คำไวพจน์

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 6

บทที่ ๕

สรุปผล อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ


สรุปผลการศึกษา
จากการทำโครงงาน เรื่ องคำไวพจน์ในกาพย์พระไชยสุ ริยา ซึ่ งผูแ้ ต่งคือ พระสุ นทรโวหาร (สุ นทรภู่)
1. คำไวพจน์ คือคำที่มีความหมายเหมือนกัน แต่ใช้ในบริ บทต่าง ๆ กัน หรื อเรี ยกอีกอย่างว่า “คำพ้อง
ความ” ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2552 ให้คำอธิ บายว่า "คำที่
เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรื อใกล้เคียงกันมาก เช่น มนุษย์ กับ คน บ้าน กับ เรื อน รอ
กับ คอย ป่ า กับ ดง  เป็ นต้น
2. คำไวพจน์ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Synonym” ซึ่ งในภาษาอังกฤษก็มีคำหลากหลายในความหมาย
เดียวกัน
3. ความหลากหลายของคำที่มีความหมายพ้องนี้ มกั ถูกใช้ในการเขียนบทกวี โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน
ของนักกวีต้ งั แต่สมัยโบราณจนถึงปั จจุบนั ที่บางครั้งต้องการคำที่บงั คับเสี ยงวรรณยุกต์ ปละ
เลือกสรรคำที่ตรงความหมายแต่กินใจและคล้องจองกัน ดังนั้นคำไวพจน์จึงเป็ นเสน่ห์อย่างหนึ่งของ
ภาษาไทย
4. คำไวพจน์ จัดอยูใ่ นกลุ่มของคำพ้อง ซึ่ งมี ๓ ประเภทด้วยกัน นัน่ คือ
๔.๑ คำพ้องรู ป คือ คำที่เขียนเหมือนกัน แต่มีความหมายต่างกัน
๔.๒ คำพ้องเสี ยง คือ คำที่อา่ นออกเสี ยงแบบเดียวกันความหมายต่างกัน
๔.๓ คำพ้องความ คือ คำที่เขียนต่างกันแต่ความหมายเหมือนหรื อใกล้เคียงกัน ซึ่ งเรา
เรี ยกว่า “คำไวพจน์”
อภิปรายผลการทำโครงงาน
จากการการทำโครงงานเรื่ อง “คำไวพจน์ในเรื่ องกาพย์พระไชยสุ ริยา” พบว่า
1. การค้นคำไวพจน์ (คำพ้องความหมาย) ในกาพย์พระไชยสุ ริยาเป็ นใช้ตอ้ งใช้เวลาและมีปัญหา
ระหว่างการค้นคำ เนื่องจากนักเรี ยนยังไม่เข้าใจความหมายของคำบางคำ และต้องอาศัยการ
ตีความ, หลายคำเป็ นภาษาเก่าที่ปัจจุบนั ไม่ได้ใช้แล้ว, ต้องอาศัยพจนานุกรมช่วยในการสื บค้น
ร่ วมกับคอมพิวเตอร์ และเอกสารหนังสื ออีกหลายเล่ม แต่ผลที่ได้ คือ ทำให้เราสามารถใช้
พจนานุกรมได้เร็ วขึ้น และเข้าใจความหมายของคำต่างๆ มากขึ้น
2. การที่เรามีพ้ืนฐานความเข้าใจในเรื่ องความหมายของคำจำทำให้เราสามารถทำโครงงานนี้ได้เร็ ว
และมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น
