ตรรกศาสตร์ ม.4

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

แบบทดสอบเรือ่ งตรรกศาสตร์

1. กำหนดให้ p ,q ,r และ s เป็นประพจน์ทปี่ ระพจน์ (p  q) → (r  s) มีค่าความจริงเป็นเท็จและ


ประพจน์ (p  r) มีความจริงเป็นจริงประพจน์ในข้อใดมีคา่ ความจริงเป็นเท็จ
ก. ( q → p )  ( r → q)
ข. q → [ p  ( q  r)]
ค. ( p → s )  ( r  q )
ง. ( r  s )  [ q → ( p  r )]

2. ให้ประพจน์ A , B ,C เป็นจริง ประพจน์ X , Yเป็นเท็จ และประพจน์ P , Q ไม่ทราบค่าความจริงจง


หาค่าความจริงของประพจน์ Q  [(A  Q )]  B]
ก. T
ข. F
ค. Q
ง. สรุปไม่ได้

3. ข้อความ "ถ้าอธิปไปเที่ยวทะเลและจิ๋วไปเที่ยวน้ำตกแล้วใบเตยไม่ไปโรงเรียน" เขียนเป็นสัญลักษณ์ตรง


กับข้อใด
กำหนดให้ p = อธิปไปเที่ยวทะเล
q = จิ๋วไปเที่ยวน้ำตก
r = ใบเตยไปโรงเรียน
ก. (p  q) → r
ข.  (p  q) → ~r
ค. (p  q) → ~r
ง. (p  q) → ~r

4. กำหนดให้ p, q, r เป็นประประพจน์จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ประพจน์ p → (p → ( q  r) สมมูลกับประพจน์ p → ( q → r)
ข. ประพจน์ p  (q → r) สมมูลกับประพจน์ ( q → p)  (p → r)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
ก. ก. ถูก และ ข. ถูก
ข. ก. ถูก และ ข. ผิด
ค. ก. ผิด และ ข. ถูก
ง. ก. ผิด และ ข. ผิด

5. ให้ประพจน์ p  q มีค่าความจริงเป็นจริง ประพจน์ p→ r มีค่าความจริงเป็นจริง ประพจน์ใด


ต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ก. p → q
ข. r → ~q

แบบทดสอบเรื่องตรรกศาสตร์ ม.4
ค. p → q
ง. (r  p) → q

6. กำหนดให้( p  q ) → r มีค่าความจริงเป็นเท็จ ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง


ก. p → (q r)
ข. q → (r  p)
ค. p  r
ง. (r  p) → ( q  r)

7. จงพิจารณาการให้เหตุผลต่อไปนี้
ก. เหตุ 1. ถ้าฉันขยันแล้วฉันจะไม่สอบตกวิชาคณิตศาสตร์
2. ถ้าฉันไม่เล่นฟุตบอลแล้วฉันจะขยัน
3. ฉันสอบตกวิชาคณิตศาสตร์ ผล ฉันเล่นฟุตบอล

ข. เหตุ 1. ถ้าฉันชอบคณิตศาสตร์แล้วฉันจะเรียนเก่ง
2. ฉันเรียนเก่งหรือฉันสอบตก ผล ถ้าฉันสอบตกแล้วฉันไม่ชอบคณิตศาสตร์

ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็นจริง
ก. สมเหตุสมผลทัง้ ก. และ ข.
ข. ก.ไม่สมเหตุสมผลแต่ ข.สมเหตุสมผล
ค. ก.สมเหตุสมผลแต่ ข.ไม่สมเหตุสมผล
ง. สมเหตุสมผลทัง้ ก.และข.

8. กำหนดให้ a และ b เป็นประพจน์ใดๆ แล้วประพจน์ (a → b)  (a → b) สมมูลกับประพจน์ข้อ


ใดต่อไปนี้
ก. a
ข. b
ค. a
ง. b

9. กำหนดให้ p , q , r และ s เป็นประพจน์ ในการอ้างเหตุผล


ถ้าเหตุ คือ 1) (p  q) → (r  s)
2). r → s
เเล้วประพจน์ในข้อใดต่อไปนีเ้ ป็นผล ทีท่ ำให้การอ้างเหตุผลมีความสมเหตุสมผล
ก. p
ข. q
ค. p  q
ง. p  q

