Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(1) : 1-12 (2563) 1

อิทธิพลของวัสดุสิ่งปลูกและการได้ รับแสงที่มีต่อการเจริญเติบโตของถั่วงอก
Influence of Planting Materials and Light Exposure
on Bean Sprout Growth

ปฏิณญา วรรณวาส 1 และ วรางคณา เรี ยนสุ ทธิ์ 2*


Patinya Wannawas 1 and Warangkhana Riansut 2*
Received: 28 December 2018, Revised: 29 April 2019, Accepted: 10 June 2019

บทคัดย่ อ

วัต ถุป ระสงค์ข องการศึ กษาครั้ งนี้ เพื่ อศึ กษาอิ ทธิ พลของวัสดุ สิ่งปลู กและการได้รั บแสงที่ มีผลต่ อ การ
เจริ ญเติ บโตของถัว่ งอก วางแผนการทดลองแบบ 2 × 3 แฟกทอเรี ยล ชนิ ดสุ่ มสมบู รณ์ จานวน 3 ซ้ า ซึ่ งมี ปัจจัย
ในการปลูก คื อ วัส ดุ สิ่ งปลูก 2 ประเภท ได้แ ก่ กระสอบป่ านและดิ นร่ วน และการได้รับแสง 3 รู ปแบบ ได้แ ก่
แสงจากธรรมชาติ แสงจากหลอดไฟ และที่ มืด เก็บข้อมูลการเจริ ญเติ บโต ได้แก่ ร้ อยละการรอดและความยาว
ของถัว่ งอก ผลการวิจยั พบว่า อิทธิ พลของวัสดุสิ่ งปลูกและการได้รับแสงต่อร้อยละการรอดเฉลี่ยของถัว่ งอก
ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p > 0.05) และไม่มีอิทธิ พลร่ วมกันระหว่างวัสดุสิ่งปลูกและการได้รับแสง
ต่อร้อยละการรอดเฉลี่ยของถัว่ งอก แต่ อิทธิ พลของวัสดุ สิ่งปลูกและการได้รับแสงต่อความยาวเฉลี่ยของถัว่ งอก
แตกต่ างกันอย่างมี นัยสาคัญ โดยไม่มีอิทธิ พลร่ วมกันระหว่า งวัสดุ สิ่งปลูกและการได้รับแสงต่ อความยาวเฉลี่ ย
ของถัว่ งอก วัสดุสิ่งปลูกและการได้รับแสงที่มีความเหมาะสมกับการปลูกถัว่ งอก คือ ดินร่ วน และที่มืด ตามลาดับ

คาสาคัญ: ถัว่ งอก, ถัว่ เขียว, วัสดุสิ่งปลูก, การได้รับแสง

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1
สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ตาบลบ้านพร้าว อาเภอป่ าพะยอม จังหวัดพัทลุง 93210
1
Department of Biology, Faculty of Science, Thaksin University, Phattalung Campus, Ban Prao, Papayom, Phattalung 93210, Thailand.
2
สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ตาบลบ้านพร้าว อาเภอป่ าพะยอม จังหวัดพัทลุง
93210
2
Department of Mathematics and Statistics, Faculty of Science, Thaksin University, Phattalung Campus, Ban Prao, Papayom, Phattalung
93210, Thailand.
*
ผูน้ ิพนธ์ประสานงาน ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (Corresponding author, email): warang27@gmail.com Tel: 08 8790 8476
2 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(1) : 1-12 (2563)

ABSTRACT

The objective of this study was to study the influence of planting material and light exposure on bean
sprout growth. The experiments were conducted by a 2 × 3 Factorial experiment using a Completely Randomized
Design with three replications. There were two types of planting materials: hemp sack and loamy soil. Three types
of light exposure were used: natural light, light bulb, and without light. Growth data was collected, including the
survival percentage and the bean sprout length. The result demonstrated that there was no significant difference
(p > 0.05) between the effects of planting materials and light exposure on the survival percentage mean of the
bean sprout. Also, there was no interaction effect between them. However, a significant effect of planting
material and light exposure on the length mean of the bean sprout was found but there was no interaction effect
between them. The suitable planting material was loamy soil and the appropriate light exposure for growing bean
sprout was without light.

