Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 78

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

เอกสารประกอบการอบรมครูด้วยรูปแบบออนไลน์

โครงการพัฒนานักเรียนอย่างมีคุณภาพด้วยการจัดประสบการณ์เรียนรู้
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเต็มศึกษา โดยบูรณาการกับ 4 หน่วยงาน
คำ�นำ�

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้รับมอบหมายจากกระทรวง


ศึกษาธิการ ในการส่งเสริม ประสาน และจัดให้มีการพัฒนาบุคลากร การฝึกอบรมครู อาจารย์ นักเรียน
นิสต
ิ และนักศึกษา เกีย ่ วกับการเรียนการสอนและการค้นคว้าวิจย ั ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ
เทคโนโลยี ซึ่ ง ในปี ง บประมาณ 2564 สสวท. โดยโครงการพั ฒ นานั ก เรี ย นอย่ า งมี คุ ณ ภาพ
ด้วยการจัดประสบการณ์เรียนรู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเต็มศึกษา โดยบูรณาการกับ
4 หน่วยงาน ได้แก่ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน ้ พืน
้ ฐาน (สพฐ.) สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน (สช.) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) และสำ�นักการศึกษากรุงเทพมหานคร
(กทม.) ได้พัฒนากิจกรรมวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย และจัดการอบรมครูด้วยระบบออนไลน์เพื่อพัฒนาครูผู้สอนให้มีความสามารถในการจัด
การเรียนรู้ในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อตอบสนองต่อนโยบายการสร้างกำ�ลังคนให้มีความรู้
และทั ก ษะด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ และเทคโนโลยี และสามารถประยุ ก ต์ ใ ช้ ค วามรู้ ดั ง กล่ า ว
ในการดำ�รงชีวต ิ ประจำ�วันและการประกอบอาชีพ อันจะเป็นประโยชน์ตอ ่ การพัฒนาประเทศให้ทด ั เทียม
นานาชาติต่อไป
เพื่อให้การอบรมครูด้วยระบบออนไลน์เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ สสวท.
จึงได้จัดทำ�หนังสือกิจกรรมประกอบการอบรมครูด้วยระบบออนไลน์ซึ่งมีท้ังหมด 10 เล่ม ตามหลักสูตร
ที่ จั ด อบรม ได้ แ ก่ 1. หนู ห นู เ รี ย นรู้ ส ะเต็ ม ศึ ก ษา 2. สิ่ ง ต่ า ง ๆ รอบตั ว เรา 3. คู ณ หาร รอบตั ว
4. การเปลีย ่ นแปลงของน้� ำ 5. เศษส่วนในชีวต ิ 6. ยืดเส้นยืดสาย ร่างกายแข็งแรง 7. ส่งได้สบายกระเป๋า
8. เคมี กั บ พลั ง งานทดแทน 9. ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากพื ช และการใช้ เ ครื่ อ งสำ � อางในชี วิ ต ประจำ � วั น และ
10. คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน
สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือกิจกรรมนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการอบรมครูด้วยระบบออนไลน์
และครูผเู้ ข้ารับการอบรมสามารถนำ�ไปต่อยอดใช้ในการจัดการเรียนรูไ้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ขอขอบคุณ
คณะทำ�งาน หน่วยงาน และผูม ้ ส
ี ว่ นเกีย
่ วข้องในการจัดทำ�หนังสือกิจกรรมประกอบการอบรมครูดว้ ยระบบ
ออนไลน์จนสำ�เร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ มา ณ โอกาสนี้

(ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์)


ผู้อำ�นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คำ�ชี้แจง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ดำ�เนินโครงการพัฒนานักเรียน


อย่างมีคุณภาพด้วยการจัดประสบการณ์เรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเต็มศึกษา
โดยบูรณาการกับ 4 หน่วยงาน ตามแผนปฏิบต ั งิ านปีงบประมาณ 2564 เพือ
่ พัฒนาครูผส ู้ อนตัง้ แต่ระดับ
ปฐมวัยจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยจะจัดให้มีการอบรมครูด้วยระบบออนไลน์ แก่ครูผู้สอน
วิ ท ยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ และปฐมวั ย จากสำ � นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน (สพฐ.)
สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) และ
สำ�นักการศึกษากรุงเทพมหานคร (กทม.) ผ่านระบบอบรมครู สสวท. (IPST-Teacher Professional
Development) ทาง URL https://teacherpd.ipst.ac.th
ในการอบรมครู ด้ ว ยระบบออนไลน์ ป ระจำ � ปี 2564 สสวท. ได้ คั ด เลื อ กและพั ฒ นากิ จ กรรม
ที่สอดคล้องตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) มาใช้สำ�หรับอบรมครูด้วยระบบออนไลน์
โดยมีหลักการและแนวทางดังนี้
1. ออกแบบกิจกรรมสำ�หรับอบรมครูด้วยระบบออนไลน์ท่ีไม่ได้เน้นเพียงเนื้อหาเท่านั้น แต่มี
การสอดแทรกเรื่องของการสืบเสาะหาความรู้ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 สมรรถนะอันพึง
ประสงค์ของผู้เรียน การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา และแนวทางในการจัดการเรียนรู้
2. เลื อ กและพั ฒ นากิ จ กรรมจากข้ อ มู ล วิ จั ย เกี่ ย วกั บ วิ ช าหรื อ เนื้ อ หาที่ ค รู ผู้ ส อนคิ ด ว่ า ยาก
หรือพบปัญหาในการจัดกิจกรรมในห้องเรียน หรือสอนด้วยระบบออนไลน์
3. เลือกกิจกรรมสำ�หรับอบรมครูด้วยระบบออนไลน์ โดยเปรียบเทียบตัวชี้วัดจากหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน ้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับเดิม และฉบับปรับปรุง พุทธศักราช
2560 ที่ มีก ารโยกย้ ายชั้ น ปี หรื อ มี เพิ่ ม เติ ม เข้ า มาใหม่ รวมไปถึ งสอดคล้ องกั บ มาตรฐาน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
4. แนะนำ � สื่ อ การสอนของ สสวท. และสื่ อต่ า ง ๆ ในอิ น เทอร์ เน็ ต ที่ ครู ส ามารถดาวน์ โ หลด
มาใช้ได้ฟรีและถูกลิขสิทธิ์ เพื่อนำ�มาใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. แนะนำ�การสร้างวัสดุอุปกรณ์ทดแทนโดยใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น
6. หลักสูตรการอบรมเน้นการเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ กับชีวิตจริง โดยหัวข้อหลัก
(theme) ของกิจกรรมแต่ละหลักสูตรมีดังนี้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่ หัวข้อหลัก ระดับ

1 หนูหนูเรียนรู้สะเต็มศึกษา ปฐมวัย
2 สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา ประถมศึกษาตอนต้น (วิทยาศาสตร์)
3 คูณ หาร รอบตัว ประถมศึกษาตอนต้น (คณิตศาสตร์)
4 การเปลี่ยนแปลงของน้ำ� ประถมศึกษาตอนปลาย (วิทยาศาสตร์)
5 เศษส่วนในชีวิต ประถมศึกษาตอนปลาย (คณิตศาสตร์)
6 ยืดเส้นยืดสาย ร่างกายแข็งแรง มัธยมศึกษาตอนต้น (วิทยาศาสตร์)
7 ส่งได้สบายกระเป๋า มัธยมศึกษาตอนต้น (คณิตศาสตร์)
8 เคมีกับพลังงานทดแทน มัธยมศึกษาตอนปลาย (วิทยาศาสตร์กายภาพ: เคมี)
9 ผลิตภัณฑ์จากพืชและการใช้ มัธยมศึกษาตอนปลาย (วิทยาศาสตร์ชีวภาพ)
เครื่องสำ�อางในชีวิตประจำ�วัน
10 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน มัธยมศึกษาตอนปลาย (คณิตศาสตร์)

และเพื่อให้การดำ�เนินการอบรมครูด้วยระบบออนไลน์บรรลุประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทาง สสวท.


ได้จัดทำ�หนังสือกิจกรรมเพื่อให้ครูผู้สอนนำ�ไปใช้ประกอบการอบรมตามหลักสูตรที่เข้ารับการอบรม
โดยครูอาจนำ�ไปประยุกต์ใช้ในห้องเรียนหรือสอนด้วยระบบออนไลน์ต่อไป
สสวท. หวังเป็นอย่างยิง่ ว่ากิจกรรมอบรมครูดว้ ยระบบออนไลน์ ซึง่ จะดำ�เนินการอบรมครูระหว่าง
วันที่ 1 กรกฎาคม – 31 สิงหาคม 2564 นี้ จะช่วยให้ครูผส ู้ อนวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปฐมวัย
เข้าใจแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการสืบเสาะหาความรู้ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 สมรรถนะ
อันพึงประสงค์ของผูเ้ รียน การคิดวิเคราะห์ การแก้ปญ ั หา และการนำ�สือ่ ต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้
ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สารบัญ

หน่วยที่ 1 พลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ 1

เรื่องที่ 1 เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์และสารประกอบไฮโดรคาร์บอน 2

กิจกรรมที่ 1.1 สารประกอบไฮโดรคาร์บอน 2

กิจกรรมที่ 1.2 ประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน 8

กิจกรรมที่ 1.3 อิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว 11

เรื่องที่ 2 สมบัติทางกายภาพของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน 15

กิจกรรมที่ 2.1 จุดเดือดของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน 15

กิจกรรมที่ 2.2 การละลายในน้ำ�ของสารประกอบอินทรีย ์ 21

เรื่องที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน 26

กิจกรรมที่ 3.1 สมการเคมี 26

หน่วยที่ 2 พลังงานทดแทน 34

เรื่องที่ 4 เชื้อเพลิงทางเลือก พลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียน 35

กิจกรรมที่ 4.1 พลังงานหมุนเวียน 35

กิจกรรมที่ 4.2 พลังงานไฟฟ้าและปฏิกิริยาเคมี 40

เรื่องที่ 5 สารตั้งต้นของพลังงานทดแทน 44

กิจกรรมที่ 5.1 โครงสร้างกับสมบัติของสาร 44

เรื่องที่ 6 ปฏิกิริยาเคมีของพลังงานทดแทน 49

กิจกรรมที่ 6.1 ปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์ 49

กิจกรรมที่ 6.2 ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ในภาวะกรด 54

กิจกรรมที่ 6.3 ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ในภาวะเบส 58

กิจกรรมท้าทาย มาผลิตไบโอดีเซลกันเถอะ 63

คณะทำ�งานพัฒนาหลักสูตร 71

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1

หน่วยที่ 1
พลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2

เรื่องที่ เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์และสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
1 กิจกรรมที่ 1.1 สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

เวลา 15 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
จำ�แนกสารประกอบอินทรีย์ประเภทสารประกอบไฮโดรคาร์บอนจากสูตรโครงสร้าง

วัสดุและอุปกรณ์

ที่ รายการ จำ�นวนต่อกลุ่ม

1 บัตรภาพ สารประกอบอินทรีย์ 1 ชุด


2 กรรไกร 1 เล่ม

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. ตัดชิ้นส่วนในใบกิจกรรมที่ 1.1 เพื่อทำ�บัตรภาพ สารประกอบอินทรีย์
2. จั ด กลุ่ ม สารประกอบอิ น ทรี ย์ ที่ เ ป็ น สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนกั บ ที่ ไ ม่ ใ ช่ ส ารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนจากสูตรโครงสร้าง บันทึกผลในใบกิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3

เรื่องที่ เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์และสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
1 ใบกิจกรรมที่ 1.1 สารประกอบไฮโครคาร์บอน

ผลการดำ�เนินกิจกรรม
บันทึกข้อมูลลงในตารางบันทึกผลการทำ�กิจกรรม

สารประกอบอินทรีย์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

คำ�ถามท้ายกิจกรรม
จงวงกลมล้อมรอบสารที่เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

H H H H H Br
H C O H H C C C H H C C H
H H H H H H
H
H H H C O H
C C C C
H CH3 C C
H C H
H

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4

บัตรภาพ สารประกอบอินทรีย์

เอทานอล (ethanol) กรดแอซีติก (acetic acid)

H H H O
H C C O H H C C O H
H H H
ยูเรีย (urea) คลอโรฟอร์ม (chloroform)

O Cl
H2N C NH2 H C Cl
Cl
แอซีโตน (acetone) เอทานามีน (ethanamine)

H O H H H H
H C C C H H C C N H
H H H H

เฮกเซน (hexane) ไซโคลเพนเทน (cyclopentane)


H H
H H H H H H H C H
H C C C C C C H H C C H
H H H H H H H C C H
H H
บิวไทน์์ (butyne) บิวทาไดอีน (butadiene)

H H H H
H C C C C H H C C H
C C
H H H H

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
5

แนฟทาลีน (naphthalene) กลูโคส (glucose)

H H
C O
H C C H H OH
C C C H
C OH C
H
H C C C C C H OH H
C C
H H H OH

ไซโคลเฮกเซน (cyclohexane) ไซโคลเฮกซีน (cyclohexene)

H H H H
H C H H C H
C C C C
H H H
H C C H H C C H
H C H H C
H H H H

เบนซีน (benzene) ไอโซเพนเทน (isopentane)

H H
H C H H C H
C C H H H
H C C C H H C C C C H
H H H H H

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
6

มรู้
ใบควา

เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์และสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

ในชีวิตประจำ�วัน เรามีการนำ�เชื้อเพลิงไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น ใช้ในยานพาหนะ ใช้ประกอบ


อาหาร ใช้ผลิตไฟฟ้า โดยเชือ
้ เพลิงมากกว่าร้อยละ 80 ทีม
่ ก
ี ารใช้มาตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบน
ั คือ น้�ำ มัน ถ่านหิน
และแก๊สธรรมชาติ ซึง่ เป็นเชือ
้ เพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ (fossil fuel) เชือ
้ เพลิงประเภทนีเ้ กิดจากซากพืชซากสัตว์
ที่ทับถมเป็นเวลานานนับล้านปี ภายใต้ความร้อนและความดันสูงใต้ผิวโลก จึงเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้แล้ว
หมดไป เช่น มีการคาดคะเนว่าจะมีถา่ นหินใช้ได้อก
ี ไม่กส
ี่ บ
ิ ปีเท่านัน
้ เชือ
้ เพลิงซากดึกดำ�บรรพ์เกิดจากการทับถม
ของซากพื ช ซากสั ต ว์ จึ ง มี ธ าตุ ค าร์ บ อนและธาตุ ไ ฮโดรเจนเป็ น องค์ ป ระกอบหลั ก และเหมาะสมต่ อ การ
ใช้ประโยชน์ในด้านเชื้อเพลิงต่าง ๆ ได้หลากหลาย เช่น ใช้ในยานพาหนะ ใช้ประกอบอาหาร