แบบทดสอบเรื่องตรรกศาสตร์ ม.4
10. พิจารณาการอ้างเหตุผลดังนี้
เหตุ 1. ถ้าสมชายไปว่ายน้ำเเล้วสมหญิงไปดูภาพยนตร์
2. สมทรงไม่ดูโทรทัศน์
3. ถ้าสมชายไม่ไปว่ายน้ำเเล้วสมพรไม่นอนพักผ่อน
4. สมพรพักผ่อนหรือสมทรงดูโทรทัศน์
ผล P
P เเทนพระพจน์ในข้อใดต่อไปนีจ้ ึงจะทำให้การอ้างสมเหตุสมผล
ก. สมพรไม่นอนพักผ่อน
ข. สมชายไม่ไปว่ายน้ำ
ค. สมชายไปว่ายน้ำและสมหญิงไม่ไปดูภาพยนตร์
ง. สมพรนอนพักผ่อนและสมหญิงไปดูภาพยนตร์

11. ถ้ายิ้มไม่ยิ้มเเล้วยิ้มไม่สวยและถ้ายิ้มเข้าประกวดนางงามเเล้วยิ้มต้องชนะเลิศ เเต่ยิ้มไม่ยมิ้ ยิ้มเข้า


ประกวดนางงามเเล้วยิ้มไม่สวยหรือยิม้ ต้องชนะเลิศ
ก. [(p → q)  (r → s)  (p  r)]
ข. [(p → q)  (r → s)  (p  r)] → (q  s)
ค. [(p → q)  (r → s)  (p  r)] → (q  s)
ง. [(p → q)  (r → s)  (p  r)] → (q  s)

12. ถ้าเขาไม่ชอบเล่นกีฬาแล้วเขาจะอ่อนแอและเขาเล่นกีฬาก็ตอ่ เมื่อเขาเเข็งแรง ดังนั้นเขาเล่นกีฬาหรือ


เขาเเข็งแรง
ก. [(p → q)  (p  q) ] → (p  q)
ข. [(p → q)  (p  q) ] → (p  q)
ค. [(p → q)  (p  q) ] → (p  q)
ง. [(p → q)  (p  q) ] → (p  q)

13. ให้ p, q และ r เป็นประพจน์พจิ ารณาข้อความต่อไปนี้


ก. ถ้า [(p  r)  q] → (p  q) เป็นเท็จแล้ว (p  q) → r เป็นจริง
ข. ถ้าq  r เป็นเท็จแล้ว[p  (q → r)] → q เป็นเท็จ
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
ก. ก. ถูก และ ข. ถูก
ข. ก. ถูก และ ข. ผิด
ค. ก. ผิด และ ข. ถูก
ง. ก. ผิด และ ข. ผิด

14. กำหนดให้ p, q, r เป็นประพจน์ ถ้าประพจน์ p → (q  r) มีค่าความจริงเป็นเท็จ (p  q)  r มี


ค่าความจริงเป็น แล้ว พิจารณาความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
ก. (p  q)  r ข. P  (q  r)

แบบทดสอบเรื่องตรรกศาสตร์ ม.4
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
ก. ก. จริง และ ข. จริง
ข. ก. จริง และ ข. เท็จ
ค. ก. เท็จ และ ข. จริง
ง. ก. เท็จ และ ข. เท็จ

15. ให้ p, q, r, s เป็นประพจน์ ถ้า [p → q)  r] มีค่าความจริงเป็นจริงและ (p  s) → r มีค่าความ


จริงเป็นเท็จแล้วประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ก. p → q
ข. q → r
ค. r → s
ง. s → p

16. กำหนดให้ประพจน์ (p  r)  (p  q) มีค่าความจริงเป็นเท็จ ประพจน์ใดต่อไปนีม้ ีค่าความ


จริงเป็นเท็จ
ก. p → (q  r)
ข. p → (q  r)
ค. p  q  ~r
ง. p  q  ~r

17. กำหนดให้ p, q, r เป็นประพจน์ ถ้าประพจน์ p → (q  r)มีค่าความจริงเป็นเท็จ (p  q)  r มี


ค่าความจริงเป็นจริง พิจารณาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
ก.(p  q)  r ข.p  (q  r)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
ก. ก. จริง และ ข. จริง
ข. ก. จริง และ ข. เท็จ
ค. ก. เท็จ และ ข. จริง
ง. ก. เท็จ และ ข. เท็จ