Key words: bean sprout, green bean, planting material, light exposure

บทนา เพาะให้เป็ นถัว่ งอกจะสามารถเพิ่มปริ มาณสารพฤษ


ถั่ว งอก (Bean Sprout) คื อ ต้น อ่ อ นระยะ เคมี ด ัง กล่ า วได้ (กัล ยารั ต น์ , ม.ป.ป.) โดยเฉพาะ
แรกเริ่ มงอกของเมล็ดถัว่ เมื่ อพูด ถึ งถัว่ งอกคนไทย ถัว่ งอกจะมีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกเพิ่มขึ้น 4-5
ส่ ว นใหญ่ จ ะนึ ก ถึ ง ถั่ว เขี ย วงอก เนื่ อ งจากคนไทย เ ท่ า เ มื่ อ เ ที ย บ กั บ เ ม ล็ ด ถั่ ว เ ขี ย ว มี ป ริ ม า ณ
คุน้ เคยกับถัว่ งอกมาช้านาน (สุ พรรณี , 2555) ถัว่ งอก สารประกอบฟาโวนอยด์สูงกว่าในเมล็ดถึ ง 10 เท่ า
เป็ นพื ชที่ ใช้ระยะเวลาในการปลูกสั้น สามารถปลูก และมี ค วามสามารถที่ จ ะต้า นการออกซิ เ ดชั่น ของ
ได้ต ลอดทั้ง ปี อาจจะปลู ก เพื่ อ การบริ โ ภคภายใน อนุ มู ลอิ ส ระได้ดี กว่ า เมล็ด (สกุ ลกานต์ และคณะ,
ครัวเรื อนหรื อปลูกเพื่อธุ รกิจก็ได้ เนื่ องจากมีข้ นั ตอน 2559) ถึงแม้ว่าถัว่ งอกจะมีคุณค่ าทางอาหารสู ง แต่ ก็
หรื อกรรมวิ ธี ใ นการปลู ก ที่ ง่ า ย รวดเร็ ว สะดวก ยัง มี สิ่ ง ที่ เ ป็ นอัน ตรายต่ อ ร่ า งกายทั้ง สารพิ ษ ต่ า งๆ
ต้น ทุ น ต่ า มี คุ ณ ค่ า ทางอาหาร มี โ ปรตี น วิ ต ามิ น บี ที่ เ กิ ด จากถัว่ งอกเองและเกิ ด จากการใช้ส ารเคมี ใน
วิ ต ามิ น ซี เส้ น ใยอาหาร เกลื อ แร่ และแคเลอรี่ ต่ า ขั้นตอนการปลูก รวมถึ งระบบการปลูกที่ ไม่สะอาด
(นิ พ นธ์ , 2548) นอกจากนี้ ยัง มี ก ารรายงานว่ า การ อาจทาให้เ กิ ด การปนเปื้ อนของเชื้ อจุ ลินทรี ย ์ที่ เ ป็ น
บริ โภคถัว่ ช่วยลดความเสี่ ยงในการเกิดโรคต่างๆ เช่น อันตรายต่อสุ ขภาพ เชื้ อจุลินทรี ยท์ ี่ทาให้เกิดโรค เช่น
โรคหลอดเลื อดหัวใจ โรคเบาหวาน โรคอ้วน โรค เชื้ อ Samonella และ E. coli โดยมีรายงานการระบาด
เกี่ ย วกับระบบย่ อยอาหาร และโรคมะเร็ ง เป็ นต้น ของเชื้ อโรคนี้ ที่มีตน้ เหตุ เกิ ดจากการบริ โภคถัว่ งอก
เนื่ องจากถัว่ อุดมไปด้วยสารพฤกษเคมีหรื อสารเคมีที่ ดิ บ ดัง นั้น ก่ อนบริ โ ภคถั่ว งอกควรลวกให้สุ กก่ อ น
พืชผลิตขึ้นเพื่อป้องกันตนเองจากโรคและแมลงต่างๆ เนื่ องจากสารไฮดรอกซัลไฟต์ที่ใช้ฟ อกสี ที่ มีอยู่ใน
เช่ น สารประกอบฟี โนลิ ค (ฟี โนลิ ค, ฟลาโวนอยด์, ถัว่ งอกจะถู กท าลายได้ด ้วยความร้ อ น และไม่ ค วร
แทนนิ น ) และยังมี ร ายงานอี กว่า การนาเมล็ด ถัว่ มา เลื อกถัว่ งอกที่ มีสีขาวผิดปกติ รวมถึ งควรหลี กเลี่ ยง
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(1) : 1-12 (2563) 3