รูปที่ 1 การใช้เชื้อเพลิงในยานพาหนะและใช้ประกอบอาหาร

เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ที่เราคุ้นเคยในชีวิตประจำ�วัน เช่น น้ำ�มันเบนซิน แก๊สหุงต้ม เป็นผลิตภัณฑ์ที่


ได้จากการขุดเจาะปิโตรเลียม การขุดเจาะปิโตรเลียมนั้นจะได้เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์จำ�พวกแก๊สธรรมชาติ
และน้ำ�มันดิบ เมื่อนำ�มาผ่านกระบวนการแยกจะได้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ดังตัวอย่างในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นลำ�ดับส่วนปิโตรเลียม และการนำ�ไปใช้ประโยชน์

ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม สูตรเคมี การนำ�ไปใช้ประโยชน์

แก๊สมีเทน หรือ CH4 ใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถ NGV


แก๊สธรรมชาติอัด (CNG) ใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง สำ � หรั บ ผลิ ต กระแส
ไฟฟ้าและในโรงงานอุตสาหกรรม

แก๊สอีเทน C2H6 ใช้เป็นวัตถุดบ


ิ สำ�หรับผลิตสารเคมี และ
ผลิตภัณฑ์พลาสติก

แก๊สโพรเพน C3H8 ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ สำ � หรั บ ผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์


พลาสติก

แก๊สหุงต้ม หรือ สารผสมของ ใช้เป็นเชือ


้ เพลิงสำ�หรับแก๊สหุงต้ม และ
แก๊สปิโตรเลียมเหลว (LPG) C3H8 และ C4H10 สำ�หรับรถยนต์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
7

เมือ
่ พิจารณาสูตรเคมี จะเห็นว่าผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม เช่น CH4 C2H6 C3H8 เป็นสารทีป
่ ระกอบด้วย
ธาตุคาร์บอน (C) และธาตุไฮโดรเจน (H) เท่านั้น จึงเรียกสารประเภทนี้ว่า สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
(hydrocarbon compound) นอกจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมแล้ว ยังพบสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอื่น ๆ เช่น
อี ไ ทน์ ห รื อ อะเซทิ ลี น (C 2H 2) ซึ่ ง เป็ น แก๊ ส ที่ ใ ช้ เ ชื่ อ มโลหะและบ่ ม ผลไม้ สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนเป็ น
สารประกอบอินทรีย์ (organic compound) ประเภทหนึ่ง
สารประกอบอิ น ทรี ย์ เ ป็ น สารประกอบที่ มี ธ าตุ ค าร์ บ อนเป็ น องค์ ป ระกอบหลั ก ธาตุ ค าร์ บ อนใน
สารประกอบอินทรียส
์ ว่ นใหญ่สร้างพันธะโคเวเลนต์กบ
ั ธาตุไฮโดรเจน หรือกับธาตุคาร์บอนด้วยกันเอง นอกจากนี้
สารประกอบอินทรีย์ยงั อาจมีธาตุชนิดอื่น เช่น O N S Cl เป็นองค์ประกอบด้วย สารประกอบอินทรีย์อาจได้มา
จากสิ่ ง มี ชี วิ ต หรื อ การสั ง เคราะห์ ส่ ว นสารประกอบของธาตุ ค าร์ บ อนที่ ไ ม่ ใ ช่ ส ารประกอบอิ น ทรี ย์ เ รี ย กว่ า
สารประกอบอนินทรีย์ (inorganic compound) เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) กรดคาร์บอนิก (H2CO3)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
8

เรื่องที่ เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์และสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
1 กิจกรรมที่ 1.2 ประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

เวลา 30 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
สร้างแบบจำ�ลองเพื่ออธิบายพันธะของคาร์บอนในสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

วัสดุและอุปกรณ์

ที่ รายการ จำ�นวนต่อกลุ่ม

1 ดินน้ำ�มัน 2 สี สีละ 1 ก้อน

2 ไม้จิ้มฟัน 20 อัน

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. ปัน
้ ดินน้�ำ มันเป็นลูกกลม สีที่ 1 แทนอะตอมของคาร์บอน จำ�นวน 6 ลูก และสีที่ 2 แทนอะตอมของ
ไฮโดรเจน จำ�นวน 12 ลูก โดยให้ลูกกลมสีที่ 1 ใหญ่กว่าลูกกลมสีที่ 2 ประมาณ 1 เท่า
2. ใช้ไม้จิ้มฟัน 1 อัน เสียบที่ดินน้ำ�มันที่แทนอะตอมของไฮโดรเจนแต่ละลูก
3. สร้างแบบจำ�ลองของโมเลกุลอีเทน (C2H6) โดยใช้อะตอมของคาร์บอน 2 ลูก และอะตอมของ
ไฮโดรเจน 6 ลูก นำ�อะตอมของคาร์บอนจำ�นวน 2 ลูกมาเสียบไว้ที่ปลายของไม้จิ้มฟันแต่ละด้าน
จากนั้ น นำ � อะตอมของไฮโดรเจนมาเสี ย บที่ ค าร์ บ อน โดยกำ � หนดให้ ค าร์ บ อนแต่ ล ะอะตอมมี
ไม้จิ้มฟันต่ออยู่ได้ 4 อัน และไฮโดรเจนแต่ละอะตอมมีไม้จิ้มฟันต่ออยู่ได้ 1 อัน วาดแบบจำ�ลอง
โมเลกุลอีเทน
4. สร้างแบบจำ�ลองของโมเลกุลอีทีน (C2H4) โดยทำ�เช่นเดียวกับข้อ 3 แต่ใช้อะตอมของคาร์บอน
2 ลูก และอะตอมของไฮโดรเจน 4 ลูก โดยสามารถเพิ่มไม้จิ้มฟันระหว่างอะตอมของคาร์บอนได้
แต่ต้องให้คาร์บอนแต่ละอะตอมมีไม้จิ้มฟันต่ออยู่ได้ 4 อัน วาดแบบจำ�ลองโมเลกุลอีทีน
5. สร้างแบบจำ�ลองของโมเลกุลอีไทน์ (C2H2) โดยทำ�เช่นเดียวกับข้อ 4 แต่ใช้อะตอมของคาร์บอน
2 ลูก และอะตอมของไฮโดรเจน 2 ลูก วาดแบบจำ�ลองโมเลกุลของอีไทน์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
9

เรื่องที่ เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์และสารประกอบไฮโดรคาร์บอนกระบอก
1 ใบกิจกรรมที่ 1.2 ประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

ผลการดำ�เนินกิจกรรม (วาดรูปแบบจำ�ลอง)

อภิปรายผลการทํากิจกรรม

สรุปผลการทํากิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
10

คำ�ถามท้ายกิจกรรม
กำ�หนดให้ลูกดินน้ำ�มันกลมสีที่ 1 แทนอะตอมของคาร์บอน ลูกดินน้ำ�มันกลมสีที่ 2 แทนอะตอมของ
ไฮโดรเจน และไม้จิ้มฟันแทนพันธะโคเวเลนต์

1. ธาตุคาร์บอนสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์ได้กี่พันธะ และธาตุไฮโดรเจนสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์
ได้กี่พันธะ

2. ถ้ากำ�หนดให้ C แทนอะตอมของคาร์บอน H แทนอะตอมของไฮโดรเจน และ − แทนพันธะโคเวเลนต์


จงเขียนสูตรโครงสร้างของอีเทน อีทีน และอีไทน์

3. จงระบุ ช นิ ด ของพั น ธะระหว่ า งอะตอมของคาร์ บ อนของอี เ ทน อี ที น และอี ไ ทน์ ว่ า เป็ น พั น ธะเดี่ ย ว


พันธะคู่ หรือพันธะสาม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
11

เรื่องที่ เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์และสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
1 กิจกรรมที่ 1.3 อิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว

เวลา 10 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
จำ�แนกสารประกอบอินทรีย์ประเภทไฮโดรคาร์บอนว่าอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัวจากสูตรโครงสร้าง

วัสดและุอุปกรณ์

ที่ รายการ จำ�นวนต่อกลุ่ม

1 บัตรภาพ สารประกอบอินทรีย์ 1 ชุด

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
นำ�บัตรภาพจากกิจกรรมที่ 1.1 เฉพาะทีเ่ ป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน มาจำ�แนกว่าเป็นสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว บันทึกผลในใบกิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
12

เรื่องที่ เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์และสารประกอบไฮโดรคาร์บอนกระบอก
1 ใบกิจกรรมที่ 1.3 อิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว

ผลการดำ�เนินกิจกรรม
บันทึกข้อมูลลงในตารางบันทึกกิจกรรม

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว สารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว

คำ�ถามท้ายกิจกรรม
จงวงกลมล้อมรอบสารที่เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13

มรู้
ใบควา

สารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวและไม่อิ่มตัว

ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม เช่น มีเทน (CH4) โพรเพน (C3H8) เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนซึ่งมี


สูตรโครงสร้างดังนี้

มีเทน โพรเพน

รูปที่ 1 สูตรโครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวบางชนิด

จากสูตรโครงสร้างจะเห็นว่า พันธะในโมเลกุลของ CH4 C3H8 เป็นพันธะเดี่ยวทั้งหมด สารประกอบ


ไฮโดรคาร์บอนประเภทนีเ้ รียกว่า สารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิม
่ ตัว (saturated hydrocarbon compound)
นอกจากนี้ ยั ง มี ส ารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนที่ มี พั น ธะคู่ ห รื อ พั น ธะสามอย่ า งน้ อ ย 1 พั น ธะ ซึ่ ง เรี ย กว่ า
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว (unsaturated hydrocarbon compound) เช่น โพรพีน (C3H6)
โพรไพน์ (C3H4) แสดงสูตรโครงสร้างดังรูป

H HH H H H HH H H
H CH C C HC H H CH C C HC H H C
H H H H H
โพรพีน โพรไพน์

น างของสารประกอบไฮโดรคาร์โพรไพนโพรไพน โพ
โพรพี
รูปทีน่ โพรพี
2 สูตรโครงสร้ บโพรพี
อนไม่น
อิ่มตัวบางชนิด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
14

page 12

page 12

H H H H H H
H C H H C C H H C C C H
HH HH HH HH HH HH
H C H H C C H H C C C H
H H H H H H

H H H H
รูH้หรือCไม่C C H H C C C H
H H H H
H ไขมันและน้ำ�มันซึ่งปัจจุบันHได้มีการนำ�ไปใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเชื้อเพลิง
H C C C H H C C C H
แทนเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์เป็นสารในกลุ่มไตรกลีเซอไรด์ที่มาจากกลีเซอรอลและ
H H
กรดไขมั น กรดไขมั น มี ห ลายชนิ ด ทั้ ง กรดไขมั น อิ่ ม ตั ว และกรดไขมั น ไม่ อิ่ ม ตั ว โดย
กรดไขมั น ที่ อิ่ ม ตั ว มี จุ ด หลอมเหลวสู ง กว่ า อุ ณ หภู มิ ห้ อ ง ส่ ว นกรดไขมั น ที่ ไ ม่ อิ่ ม ตั ว มี
จุดหลอมเหลวต่ำ�กว่าอุณหภูมิห้อง กรดไขมันที่เราคุ้นเคย เช่น กรดไขมันประเภท
โอเมกา-3 และโอเมกา-6 เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว โดยเลข 3 และ 6 เป็นตำ�แหน่งของ
page 13
คาร์บอนอะตอมแรกที่มีพันธะคู่ เมื่อนับจากปลาย –CH3 กรดไขมันที่อยู่ในกลุ่มของ
โอเมกา-3
page 13 เช่ น กรดไลโนเลนิ ก (linolenic acid) และกรดไขมั น ที่ อ ยู่ ใ นกลุ่ ม ของ
O
CH3 CH2 CH CH CH2 CH CH CH2 CH CH CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 C OH
โอเมกา-6 เช่น กรดไลโนเลอิก (linoleic acid) OO
CHCH CH2 CHCH CHCH CHCH
3 3 CH
CH CHCH CHCH
2 2 CH
CH CHCH CHCH
2 2 CH
CH2 CHCH
2 2 CH
CH2 CHCH
2 2 CH
CH2 CHCH
2 2 CH
C OH
2 2 C OH
2 2 2 2
O
1 2 3  4  5  6  7 8 9  10 11  12  13 14  15  16  17  18
O
CH3 CH2 CH CH CH2 CH CH CH2 CH CH CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 C OH
CH3 CH2 CH2 CH2 CH2 CH CH CH2 กรดไลโนเลนิ CH CH CH ก 2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 C OH
O
CH3 CH2 CH2 CH2 CH2 CH CH CH2 CH CH CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CO OH
1 2 3  4  5  6  7  8  9  10 11  12  13 14  15  16  17  18
CH3 CH2 CH2 CH2 CH2 CH CH CH2 CH CH CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 C OH
O
CH3 CH2 CH2 CH2 CH2 CH CH CH2 กรดไลโนเลอิ
CH CH CH ก CH CH CH
2 2 2 2
CH2 CH2 CH2 C OH

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
15

เรื่องที่ สมบัติทางกายภาพของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
2 กิจกรรมที่ 2.1 จุดเดือดของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

เวลา 20 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกแนวโน้มจุดเดือดของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเมื่อขนาดโมเลกุลเพิ่มขึ้น

วัสดุและอุปกรณ์

ที่ รายการ จำ�นวนต่อกลุ่ม

1 รูป ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นลำ�ดับส่วนน้ำ�มันดิบ 1 รูป

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นลำ�ดับส่วนน้ำ�มันดิบ และการนำ�ไปใช้ประโยชน์
ดังตารางต่อไปนี้