18. ให้ p แทน 3+5 = 8


q แทน นกเป็นสัตว์ปีก
r แทน งูเป็นสัตว์ดิน
ประพจน์ใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง
ก. 1.(p  q)  → r
ข. (p  r)  q
ค. p → (q  r)
ง. r  (p → q)

แบบทดสอบเรื่องตรรกศาสตร์ ม.4
19. กำหนดให้ประพจน์ p, q, และ r มีค่าความจริงเป็นจริง และประพจน์ x, y มีค่าความจริงเป็นเท็จ จง
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ประพจน์ [(p  x)]  (p  q) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ข. ประพจน์ [(x  r)  y] → [p  (q  y) มีค่าความจริงเป็นจริง
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
ก. ถูกทั้ง ก. และ ข.
ข. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
ค. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
ง. ผิดทั้ง ก. และ ข.

20. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. กำหนดให้ประพจน์ p เป็นเท็จ จะได้ประพจน์ (p  s) → (q  r) เป็นเท็จ
ข. กำหนดให้ประพจน์ p → q เป็นเท็จ จะได้ประพจน์ (p → q)  (q  p) เป็นเท็จ
ค. กำหนดให้ประพจน์ p เป็นเท็จ จะได้ประพจน์ (p  q)  (q  p) เป็นเท็จ
ข้อใดถูกต้อง
ก. ถูกทั้ง ก. ข. และ ค.
ข. ก. และ ข. ถูก แต่ ค. ผิด
ค. ก. ผิด แต่ ข. และ ค. ถูก
ง. ผิดทั้ง ก. ข. และ ค.

21. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
ก. เหตุ ข. เหตุ
1. p  q 1. P(x) → Q(x)
2. (q  r) → (s  p) 2. Q(x)  R(x)
3. p → r
ผล s  r ผล P(x) → R(x)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
ก. ก. และ ข. สมเหตุสมผลทัง้ คู่
ข. ก. สมเหตุสมผล แต่ ข. ไม่สมเหตุสมผล
ค. ก. ไม่สมเหตุสมผล แต่ ข. สมเหตุสมผล
ง. ก. และ ข. ไม่สมเหตุสมผลทัง้ คู่

22. กำหนดให้ p → (q  r)มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์ p , q และr


ก. P = F q = T r = T
ข. p = T q = F r = F
ค. p = T q = T r = T
ง. p = F q = F r = F

แบบทดสอบเรื่องตรรกศาสตร์ ม.4
23. จงพิจารณาการให้เหตุผลต่อไปนี้
เหตุ 1. คนขยันทุกคนเรียนเก่ง
2. คนเรียนเก่งบางคนไม่ประสบความสำเร็จ ในชีวิต
3. คนที่ไม่ประสบความสำเร็จในชีวิตทุกคนเป็นคนยากจน
ข้อสรุปใดต่อไปนี้สมเหตุสมผล
ก. ขยันบางคนไม่ประสบความสำเร็จในชีวิต
ข. คนขยันบางคนยากจน
ค. คนขยันทุกคนประสบความสำเร็จในชีวิต
ง. ไม่มีข้อสรุปใดสมเหตุสมผล

24. จงพิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
เหตุ 1. ถ้า10+7=17เเล้วเป็นจำนวนคี่
2. 10+7=17
ผล 12 เป็นจำนวนคี่
ก. เท็จ
ข. จริง
ค. สมเหตุสมผล
ง. ไม่สมเหตุสมผล

25. จงพิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
เหตุ 1. ถ้าอ่านหนังสือและจะเรียนเก่ง
2. อ่านหนังสือ ผล เรียนเก่ง
ก. เท็จ
ข. จริง
ค. สมเหตุสมผล
ง. ไม่สมเหตุสมผล

26. จงพิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
เหตุ 1. ชนะชัยไปตลาดหรือไปดูหนัง
2. ชนะชัยไม่ไปตลาด
3. ชนะชัยไม่ไปตลาด
ก. เท็จ
ข. จริง
ค. สมเหตุสมผล
ง. ไม่สมเหตุสมผล