ถั่ ว งอกที่ มี สี คล้ า (นิ พนธ์ , 2548) ส าหรั บ การ ไม่ ไ ด้รั บ แสงใดๆ หรื อการปลู ก ในที่ มื ด ผลจาก
เพาะปลู กถัว่ งอกเพื่ อ การจาหน่ า ยจาเป็ นต้องมี การ การศึกษาครั้งนี้สามารถนาไปต่อยอดเพื่อผลิตถัว่ งอก
พัฒ นาเพื่ อ ให้ไ ด้ถ ั่ว งอกที่ มี ค วามปลอดภัย และน่ า สาหรับจาหน่ ายให้แก่กลุ่มผูร้ ักสุ ขภาพที่ชื่นชอบการ
รับประทาน ดึงดูดผูบ้ ริ โภคให้ได้มากที่สุด จะเห็นได้ รับประทานถัว่ งอกต่อไป
ว่า ถัว่ งอกเป็ นพื ช ที่ มีประโยชน์ต่ อสุ ข ภาพมากมาย
และเป็ นที่ คุน้ เคยในการบริ โภค แต่ ผูบ้ ริ โภคหลาย วิธีดาเนินการวิจัย
ท่ า นรั บ ประทานถัว่ งอกที่ ซ้ื อมาจากตลาดอย่า งไม่ การศึ กษาอิทธิ พลของวัสดุสิ่งปลูกและการ
สนิ ท ใจ เนื่ อ งจากกัง วลเกี่ ย วกับ สารพิ ษ และ ได้รั บ แสงที่ มี ผ ลต่ อ การเจริ ญเติ บ โตของถั่ว งอก
เชื้ อจุ ลินทรี ยท์ ี่ ปนเปื้ อนมากับถัว่ งอก ด้วยเหตุ ผ ล ด าเนิ น การวิ จัย ที่ ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัย
ดังกล่าว ผูว้ ิจยั จึงมีความสนใจที่จะศึกษาอิทธิ พลของ ทั ก ษิ ณ วิ ท ยาเขตพั ท ลุ ง ระหว่ า งวั น ที่ 8 - 11
วั ส ดุ สิ่ งปลู ก และการได้ รั บ แสงที่ มี ผ ลต่ อ การ พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 โดยเป็ นการเตรี ยมเมล็ด 1 วัน
เจริ ญ เติ บ โตของถัว่ งอก เพื่ อ ใช้ใ นการผลิ ต ถัว่ งอก และปลูกเมล็ดถัว่ เขี ยว 3 วัน วางแผนการทดลองแบบ
สาหรั บการบริ โภคในมื้อเดี ยว หรื อเหมาะสาหรั บ 2 × 3 แฟกทอเรี ยลชนิดสุ่ มสมบูรณ์ (2 × 3 Factorial in
อาหารจานเดี ย วเท่ า นั้น โดยวัส ดุ สิ่งปลู กที่ ศึ กษา Completely Randomized Design) จ า น ว น 3 ซ้ า
ได้แ ก่ กระสอบป่ านและดิ น ร่ ว น เนื่ อ งจากผล (วรางคณา, 2559) ซึ่ งมีปัจจัยในการปลูกดังนี้
การศึกษาของวิศลั ย์ และคณะ (2548) พบว่า ถัว่ เขียว ปัจจัยที่ 1 (ปั จจัย A) วัสดุสิ่งปลูก 2 ประเภท
เป็ นพืชที่ข้ ึ นได้ดีในดินร่ วนหรื อดินเหนี ยว อีกทั้งยัง ได้แก่ กระสอบป่ าน (A1) และดินร่ วน (A2)
ทนแล้งได้ดี และจากรายงานของเพจวิชาชี วิต (2018) ปั จจัย ที่ 2 (ปั จจัย B) การได้รับแสง 3
พบว่า การเพาะถัว่ งอกคอนโดโดยใช้กระสอบป่ าน รู ปแบบ ได้แ ก่ แสงจากธรรมชาติ (B1) แสงจาก
เป็ นการลงทุนต่ า แต่ได้กาไรสู ง เนื่ องจากไม่ตอ้ งใช้ หลอดไฟ (B2) และที่มืด (B3)
พื้ นที่ มาก เพราะเป็ นการเพาะถัว่ งอกขึ้ นในแนวตั้ง 1. การเตรียมเมล็ด
ส าหรั บ การได้ รั บ แสงที่ ศึ ก ษา ได้ แ ก่ แสงจาก 1.1 น าเมล็ ด ถั่ว เขี ย วมาล้า งท าความ
ธรรมชาติ แสงจากหลอดไฟ และที่ มื ด เนื่ อ งจาก สะอาด เพื่ อกาจัดสิ่ งสกปรกที่ ปนเปื้ อน ตากลมให้
การศึ กษาส่ วนใหญ่ แ นะนาว่า การปลู กถั่วงอกควร แห้งพอหมาดๆ แล้วคัดเมล็ดที่ สมบูรณ์เพื่อใช้ในการ
ปลู ก ในที่ มื ด เพราะขณะที่ ถ ั่ ว งอกเจริ ญเติ บ โต ปลูก โดยจัดเป็ นชุ ด ชุ ดละ 60 เมล็ด จานวน 18 ชุ ด
ไม่ตอ้ งการแสงสว่าง เนื่ องจากเมื่อถัว่ งอกถูกแสงจะ ใส่ ใ นผ้า ขาวบางขนาด 5 × 5 นิ้ ว เพื่ อห่ อแยกเมล็ด
เกิ ดการสังเคราะห์คลอโรฟิ ลด์และแอนโธไซยานิ น เป็ นชุ ด แล้ว บรรจุ ในแก้ว 1 ชุ ด /แก้ว พร้ อ มทั้ง ติ ด
ขึ้น ทาให้ส่วนบนของหัวถัว่ งอกเกิดสี เขียวและสี ม่วง หมายเลข 1 - 18 ไว้ที่ แ ก้ว เพื่ อใช้ใ นการสุ่ มหน่ ว ย
อีกทั้งใบเลี้ยงจะโผล่ข้ ึนมาไม่น่ารับประทาน (จิราภา, ทดลองให้ได้รับปัจจัยในการปลูกต่อไป
2559; สกุลกานต์ และคณะ, 2559; นริ นทร์ , ม.ป.ป.) 1.2 นาเมล็ดถัว่ เขี ยวที่ ห่อด้วยผ้าขาวบาง
อย่างไรก็ตาม เพื่อเป็ นการยืนยันผลการวิจยั ตามที่ได้ แช่น้ าค้างคืน 1 คืน หรื อประมาณ 8 ชัว่ โมง เมล็ดถัว่
สื บค้นมา การศึกษาครั้งนี้ผวู ้ ิจยั ได้ทดลองปลูกถัว่ งอก จะเริ่ มมีรากเล็กๆ โผล่ออกมา
โดยให้ได้รับแสง 2 รู ปแบบ คื อ แสงจากธรรมชาติ
และแสงจากหลอดไฟ เปรี ยบเที ยบกับการปลูกโดย
4 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(1) : 1-12 (2563)