ผลิตภัณฑ์จากน้ำ�มันดิบ สูตรเคมี การนำ�ไปใช้ประโยชน์

ใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถ NGV
แก๊สมีเทน หรือ
CH4 ใช้เป็นเชือ
้ เพลิงสำ�หรับผลิตกระแสไฟฟ้า
แก๊สธรรมชาติอัด (CNG)
และในโรงงานอุตสาหกรรม

ใช้เป็นวัตถุดบ
ิ สำ�หรับผลิตสารเคมี และ
แก๊สอีเทน C2H6
ผลิตภัณฑ์พลาสติก

ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ สำ � หรั บ ผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์


แก๊สโพรเพน C3H8
พลาสติก

แก๊สหุงต้ม หรือ สารผสมของ ใช้เป็นเชือ


้ เพลิงสำ�หรับแก๊สหุงต้ม และ
แก๊สปิโตรเลียมเหลว (LPG) C3H8 และ C4H10 สำ�หรับรถยนต์

สารประกอบที่มีคาร์บอน
แนฟทาเบา ใช้ทำ�สารเคมีและตัวทำ�ละลาย
ตั้งแต่ 5 – 9 อะตอม

สารประกอบที่มีคาร์บอน ใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์
แนฟทาหนัก
ตั้งแต่ 5 – 10 อะตอม (น้ำ�มันเบนซิน)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16

ผลิตภัณฑ์จากน้ำ�มันดิบ สูตรเคมี การนำ�ไปใช้ประโยชน์

น้ำ�มันเชื้อเพลิงเครื่องบิน สารประกอบที่มีคาร์บอน ใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง เครื่ อ งบิ น ไอพ่ น และ


และน้ำ�มันก๊าด ตั้งแต่ 10 – 16 อะตอม ตะเกียง

สารประกอบที่มีคาร์บอน
น้ำ�มันดีเซล ใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ดีเซล
ตั้งแต่ 14 – 20 อะตอม

สารประกอบที่มีคาร์บอน ใช้ เ ป็ น น้ำ � มั น หล่ อ ลื่ น ในเครื่ อ งยนต์


น้ำ�มันหล่อลื่น จารบี
ตั้งแต่ 20 – 50 อะตอม จารบี เครื่องสำ�อางและเทียนไข

สารประกอบที่มีคาร์บอน ใช้ เ ป็ น เชื ้ อ เพลิ ง เครื ่ อ งจั ก รและ


น้ำ�มันเตา
ตั้งแต่ 20 – 70 อะตอม เรือเดินทะเล

สารประกอบที่มีคาร์บอน
ยางมะตอย ใช้ทำ�ยางมะตอย และวัสดุกันซึม
มากกว่า 70 อะตอม

2. เติ ม สู ต รเคมี ที่ กำ � หนดให้ ต่ อ ไปนี้ ลงในรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ จ ากการกลั่ น ลำ � ดั บ ส่ ว นน้ำ � มั น ดิ บ
ในใบกิจกรรมที่ 2.1 ให้ถูกต้อง

CH4 CH3CH3 CH3CH2CH3 CH3CH2CH2CH3

C5H12 C5H12 C6H14 C6H14 C7H16 C7H16 C8H18 C8H18 C9H20 C9H20

C10H22 C10-16 C14-20 C20-50 C20-70 >C70

หมายเหตุ สารที่มีสูตรเคมีซ้ำ�กัน เช่น C5H12 สามารถนำ�ไปใส่ในช่องสูตรเคมีที่อยู่คนละช่องกันได้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
17

เรื่องที่ สมบัติทางกายภาพของสารประกอบไฮโดรคารบอน
2 ใบกิจกรรมที่ 2.1 จุดเดือดของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

ผลการดำ�เนินกิจกรรม

สูตสูตรเคมี
รเคมี

แกสปโตรเลียม

20 ํC ใชเปนเชื้อเพลิงในรถ NGV
และแกสหุงตม
ใชผลิตสารเคมีและพลาสติก
70 ํC

แนฟทาเบา
120 ํC
ใชทำสารเคมีและตัวทำละลาย

แนฟทาหนัก
170 ํC
ใชเปนเชื้อเพลิงในรถยนต

น้ำมันกาด
270 ํC
ใชเปนเชือ้ เพลิงเครือ่ งบินไอพนและตะเกียง

น้ำมันดีเซล
350 ํC
น้ำมันดิบ ใชเปนเชื้อเพลิงในเครื่องยนตดีเซล

น้ำมันหลอลื่น จารบี
600 ํC
ใชเปนน้ำมันหลอลื่นในเครื่องยนต
จารบี เครื่องสำอางและเทียนไข

>600 ํC น้ำมันเตา
ใชเปนเชื้อเพลิงเครื่องจักร
และเรือเดินทะเล

ยางมะตอย

เชื้อเพลิงการเผาไหม ใชทำยางมะตอย และวัสดุกันซึม

รูป ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นลำ�ดับส่วนน้ำ�มันดิบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
18

คำ�ถามท้ายกิจกรรม

1. เมื่อจำ�นวนอะตอมของคาร์บอนเพิ่มขึ้น แนวโน้มของจุดเดือดเป็นอย่างไร

2. ขนาดโมเลกุลมีความสัมพันธ์กบ
ั แนวโน้มจุดเดือดของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอย่างไร เพราะเหตุใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
19

มรู้
ใบควา

จุดเดือดของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

ในปัจจุบันน้ำ�มันเชื้อเพลิงที่ใช้ในประเทศได้มาจากน้ำ�มันดิบซึ่งเป็นเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ประเภท
ปิโตรเลียม การขุดเจาะปิโตรเลียมจะได้แก๊สธรรมชาติและน้ำ�มันดิบ เมื่อนำ�มาผ่านกระบวนการแยกจะได้
แก๊สธรรมชาติที่มีองค์ประกอบหลักเป็นมีเทน (CH4) ออกมาก่อนเนื่องจากมีเทนมีจุดเดือดต่ำ�เพียง -161.5
องศาเซลเซียส ส่วนองค์ประกอบทีเ่ หลือจะเข้าสูก
่ ระบวนการกลัน
่ ลำ�ดับส่วนเพือ
่ แยกองค์ประกอบออกจากกัน
ตามลำ�ดับจุดเดือด เช่น แก๊สหุงต้ม น้ำ�มันก๊าด น้ำ�มันดีเซล ยางมะตอย

แกสปโตรเลียม 1-4
C
20 ํC ใชเปนเชื้อเพลิงในรถ NGV
และแกสหุงตม
ใชผลิตสารเคมีและพลาสติก
70 ํC

แนฟทาเบา 5-9
C
120 ํC
ใชทำสารเคมีและตัวทำละลาย

แนฟทาหนัก 5-10
C
170 ํC
ใชเปนเชื้อเพลิงในรถยนต (น้ำมันเบนซิน)

น้ำมันกาด 10-16
C จำนวนอะตอมของคารบอน
270 ํC

จุดเดือด
ใชเปนเชือ้ เพลิงเครือ่ งบินไอพนและตะเกียง

น้ำมันดีเซล 14-20
C
350 ํC
น้ำมันดิบ ใชเปนเชื้อเพลิงในเครื่องยนตดีเซล

น้ำมันหลอลื่น จารบี 20-50


C
600 ํC
ใชเปนน้ำมันหลอลื่นในเครื่องยนต
จารบี เครื่องสำอางและเทียนไข

>600 ํC น้ำมันเตา 20-70


C
ใชเปนเชื้อเพลิงเครื่องจักร
และเรือเดินทะเล

ยางมะตอย > 70C


เชื้อเพลิงการเผาไหม ใชทำยางมะตอย และวัสดุกันซึม

รูปที่ 1 ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นลำ�ดับส่วนน้ำ�มันดิบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
20

ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้จากการกลัน
่ ลำ�ดับส่วนปิโตรเลียมมีทงั้ ทีเ่ ป็นสถานะแก๊ส ของเหลว และของแข็ง โดยสาร
ที่มีจำ�นวนอะตอมของคาร์บอนน้อยหรือมีขนาดโมเลกุลเล็กจะมีจุดเดือดต่ำ�กว่าสารที่มีจำ�นวนอะตอมของ
คาร์บอนมากหรือมีขนาดโมเลกุลใหญ่

Cนอย สวนบนหอกลั่น
Cนอย สวนบนหอกลั่น
แกส
แกส

ของเหลว
ของเหลว

ของแข็ง
ของแข็ง
Cมาก สวนลางหอกลั่น Cมาก สวนลางหอกลั่น

เนื่องจากสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเป็นสารที่มีข้ัวน้อยมากจนถือว่าเป็นสารไม่มีขั้ว เมื่อสารมีจำ�นวน
อะตอมของคาร์บอนเพิ่มขึ้นจะมีขนาดโมเลกุลใหญ่ขึ้นCHและมี แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากขึ้น ดังนั้น
CH CH CH CH
3 2 2 2 3
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวจึงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นด้วย อย่างไรก็ตามการเพิ่มขึ้นของจุดเดือดมีลักษณะต่อเนื่อง
CH3
มากกว่าจุดหลอมเหลว ดังนั้นการเปรียบเทียบสมบัติทCHี่เกี
3
่ยCHวข้อCHงกั
2

CHแรงยึ
3
ดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสาร
จึงนิยมพิจารณาจากจุดเดือดมากกว่าจุดหลอมเหลว นอกจากจำ�นวนอะตอมของคาร์บอนแล้วโครงสร้าง
ของสารมีผลต่อจุดเดือดและจุดหลอมเหลวเช่นกัน โดยโครงสร้างแบบโซ่กิ่งมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
และมีจด
ุ เดือดต่�ำ กว่าแบบโซ่ตรงทีม
่ จ
ี �ำ นวนอะตอมของคาร์บอนเท่ากัน เช่น จุดเดือดของ C5H12 ทีม
่ โี ครงสร้าง
ต่างกันแสดงได้ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 สูตรโครงสร้างและจุดเดือดของ C5H12 ที่มีโครงสร้างต่างกัน

สูตรโครงสร้าง จุดเดือด (OC)

CH3 CH2 CH2 CH2 CH3 36


(โซ่ตรง)

CH3
CH3 CH CH2 CH3 28

(โซ่กิ่ง)

นอกจากสารประกอบไฮโดรคาร์บอนแล้ว แนวโน้มของจุดเดือดที่ขึ้นกับจำ�นวนอะตอมของคาร์บอนและ
โครงสร้างของสารนี้ ยังพบได้ทั่วไปกับสารประกอบอินทรีย์ประเภทอื่นด้วย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
21

เรื
เรื่อ
่องที
งที่ ่ สมบัติทางกายภาพของสารประกอบไฮโดรคารบอน
1
2 กิจกรรมที่ 2.2 การละลายในน้ำ�ของสารประกอบอินทรีย์

เวลา 30 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ทดลองการละลายของสารประกอบอินทรีย์บางชนิดในน้ำ�และน้ำ�มัน
2. ระบุการละลายของสารประกอบอินทรีย์บางชนิดในน้ำ�และน้ำ�มัน

วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี

ที่ รายการ จำ�นวนต่อกลุ่ม

1 หลอดทดลอง ขนาดเล็ก 6 หลอด

2 กระบอกตวง ขนาด 10 mL 2 อัน

3 หลอดหยด 2 อัน

4 ช้อนสำ�หรับตักสาร 2 อัน

5 การบูร 1 กรัม

6 น้ำ�ตาลทราย 1 กรัม

7 น้ำ�มันพืช 4 มิลลิลิตร

8 น้ำ�กลั่น 4 มิลลิลิตร

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. เทน้ำ�มันพืชลงในหลอดทดลอง หลอดละ 1 mL จำ�นวน 3 หลอด
2. ทดสอบการละลายของสารในน้ำ�มันพืช โดยเติมสารต่อไปนี้ลงในหลอดทดลองในข้อ 1 เขย่าให้
เข้ากัน สังเกตการละลายและบันทึกผล
- หลอดที่ 1 เติมน้ำ� 5 หยด
- หลอดที่ 2 เติมการบูร ประมาณ 1 ช้อน
- หลอดที่ 3 เติมน้ำ�ตาลทราย ประมาณ 1 ช้อน
3. เทน้ำ�กลั่นลงในหลอดทดลอง หลอดละ 1 mL จำ�นวน 3 หลอด
4. ทดสอบการละลายของสารในน้ำ� โดยเติมสารเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่เปลี่ยนจากน้ำ�เป็นน้ำ�มันพืช
ลงในหลอดทดลองในข้อ 3 เขย่าให้เข้ากัน สังเกตการละลายและบันทึกผล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
22

เรื่องที่ สมบัติทางกายภาพของสารประกอบไฮโดรคารบอนกระบอก
2 ใบกิจกรรมที่ 2.2 การละลายในน้ำ�ของสารประกอบอินทรีย์

ผลการดำ�เนินกิจกรรม
ออกแบบตารางและบันทึกผลการทำ�กิจกรรม

อภิปรายผลการทํากิจกรรม

สรุปผลการทํากิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
H
23
C CH2OH H H
HOH2C O
H2C CH2 HO C O H C CH2OH
O H3C C CH3 C C C
คำ � page22
ถามท้ า ยกิ จ กรรม H O
H page22
H H 2C C C C C C OH H
ร น้ำ�ตาลทราย O
สูตรโครงสร้างของน้ำ� การบูC HOบางชนิดในน้
และไตรกลีเซอไรด์ OH
H H ำ�มันHพืช แสดงดั
OH งรูป
CH3 H H
C H CHHOH CH2OH
C H
O CH2OH 2 CHOHOC HOHCH2C OHO H
HC CH2 CHCH2CH HO O CH 2 OH C2 CH2COH CH2O
CHO HOH
CH₂ O C CH2 OCH2 CH2 CHH22C CH2 2 CH2 CH2 CH CH CH CHO CC3 2 OCC CH C
CH
O H C
H3C C 3 CH3 C CH 2 2 2 2 C 2
H
O
H H H C
3
C HO CH H CH C OC C O C COH C OH
H H H 2C 2 C O C CO
HO O CC
H
H H
CH O
O C CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 C CH2 CH2 CH2 CHHO CH CH CH
CH2 CH3HOH H H OHH OH
H
O
C HO H OHH OH
2 OH
CH CH3
CH₂ O C CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 3 CH2 CH2 CH2 CH2 CH3
น้Oำ� O การบูร น้ำ�ตาลทราย (sucrose)
O
CH₂ OCH₂C OCH2C CHCH CH CH CH CH CH CH CH CH CH CH CH
2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2
CH3
CH2 O C O CH2 CH2 2 CH2 2 CH2 2 CH2 2CH2 2CH2 CH
2 2 2
CH 2
CH CH2 2 CH2 2 CH33
O 2 2 2
O
CH
page23CH O C OCH2C CHCH CH CH CH CH CH CH CH CH CH CH CH
2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2
CH3
CH O C O CH2 CH2 2 CH2 2 CH2 2 CH2 2CH2 2CH2 CH
2 2 CH
2 CH
2 CH2 2 CH2 2 CH33
O 2 2 2
O
CH₂ OCH₂C OCH2C CHCH CHCH2 2CHCHCH2 CH CH CH CH CH CH CH CH
2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2
CH3
CH O 2
CH 2 2CHC 2 2
2 CH 2CH 2CH CH
2
2
2
CH
2 CH
2
2
CH3
2 2 2 2 2 3

