่ งไฟฟ้ าบนเสาไฟฟ้ าเดิม
6/ เปลี่ยนระดับแรงดันจาก 115 กิโลโวลต์ เป็ น 230 กิโลโวลต์
รายละเอียดแผนการขยายระบบส่ งไฟฟ้ า (ต่ อ)
( PDP 2010 )
รายการ ชื่อสายส่ งไฟฟ้ าและสถานีไฟฟ้ าแรงสู ง ความยาว จํานวน แรงดัน ขนาดสาย กําหนดแล้วเสร็ จ
(กม.) (วงจร) (กิโลโวลต์) (MCM) ปี
ภาคเหนือ
1.5.12 งานติดตั้งหม้อแปลงตามสถานีไฟฟ้ าแรงสู งต่าง ๆ - - - - 2553-2555
1.5.13 งานติดตั้ง Shunt Capacitor - - - - 2553-2555
1/ 4/
1.5.14 งานขยายระบบเบ็ดเตล็ดระหว่างโครงการ (78.8) 1 115 2x795 2553-2555
1/
1.5.15 แม่เมาะ 3 - แม่เมาะ 4 - ลําพูน 2 1/1042/ 2/43/ 230/230 4x1272/2x1272 2554
และ แม่เมาะ 3 - ลําปาง 1
2/
และ ลําพูน 1 - ลําพูน 25/ (35.3)/(7.5)2/ - 115 2x795/795 2554

113
1.5.16 ตัดสายส่ งแม่เมาะ 3 - เชียงราย ลงที่ สฟ.พะเยา 1 4 3/ 230 1272 2554
1.5.17 ตัดสายส่ งพิษณุโลก 2 - นครสวรรค์ ลงที่ สฟ.พิจิตร 23 2 6/ 230 1272 2554
รวมย่อย ความยาว 746.4 กิโลเมตร (หรื อ 1,778.8 วงจรกิโลเมตร) และสถานีไฟฟ้ าแรงสู งแห่งใหม่ 6 แห่ง
1.6 โครงการระบบส่ งเพือ่ รับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้ าพลังนํา้ เขื่อนเทินหินบุนส่ วนขยาย
1.6.1 ชายแดน (จ.นครพนม) - นครพนม 21/ (7.5) 2 230 1272 (Invar)7/ 2555
1.6.2 นครพนม 2 - จุดเชื่อมนครพนม 2 2 230 1272 2555
1.6.3 พังโคน - สกลนคร 1 52 2/ 2 115 477 2555
รวมย่อย ความยาว 54.0 กิโลเมตร (หรื อ 108.0 วงจรกิโลเมตร) และสถานีไฟฟ้ าแรงสู งแห่งใหม่ 1 แห่ง
หมายเหตุ : 1/ สถานีไฟฟ้ าแรงสูงแห่งใหม่ 2/ ใช้เขตเดินสายไฟฟ้ าเดิม
3/ เสาไฟฟ้ า 4 วงจร 4/ ขึงสายส่ งไฟฟ้ าบนเสาไฟฟ้ าเดิม
5/ ใช้เขตเดินสายไฟฟ้ าเดิม (แม่เมาะ 3 - ลําปาง 1 - ลําพูน 1 - ลําพูน 2) 6/ เสาไฟฟ้ า 4 วงจร แต่ระยะแรกขึงเพียง 2 วงจร
7/ เปลี่ยนสายส่ งไฟฟ้ าเดิมเป็ นแบบ Invar 8/ เปลี่ยนระดับแรงดันจาก 230 กิโลโวลต์ เป็ น 500 กิโลโวลต์
รายละเอียดแผนการขยายระบบส่ งไฟฟ้า (ต่ อ)
( PDP 2010)

รายการ ชื่อสายส่งไฟฟ้ าและสถานีไฟฟ้ าแรงสูง ความยาว จํานวน แรงดัน ขนาดสาย กําหนดแล้วเสร็ จ