2. การเตรียมอุปกรณ์ ปลูก - แสงจากหลอดไฟ โดยการวางชุ ด


2.1 เตรี ยมถุงดาขนาดกว้าง 4 นิ้ว ยาว 4 นิ้ว ปลู กชุ ดที่ 2 (จานวน 6 หน่ วยทดลอง เนื่ องจากมี 2
และสู ง 8 นิ้ว จานวน 18 ถุง หรื อ 18 หน่วยทดลอง วัส ดุ ป ลู ก จ านวน 3 ซ้ า) ไว้ที่ โ ต๊ ะ ที่ มี โ คมไฟแบบ
2.2 เตรี ยมวัสดุ สิ่ งปลู ก ได้แก่ กระสอบ หลอดไส้ ขนาด 60 วัตต์ เพื่อให้ได้รับแสงจากโคมไฟ
ป่ านและดินร่ วน โดยตัดกระสอบป่ านขนาด 4 × 4 นิ้ว 8 ชั่วโมง คื อ เวลา 8.00-16.00 น. เมื่ อครบ 8 ชั่วโมง
ซึ่ งเท่ากับขนาดก้นถุงดา จานวน 9 ถุง และถุงดาที่ นาไปวางไว้ในที่มืด (ตูท้ ึบแสง) โดยสาเหตุที่ใช้โคม
เหลืออีก จานวน 9 ถุง ใส่ ดินร่ วน 100 กรัม/ถุง ไฟแบบหลอดไส้ ขนาด 60 วัต ต์ เนื่ อ งจากเป็ น
2.3 เตรี ยมสถานที่เพื่อให้ถวั่ เขียวได้รับแสง อุปกรณ์ที่มีในห้องทดลองของมหาวิทยาลัย
แตกต่างกัน 3 รู ปแบบ ได้แก่ - ที่ มืด โดยการวางชุ ดปลูกชุ ดที่ 3
- แสงจากธรรมชาติ โดยการวางชุ ด (จ านวน 6 หน่ ว ยทดลอง เนื่ อ งจากมี 2 วัส ดุ ป ลู ก
ปลู กชุ ดที่ 1 (จานวน 6 หน่ วยทดลอง เนื่ องจากมี 2 จานวน 3 ซ้ า) ไว้ในตูท้ ึบแสง เพื่อไม่ให้ได้รับแสง
วัสดุปลูก จานวน 3 ซ้ า) ไว้ใกล้หน้าต่างเพื่อให้ได้รับ 2.4 ชุดปลูก จานวน 3 ชุด ชุดละ 6 หน่วย
แสงจากดวงอาทิตย์ 8 ชัว่ โมง คือ เวลา 8.00-16.00 น. ทดลอง รวม 18 หน่ วยทดลอง แสดงดังภาพที่ 1
เมื่อครบ 8 ชัว่ โมง นาไปวางไว้ในที่มืด (ตูท้ ึบแสง)

แสงจากธรรมชาติ แสงจากหลอดไฟ ที่มืด

ซ้ าที่ 1

ซ้ าที่ 2

ซ้ าที่ 3

ดินร่ วน ดินร่ วน ดินร่ วน

กระสอบป่ าน กระสอบป่ าน กระสอบป่ าน

ภาพที่ 1 ชุดปลูก จานวน 3 ชุด ชุดละ 6 หน่วยทดลอง รวม 18 หน่วยทดลอง

3. วิธีการปลูก (แสงจากธรรมชาติ แสงจากหลอดไฟ และที่มืด) อย่าง


3.1 สุ่ มเมล็ดถัว่ เขียวที่จดั ไว้เป็ นชุดในแก้ว สุ่ มสมบูรณ์ จานวน 3 ซ้ า (วิบูลย์, 2559) ได้ผลการสุ่ ม
ชุดละ 60 เมล็ด จานวน 18 ชุด ลงปลูกในชุดปลูกตาม ดังตารางที่ 1 หลังจากที่ทาการสุ่ มลงเมล็ดถัว่ เขียวแล้ว
ภาพที่ 1 เพื่อให้ได้รับปั จจัยในการปลูก คือ วัสดุสิ่ง เกลี่ยเมล็ดให้ทวั่ ถุงดา ได้ผลแสดงดังภาพที่ 2
ปลูก (กระสอบป่ านและดินร่ วน) และการได้รับแสง
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(1) : 1-12 (2563) 5

ตารางที่ 1 ลาดับการสุ่ มเมล็ดถัว่ เขียวให้ได้รับปัจจัยในการปลูก


ปัจจัย B (การได้ รับแสง)
ปัจจัย A
ซ้า B1 B2 B3
(วัสดุสิ่งปลูก)
(แสงจากธรรมชาติ) (แสงจากหลอดไฟ) (ที่มืด)
1 10 14 5
A1
2 3 4 18
(กระสอบป่ าน)
3 9 17 7
1 6 15 1
A2
2 13 16 2
(ดินร่ วน)
3 8 12 11

แสงจากธรรมชาติ แสงจากหลอดไฟ ที่มืด

ซ้ าที่ 1

ซ้ าที่ 2

ซ้ าที่ 3

ดินร่ วน กระสอบป่ าน ดินร่ วน กระสอบป่ าน ดินร่ วน กระสอบป่ าน

ภาพที่ 2 การสุ่ มเมล็ดถัว่ เขียวเพื่อให้ได้รับปั จจัยในการปลูก

4. การดูแล 5. การเก็บข้ อมูล


4.1 รดน้ าให้ทวั่ จนชื้ น โดยใช้ปริ มาณน้ า 5.1 ร้อยละการรอดของถัว่ งอก คานวณ
เท่ากันในทุกๆ หน่วยทดลอง รดน้ าวันละ 2 ครั้ง คือ ได้ดงั สมการที่ (1)
เวลา 8.00 น. และ 16.00 น. เป็ นเวลา 3 วัน ระหว่าง
วัน ที่ 9 - 11 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2561 และเก็ บ เกี่ ย ว
ผลผลิตในเช้าวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

จานวนถัว่ งอก
ร้อยละการรอด = × 100 (1)
60
6 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(1) : 1-12 (2563)