3. ปัจจุบนั นี้ คำไวพจน์ถูกใช้ในวงแคบ เยาวชนส่ วนใหญ่ไม่ค่อยมีความรู ้และเข้าใจเรื่ องคำไวพจน์
มากนัก ซึ่ งอันที่แล้วคำไวพจน์ เป็ นความงดงามด้านภาษาไทย และการใช้คำไวพจน์สามารถ
สร้างความเข้าใจและสร้างจินตนาการรวมถึงเกิดความสละสลวยในการเขียนวรรณกรรม บท
กวี โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ซึ่ งเป็ นเอกลักษณ์ของความเป็ นไทย
4. กาพย์พระไชยสุ ริยา มีเนื้ อหาเป็ นนิทาน สุ นทรภู่แต่งกาพย์พระไชยสุ ริยาขึ้นเพื่อใช้เป็ นแบบ
สอนอ่านและเขียนสะกดคำในมาตราต่างๆ  โดยผูกให้เป็ นเรื่ องราว
5. แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทกาพย์ ได้แก่ กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคนางค์
๒๘
6. กาพย์เรื่ องพระไชยสุ ริยาแต่งขึ้นเพื่อเป็ นแบบเรี ยนเรื่ องการสะกดและการใช้ถอ้ ยคำ  เหมาะ
สำหรับเด็ก  เนื่องด้วยสำนวนภาษาที่ใช้ในการเรี ยบเรี ยงตรงไปตรงมา  เรี ยงตามลำดับมาตราตัว
สะกด  คือ  แม่ ก กา แม่กน แม่กง แม่กก แม่กด แม่กบ แม่กม แม่เกย ส่ วนแม่เกวอ  ไม่มีบทอ่าน
แยกออกมาต่างหาก  แต่รวมไว้ในแม่เกย  ลักษณะเนื้อหาเริ่ มสอนจากง่ายไปหายาก  มีการ
ทบทวนความรู้เดิมทุกครั้ง  เช่น  บทที่ใช้คำในแม่กก  มีการแทรกคำในแม่ ก กา แม่กน แม่กง 
เพื่อให้อ่านทบทวน  ทำให้บทเรี ยนสนุกน่าสนใจ  น่าติดตาม     นอกจากผูอ้ ่านจะได้รับความ
เพลิดเพลินจากเนื้ อหาของของนิทานเรื่ องพระไชยสุ ริยาแล้วยังได้รับคุณค่าจากบทฝึ กอ่านเขียน
ภาษาไทยตามแบบโบราณ  ที่สามารถท่องจำเพื่อประโยชน์ในการศึกษาเรื่ องมาตราตัวสะกด
และลักษณะของการแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ได้เป็ นอย่างดี
คุณค่าด้ านเนือ้ หา
๑) ให้ความรู้ตามจุดประสงค์ของผูแ้ ต่ง คือ ใช้เป็ นสื่ อในการสอนมาตราตัวสะกด
๒) สะท้อนสภาพสังคมไทย โดยสร้างตัวละครในเรื่ องว่าข้าราชบริ พาร  เสนาบดีไม่ใส่ ใจบ้าน
เมือง  ฉ้อราษฎร์บงั หลวง  ไม่ยตุ ิธรรม  หมกมุ่น อยูก่ บั ความสนุกสนาน  เช่น                 
อยูม่ าหมู่ขา้ เฝ้ า          ก็หาเยาวนารี
ที่หน้าตาดีดี                        ทำมโหรี ที่เคหา
๓) แสดงความคิด  ความเชื่อ  และค่านิยมของคนในสังคม
๓.๑)  ความเชื่อเรื่ องไสยาศาสตร์ เช่น
ไม่จำคำพระเจ้า         เหไปเข้าภาษาไสย
ถือดีมีขา้ ไท                   ฉ้อแต่ไพร่ ใส่ ขื่อคา