O O น้ำ�มันพืช

CHCl CHCH OCH C CHCH2 CHCH2 CHCH2


- O 2C
CH2 CH
CH HCH2 CH
CH CH2 CHCH2 CHCH2 CHCH2 CHCH2 CHCH
- 2 CH
1. Hสารใดเป็นสารมี
2 ขั้ว 3 2 2 2 2 H 2 2 Cl 2 2 2 2 2 2 3
C page23
CH2 + C O CH O C CH3 C
CH
N
page23 C N CHC OCH2 COH CH CH CHN C N +C CH2 OH
CH2 CHCH2 CHCH2 CHCH2 CHCH2 2 CHCH2 CHCH2 CHCH2 CHCH
C CH HC O S C CH2O CH2 2 CH2 2 CH2 C2 CH
2
C 2C 2 HC2 S 2 2 2 2 2 3
CH3 N NH2 O CH3 N NH2
CH2 OCH2 C OCH2C CHCH2 2 CHCH2 2 CHCH2 2 CH2 CHCH2 CHCH2 CHCH2 CHCH2 CHCH2 CHCH2 CH3
CH 2 2 2 2 2 2 3

2. สารใดเป็นสารไม่มีขั้ว
H2C
CH3 Cl- CH3 HH Cl-H Cl- H2C
H Cl -
H CCH CHC3 + CCH CH2
CH3 CH3 CH CH3 CCH CHCCH C
2 3 + CH2 C OH 2
CH OH C 2 C OH
H H
2C + CN 3C + NC
C NC CN C N C NC CHCH 2 CH2 N N CH2 CH2
H2C C C C C C C C S 2 OH C
H C HN HC
C CH HNH S HCH C CH CC N HCNH S
HC S
H3. C
C การละลายมี N 3 NH CH N3 NH2
CHCH3 2 2
2 ความสัมพั2นธ์กับการมี
CH3 ขั้วหรือไม่มีขั้วของสารอย่างไร 3
2

CH3 CH3CH3 CH3 CH CH3 CH CH3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


HC H3 H H3 CH
C CC C C
C
H2C H2CC
C C C C
C CH CC C CC CH2 C OH 2 OH
H H H
24

มรู้
ใบควา

การละลายในน้ำ�ของสารประกอบอินทรีย์

รูปที่ 1 การใช้ทุ่นลอยน้ำ�จำ�กัดบริเวณไม่ให้น้ำ�มันที่รั่วไหลแผ่กระจายไปในทะเล

จากสถิติกรมเจ้าท่าระหว่างปี พ.ศ. 2540-2553 เกิดเหตุน้ำ�มันรั่วในปริมาณมากกว่า 20,000 ลิตร


ขึ้นไป จำ�นวน 9 ครั้ง ส่วนใหญ่เกิดจากอุบัติเหตุระหว่างการขนถ่ายน้ำ�มัน และอุบัติเหตุอื่น ๆ เช่น เรืออับปาง
จากรูปที่ 1 จะเห็นว่า น้ำ�มันที่รั่วไหลออกมาไม่ละลายในน้ำ� เมื่อพิจารณาความมีขั้วของสารพบว่าน้ำ�มัน
เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนจึงไม่มีขั้ว ส่วนน้ำ�เป็นสารมีขั้ว
จากกิจกรรมจะเห็นว่า สารมีขั้วจะละลายในสารมีข้ัว และสารไม่มีข้ัวจะละลายในสารไม่มีขั้ว ซึ่งเป็นไป
ตามหลักการที่เรียกว่า “like dissolves like” คือ สารจะละลายได้ในตัวทำ�ละลายที่มีขั้วใกล้เคียงกัน เนื่องจาก
มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลประเภทเดียวกัน การละลายของสารประกอบอินทรีย์ประเภทอื่นก็เป็นไป
ตามหลักการนี้เช่นกัน เช่น วิตามิน B1 ละลายในน้ำ� ส่วนวิตามิน A ละลายในไขมัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
CH2 CHO CO CH C 2 CHCH22 CHCH22 CH
CH22 CHCH2 2 CH
CH2 2 CH
CH22 CH
CH22 CH
CH22 CHCH
O
25
CH2 O C CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH
CH3 H Cl-
H Cl -
H
C CH2 + C CH2 OH C CH3 + C
N C N CCH CH N C N
H
HC ClS C HC C
- 3 2
C CH C CH
CH3 N C NH2 CH2 + CH2 OH CH3 N C NH2 CH3
N C N C CH N C N
2
C C HC S C C H
CH3 N NH2 CH N NH
3 2

วิตามิน B1

CH3 CH3 CH3 CH3


H H CH2
C C C C C
H2C C C C C C OH
CH CH H H CH H HCH
H2C C3 3H 3
H 3
CH C CH C C C C CH2
H2C 2 C3 C C C C OH
วิตHามิน A H H H
H2C C
CH2 CH3
รูปที่ 2 สูตรโครงสร้างของวิตามิน B1 และวิตามิน A

จากรูปที่ 2 เมื่อพิจารณาโครงสร้างของวิตามิน B1 พบว่าเป็นโมเลกุลมีขั้ว โดยมีหมู่ไฮดรอกซิล (-OH)


และหมู่แอมิโน (-NH2) ที่เกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้ำ�ได้หลายหมู่ นอกจากนี้ โครงสร้างยังมีประจุที่ช่วยทำ�ให้
ละลายในน้ำ�ได้ดีขึ้นโดยการแตกตัว ในทางตรงกันข้าม วิตามิน A ถึงแม้จะมีหมู่ไฮดรอกซิล แต่โครงสร้าง
มีส่วนที่เป็นไฮโดรคาร์บอนอยู่มาก ทำ�ให้เป็นสารที่มีขั้วน้อย จึงละลายในน้ำ�ได้ไม่ดี แต่ละลายได้ดีในไขมัน
ซึ่งโครงสร้างมีส่วนที่เป็นไฮโดรคาร์บอนอยู่มากเช่นกัน

ความรู้เพิ่มเติม
หมู่ ไ ฮดรอกซิ ล (-OH) และหมู่ แ อมิ โ น (-NH 2) เป็ น ตั ว อย่ า งของหมู่ ฟั ง ก์ ชั น
(functional group) ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นของโครงสร้ า งที่ แ สดงสมบั ติ ท างเคมี เ ฉพาะของ
สารประกอบอินทรีย์นั้น ๆ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
26

เรื่องที่ ปฏิกิริยาเคมีของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
3 กิจกรรมที่ 3.1 สมการเคมี

เวลา 30 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ในสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี
2. อธิบายการเขียนสมการเคมีเพื่อแสดงสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ในปฏิกิริยาเคมี
3. แปลความหมายของสัญลักษณ์ในสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี

วัสดุและอุปกรณ์

ที่ รายการ จำ�นวนต่อกลุ่ม

1 มาร์ชเมลโลสีต่าง ๆ 1 ถุง

2 เยลลีสีต่าง ๆ 1 ถุง

3 ไม้จิ้มฟัน 1 กล่อง

4 กระดาษ A4 1 แผ่น

5 สีเมจิก 1 กล่อง

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. พิจารณาข้อมูลปฏิกิริยาเคมีที่กำ�หนดให้ แล้วตอบคำ�ถามต่อไปนี้
- สารตั้งต้นของปฏิกิริยาคือสารใด และสูตรเคมีของสารแต่ละชนิดเป็นอย่างไร
- ผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาคือสารใด และสูตรเคมีของสารแต่ละชนิดเป็นอย่างไร
- สมการเคมีของแต่ละปฏิกิริยาเป็นอย่างไร
- อะตอมของธาตุแต่ละชนิดของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์มีจำ�นวนเท่าใด
2. เลือกปฏิกิริยาเคมีจากสมการเคมีที่กำ�หนดให้ต่อไปนี้ 1 สมการ

ปฏิกิริยาเคมี สมการเคมี

การเผาไหม้ของเอทานอล C2H5OH(l) + 3O2(g) 2CO2(g) + 3H2O(g) + พลังงาน

การสลายตัวของผงฟู 2NaHCO3(s) Na2CO3(s) + CO2(g) + H2O(g)

การสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 2H2O2(aq) O2(g) + 2H2O(l)

3. สร้างแบบจำ�ลองแสดงปฏิกริ ย
ิ าเคมีทเ่ี ลือกไว้ในข้อ 2 แล้ววางลงบนกระดาษ A4 โดยใช้มาร์ชเมลโล
และเยลลี แทนอะตอมของธาตุคาร์บอน ออกซิเจน ไฮโดรเจน หรือธาตุอื่น ๆ แล้วนำ�เสนอ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
27

เรื่องที่ ปฏิกิริยาเคมีของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
1 ใบกิจกรรมที่ 3.1 สมการเคมี

ผลการดำ�เนินกิจกรรม

ปฏิกิริยาที่ 1

แก๊สมีเทน (CH4) ทำ�ปฏิกริ ย


ิ าเคมีกบ
ั แก๊สออกซิเจน (O2) ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
ไอน้ำ� (H2O) และพลังงาน

+ + + พลังงาน

CH4(g) + 2O2(g) CO2(g) + 2H2O(g) + พลังงาน

1. สารตั้งต้นของปฏิกิริยา คือ
+ + + พลังงาน
สูตรเคมี คือ
2. ผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยา คือ
สูตรเคมี คือ
3. สมการเคมี คือ
+ พลังงาน +
จำ�นวนอะตอม
ธาตุ
สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์

คาร์บอน + พลังงาน +
ไฮโดรเจน
ออกซิเจน

ปฏิกิริยาที่ 2

เมื่อนำ�โลหะโซเดียม (Na) ใส่ลงน้ำ� (H2O) จะได้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)


และแก๊สไฮโดรเจน (H2) รวมทั้งมีความร้อนเกิดขึ้น

+ พลังงาน

2Na(s) + 2H2O(l) 2NaOH(aq) + H2(g) + พลังงาน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
28

1. สารตั้งต้นของปฏิกิริยา คือ
สูตรเคมี คือ
2. ผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยา คือ
สูตรเคมี คือ
3. สมการเคมี คือ

จำ�นวนอะตอม
ธาตุ
สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์

โซเดียม

ไฮโดรเจน
ออกซิเจน

ปฏิกิริยาที่ 3

การแยกน้ำ�ด้วยไฟฟ้า ทำ�ได้โดยให้พลังงานไฟฟ้าแก่น้ำ� (H2O) ได้แก๊สไฮโดรเจน (H2) และ


แก๊สออกซิเจน (O2)

2H2O(l) + พลังงาน 2H2(g) + O2(g)

1. สารตั้งต้นของปฏิกิริยา คือ
สูตรเคมี คือ
2. ผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยา คือ
สูตรเคมี คือ
3. สมการเคมี คือ

จำ�นวนอะตอม
ธาตุ
สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์

ไฮโดรเจน

ออกซิเจน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
+ +

+ + + พลังงาน 29

+ พลังงาน +
ปฏิกิริยาที่ 4

+ พลังงาน +
แคลเซี ย มคาร์ บ อเนต (CaCO 3) ซึ่ ง เป็ น ของแข็ ง เมื่ อ ได้ รั บ ความร้ อ นเกิ ด การสลายตั ว ได้
+ พลังงาน +
แคลเซียมออกไซด์ (CaO) ซึ่งเป็นของแข็ง และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)

+ พลังงาน +

CaCO3(s) + พลังงาน CaO(s) + CO2(g)

1. สารตั้งต้นของปฏิกิริยา คือ
สูตรเคมี คือ
2. ผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยา คือ
สูตรเคมี คือ
3. สมการเคมี คือ

จำ�นวนอะตอม
ธาตุ
สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์

แคลเซียม

คาร์บอน
ออกซิเจน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
30

คำ�ถามท้ายกิจกรรม
1. (s) (l) (g) และ (aq) ในสมการเคมี หมายถึงอะไร

2. จงบอกความหมายของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในสมการเคมี โดยเติมคำ�หรือข้อความในช่องว่าง

C3H8(g) + 5O2(g) 3CO2(g) + 4H2O(g)

3. จำ�นวนอะตอมของแต่ละธาตุเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมีแล้วมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร

4. การเขียนสมการเคมี โดยใช้สูตรเคมีแสดงสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ในปฏิกิริยาเคมี ทำ�ได้อย่างไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
31

มรู้
ใบควา

ปฏิกิริยาเคมีของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

พลังงานที่ได้จากเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ได้จากปฏิกิริยาเผาไหม้ ซึ่งเขียนแสดงได้ด้วย สมการเคมี


(chemical equation) เช่น ปฏิกิริยาการเผาไหม้แก๊สโพรเพน (C3H8) ในแก๊สหุงต้ม

+ + + พลังงาน

C3H8(g) + 5O2(g) 3CO2(g) + 4H2O(g) + พลังงาน

รูปที่ 1 ปฏิกิริยาการเผาไหม้แก๊สโพรเพน

สมการเคมี แ สดงได้ โ ดยเขี ย นสู ต รเคมี ข องสารตั้ ง ต้ น ทางด้ า นซ้ า ย ตามด้ ว ยลู ก ศรเพื่ อ แสดงทิ ศ ทาง
การเปลี่ยนแปลง และสูตรเคมีของผลิตภัณฑ์อยู่ทางด้านขวา ทั้งนี้สมการเคมีท่ีสมบูรณ์จะมีการดุลสมการเคมี
ทำ�ให้จ�ำ นวนอะตอมรวมของแต่ละธาตุทางด้านซ้ายและขวาของสมการเคมีเท่ากัน เช่น