ส าหรั บ ร้ อ ยละการรอดของถั่ว งอกจะ ทั้งหมดที่ลงปลูกในแต่ละหน่วยทดลอง หรื อสุ่ มวัด 5 จุด


พิจารณาเฉพาะถัว่ งอกที่ มีความสมบูรณ์หรื อมีความ จุดละ 6 ต้น รวมเป็ น 30 ต้น/หน่วยทดลอง จาก
ยาวมากกว่า 1 เซนติเมตร จึงถือว่าเป็ นถัว่ งอก จานวน 60 เมล็ด/หน่วยทดลอง โดยจุดที่สุ่มวัด
5.2 ความยาวของถัว่ งอก (เซนติเมตร) จะ ถัว่ งอกทั้ง 5 จุด คือ 4 จุดจากมุมที่ขอบของถุงดา และ
วัดด้วยไม้บรรทัด ดังภาพที่ 3 โดยดาเนินการสุ่ มวัด ตรงกลางถุงดาอีก 1 จุด
แบบไม่ใส่ คืนร้อยละ 50 ของจานวนเมล็ดถัว่ เขียว

ภาพที่ 3 การวัดความยาวของถัว่ งอก

6. การวิเคราะห์ ข้อมูล การทดสอบการเปรี ยบเที ยบพหุ คูณของปั จจัยหลักที่


6.1 น าข้อ มู ล การเจริ ญ เติ บ โต ได้แ ก่ มีความแตกต่างทางสถิติ (วรางคณา, 2559)
ร้อยละการรอดและความยาวของถัว่ งอก มาวิเคราะห์ 6.3 นาความคลาดเคลื่ อนที่ ได้จากการ
ความแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) วิ เ คราะห์ ค วามแปรปรวนมาตรวจสอบข้อ สมมุ ติ
แบบแฟกทอเรี ย ลชนิ ด สุ่ ม สมบู ร ณ์ ที่ มี 2 ปั จ จัย (Assumption) ของการวิ เ คราะห์ ค วามแปรปรวน
(วรางคณา, 2559) ได้แก่ ตรวจสอบการแจกแจงปรกติ ด้วยการทดสอบ
6.2 พิ จารณาการมี นัยสาคัญของปั จจัย คอลโมโกรอฟ-สมี ร์ น อฟ (Kolmogorov-Smirnov
หลักทั้ง 2 ปั จจัย ได้แ ก่ วัส ดุ สิ่ งปลู กและการได้รั บ Test) แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม เ ท่ า กั น ข อ ง ค ว า ม
แสง และพิ จารณาการมี นัย ส าคัญของอิ ทธิ พ ลร่ ว ม แปรปรวน ด้ว ยการทดสอบของเลวี น ภายใต้ก าร
ของปั จจัยหลักทั้ง 2 ปั จจัย ถ้าพบว่ามีนยั สาคัญจะทา ใ ช้ มั ธ ย ฐ า น (Levene’s Test based on Median)
การเปรี ยบเที ย บค่ า เฉลี่ ย ด้ ว ยการทดสอบการ (วรางคณา, 2559)
เปรี ยบเที ยบพหุ คูณ (Multiple Comparisons Test)
ด้วยการทดสอบของตูกีย ์ (Tukey’s Test) หากพบว่า ผลการวิจัยและวิจารณ์ ผล
อิทธิ พลร่ วมมีความแตกต่างทางสถิติ จะเปรี ยบเทียบ การศึ กษาอิทธิ พลของวัสดุสิ่งปลูกและการ
ค่ า เฉลี่ ย ด้ว ยการทดสอบการเปรี ยบเที ย บพหุ คู ณ ได้รับแสงที่ มีผลต่ อการเจริ ญเติ บโตของถัว่ งอก ได้
เฉพาะอิ ท ธิ พ ลร่ วมเท่ า นั้น แต่ ถ ้า อิ ท ธิ พ ลร่ ว มไม่ มี เก็บรวบรวมข้อมูลการเจริ ญเติบโต ได้แก่ ร้อยละการ
ความแตกต่ างทางสถิ ติ จะเปรี ยบเที ยบค่ าเฉลี่ ยด้วย รอดและความยาวของถัว่ งอก ดังนี้
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(1) : 1-12 (2563) 7

1. ร้ อยละการรอดของถั่วงอก วิเคราะห์ความแปรปรวนของร้อยละการรอดของ
ร้อยละการรอดของถัว่ งอก ซึ่ งคานวณได้ ถัว่ งอก แสดงดังตารางที่ 3
จากสมการที่ (1) แสดงดังตารางที่ 2 และผลการ

ตารางที่ 2 ร้อยละการรอดของถัว่ งอก


ปัจจัย B (การได้ รับแสง)
ปัจจัย A
ซ้า B1 B2 B3
(วัสดุสิ่งปลูก)
(แสงจากธรรมชาติ) (แสงจากหลอดไฟ) (ที่มืด)
1 100.00 95.00 96.67
A1 2 98.33 96.67 91.67
(กระสอบป่ าน) 3 96.67 100.00 90.00
ค่ าเฉลีย่ 98.33 97.22 92.78
1 98.33 98.33 98.33
A2 2 98.33 96.67 96.67
(ดินร่ วน) 3 96.67 98.33 98.33
ค่ าเฉลีย่ 97.78 97.78 97.78

ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของร้อยละการรอดของถัว่ งอก


ส่ วนเบี่ยงเบน
ปัจจัย ค่ าเฉลีย่ F p-value
มาตรฐาน
กระสอบป่ าน 96.11 3.44
วัสดุสิ่งปลูก 3.110 0.103
ดินร่ วน 97.78 0.83
แสงจากธรรมชาติ 98.06 1.25
การได้รับแสง แสงจากหลอดไฟ 97.50 1.75 3.231 0.075
ที่มืด 95.28 3.56
อิทธิ พลร่ วม 3.231 0.075