(กม.) (วงจร) (กิโลโวลต์) (MCM) ปี
1.7 โครงการระบบส่ งเพือ่ รับซื้อไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายใหญ่
ก) โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนบริ ษทั เก็คโก้วนั จํากัด (ถ่านหิน)
1.7.1 ขยายสถานีไฟฟ้ าแรงสูงนิคมมาบตาพุด - - 230 - 2554
2/
1.7.2 นิคมมาบตาพุด - ระยอง 2 (11) 2 230 2x450mm2 (ZTACIR) 2554
1.7.3 แกลง - จันทบุรี 56 2/ 1 3/ 115 795 2555
ข) โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่ วมบริ ษทั สยามเอนเนอยี่ จํากัด
1.7.4 ตัดสายส่งปลวกแดง - หนองจอก วงจรคู่ ลงที่ สฟ.บางคล้า1/ 0.1 4 500 4x1272 2555

114
เป็ นสายส่ง ปลวกแดง - บางคล้า - หนองจอก (2 แนว)
1.7.5 ก่อสร้างสายส่งโรงไฟฟ้ า - บางคล้า 0.3 2 500 4x795 2555
(2 แนว)
ค) โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนบริ ษทั เนชัน่ แนลเพาเวอร์ซพั พลาย จํากัด (ถ่านหิน)
1.7.6 ตัดสายส่ง ปลวกแดง - วังน้อย 1 วงจร ลงที่ 0.1 2 500 4x1272 2556
1/
สฟ.พนมสารคาม เป็ นสายส่ง ปลวกแดง - พนมสารคาม - วังน้อย
1.7.7 ก่อสร้างสายส่งโรงไฟฟ้ า - พนมสารคาม 12 2 500 4x795 2556

หมายเหตุ : 1/ สถานีไฟฟ้ าแรงสู งแห่งใหม่ 2/ ใช้เขตเดินสายไฟฟ้ าเดิม


3/ ก่อสร้ างสายส่ งวงจรเดี่ยวบนเสาวงจรคู่
รายละเอียดแผนการขยายระบบส่ งไฟฟ้า (ต่ อ)
( PDP 2010 )

รายการ ชื่อสายส่ งไฟฟ้ าและสถานีไฟฟ้ าแรงสู ง ความยาว จํานวน แรงดัน ขนาดสาย กําหนดแล้วเสร็ จ
(กม.) (วงจร) (กิโลโวลต์) (MCM) ปี
ง) โรงไฟฟ้ าพลังความร้ อนร่ วมบริ ษทั เพาเวอร์ เจนเนอเรชัน่ ซัพพลาย จํากัด
1/
1.7.8 ตัดสายส่ งท่าตะโก - วังน้อย วงจรคู่ ลงที่ สฟ.ภาชี 2 0.1 4 500 4x795 2556
เป็ นสายส่ ง ท่าตะโก - ภาชี 2 - วังน้อย (2 แนว)
1.7.9 ก่อสร้ างสายส่ งโรงไฟฟ้ า - ภาชี 2 1 2 500 4x795 2556
1.7.10 ตัดสายส่ งท่าตะโก - หนองจอก วงจรเดี่ยว ลงที่ สฟ.ภาชี 2 5 1 500 4x795 2556

115
เป็ นสายส่ ง ท่าตะโก - ภาชี 2 วงจรเดี่ยว
1.7.11 ก่อสร้ างสายส่ งภาชี 2 - (ภาชี 2 Junction) - วังน้อย Junction 21 2 500 4x1272 2556
วงจรคู่
รวมย่อย ความยาว 95.6 กิโลเมตร (หรื อ 130.6 วงจรกิโลเมตร) และสถานีไฟฟ้ าแรงสู งแห่งใหม่ 3 แห่ง
รายละเอียดแผนการขยายระบบส่ งไฟฟ้า (ต่ อ)
( PDP 2010 )