C3H8(g) + 5O2(g) 3CO2(g) + 4H2O(g)


อะตอม
สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์

คาร์บอน 3 3

ไฮโดรเจน 8 4×2=8
ออกซิเจน 10 6 + 4 = 10

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
32

จากสมการเคมีของปฏิกริ ย
ิ าการเผาไหม้แก๊สโพรเพนซึง่ มีแก๊สโพรเพนและแก๊สออกซิเจนเป็นสารตัง้ ต้น
จะเห็ น ว่ า แก๊ ส โพรเพน 1 โมเลกุ ล ทำ � ปฏิ กิ ริ ย าพอดี กั บ แก๊ ส ออกซิ เ จน (O 2) 5 โมเลกุ ล ได้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ น
แก๊ ส คาร์ บ อนไดออกไซด์ (CO 2) 3 โมเลกุ ล และไอน้ำ � (H 2O) 4 โมเลกุ ล โดยแต่ ล ะด้ า นของสมการเคมี
มีธาตุคาร์บอน (C) 3 อะตอม ธาตุไฮโดรเจน (H) 8 อะตอม และธาตุออกซิเจน (O) 10 อะตอม เท่ากัน
นอกจากจำ�นวนสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์ทแ
ี่ สดงในสมการเคมีแล้ว ยังอาจมีสญ
ั ลักษณ์อน
ื่  ๆ ในสมการเคมี
ที่ใช้แสดงภาวะและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเกิดปฏิกิริยาเคมีด้วย เช่น สถานะของสาร การดูดพลังงานหรือ
คายพลังงาน ตัวอย่างการแสดงสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในปฏิกิริยาการเผาไหม้แก๊สโพรเพนเป็นดังนี้

การแสดงสถานะของสาร
การแสดงสถานะของสาร จะแสดงอยู่ในวงเล็บต่อท้ายสูตรเคมี และเนื่องจากสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์
ของปฏิกิริยานี้อยู่ในสถานะแก๊สทั้งหมด จึงเขียนสมการเคมีได้ดังนี้

C3H8(g) + 5O2(g) 3CO2(g) + 4H2O(g)

สัญลักษณ์ที่แสดงสถานะอื่น ๆ ของสาร แสดงดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 สัญลักษณ์แสดงสถานะของสารและความหมาย

สัญลักษณ์ ย่อมาจาก ความหมาย

s solid สารอยู่ในสถานะของแข็ง

l liquid สารอยู่ในสถานะของเหลว

g gas สารอยู่ในสถานะแก๊ส

aq aqueous สารละลายในน้ำ�

การแสดงการดูดพลังงานหรือคายพลังงานของปฏิกิริยา
ปฏิ กิ ริ ย าการเผาไหม้ เ ชื้ อ เพลิ ง จะได้ พ ลั ง งาน เช่ น ความร้ อ น แสง ออกมา ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ที่ มี ก าร
คายพลังงานออกมา เรียกว่า ปฏิกิริยาคายพลังงาน จึงเขียนตัวเลขแสดงปริมาณพลังงาน หรือในกรณีที่
ไม่แสดงตัวเลขพลังงาน อาจใช้ข้อความ “พลังงาน” หรือ “energy” ไว้ทางด้านขวาของสมการเคมี ดังนี้

C3H8(g) + 5O2(g) 3CO2(g) + 4H2O(g) + พลังงาน

สำ�หรับปฏิกิริยาเคมีที่มีการดูดพลังงาน เรียกว่า ปฏิกิริยาดูดพลังงาน จะเขียนตัวเลขแสดงปริมาณพลังงาน


ที่ใช้ในปฏิกิริยาเคมี หรือ ข้อความ “พลังงาน” หรือ “energy” ไว้ด้านซ้ายของสมการเคมี เช่น

N2(g) + O2(g) + 180.5 kJ/mol 2NO(g)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
33

นอกจากนี้ ในปฏิกริ ย
ิ าการเผาไหม้จะมีการให้ความร้อนเพือ
่ ให้สารเริม
่ ทำ�ปฏิกริ ย
ิ า ซึง่ แสดงด้วยสัญลักษณ์
“Δ” (delta) “ความร้อน” หรือ “heat” ไว้บนลูกศร เช่น

Δ
C3H8(g) + 5O2(g) 3CO2(g) + 4H2O(g) + พลังงาน

ทั้งนี้การแสดงสัญลักษณ์บนลูกศรใช้บ่งบอกเงื่อนไขของการเกิดปฏิกิริยาแต่ไม่ได้ระบุว่าเป็นปฏิกิริยา
ดูดหรือคายพลังงาน

สำ�หรับปฏิกิริยาเคมีอื่น ๆ ที่มีการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาหรือใช้แสง สามารถแสดงสัญลักษณ์ไว้บนลูกศร


ได้ในทำ�นองเดียวกัน เช่น

ปฏิกิริยาที่มีโลหะแพลทินัม (Pt) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา

Pt
2CO(g) + O2(g) 2CO2(g)

ปฏิกิริยาที่มีการใช้แสง

แสง
6CO2(g) + 6H2O(l) C6H12O6(s) + 6O2(g)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
34

หน่วยที่ 2
พลังงานทดแทน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
35

เรื่องที่ เชื้อเพลิงทางเลือก พลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียน


4 กิจกรรมที่ 4.1 พลังงานหมุนเวียน

เวลา 45 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายความสำ�คัญของพลังงานหมุนเวียน

วัสดุและอุปกรณ์

ที่ รายการ จำ�นวนต่อกลุ่ม

1 ลูกปัดสีเหลือง 90 ลูก

2 ลูกปัดสีเขียว 10 ลูก

3 ถุงใส่ลูกปัด 1 ถุง

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. นำ�ลูกปัดสีเหลืองจำ�นวน 90 ลูก และลูกปัดสีเขียวจำ�นวน 10 ลูก ใส่ถุงใส่ลูกปัด
2. สุ่มหยิบลูกปัดจำ�นวน 10 ลูก ออกจากถุงใส่ลูกปัด
3. นับและบันทึกจำ�นวนลูกปัดทั้งสองสี
4. ใส่ลูกปัดสีเขียวกลับคืนถุงใส่ลูกปัด ส่วนลูกปัดสีเหลืองให้นำ�แยกออกไว้ต่างหาก
5. ทำ�ซ้ำ�ขั้นที่ 2-4 จำ�นวน 20 รอบ หรือจนกระทั่งไม่มีลูกปัดสีเหลืองในถุงใส่ลูกปัด
6. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำ�นวนลูกปัดสีเหลืองและสีเขียวที่หยิบได้ในแต่ละรอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
36

เรื่องที่ เชื้อเพลิงทางเลือก พลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียน


4 ใบกิจกรรมที่ 4.1 พลังงานหมุนเวียน

ผลการดำ�เนินกิจกรรม
ออกแบบตารางและบันทึกผลการทำ�กิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
37

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนลูกปัดแต่ละสีกับจํานวนรอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
38

คำ�ถามท้ายกิจกรรม
กำ�หนดให้ลูกปัดสีเหลืองแทนพลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ ลูกปัดสีเขียวแทนพลังงานหมุนเวียน
และการหยิบลูกปัดแต่ละครั้งแทนพลังงานที่ใช้ในแต่ละปี

1. แนวโน้มปริมาณการใช้พลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์และพลังงานหมุนเวียนเป็นอย่างไร

2. แนวโน้มแหล่งพลังงานที่ใช้ในอนาคตเป็นพลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์หรือพลังงานหมุนเวียน
เพราะเหตุใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
39

มรู้
ใบควา

พลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียน

เชือ
้ เพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ถอ
ื เป็นแหล่งพลังงานหลักมาตัง้ แต่อดีต แต่กระบวนการเกิดเชือ
้ เพลิงดังกล่าวนัน

ใช้ เ วลานั บ ล้ า นปี ดั ง นั้ น การใช้ เ ชื้ อ เพลิ ง ซากดึ ก ดำ � บรรพ์ ใ นปริ ม าณมากและเพิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ย ๆ จะทำ � ให้
เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ไม่เพียงพอต่อความต้องการ นอกจากนี้การนำ�เชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์มาใช้เป็น
แหล่งพลังงานในยานพาหนะนั้นยังก่อให้เกิดปัญหามลพิษ ดังนั้นจึงมีความจำ�เป็นต้องใช้เชื้อเพลิงทางเลือก
มาเป็นแหล่งพลังงานทดแทนพลังงานจากเชื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ ตัวอย่างพลังงานทดแทนที่นำ�มาใช้
แทนพลั ง งานจากเชื้ อ เพลิ ง ซากดึ ก ดำ � บรรพ์ เช่ น พลั ง งานลม พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร์ พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์
พลังงานชีวมวล พลังงานทดแทนบางประเภท เช่น พลังงานนิวเคลียร์ เป็นพลังงานทีใ่ ช้แล้วหมดไปจึงถือว่าเป็น

ปริมาณกระแสไฟฟ�า (trillion kW/h)


พลังงานสิ้นเปลือง ส่วนพลังงานบางประเภท เช่น พลังงานลม พลังงานชีวมวล เป็นพลังงานที่เกิดขึ้นใหม่
ได้เรื่อย ๆ จึงจัดเป็นพลังงานหมุนเวียน
25
พลังงานหมุนเวียนได้เข้ามามีบทบาทในการเป็นแหล่งพลังงานทีส
่ �ำ คัญทัง้ ในกระบวนการผลิตไฟฟ้าและ
การขนส่ง โดยสัดส่วนของพลังงานหมุนเวียนในการผลิต20พลังงานไฟฟ้าได้เพิ่มขึ้นอย่างเนื่อง ดังรูปที่ 1(ก)
พลังงานไฟฟ้านั้นมีความสำ�คัญเป็นอย่างมากเนื่องมาจากสามารถนำ
0 �ไปใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าได้หลากหลาย
2005 2010 2015 2020 2025 2030 2035 2040 2045
ประเภท ทำ�ให้ความต้องการในการใช้พลังงานไฟฟ้าเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ดังรูปที่ 1(ข)
ป�
สัดส�สัวสัดนแหล� งผลิงตงผลิ
ดส�ส�ววนแหล�
นแหล� พลั
ผลิตงตพลั
งานไฟฟ� า าา
พลังงงานไฟฟ�
งานไฟฟ�
ร�อยละ
ร�ร�ออยละ
ยละ ปริมาณไฟฟ�าที่ผลิตขึ้น
2015
2015
2015 35
100% น้ำมัน้นน้ำำมัมันน
kW/h)

100%
100%
(trillionkW/h)

90%90%
90% นิวเคลี
นินิววยเคลี
ร� ยยร�ร�
เคลี
80%80%
80% 30
งงานไฟฟ้าา(trillion

แก�สแก�
ธรรมชาติ
แก�สสธรรมชาติ
ธรรมชาติ
70%70%
70%
60%60%
60%
50%50%
50% 25
าณกระแสไฟฟ�

ถ�านหิ
ถ�ถ�านานหิ
นหินน
40%40%
40%
30%30%
30%
20
ปริมมาณพลั

20%20%
20% พลังพลั
งานหมุ นเวียนนเวีเวียยนน
พลังงงานหมุ
งานหมุ
10%10%
10%
0% 0% 0
ปริ

0%
2010 2015
2010
2010 2020
2015
2015 2025
2020
2020 2030
2025
2025 2035
2030
2030 2040
2035
20352040
2040 2005 2010 2015 2020 2025 2030 2035 2040 2045
ป�

(ก) สัดส่วนแหล่งพลังงานไฟฟ้า (ข) ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตขึ้น

รูปที่ 1 สัดส่วนแหล่งพลังงานไฟฟ้าและปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นในแต่ละปี

การเปลีย
่ นพลังงานหมุนเวียนให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าอาจทำ�ได้โดยตรง เช่น การเปลีย
่ นพลังงานแสง
เป็นพลังงานไฟฟ้าของเซลล์แสงอาทิตย์บนครื่องคิดเลข หรืออาจเปลี่ยนเป็นพลังงานในรูปแบบอื่นก่อน เช่น
การเปลี่ยนพลังงานน้ำ�เป็นพลังงานไฟฟ้าที่เขื่อนต่าง ๆ หรือการเปลี่ยนพลังงานลมเป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งเกิด
ผ่านพลังงานกล จะเห็นได้ว่าพลังงานไฟฟ้าสามารถผลิตได้จากหลายแหล่ง นอกจากนี้พลังงานไฟฟ้าสามารถ
ผลิตมาจากปฏิกิริยาเคมีดังที่จะได้ศึกษาจากกิจกรรมที่ 4.2 พลังงานไฟฟ้าและปฏิกิริยาเคมี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
40

เรื่องที่ เชื้อเพลิงทางเลือก พลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียน


4 กิจกรรมที่ 4.2 พลังงานไฟฟ้าและปฏิกิริยาเคมี

เวลา 30 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมี

วัสดุ อุปกรณ์และสารเคมี

ที่ รายการ จำ�นวนต่อกลุ่ม

1 สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (NaClO) เข้มข้น 6% โดยมวล 20 mL