จากตารางที่ 3 พบว่า การปลูกถัว่ เขี ยวโดยใช้กระสอบป่ าน หรื อการปลูก


1. ปั จ จัย ด้า นวัส ดุ สิ่ ง ปลู ก ที่ แ ตกต่ า งกัน ถัว่ เขี ยวโดยใช้ดินร่ วนไม่ทาให้ร้อยละการรอดเฉลี่ย
(กระสอบป่ านและดิ นร่ วน) ไม่มีอิทธิ พลต่อร้อยละ ของถัว่ งอกแตกต่างกันทางสถิติ
การรอดเฉลี่ยของถัว่ งอกอย่างมีนยั สาคัญ กล่าวคื อ
8 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(1) : 1-12 (2563)

2. ปั จจัยด้านการได้รับแสงที่ แตกต่ างกัน 0.508, p-value = 0.959, Kolmogorov-Smirnov Z =


(แสงจากธรรมชาติ แสงจากหลอดไฟ และที่มืด) ไม่มี 0.581, p-value = 0.888 และ Levene Statistic =
อิ ทธิ พลต่อร้อยละการรอดเฉลี่ย ของถัว่ งอกอย่า งมี 1.427, p-value = 0.301 ตามลาดับ)
นัยสาคัญ กล่าวคือ การปลูกถัว่ เขีย วในแสงจาก ผลการตรวจสอบข้ อ สมมุ ติ ของการ
ธรรมชาติ หรื อ การปลูก ถัว่ เขี ย วในแสงจาก วิเคราะห์ความแปรปรวน พบว่า ความคลาดเคลื่อน
หลอดไฟ หรื อ การปลูก ถัว่ เขี ย วในที่ มืด ไม่ทาให้ ของร้อยละการรอดของถัว่ งอกเมื่อใช้วสั ดุสิ่งปลูกทั้ง
ร้อ ยละการรอดเฉลี ่ย ของถัว่ งอกแตกต่า งกัน ทาง 2 ประเภทและได้รับแสงทั้ง 3 รู ปแบบ มีการแจกแจง
สถิติ ปรกติ แ ละมี ค วามแปรปรวนเท่ า กัน ท าให้ผ ลการ
3. ปั จจัยร่ วมระหว่างวัสดุสิ่งปลูกและการ วิ เ คราะห์ ค วามแปรปรวนที่ ไ ด้ มี ค วามถู ก ต้ อ ง
ได้รับแสงไม่มีอิทธิ พลต่อร้อยละการรอดเฉลี่ยของ น่าเชื่อถือ
ถัว่ งอกอย่างมีนยั สาคัญ กล่าวคือ การปลูกถัว่ เขียว ผลการศึ กษาร้อยละการรอดของถัว่ งอกที่
โดยใช้ปัจจัยร่ วมไม่ทาให้ร้อยละการรอดเฉลี่ยของ เกิ ดขึ้ นสามารถอภิ ปรายผลได้ดงั นี้ วัสดุสิ่งปลูกและ
ถัว่ งอกแตกต่างกันทางสถิติ อาทิ เช่ น การปลูกถัว่ การได้รับแสงส่ งผลให้ร้อยละการรอดของถัว่ งอกไม่
เขี ย วโดยใช้ ก ระสอบป่ านและให้ ไ ด้รั บ แสงจาก มีความแตกต่างกันทางสถิติ สอดคล้องกับการศึ กษา
ธรรมชาติ กบั การปลูกถัว่ เขี ยวโดยใช้ดินร่ วนและให้ ของวิศลั ย์ และคณะ (2548) ที่พบว่า การปลูกถัว่ งอก
ได้รับแสงจากหลอดไฟไม่ทาให้ร้อยละการรอดเฉลี่ย จากเมล็ดถัว่ เขียวจะเจริ ญหรื อมีโอกาสรอดได้ดีในดิน
ของถัว่ งอกแตกต่างกันทางสถิติ เป็ นต้น ทุ ก ชนิ ด เพี ย งแต่ ใ ห้ มี ธ าตุ อ าหารและความชื้ น ที่
เมื่ อ น าความคลาดเคลื่ อ นที่ ไ ด้ จ ากการ เพี ย งพอเท่ า นั้น และสอดคล้อ งกับ การศึ ก ษาของ
วิ เ คราะห์ ค วามแปรปรวนมาตรวจสอบข้อ สมมุ ติ คริ ษฐ์สพล (2560) ที่ พบว่า แสงสว่างที่ ส่องไปที่ พืช
ได้ผลการตรวจสอบดังนี้ มากส่ งผลให้อตั ราการเจริ ญเติบโตลดลง โดยถ้าแสง
- ความคลาดเคลื่อนของร้อยละการรอดของ สว่ า งที่ ไ ม่ ไ ด้ม ากนัก จะไม่ ส่ ง ผลให้พื ช ล้มตาย แต่
ถัว่ งอกเมื่อใช้วสั ดุสิ่งปลูกทั้ง 2 ประเภท (กระสอบ กลับ ท าให้พื ช สามารถสั งเคราะห์ แ สงได้ม ากและ
ป่ านและดิ นร่ ว น) มี การแจกแจงปรกติ และมี ค วาม เจริ ญเติบโตได้ดีกว่า
แปรปรวนเท่ากัน (Kolmogorov-Smirnov Z = 0.502, 2. ความยาวของถั่วงอก
p-value = 0.963, Kolmogorov-Smirnov Z = 1.243, ความยาวของถั่ ว งอกจากการสุ่ มวั ด
p-value = 0.091 และ Levene Statistic = 4.888, p- จานวน 30 ต้น/หน่วยทดลอง คานวณเป็ นค่าเฉลี่ยใน
value = 0.052 ตามลาดับ) แต่ละหน่ วยทดลอง แสดงดังตารางที่ 4 และแสดง
- ความคลาดเคลื่อนของร้อยละการรอดของ การเปรี ยบเทียบความยาวและสี ของถัว่ งอก ดังภาพที่
ถัว่ งอกที่ได้รับแสงทั้ง 3 รู ปแบบ (แสงจากธรรมชาติ 4 สาหรับผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของความ
แสงจากหลอดไฟ และที่มืด) มีการแจกแจงปรกติและ ยาวของถัว่ งอก แสดงดังตารางที่ 5
มีความแปรปรวนเท่ากัน (Kolmogorov-Smirnov Z =
0.430, p-value = 0.993, Kolmogorov-Smirnov Z =
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(1) : 1-12 (2563) 9