แบบทดสอบเรื่องตรรกศาสตร์ ม.4
27. ประพจน์ใดมีค่าความจริงเป็นเท็จ
ก. 8 > 6 แต่ -8 < -6
ข. ถ้า 8 > 6 แล้ว -6 > -8
ค. 8 < 6 ก็ต่อเมือ่ (-8)² > (-6)²
ง. 8 > 6 หรือ -8 > -6

28. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้า (p  q) → r และ (q → r) → s ต่างมีค่าความจริงเป็นเท็จ
แล้ว (p  q) → (r  s) มีค่าความจริงเป็นจริง
ข. การว้างเหตุผลข้างล่างนี้สมเหตุสมผล
เหตุ 1. ~p → ~(q  r)
2. q  s
3. r
ผล s → p
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
ก. ก. ถูก และ ข. ถูก
ข. ก. ผิด และ ข. ถูก
ค. ก. ถูก และ ข. ผิด
ง. ก. ผิด และ ข. ผิด

29. จงพิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
เหตุ 1. p  q
2. ~p
ผล q
ก. เท็จ
ข. จริง
ค. สมเหตุสมผล
ง. ไม่สมเหตุสมผล

30. จงพิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
เหตุ 1. ~p → ~q
2. p → (r  s)
3. q  t
4. ~t
ผลในข้อใดต่อไปนีท้ ำให้การอ้างเหตุผลนีส้ มเหตุสมผล
ก. s → ~r
ข. ~r → s

แบบทดสอบเรื่องตรรกศาสตร์ ม.4
ค. r → ~s
ง. ~s → r

31. กำหนดไห้P(x )และ Q(x) เป็นประโยชน์เปิด


ประโยชน์ x[P(x)] → x[~Q(x)] สมดุลกับ ประโยชน์ใดต่อไปนี้
ก. x[~P(x)] → x[Q(x)]
ข. x[Q(x)] → x[~P(x)]
ค. x[P(x)] → x[Q(x)]
ง. x[~Q(x)] → x[P(x)]

32. กำหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือ U = [{1,2},{1,3},{2,3}] ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง


ก. xy [x  y  
ข. xy [x  y = U]
ค. xy [y  x  y  x]
ง. xy [y  x  y  x]

33. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก .ถ้าเอกภพสัมพัทธ์คือ เซตของจำนวนเต็มแล้วข้อความ mn[5m+7m=1]
มีค่าความจริงเป็นจริง
ข.นิเสธของข้อความ ×y[(x 2 - 2x  y - 2)  [(y  sinx)]
คือ xy[(x2 - 2x < y -2)  (y < sinx)]
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
ก. ก ถูก และ ข ถูก
ข. ก ถูก และ ข ผิด
ค. ก ผิด และ ข ถูก
ง. ก ผิด และ ข ผิด

34. กำหนดให้ P(x) และ Q(x) เป็นประโยค โดยที่ ×[P(x)] → x[~Q(x)] มีค่าความจริงเป็นเท็จ
เมื่อเอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจำนวนจริง ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง
ก. x[P(x)  ~Q(X)]
ข. X[~P(x)  ~Q(x)]
ค. x[P(x) → ~Q(x)]
ง. x[P(x) → Q(x)]

35. กำหนดให้ I(a) = ∫−aa (x2 − 1)dx สำหรับ a[0,) ประโยคในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง


เมื่อเอกพจน์สมั พันธ์คือช่วง [0, ]
ก. a[I(a) > 0]
ข. a[I(a) = 0) → (a = 0)]

แบบทดสอบเรื่องตรรกศาสตร์ ม.4
ค. a[(a > 2)  (I(a) < 0]
ง. a[(a  0)  (I(a) = 0)]

36. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ให้เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตจำนวนเฉพาะบวก
ข้อความ xy[x² + x +1 = y] มีค่าความจริงเป็นจริง
ข. นิเสธของข้อความ x[P(x) → [Q(x)  R(x)]]
คือ x[P(x)  ~Q(x)  ~R(x)]
ข้อใดถูกต้อง
ก. ก. และ ข.ถูก
ข. ก. และ ข.ผิด
ค. ก. ผิด และ ข.ถูก
ง. ก. ถูก และ ข.ผิด

แบบทดสอบเรื่องตรรกศาสตร์ ม.4

You might also like