2 แผ่นโลหะอะลูมิเนียม (Al) ขนาด 3 cm x 4 cm 1 แผ่น

3 แผ่นโลหะทองแดง (Cu) ขนาด 3 cm x 4 cm 1 แผ่น


4 สายไฟที่ต่อกับคลิปปากจระเข้สีดำ� 1 เส้น

5 สายไฟที่ต่อกับคลิปปากจระเข้สีแดง 1 เส้น
6 หลอด LED ขนาดเล็ก 1 หลอด

7 บีกเกอร์ ขนาด 50 mL 1 ใบ

8 กระดาษทราย ขนาด 3 cm x 3 cm 2 แผ่น

9 กระจกนาฬิกา 1 อัน

10 ถ่านไฟฉาย 1.5 V 1 ก้อน

11 กระบอกตวง ขนาด 15 mL 1 อัน

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. ต่ อ สายไฟที่ ต่ อ กั บ คลิ ป ปากจระเข้ สี ดำ � เข้ า กั บ ขั้ ว ลบของถ่ า นไฟฉาย และต่ อ สายไฟที่ ต่ อ กั บ
คลิปปากจระเข้สีแดงเข้ากับขั้วบวกของถ่านไฟฉาย
2. ต่อสายไฟทีต
่ อ
่ กับคลิปปากจระเข้สด
ี �ำ ทีเ่ หลือเข้ากับขาทีส
่ น
ั้ ของหลอด LED และต่อสายไฟทีต
่ อ
่ กับ
คลิปปากจระเข้สีแดงที่เหลือเข้ากับขาที่ยาวของหลอด LED สังเกตความสว่างของหลอด LED
3. สลับสายไฟที่ต่อกับขาของหลอด LED โดยนำ�สายไฟที่ต่อกับคลิปปากจระเข้สีดำ�ต่อกับขายาว
และสีแดงต่อกับขาสั้น สังเกตความสว่างของหลอด LED
4. ขัดแผ่น Al และแผ่น Cu ด้วยกระดาษทราย
5. เท NaClO ปริมาตร 20 mL ลงในบีกเกอร์ขนาด 50 mL

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
41

6. นำ�สายไฟที่ต่อกับคลิปปากจระเข้สีดำ�ที่ต่อกับถ่านไฟฉายมาต่อกับแผ่น Al และนำ�สายไฟที่ต่อกับ
คลิปปากจระเข้สแ
ี ดงทีต
่ อ
่ กับถ่านไฟฉายมาต่อแผ่นโลหะ Cu จากนัน
้ จุม
่ แผ่น Al และแผ่น Cu ลงใน
NaClO สังเกตความสว่างของหลอด LED
7. สลับสายไฟที่ต่อกับขาของหลอด LED โดยนำ�สายไฟที่ต่อกับคลิปปากจระเข้สีดำ�ต่อกับขาสั้น
และสีแดงต่อกับขายาว สังเกตความสว่างของหลอด LED

ผลการดำ�เนินกิจกรรม
ออกแบบตารางและบันทึกผลการทำ�กิจกรรม

อภิปรายผลการทํากิจกรรม

สรุปผลการทํากิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
42

คำ�ถามท้ายกิจกรรม
1. ในการทดลอง การจุ่มแผ่น Al และแผ่น Cu ลงใน NaClO เพื่อสังเกตความสว่างของหลอด LED
แผ่นโลหะใดเปรียบเสมือนขั้วลบและขั้วบวกของถ่านไฟฉาย เพราะเหตุใด

2. จากข้อ 1 อิเล็กตรอนมีการถ่ายโอนจากขั้วโลหะใดไปที่ขั้วโลหะใด เพราะเหตุใด

3. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในข้อ 1 เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์หรือไม่ เพราะเหตุใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
43

มรู้
ใบควา

พลังงานไฟฟ้ากับการถ่ายโอนอิเล็กตรอน

ปฏิ กิ ริ ย าเคมี บ างประเภทเกิ ด จากการถ่ า ยโอนอิ เ ล็ ก ตรอนของสารในปฏิ กิ ริ ย าเคมี เรี ย กว่ า


ปฏิกิริยารีดอกซ์ (redox reaction) เช่น ปฏิกิริยาในถ่ายไฟฉายซึ่งเป็นแบตเตอรี่ชนิดหนึ่ง มีกระบวนการ
เกิดปฏิกิริยาเคมีดังนี้ ในถ่านไฟฉายมีขั้วสังกะสีซึ่งเป็นขั้วลบให้อิเล็กตรอนออกมา อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่
ไปยั ง ขั้ ว บวกซึ่ ง มี ค าร์ บ อนที่ เ คลื อ บด้ ว ยสารประกอบออกไซด์ ข องแมงกานี ส ทํ า ให้ เ กิ ด กระแสไฟฟ้ า ขึ้ น
ซึ่ ง มี ทิ ศ ทางการเคลื่ อ นที่ ต รงข้ า มกั บ การเคลื่ อ นที่ ข องอิ เ ล็ ก ตรอน ในถ่ า นไฟฉายยั ง มี อิ เ ล็ ก โทรไลต์
ช่วยในการนําไฟฟ้าระหว่างขั้วและทําให้กระแสไฟฟ้าครบวงจร

e- สวิตช

ขั้วบวก e-
แทงคารบอน

โลหะสังกะสี

ขั้วลบ หลอดไฟ

e- ลวดตัวนำ

รูปที่ 1 ทิศทางการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนที่ทําให้เกิดกระแสไฟฟ้า

นอกจากปฏิกริ ย
ิ าทีเ่ กิดขึน
้ ในแบตเตอรีแ
่ ล้ว ปฏิกริ ย
ิ าการเผาไหม้เชือ
้ เพลิงก็เป็นปฏิกริ ย
ิ ารีดอกซ์เช่นกัน
เช่น ปฏิกิริยาการเผาไหม้แก๊สโพรเพน

C3H8(g) + 5O2(g) 3CO2(g) + 4H2O(g)

ในปฏิกิริยาเคมี มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนจากธาตุ C ของ C3H8 ไปยังธาตุ O ของ O2

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
44

เรื่องที่ สารตั้งต้นของพลังงานทดแทน
5 กิจกรรมที่ 5.1 โครงสร้างกับสมบัติของสาร

เวลา 30 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
ระบุความสัมพันธ์ระหว่างสูตรโครงสร้างกับสมบัติความเป็นกรด-เบส

วัสดุและอุปกรณ์

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. พิ จ ารณาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสู ต รโครงสร้ า งของสารประกอบอิ น ทรี ย์ นี้ กั บ สมบั ติ ค วามเป็ น
กรด-เบส

ความเป็น ความเป็น
สารที่ สูตรโครงสร้าง กรด-เบส สารที่ สูตรโครงสร้าง กรด-เบส
H H O
1 H C N H เบส 2 H C C O H กรด
H H H
H H O
3 H C O H กลาง 4 H C C N H กลาง
H H H
O H
O H C O C H
5 กรด 6 กลาง
H C O H
H
H H
O H C N H
C C
7 H C N H กลาง 8 เบส
C C
H H C H
H
H
H O H H C H
C C
9 H C C C H กลาง 10 กลาง
C C
H H H C O H
H

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
45

ความเป็น ความเป็น
สารที่ สูตรโครงสร้าง กรด-เบส สารที่ สูตรโครงสร้าง กรด-เบส
H O
H H H C C O H
C C
11 H C C N H เบส 12 กรด
C C
H H H H C O H
H
H H H O H H
13 H C C O H กลาง 14 H C C O C C H กลาง
H H H H H

2. จัดกลุ่มสูตรโครงสร้างตามสมบัติความเป็นกรด-เบส บันทึกผล
3. พิ จ ารณาสู ต รโครงสร้ า งของสารในกลุ่ ม ที่ มี ส มบั ติ เ ป็ น กรดว่ า มี ก ลุ่ ม อะตอมใดที่ เ หมื อ นกั น
วงกลมล้อมรอบกลุ่มอะตอมที่เหมือนกัน บันทึกผล
4. พิจารณาโครงสร้างของสารในกลุ่มที่มีสมบัติเบสว่ามีกลุ่มอะตอมใดที่เหมือนกัน วงกลมล้อมรอบ
กลุ่มอะตอมที่เหมือนกัน บันทึกผล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
46

เรื่องที่ สารตั้งต้นของพลังงานทดแทน
5 ใบกิจกรรมที่ 5.1 โครงสร้างกับสมบัติของสาร

ผลการดำ�เนินกิจกรรม
ตารางบันทึกสูตรโครงสร้างกลุ่มสารตามสมบัติความเป็นกรด - เบส และวงกลมล้อมรอบกลุ่มอะตอม
ที่เหมือนกัน

กรด เบส

คำ�ถามท้ายกิจกรรม
1. สารที่มีสมบัติเป็นกรด ในสูตรโครงสร้างมีกลุ่มอะตอมใดที่เหมือนกัน

2. สารที่มีสมบัติเป็นเบส ในสูตรโครงสร้างมีกลุ่มอะตอมใดที่เหมือนกัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
47

มรู้
ใบควา

โครงสร้างกับสมบัติของสาร

ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรต่าง ๆ เป็นจำ�นวนมาก การผลิตพลังงาน


หมุนเวียนจากผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรหรือสิ่งเหลือใช้ในกิจกรรมทางการเกษตรถือเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับ
ผลิตผลทางการเกษตร โดยชีวมวลต่าง ๆ อาจแปรรูปให้กลายเป็นเชื้อเพลิงชีวมวล (biofuel) เช่น เอทานอล
ไบโอดีเซล เอทานอลที่เป็นเชื้อเพลิงสามารถเตรียมได้จากการหมักผลิตผลหรือของเหลือทิ้งจากการเกษตร
เช่น อ้อย ข้าวโพด มันสัมปะหลัง กากน้ำ�ตาล ด้วยยีสต์ในภาวะที่มีแก๊สออกซิเจนต่ำ� โดยเมื่อผสมเอทานอลกับ
น้ำ�มันเบนซินจะได้แก๊สโซฮอล์ (gasohol) ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงใช้ในรถยนต์ได้

ไบโอดีเซล (biodiesel) เป็นเชื้อเพลิงที่สามารถเตรียมจากกรดไขมันซึ่งสามารถเตรียมได้จากน้ำ�มันพืช


ไขมันสัตว์ หรือน้�ำ มันทอดอาหารทีใ่ ช้งานแล้วมาทำ�ปฏิกริ ย
ิ ากับแอลกอฮอล์ เช่น เมทานอล โดยมีกรดหรือเบส
เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้เป็นน้ำ�มันไบโอดีเซลซึ่งสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงสำ�หรับรถยนต์ที่ใช้น้ำ�มันดีเซลได้
โครงสร้างกรดไขมันสามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วนใหญ่ คือ โครงสร้างส่วน –COOH และโครงสร้างส่วนทีป
่ ระกอบ
ด้วยคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นส่วนใหญ่ โดยโครงสร้างส่วน –COOH เป็นส่วนที่แสดงสมบัติความเป็นกรด
และเป็นส่วนเกิดปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์ ส่วนโครงสร้างที่ประกอบด้วยคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นส่วนใหญ่
เรียกว่า โครงสร้างส่วนไฮโดรคาร์บอน ดังแสดงในรูปที่ 1

CH3 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 COOH

หรือ
O
CH3 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 C O H

รูปที่ 1 โครงสร้างของกรดไขมันบางชนิดที่แสดงส่วนไฮโดรคาร์บอนและส่วน -COOH


O
CH3 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 CH2 C O H
– C O O H เ ป็ น ก ลุ่ ม อ ะ ต อ ม ที่ แ ส ด ง ส ม บั ติ ท า ง เ ค มี ข อ ง ก ร ด ไ ข มั น ซึ่ ง เ รี ย ก ว่ า หมู่ ฟั ง ก์ ชั น
(functional group) กรดไขมันมีหมู่ฟังก์ชัน คือ หมู่ –COOH ซึ่งสารที่มีเพียงหมู่ –COOH อยู่ในสูตรโครงสร้าง
จั ด เป็ น สารประเภทกรดคาร์ บ อกซิ ลิ ก รู ป ที่ 2 แสดงตั ว อย่ า งสู ต รโครงสร้ า งของกรดคาร์ บ อกซิ ลิ ก เช่ น
กรดฟอร์มิก กรดแอซีติก กรดโพรพาโนอิ ก กรดแอดิ ปิก กรดเทเรฟแทลิ ก โดยหมู่ –COOH แสดงสมบั ติ
ความเป็นกรด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
48

O H O O
H C O H H C C O H C O H
H H C H
C C
กรดฟอร์มิก (formic acid) กรดแอซีติก (acetic acid)
C C
H C H
H H O O H H H H H O
C O H
H C C C O H H O C C C C C C C O H O
H H H H H H H
กรดโพรพาโนอิก กรดแอดิปิก (adipic acid) กรดเทเรฟแทลิก
(propanoic acid) (terephthalic acid)
รูปที่ 2 สูตรโครงสร้างของสารประเภทกรดคาร์บอกซิลิกบางชนิด

สารอินทรีย์ที่แสดงสมบัติความเป็นกรด-เบส นอกจากสารประกอบประเภทกรดคาร์บอกซิลิกแล้วยังมี
สารประกอบประเภทเอมีน ซึ่งมีหมู่ –NH2 อยู่ในสูตรโครงสร้าง โดยหมู่ –NH2 แสดงสมบัติความเป็นเบส
รูปที่ 3 แสดงสูตรโครงสร้างของแอมเฟตามีน (amphetamine) ซึ่งเป็นสารที่มีหมู่ –NH2 อยู่ในสูตรโครงสร้าง
H
H C H
H H
H C C C N H
C C
H H H
C C
H C H
H แอมเฟตามีน (amphetamine)

รูปที่ 3 สูตรโครงสร้างของสารประเภทเอมีนบางชนิด

นอกจาก กรดคาร์บอกซิลิกและเอมีนแล้ว ยังมีสารประกอบอินทรีย์อีกหนึ่งประเภทที่น่าสนใจ คือ


แอลกอฮอล์ ซึ่งสารประเภทนี้สามารถนำ�มาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้โดยตรง หรือนำ�ไปเป็นสารตั้งต้นในการผลิต
พลังงานทดแทนได้ แอลกอฮอล์มีหมู่ฟังก์ชัน คือ หมู่ -OH ตัวอย่างแอลกอฮอล์ ดังรูปที่ 4

H
H H H H O H
H C O H H C C O H H C C C H
H H H H H H
เมทานอล (methanol) เอทานอล (ethanol) โพรพานอล (propanol)

H
H H H O H
H O C C O H H O C C C O H
H H H H H
เอทิลีนไกลคอล (ethylene glycol) กลีเซอรอล (glycerol)

รูปที่ 4 สูตรโครงสร้างสารประเภทแอลกอฮอล์บางชนิด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
49

เรื่องที่ ปฏิกิริยาเคมีของพลังงานทดแทน
6 กิจกรรมที่ 6.1 ปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์

เวลา 30 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
ทดสอบปฏิกิริยาเคมีระหว่างกรดคาร์บอกซิลิกกับแอลกอฮอล์