ตารางที่ 4 ความยาวของถัว่ งอก (เซนติเมตร)


ปัจจัย B (การได้ รับแสง)
ปัจจัย A
ซ้า B1 B2 B3
(วัสดุสิ่งปลูก)
(แสงจากธรรมชาติ) (แสงจากหลอดไฟ) (ที่มืด)
1 5.42 4.83 5.53
A1 2 6.01 5.28 6.36
(กระสอบป่ าน) 3 5.50 5.42 7.33
ค่ าเฉลีย่ 5.64 5.18 6.41
1 7.23 7.59 7.55
A2 2 6.97 7.64 8.60
(ดินร่ วน) 3 6.19 7.28 7.73
ค่ าเฉลีย่ 6.80 7.50 7.96

A1xB1 A2xB1 A1xB2 A2xB2 A1xB3 A2xB3

ภาพที่ 4 การเปรี ยบเทียบความยาวและสี ของถัว่ งอก

ตารางที่ 5 ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของความยาวของถัว่ งอก


ค่ าเฉลีย่ ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ปัจจัย F p-value
(เซนติเมตร) (เซนติเมตร)
กระสอบป่ าน 5.74 b 0.74
วัสดุสิ่งปลูก 45.913 0.000*
ดินร่ วน 7.42 a 0.65
แสงจากธรรมชาติ 6.22 d 0.75
การได้รับแสง แสงจากหลอดไฟ 6.34 d 1.30 5.994 0.016*
ที่มืด 7.18 c 1.08
อิทธิ พลร่ วม 1.934 0.187
* แทนการมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05
ค่าเฉลี่ยตามแนวตั้งที่มีตวั อักษรต่างกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ ที่ระดับ 0.05 เมื่อเปรี ยบเทียบด้วยการทดสอบของตูกีย ์
10 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(1) : 1-12 (2563)