 ๓.๒ ) แสดงค่านิยมของครอบครัว เช่น

สุ มาลี        วันทาสามี      เทวีอยูง่ าน

 เฝ้ าดูแล     เหมือนแต่ก่อกาล      ให้พระภูบาล   สำราญวิญญา


๓.๓) แสดงความเคารพในสิ่ งที่ควรเคารพ  เช่น

สะธุสะจะขอไหว้        พระศรี ไตรสรณา

พ่อแม่แลครู บา             เทวดาในราศี   

  คุณค่าด้ านวรรณศิลป์

1) การใช้คำง่ายๆ บรรยายให้เห็นภาพชัดเจน เช่น

ข้าเฝ้ าเหล่าเสนา        มีกิริยาอะฌาศัย

  พ่อค้ามาแต่ไกล               ได้อาศัยในพารา

2) ใช้ถอ้ ยคำให้เกิดจินตภาพ การพรรณนาบรรยากาศและธรรมชาติสิ่งแวดล้อม เช่น

    วันนั้นจันทร      มีดารากร                เป็ นบริ วาร


เห็นสิ้ นดินฟ้ า  ในป่ าท่าธาร      มาลีคลี่บาน                ใบก้านอรชร

3) ใช้โวหารนาฎการ  คือ  เห็นกิริยาอาการที่ทำต่อเนื่อง  เช่น


 เห็นกวางย่างเยื้อยงชำเลืองเดิน    เหมือนอย่างนางเชิญ
พระแสงสำอางข้างเคียง                                  
4) การใช้ความเปรี ยบว่าสิ่ งหนึ่งเหมือนกับสิ่ งหนึ่ง หรื อ อุปมา คือ  การเปรี ยบเทียบสิ่ งหนึ่ง
เหมือนกับอีกสิ่ งหนึ่ง  ทำให้เข้าใจได้ชดั เจน  เช่น

กลางไพรไก่ขนั บรรเลง     ฟังเสี ยงเพียงเพลง

        ซอเจ้งจำเรี ยงเวียงวัง

5) การเลียนเสี ยงธรรมชาติ คือ การนำเสี ยงที่ได้ยนิ มาบรรยาย  ซึ่ งจะทำให้เกิดมโนภาพ


เหมือนได้ยนิ เสี ยงนั้นจริ งๆ เช่น
ยูงทองร้องกะโต้งโห่งดัง      เพียงฆ้องกลองระฆัง
แตรสังข์กงั สดาลขานเสี ยง

6) การเล่นเสี ยง  คือ  การเล่นเสี ยงสัมผัส  ซึ่ งหมายถึงพยางค์ที่คล้องจองกันด้วยเสี ยงสระและ


เสี ยงพยัญชนะ เช่น
รำพันมิ่งไม้ในดง ไกรกร่ างยางยูงสู งระหง          
ตะลิงปลิงปริ งประยงค์  คันทรงส่ งกลิ่นฝิ่ นฝาง
7. คำไวพจน์เป็ นคำที่มีมากมายหลากหลาย จากการค้นคว้าในเรื่ อวกาพย์พระไชยสุ ริยาจะพบว่ามี
หลายกลุ่ม ผูแ้ ต่ง (สุ นทรภู่) ใช้ท้ งั คำง่ายๆ ที่ปัจจุบนั ยังใช้กนั อยูท่ วั่ ไปเช่นคำว่า
- ไหว้ และเปลี่ยนมาใช้ วันทาเพื่อให้ตรงกับรู ปแบบคำประพันธ์ที่บงั ตับเสี ยงวรรณยุกต์
และสัมผัสที่สละสวย
- ราชา เลือกใช้คำที่มีความหมายพ้องในบทอื่นๆ ของคำประพันธ์ เช่น เจ้าพารา, ภูธร,
พระภูบาล, ภูวนัย, เจ้าฟ้ า(เข้าใจ), พระองค์ทรงธรรม์, ท้าวไท เป็ นต้น
- โกง เลือกใช้คำที่มีความหมายพ้องอื่นๆ ในบทต่างๆ เช่น ฉ้อ, เฉโก, ฉ้อฉล เป็ นต้น

ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการทำโครงงาน


1. ทำให้สามารถทำงานร่ วมกับสมาชิกในกลุ่มได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ฝึ กฝนการทำงานเป็ นทีม
การแบ่งงาน การคิดวิเคราะห์เรื่ องการทำโครงงานในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
2. มีความเข้าใจในบทกวี โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน มากขึ้น เนื่งจากต้องค้นหาคำไวพจน์ (คำที่มี
ความหมายพ้อง) และสามารถตีความบทประพันธ์เพื่อหาความหมายต่างๆ ได้มากขึ้น
3. สามารถค้นคว้าหาคำที่เป็ นคำไวพจน์ในเรื่ อง “กาพย์พระไชยสุ ริยา” รวบรวมเป็ นหมวดหมู่ เพื่อ
ต่อยอดการเรี ยนรู้ในชั้นถัดไป
4. จากการอ่านและทำความเข้าใจเพื่อค้นหาคำไวพจน์ในเรื่ อง “กาพย์พระไชยสุ ริยา” ที่แต่งด้วย
- กาพย์ยานี ๑๑
- กาพย์ฉบัง ๑๖
- กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘
ทำให้นกั เรี ยนมีความเข้าใจเรื่ องการประพันธ์ในลักษณะนี้ มายิง่ ขึ้น
5. สามารถอ่านและตีความบทประพันธ์ได้ดีข้ ึน
6. สามารถที่จะนำความรู้จากการค้นคว้าสรุ ปคำไวพจน์จากเรื่ อง “กาพย์พระไชยสุ ริยา” มา
ประยุกต์เพื่อแต่งบทประพันธ์ต่างๆ ได้ต่อไป
7. การทำโครงงานครั้งนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการอนุรักษ์ภาษาไทยที่เป็ นเอกลักษณ์ของชาติให้ยงั
ดำรงคู่ประเทศชาติของเราสื บอยูต่ ่อไป
ข้ อเสนอแนะ
ู ้ มาก่อนเพื่อจะทำให้โครงงานของกลุ่มมี
1. การทำโครงงานที่ดีควรเป็ นโครงงานที่ยงั ไม่มีผทำ
คุณค่า จึงควรมีการศึกษาค้นคว้าข้อมูลโครงงานเดิมที่เคยมีผทำ
ู ้ มาก่อนหน้า หากเป็ นโครงงานที่
ซ้ำจะไม่เกิดประโยชน์ต่อการนำไปใช้
2. การประชุมหารื อแบ่งงานตามความเหมาะสม ตลอดจนสอดคล้องกับระยะเวลาเป็ นสิ่ งที่ควร
พิจารณาเป็ นอันดับต้นๆ เนื่องจากการจะได้โครงงานที่มีคุณภาพควรอยูใ่ นช่วงเวลาการศึกษาที่
เหมาะสมไม่เร่ งรี บจนเกินไป
3. คำไวพจน์ที่หาได้จากกาพย์พระไชยสุ ริยาสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในเรื่ องการอ่านและ
ตีความบทประพันธ์ทำให้การอ่านมรอรรถรสและได้ประโยชน์มากขึ้น ดังนั้นหากเป็ นไปได้
ควรมีการศึกษาเพิ่มเติต่อยอดหาคำไวพจน์ในวรรณกรรมอื่นๆ จากหนังสื อเรี ยนภาษาไทยเพื่อ
ประโยชน์และเพิ่มคุณค่าของโครงงานนี้ ในอนาคต
4. จากเรื่ อง “กาพย์พระไชยสุ ริยา” นอกจากความงดงามของคำไวพจน์ ยังมีคุณค่าอื่นๆ เช่น ด้าน
สังคม ความงดงามด้านภาษาอื่นๆ เช่น การเล่นคำ คำพ้องอื่นๆ ที่สามารถนำไปต่อยอดโครงงา
นอื่นๆ ได้อีกด้วย
5. นักเรี ยนที่ศึกษาด้านภาษาไทยควรมีพจนานุกรม และศึกษาฝึ กฝนการเปิ ดหาความหมายของคำ
ให้คล่องเพื่อประโยชน์ในการศึกษาด้านอื่นๆ ต่อไปในอนาคต

You might also like