วัสดุ อุปกรณ์และสารเคมี

ที่ รายการ จำ�นวนต่อกลุ่ม

1 กรดเบนโซอิก 0.5 g (1/2 ช้อนเบอร์ 1)

2 เอทานอล 2 mL

3 สารละลายกรดซัลฟิวริก (H2SO4) เข้มข้น 18 mol/L 3 หยด

4 หลอดทดลองขนาดเล็ก 1 หลอด

5 บีกเกอร์ขนาด 100 mL 1 ใบ

6 กระบอกตวง 1 อัน

7 ตะเกียงแอลกอฮอล์ พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด 1 ชุด

8 ที่จับหลอดทดลอง 1 อัน

9 แท่งแก้วคน 1 อัน

10 เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน

11 สำ�ลี 1 ก้อน

12 ไม้ขีดไฟ 1 กล่อง

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. เติมกรดเบนโซอิก 0.5 g เอทานอล 2 mL และ H2SO4 3 หยด ลงในหลอดทดลอง จากนั้นใช้สำ�ลี
ปิดที่ปลายหลอดทดลอง เขย่าหลอดทดลอง ใช้แท่งแก้วคนแตะสารผสม ดมกลิ่นและบันทึกผล
2. เติมน้ำ�ลงในบีกเกอร์สองในสามของปริมาตรบีกเกอร์ และนำ�ไปอุ่นให้ร้อน ประมาณ 70-90 oC
3. นำ�สารผสมในข้อ 1 มาอุ่นในน้ำ�ร้อนและเขย่าหลอดทดลองเป็นระยะ เมื่อสังเกตเห็นสารผสม
กลายเป็นของเหลวใส ให้อุ่นสารผสมต่ออีกประมาณ 1-2 นาที และดับไฟตะเกียงแอลกอฮอล์
4. ใช้ แ ท่ ง แก้ ว คนแตะสารที่ ไ ด้ จ ากปฏิ กิ ริ ย าแล้ ว ดมกลิ่ น เปรี ย บเที ย บกั บ กลิ่ น สารในข้ อ 1 และ
บันทึกผล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
50

เรื่องที่ ปฏิกิริยาเคมีของพลังงานทดแทน
6 ใบกิจกรรมที่ 6.1 ปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์

ผลการดำ�เนินกิจกรรม
ออกแบบตารางและบันทึกผลการทำ�กิจกรรม

อภิปรายผลการทํากิจกรรม

สรุปผลการทํากิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
51

คำ�ถามท้ายกิจกรรม
1. จงเขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์ของกิจกรรมที่ 6.1 เมื่อกำ�หนดสูตรโครงสร้าง
ของกรดคาร์บอกซิลิก แอลกอฮอล์ และเอสเทอร์ ของปฏิกิริยาเป็นดังนี้

O O
C6H5 C OH HO CH2CHO3 C6H5 C O CH2CH3
กรดคาร์บอกซิลิก C6H5 C OH
แอลกอฮอล์ HO CH2CH3
เอสเทอร์

สมการเคมี O
C6H5 C O CH2CH3

O
C6H5 C OH HO CH2CH3
2. จงเขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์ระหว่างกรดแอซีติกกับเอทานอลที่อุณหภูมิสูง
โดยมีกรดเป็นตัวเร่งปฏิกริ ย O
ิ า ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเอทิลแอซีเตต (เอทิลเอทาโนเอต) และน้�
ำ เมือ
่ กำ�หนด
สูตรโครงสร้างของเอทิลแอซีเตตเป็นดังนี้
C6H5 C O CH2CH3
O
CH3 C O CH2CH3
สมการเคมี

O
CH3 C O CH2CH3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
52

มรู้
ใบควา

ปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์

ไบโอดีเซลซึ่งเป็นสารประกอบประเภทเอสเทอร์เป็นพลังงานทดแทนประเภทหนึ่ง ที่สามารถนำ�มาใช้
ทดแทนเซื้อเพลิงซากดึกดำ�บรรพ์ สารตั้งต้นที่นำ�มาผลิตไบโอดีเซลได้จากแหล่งทรัพยากรหมุนเวียน เช่น
น้ำ�มันพืช ไขมันสัตว์ สาหร่าย ดังนั้นจึงจัดเป็นพลังงานทดแทนประเภทพลังงานหมุนเวียน การสังเคราะห์
ไบโอดีเซลต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีของสารประกอบอินทรีย์บางชนิด โดยก่อนที่จะกล่าวถึง
ปฏิกริ ย O
ิ าเคมีดงั กล่าว ขอกล่าวถึงปฏิกริ ย
ิ าเคมีบางชนิดทีเ่ ป็+นพืน O
้ ฐานในการสังเคราะห์ไบโอดีเซล ปฏิกริ ย
ิ าแรก
H ,
ที่จะกล่าRวถึงC
เป็นปฏิ
OHกิริยาการสั
+ งเคราะห์
HOเอสเทอร์
R ซึ่งเป็นสารประเภทเดียRวกับCไบโอดีOเซลRเรียกปฏิก+ิริยานี้วH่า2O
เอสเทอริฟิเคชัน (esterification) โดยเป็นปฏิกิริยาระหว่างกรดคาร์บอกซิลิกกับแอลกอฮอล์ที่อุณหภูมิสูง
และมีกรดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเอสเทอร์ซึ่งมีกลิ่นแตกต่างไปจากสารตั้งต้น และมีผลิตภัณฑ์
พลอยได้ (by product) เป็นน้ำ� เขียนสมการเคมีทั่วไปได้ดังนี้

O O
H+,
R C OH + HO R ′ R C O R′ + H 2O
กรดคาร์บอกซิลิก แอลกอฮอล์ เอสเทอร์ น้ำ�

O +,
O
เมื่อ R   แทนกลุ H
CH CH C ่มOH
3 2
ของอะตอมของแอลคิ
+ HO CH ล โดยแอลคิ
CH ลคือแอลเคนซึ่งเป็นCH
2 3
สารประกอบไฮโดรคาร์
CH C O CH
3 2
บอนที
CH่มี +
2 3
H 2O
  สูตร CnH2n+2 ทีส
่ ญ
ู เสียไฮโดรเจน 1 อะตอม แอลเคน เช่น CH4 CH3CH3 แอลคิล เช่น –CH3 –CH2CH3
   Δ    แทนความร้อน แสดงว่าปฏิกิริยานี้จะเกิดขึ้นได้ต้องให้ความร้อนกับสารตั้งต้น
    แทนปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ แสดงว่าปฏิกิริยานี้เกิดได้ทั้งไปข้างหน้าและย้อนกลับ

ปฏิกิริยาระหว่างกรดโพรพาโนอิกกับเอทานอลเขียนสมการเคมีได้ดังนี้

O O
O H+, O
CH3CH2 C OH + HO CH2CH3 H+, CH3CH2 C O CH2CH3 + H 2O
CH3CH2 C OH + HO CH2CH3 CH3CH2 C O CH2CH3 + H2O
กรดโพรพาโนอิก เอทานอล เอทิลโพรพาโนเอต

เอสเทอร์ ซึ่ ง เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องปฏิ กิ ริ ย าสามารถทำ � ปฏิ กิ ริ ย ากั บ น้ำ � ย้ อ นกลั บ ไปเป็ น กรดคาร์ บ อกซิ ลิ ก กั บ
แอลกอฮอล์ ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของปฏิกิริยาได้ ดังจะได้ศึกษาต่อไปในกิจกรรมที่ 6.2

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
53

ความรู้เพิ่มเติม
ปฏิกิริยาเคมีบางชนิด สารตั้งต้นสามารถเกิดปฏิกิริยาเคมีเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์
เรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาไปข้างหน้า (forward reaction) และผลิตภัณฑ์สามารถ
เกิดปฏิกิริยาเคมีเปลี่ยนกลับไปเป็นสารตั้งต้น ซึ่งเรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาย้อนกลับ
(reverse reaction) ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ที่ มี ทั้ ง ปฏิ กิ ริ ย าไปข้ า งหน้ า และย้ อ นกลั บ เรี ย กว่ า
ปฏิกิริยาผันกลับได้ (reversible reaction) ซึ่งเขียนแสดงด้วยลูกศร เช่น

ปฏิกิริยาผันกลับได้ H2O(l) + CO2(g) H2CO3(aq)

ปฏิกิริยาไปข้างหน้า H2O(l) + CO2(g) H2CO3(aq)

ปฏิกิริยาย้อนกลับ H2CO3(aq) H2O(l) + CO2(g)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
54

เรื่องที่ ปฏิกิริยาเคมีของพลังงานทดแทน
6 กิจกรรมที่ 6.2 ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ในภาวะกรด

เวลา 30 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
ทดสอบปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ในภาวะกรด

วัสดุ อุปกรณ์และสารเคมี

ที่ รายการ ปริมาณต่อกลุ่ม

1 เอทิลแอซีเตต 10 หยด

2 สารละลายกรดซัลฟิวริก (H2SO4) เจือจาง 1 mol/L 5 หยด

3 หลอดทดลองขนาดเล็ก 1 หลอด

4 บีกเกอร์ขนาด 100 mL 1 ใบ

5 ตะเกียงแอลกอฮอล์ พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด 1 ชุด

6 ที่จับหลอดทดลอง 1 อัน

7 แท่งแก้วคน 1 อัน

8 หลอดหยด 1 อัน

9 เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน
10 สำ�ลี 1 ก้อน

11 ไม้ขีดไฟ 1 กล่อง

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. ใส่เอทิลแอซีเตต 10 หยด และ H2SO4 5 หยด ลงในหลอดทดลอง จากนั้นใช้สำ�ลีปิดที่ปลาย
หลอดทดลอง เขย่าหลอดทดลอง ใช้แท่งแก้วคนแตะสารผสม ดมกลิ่นและบันทึกผล
2. เติมน้ำ�ลงในบีกเกอร์สองในสามของปริมาตรบีกเกอร์ และนำ�ไปอุ่นให้ร้อน ประมาณ 70-90 oC
3. นำ�สารผสมในข้อ 1 มาอุ่นในน้ำ�ร้อนและเขย่าหลอดทดลองเป็นระยะ และใช้แท่งแก้วคนแตะ
สารที่ได้จากปฏิกิริยาแล้วดมกลิ่นเปรียบเทียบกับกลิ่นสารผสมในข้อ 1 และบันทึกผล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
55

ผลการดำ�เนินกิจกรรม
ออกแบบตารางและบันทึกผลการทำ�กิจกรรม

อภิปรายผลการทํากิจกรรม

สรุปผลการทํากิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
56

คำ�ถามท้ายกิจกรรม

1. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์จากกิจกรรมที่ 6.2

2. เพราะเหตุใดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์จึงใช้สารละลายกรดเจือจาง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
57

มรู้
ใบควา

ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ในภาวะกรด

การสังเคราะห์ไบโอดีเซลเพื่อนำ�ไปใช้เป็นพลังงานทดแทนหรือการสังเคราะห์เอสเทอร์ในภาวะกรดนั้น
พบว่ามีผลได้ร้อยละ (% yield) ค่อนข้างน้อยเนื่องจากผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาหรือเอสเทอร์สามารถเกิด
ปฏิ กิ ริ ย าได้ เ ป็ น กรดคาร์ บ อกซิ ลิ ก และแอลกอฮอล์ ซึ่ ง แสดงว่ า ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ร ะหว่ า งกรดคาร์ บ อกซิ ลิ ก
และแอลกอฮอล์ที่เกิดขึ้นเป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ การนำ�เอสเทอร์และน้ำ�ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจาก
ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเ คชันมาทำ�ปฏิกิริยากั นจะได้ ผลิ ตภั ณฑ์ เ ป็ นกรดคาร์ บอกซิ ลิก และแอลกอฮอล์ เรี ยก
ปฏิ กิ ริ ย านี้ ว่ า ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ (hydrolysis of ester) เนื่ อ งจากปฏิ กิ ริ ย าเคมี นี้ มี ก รด
เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาจึงเป็นปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ในภาวะกรด ตัวอย่างปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของ
เอสเทอร์ ใ นภาวะกรด เช่ น ปฏิ กิ ริ ย าไฮโดรลิ ซิ ส ของเอทิ ล โพรพาโนเอตโดยมี ก รดเป็ น ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย า
เขียนสมการเคมีได้ดังนี้

O O
H+ ,
CH3CH2 C O CH2CH3 + H2O CH3CH2 C OH + HO CH2CH3

เอทิลโพรพาโนเอต กรดโพรพาโนอิก เอทานอล

ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์นอกจากใช้กรดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาแล้ว อาจใช้เบสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
ได้ ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ในภาวะเบสจะเหมื อนหรื อแตกต่ า งจากภาวะกรดอย่ า งไรศึ ก ษาจาก
กิจกรรมที่ 6.3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
58

เรื่องที่ ปฏิกิริยาเคมีของพลังงานทดแทน
6 กิจกรรมที่ 6.3 ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ในภาวะเบส

เวลา 30 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
ทดสอบปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ในภาวะเบส

วัสดุ อุปกรณ์และสารเคมี

ที่ รายการ ปริมาณต่อกลุ่ม

1 น้ำ�มันพืช 1 mL

2 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 2.5 mol/L 2 mL

3 เอทานอล 1 mL

4 น้ำ�กลั่น 5 mL

5 ถ้วยกระเบื้อง 1 ใบ

6 ขวดรูปกรวยขนาด 100 mL พร้อมจุกยาง 1 ชุด

7 กระบอกตวงขนาด 10 mL 1 ใบ

8 แท่งแก้วคน 1 อัน

9 ตะเกียงแอลกอฮอล์ พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด 1 ชุด


10 ไม้ขีดไฟ 1 กล่อง

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. ผสมน้ำ�มันพืช 1 mL NaOH 2 mL และ เอทานอล 1 mL ในถ้วยกระเบื้อง สังเกตลักษณะของ
สารผสม
2. ให้ความร้อนและคนตลอดเวลาจนสารในถ้ ว ยกระเบื้ องเกื อบแห้ ง จากนั้ นตั้ งไว้ ให้ เ ย็ น สั งเกต
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
3. เทสารที่ได้ลงในขวดรูปกรวย เติมน้ำ�ลงไปประมาณ 5 mL ปิดจุก เขย่า สังเกตการเปลี่ยนแปลง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
59