รายการ ชื่อสายส่ งไฟฟ้ าและสถานีไฟฟ้ าแรงสู ง ความยาว จํานวน แรงดัน ขนาดสาย กําหนดแล้วเสร็ จ
(กม.) (วงจร) (กิโลโวลต์) (MCM) ปี
2. โครงการในอนาคต
2.1 โครงการระบบส่ งเพื่อรั บซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้ อนหงสาลิกไนต์
2.1.1 ก่อสร้ างสายส่ ง ชายแดนไทย/สปป.ลาว (จ.น่าน) - น่าน วงจรคู่ 105 2 500 4x1272 2557
2.1.2 ก่อสร้ างสายส่ ง น่าน - แม่เมาะ 3 วงจรคู่ 165 2 500 4x1272 2557
2.1.3 รื้ อสายส่ งเดิมแล้วก่อสร้ างสายส่ ง แม่เมาะ 3 - ท่าตะโก 3262/ 2 500 4x1272 2557

116
วงจรคู่
รวมย่อย ความยาว 596.0 กิโลเมตร (หรื อ 1,192.0 วงจรกิโลเมตร)
2.2 โครงการระบบส่ งเพื่อรั บซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้ อนมายกก
2.2.1 ก่อสร้ างสายส่ ง ชายแดนไทย/พม่า (จ.เชียงราย) - แม่จนั 30 4 230 1272 2558
เสา 4 วงจร
2.2.2 ก่อสร้ างสายส่ ง แม่จนั - เชียงราย วงจรคู่ 50 2 230 1272 2558
รวมย่อย ความยาว 80.0 กิโลเมตร (หรื อ 220.0 วงจรกิโลเมตร)
หมายเหตุ : 1/ ใช้เขตเดินสายไฟฟ้ าเดิม
รายละเอียดแผนการขยายระบบส่ งไฟฟ้า (ต่ อ)
( PDP 2010)

รายการ ชื่อสายส่งไฟฟ้ าและสถานีไฟฟ้ าแรงสูง ความยาว จํานวน แรงดัน ขนาดสาย กําหนดแล้วเสร็ จ


(กม.) (วงจร) (กิโลโวลต์) (MCM) ปี
2.3 แผนงานระบบส่ งไฟฟ้ าเชื่อมต่ อจุดใหม่ ระหว่างสถานีไฟฟ้ าแรงสู งสุ ไหงโก - ลก – สถานีไฟฟ้ าแรงสู ง Rantau Panjang
2.3.1 ก่อสร้างสายส่ง ชายแดนไทย/มาเลเซีย (จ.นราธิวาส) -
สุไหงโก - ลก วงจรคู่ 12 2 132 795 2555
2.3.2 ติดตั้งหม้อแปลง 115/132 เควี 100 MVA จํานวน 2 ชุด
ที่ สฟ.สุไหงโกลก - - - - 2555
2.3.3 ขึงสายส่ง นราธิวาส - สุไหงโกลก วงจรที่ 2 501/ 1 115 477 2555
รวมย่อย ความยาว 62.0 กิโลเมตร (หรื อ 74.0 วงจรกิโลเมตร)
2.4 โครงการปรับปรุงและขยายระบบส่ งไฟฟ้ าที่เสื่อมสภาพตามอายุการใช้ งาน

117
2.4.1 ปรับปรุ งและขยายสถานีไฟฟ้ าแรงสูงที่ต่างๆ - - 230/115 - 2556-2560
2.4.2 ปรับปรุ งและขยายสายส่งต่างๆ 2/ 2/ 230/115 2/ 2556-2560
รวมย่อย -
รวมทั้งสิ้ น ความยาว 1,917.0 กิโลเมตร (หรื อ 4,069.4 วงจรกิโลเมตร) และสถานี ไฟฟ้ าแรงสูงแห่งใหม่ 12 แห่3/ง
หมายเหตุ : 1/ ขึงสายส่ งไฟฟ้ าบนเสาไฟฟ้ าเดิม
2/ อยูใ่ นระหว่างการศึกษาแผนทางเลือกที่เหมาะสม
3/ ไม่รวมความยาวสายส่ งและสถานีไฟฟ้ าแห่งใหม่ของโครงการที่อยู่ในระหว่างการศึกษาแผนทางเลือกที่เหมาะสม
 

118

You might also like