เรื่องที่ ปฏิกิริยาเคมีของพลังงานทดแทน
6 ใบกิจกรรมที่ 6.3 ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ในภาวะเบส

ผลการดำ�เนินกิจกรรม
ออกแบบตารางและบันทึกผลการทำ�กิจกรรม

อภิปรายผลการทํากิจกรรม

สรุปผลการทํากิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
60

คำ�ถามท้ายกิจกรรม
1. จงเติมโครงสร้างของสารในช่องว่างของปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสในภาวะกรดของเมทิลเบนโซเอต

เมทิลเบนโซเอต

2. จงเติ ม โครงสร้ า งของสารลงในช่ อ งว่ า งของปฏิ กิ ริ ย าไฮโดรลิ ซิ ส ในสารละลายโซเดี ย มไฮดรอกไซด์


ของเมทิลเบนโซเอต

ขั้นที่ 1

O
C
OCH3 NaOH ,

สาร A สาร B
ขั้นที่ 2

+ NaOH + H2O

สาร A สาร C

3. ปฏิ กิ ริ ย าไฮโดรลิ ซิ ส ของเอสเทอร์ ใ นภาวะกรดเกิ ด ได้ ไ ม่ ส มบู ร ณ์ โดยจะมี เ อสเทอร์ เ หลื อ อยู่ ใ น
ปฏิกริ ย
ิ าเสมอ แต่ปฏิกริ ย
ิ าไฮโดรลิซส
ิ ของเอสเทอร์ในภาวะเบสเกิดได้ดก
ี ว่า โดยมีเอสเทอร์เหลืออยูน
่ ้อย
หรือไม่เหลือในปฏิกิริยาเลย เพราะเหตุใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
61

มรู้
ใบควา

ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ในภาวะเบส

ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ในภาวะเบสได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของกรดคาร์บอกซิลิก (หรือเรียกว่า
เกลือคาร์บอกซิเลต) และแอลกอฮอล์ ซึ่งเรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน (saponification) เช่น
เอทิลโพรพาโนเอต เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส โดยใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้ผลิตภัณฑ์
เป็นกรดโพรพาโนอิก และเอทานอล ดังสมการเคมีขั้นที่ 1 ซึ่งกรดโพรพาโนอิกสามารถทำ�ปฏิกิริยากับ NaOH
ได้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายเป็น โซเดียมโพรพาโนเอต ดังสมการเคมีขั้นที่ 2

ขั้นที่ 1

NaOH

เอทิลโพรพาโนเอต กรดโพรพาโนอิก เอทานอล

ขั้นที่ 2

กรดโพรพาโนอิก โซเดียมโพรพาโนเอต

น้ำ�มันพืชเป็นเอสเทอร์ของกรดไขมันกับกลีเซอรอล มีโครงสร้างทั่วไปดังนี้

โครงสร้างทั่วไปของไขมันหรือน้ำ�มัน

ปฏิ กิ ริ ย าสะปอนนิ ฟิ เ คชั น ของน้ำ � มั น พื ช ในเบสแอลคาไลซึ่ ง เป็ น เบสของโลหะหมู่ IA เช่ น


โซเดี ย มไฮดรอกไซด์ โพแทสเซี ย มไฮดรอกไซด์ ให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ น เกลื อ ของกรดไขมั น ที่ มี ส มบั ติ ค ล้ า ยสบู่
ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชันดังกล่าวนี้มีความคล้ายคลึงกับปฏิกิริยาเคมีในการสังเคราะห์ไบโอดีเซลเนื่องจาก
ใช้ไขมันหรือน้ำ�มันเป็นสารตั้งต้นและทำ�ปฏิกิริยาในเบสแอลคาไล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
62

ความรู้เพิ่มเติม
ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน เดิมหมายถึงปฏิกิริยาการเตรียมสบู่ซึ่งเป็นเกลือของ
กรดไขมันทีไ่ ด้จากปฏิกริ ย
ิ าไฮโดรลิซส
ิ ในสารละลายเบสของไขมันซึง่ เป็นเอสเทอร์ ต่อมา
ชื่อปฏิกิริยานี้โดยทั่วไปนิยมใช้เรียกปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสในสารละลายเบสของเอสเทอร์

AP
SO

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
63

กิจกรรมท้าทาย
มาผลิตไบโอดีเซลกันเถอะ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
64

ท้าทาย
กิจกรรม

มาผลิตไบโอดีเซลกันเถอะ

เวลา 180 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้นข้อมูลและสังเคราะห์ไบโอดีเซล
2. นำ�เสนอข้อมูลการสังเคราะห์ไบโอดีเซล

วัสดุ อุปกรณ์และสารเคมี

ที่ รายการ จำ�นวนต่อกลุ่ม

1 น้ำ�มันพืช

2 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 2.5 mol/L

3 เมทานอล

4 น้ำ�กลั่น

5 หลอดทดลองขนาดใหญ่

6 บีกเกอร์

7 ที่จับหลอดทดลอง

8 แท่งแก้วคน
ตามการออกแบบและ
9 หลอดหยด
วางแผนของนักเรียน
10 กระบอกตวงขนาด 10 mL

11 ตะเกียงแอลกอฮอล์ พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด

12 เทอร์มอมิเตอร์

13 สำ�ลี

14 ไม้ขีดไฟ

15 ขาตั้งพร้อมที่จับ

16 กระดาษปรู๊ฟ

17 ปากกาเมจิก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
65

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. ศึกษาสถานการณ์และใบความรู้ จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อระบุปัญหา วิธีการแก้ปัญหาและ
เงื่อนไขตามสถานการณ์ที่กำ�หนด

สถานการณ์ปัญหา

เชือ
้ เพลิงทีใ่ ช้เป็นแหล่งพลังงานในยานยนต์ เช่น น้�ำ มัน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เบนซิ น น้ำ � มั น ดี เ ซล แก๊ ส แอลพี จี แก๊ ส เอ็ น จี วี ได้ ม าจาก
แก๊สธรรมชาติ น้ำ�มันดิบ ถ่านหิน หินน้ำ�มัน ซึ่งเป็นเชื้อเพลิง
ซากดึกดำ�บรรพ์ โดยเชื้อเพลิงเหล่านี้ส่วนใหญ่มีราคาสูง เกิด
มลพิ ษ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม และใช้ แ ล้ ว หมดไป ดั ง นั้ น พระบาท
สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตรจึงได้มีโครงการพระราชดำ�ริเกี่ยวกับการผลิต
พล
พลังงานทดแทน เช่น ไบโอดีเซลสำ�หรับทดแทนน้ำ�มันดีเซล ัง ง
านท
ดแ ท นเชื้อเพ ลิง
ดีเ ซ

ถ้ า นั ก เรี ย นอยากน้ อ มนำ � แนวคิ ด ดั ง กล่ า วมาผลิ ต ไบโอดี เ ซล


ในโรงเรียน “นักเรียนจะมีวิธีการอย่างไร” โดยมีเงื่อนไขดังนี้

• ทำ�ได้จริงโดยใช้วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีที่กำ�หนด
• ใช้เวลาสังเคราะห์ไม่เกิน 1 ชั่วโมง
• มีวิธีตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นได้ง่าย ๆ
เช่น จากการสังเกต
• ทำ�การทดลองโดยคำ�นึงถึงความปลอดภัย

2. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการผลิตไบโอดีเซล
3. ออกแบบหรือเขียนขั้นตอนการสังเคราะห์ไบโอดีเซล ภายใต้เงื่อนไขที่กำ�หนด
4. นำ�เสนอแบบหรือขั้นตอนการสังเคราะห์ไบโอดีเซล และปรับแก้แบบหรือขั้นตอนการสังเคราะห์
ไบโอดีเซลตามข้อเสนอแนะ (ถ้ามี)
5. วางแผนการการสังเคราะห์ไบโอดีเซล เช่น บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม ความปลอดภัย
ในการทำ�งาน จากนั้นดำ�เนินการสังเคราะห์ไบโอดีเซล
6. นำ�เสนอการดำ�เนินงานตามประเด็นต่อไปนี้
- ปัญหา แนวทางการแก้ปัญหา เงื่อนไขและข้อจำ�กัด
- วิธีการสังเคราะห์ไบโอดีเซล และผลการดำ�เนินงาน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
66

ผลการดำ�เนินกิจกรรม
1. ระบุปัญหา แนวทางการแก้ปัญหา เงื่อนไขและข้อจำ�กัด

2. เขียนแผนผัง แผนภาพ หรือขั้นตอนการสังเคราะห์ไบโอดีเซล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
67

3. ผลการดำ�เนินงาน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
68

คำ�ถามท้ายกิจกรรม
1. น้ำ�มันพืชและไบโอดีเซลเป็นสารอินทรีย์ประเภทใด และมีสูตรโครงสร้างทั่วไปเป็นอย่างไร
น้ำ�มันพืชเป็นสารอินทรีย์ประเภท ไบโอดีเซลเป็นสารอินทรีย์ประเภท

สูตรโครงสร้างทั่วไปของน้ำ�มันพืช สูตรโครงสร้างทั่วไปของไบโอดีเซล

2. กำ�หนดความหนาแน่นของสารเป็นดังนี้

สาร ความหนาแน่น (g/mL)

น้ำ�มันพืช 0.91-0.92

ไบโอดีเซล 0.85–0.90

เมทานอล 0.78-0.79

กลีเซอรอล 1.26–1.27

จงเติมชื่อสารในช่องว่างให้ถูกต้อง

3. ปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันเหมือนและแตกต่างจากปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันอย่างไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
69

มรู้
ใบควา

ปฏิกิริยาเคมีของไบโอดีเซล

นับเป็นความโชคดีอย่างยิ่งของประชาชนชาวไทย ที่ได้เกิดและอาศัยอยู่ภายใต้พระบรมโพธิสมภารใน
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ผู้มีพระวิสัยทัศน์ด้าน
พลังงานทดแทน เพื่อมาใช้แทนพลังงานจากซากดึกดำ�บรรพ์ เช่น น้ำ�มันดิบซึ่งมีราคาแพง เกิดมลพิษกับ
สิง่ แวดล้อม ใช้แล้วหมดไป แนวคิดสำ�คัญหนึง่ ของพลังงานทดแทนคือการนำ�พลังงานพลังงานชีวภาพมาใช้ เช่น
การผลิตไบโอดีเซลจากน้�ำ มันปาล์มเพือ
่ ใช้เป็นน้�ำ มันเชือ
้ เพลิงสำ�หรับเครือ
่ งยนต์ดเี ซล การใช้ไบโอดีเซลนอกจาก
ลดการนำ�เข้าน้ำ�มันดิบจากต่างประเทศแล้ว ยังสร้างรายได้ให้กับชุมชนด้วย
ไบโอดี เ ซลเป็ น สารประกอบเอสเทอร์ โดยอาจผลิ ต ได้ จ าก ปฏิ กิ ริ ย าทรานส์ เ อสเทอริ ฟิ เ คชั น
(transesterification) ของไขมันกับแอลกอฮอล์ เช่น เมทานอล ตัวอย่างดังสมการ
O O
R C O CH2 R C O CH3
O O HO CH2
OH- ,
R C O CH + 3CH3OH R C O CH3 + HO CH
O O HO CH2
R C O CH2 R C O CH3
ไขมันหรือน้ำ�มัน แอลกอฮอล์ ไบโอดีเซล กลีเซอรอล

หมายเหตุ R R’ R” อาจเหมือนหรือต่างกันก็ได้

การสังเคราะห์ไบโอดีเซลจากปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน ควรระวังไม่ให้มีน้ำ�ในระบบมากเกินไป
เช่น ไม่ควรใช้สารละลายเบสเจือจางเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เนื่องจากไขมันหรือน้ำ�มันสามารถเกิดปฏิกิริยา
สะปอนนิฟิเคชันกับน้ำ�ในสารละลายเบสได้เป็นสบู่ ดังสมการ
O
R C O CH2
O
R C O CH
O
R C O CH2
ไขมันหรือน้ำ�มัน
CH3OH H2O
NaOH, NaOH,

O O
3R C O CH3 3R C O− Na+
ไบโอดีเซล สบู่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
70

บันทึกท้ายเล่ม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะทำ�งานพัฒนาหลักสูตร
“เคมีกับพลังงานทดแทน”
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (วิทยาศาสตร์กายภาพ : เคมี)

คณะที่ปรึกษา

ศ.ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์  ผู้อำ�นวยการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


ดร.พรชัย อินทร์ฉาย รองผู้อำ�นวยการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.ชัยวุฒิ เลิศวนสิริวรรณ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.กุศลิน มุสิกุล ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะผู้ยกร่างเอกสารประกอบการอบรมครู

นางสุทธาทิพย์ หวังอำ�นวยพร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


ดร.สนธิ พลชัยยา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.วัชระ เตียทะสินธ์์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะบรรณาธิการ

นางสาวศิริรัตน์ พริกสี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


ผศ.ดร.กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผศ.ดร.เอกรัตน์ ทานาค มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ดร.ภิญโญ วงษ์ทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คณะทำ�งาน

นางสุทธาทิพย์ หวังอำ�นวยพร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


นายภีมวัจน์ ธรรมใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.สุนัดดา โยมญาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.สนธิ พลชัยยา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.อลงกต ใหม่ด้วง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.ณัฐธิดา พรหมยอด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวณญาดา ณ นคร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.ศานิกานต์ เสนีวงศ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.วชิร ศรีคุ้ม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวอุษณีย์ วงศ์อามาตย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.รณชัย ปานะโปย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.นันทยา อัครอารีย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะทำ�งาน (ต่อ)

ดร.ศศิวรรณ เมลืองนนท์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


ดร.วันชัย น้อยวงค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวสุณิสา สมสมัย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวสิริวรรณ จันทร์กูล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวปาณิก เวียงชัย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวปุณยาพร บริเวธานันธ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.เสาวลักษณ์ บัวอิน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวแคทลียา จักขุจันทร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นายจิรวัฒน์ ดำ�แก้ว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางภิญญดา ดำ�ด้วง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวจีรนันท์ เพชรแก้ว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.วิลานี สุชีวบริพนธ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวกมลลักษณ์ ถนัดกิจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.วัชระ เตียทะสินธ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางฉัฐวีณ์ โมรา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นายมนัสศักดิ์ โคตรณรงค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

You might also like