จากตารางที่ 5 พบว่า เมื่ อ น าความคลาดเคลื่ อ นที่ ไ ด้ จ ากการ


1. ปั จ จัย ด้า นวัส ดุ สิ่ ง ปลู กที่ แ ตกต่ า งกัน วิ เ คราะห์ ค วามแปรปรวนมาตรวจสอบข้อ สมมุ ติ
(กระสอบป่ านและดิ นร่ ว น) มี อิ ทธิ พลต่ อความยาว ได้ผลการตรวจสอบดังนี้
เฉลี่ยของถัว่ งอกอย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05 กล่าวคือ - ความคลาดเคลื่อนของความยาวของถัว่ งอก
การปลูกถัว่ เขี ยวโดยใช้กระสอบป่ านส่ งผลให้ความ เมื่อใช้วสั ดุสิ่งปลูกทั้ง 2 ประเภท (กระสอบป่ านและ
ยาวเฉลี่ยของถัว่ งอกต่ากว่าการปลูกถัว่ เขียวโดยใช้ดิน ดิ นร่ วน) มีการแจกแจงปรกติ และมีความแปรปรวน
ร่ วน เท่ า กัน (Kolmogorov-Smirnov Z = 0.402, p-value =
2. ปั จจัยด้านการได้รับแสงที่ แตกต่ างกัน 0.997, Kolmogorov-Smirnov Z = 0.466, p-value =
(แสงจากธรรมชาติ แสงจากหลอดไฟ และที่ มืด) 0.982 และ Levene Statistic = 0.029, p-value = 0.867
มี อิ ท ธิ พลต่ อ ความยาวเฉลี่ ย ของถั่ ว งอกอย่ า งมี ตามลาดับ)
นัยสาคัญที่ระดับ 0.05 เมื่อเปรี ยบเทียบความยาวเฉลี่ย - ความคลาดเคลื่อนของความยาวของถัว่ งอก
ของถัว่ งอกด้วยการทดสอบการเปรี ยบเที ยบพหุ คูณ ที่ ได้รับแสงทั้ง 3 รู ปแบบ (แสงจากธรรมชาติ แสง
ด้วยการทดสอบของตูกีย ์ พบว่า ปั จจัยด้านการได้รับ จากหลอดไฟ และที่มืด) มีการแจกแจงปรกติ และมี
แสงประเภทแสงจากธรรมชาติและปั จจัยด้านการรับ ความแปรปรวนเท่ากัน (Kolmogorov-Smirnov Z =
แสงประเภทแสงจากหลอดไฟไม่มีอิทธิ พลต่อความยาว 0.413, p-value = 0.996, Kolmogorov-Smirnov Z =
เฉลี่ยของถัว่ งอกอย่างมีนยั สาคัญ แต่ปัจจัยด้านการ 0.767, p-value = 0.599, Kolmogorov-Smirnov Z =
ได้รับแสงประเภทที่ มืดมี อิทธิ พลต่ อความยาวเฉลี่ ย 0.476, p-value = 0.977 และ Levene Statistic =
ของถัว่ งอกอย่างมี นัยส าคัญ กล่า วคื อ การปลู ก 2.111, p-value = 0.176 ตามลาดับ)
ถัว่ เขี ยวโดยใช้แสงจากธรรมชาติ ไม่ทาให้ความยาว ผลการตรวจสอบข้อสมมุติของการวิเคราะห์
เฉลี่ยของถัว่ งอกแตกต่างกันทางสถิติจากการปลูกถัว่ ความแปรปรวน พบว่า ความคลาดเคลื่อนของความ
เขี ยวโดยใช้แสงจากหลอดไฟ แต่การปลูกถัว่ เขี ยว ยาวของถัว่ งอกเมื่อใช้วสั ดุสิ่งปลูกทั้ง 2 ประเภทและ
โดยใช้แสงจากธรรมชาติ ทาให้ค วามยาวเฉลี่ ยของ ได้รับ แสงทั้ง 3 รู ปแบบ มี การแจกแจงปรกติ และมี
ถัว่ งอกต่ากว่าการปลูกถัว่ เขี ยวในที่ มืด และการปลูก ความแปรปรวนเท่ากัน ทาให้ผลการวิเคราะห์ความ
ถัว่ เขี ย วโดยใช้แ สงจากหลอดไฟทาให้ค วามยาว แปรปรวนที่ได้มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ
เฉลี่ยของถัว่ งอกต่ากว่าการปลูกถัว่ เขียวในที่มืด ผลการศึ กษาความยาวของถัว่ งอกที่ เกิ ดขึ้ น
3. ปั จจัยร่ วมระหว่างวัสดุสิ่งปลูกและการ สามารถอภิ ป รายผลได้ด ัง นี้ วัส ดุ สิ่ งปลู ก ส่ ง ผลให้
ได้รับแสงไม่มีอิทธิ พลต่อความยาวเฉลี่ยของถัว่ งอก ความยาวของถัว่ งอกมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่าง
อย่า งมี นัย ส าคัญ กล่ า วคื อ การปลู กถัว่ เขี ย วโดยใช้ มี นัย ส าคัญ ที่ ร ะดับ 0.05 ขัด แย้ง กับ การศึ ก ษาของ
ปัจจัยร่ วมไม่ทาให้ความยาวเฉลี่ยของถัว่ งอกแตกต่าง วิศลั ย์ และคณะ (2548) ที่ พบว่า การปลูกถัว่ งอกจาก
กัน ทางสถิ ติ อาทิ เ ช่ น การปลู ก ถั่ว เขี ย วโดยใช้ เมล็ดถัว่ เขี ยวจะเจริ ญเติ บโตได้ดีในดิ นทุกชนิ ด อาจ
กระสอบป่ านและให้ได้รับแสงจากหลอดไฟกับการ เนื่ องมาจากการศึ ก ษาของ วิศ ัล ย์ และคณะ (2548)
ปลู ก ถั่ว เขี ย วโดยใช้ดิ น ร่ ว นและให้ไ ด้รั บ แสงจาก ศึ กษาการปลูกถัว่ งอกจากดิ นร่ วน ดิ นทราย และดิ น
ธรรมชาติไม่ทาให้ความยาวเฉลี่ยของถัว่ งอกแตกต่าง เหนี ย ว แต่ ไ ม่ ไ ด้ ศึ ก ษาการปลู ก ถั่ ว งอกโดยใช้
กันทางสถิติ เป็ นต้น กระสอบป่ าน ส าหรั บ การได้ รั บ แสงส่ งผลให้
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(1) : 1-12 (2563) 11

ความยาวของถัว่ งอกมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่าง สถิ ติ อี กทั้งยังไม่ มีอิทธิ พ ลร่ วมกันระหว่า งวัส ดุ สิ่ ง


มีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05 สอดคล้องกับการศึกษาของ ปลูกและการได้รับแสง
คริ ษฐ์สพล (2560) ที่ พบว่า แสงสว่างที่ ส่องไปที่ พืช 2. วัสดุสิ่งปลูกและการได้รับแสงส่ งผลให้
ส่ งผลให้พืชได้รับอุณหภูมิที่สูงขึ้ น ซึ่ งอุณหภูมิมีผล ความยาวของถัว่ งอกมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่าง
ต่อการปลูกพืช โดยพืชที่ได้รับอุณหภูมิสูงเกิ นไปจะ มีนยั สาคัญที่ ระดับ 0.05 โดยดิ นร่ วนทาให้ความยาว
ทาให้อตั ราการเจริ ญเติ บโตของพื ชลดลง โดยปกติ ของถัว่ งอกสู งกว่ากระสอบป่ าน และการปลูกถัว่ งอก
แล้วผลกระทบของอุณหภูมิสูงต่อพืชมักเกิ ดจากการ ในที่ มืดทาให้ความยาวของถัว่ งอกสู งที่สุ ด แต่แ สง
ที่ พืชส่ วนใดส่ วนหนึ่ งได้รับความเข้มของแสงมาก จากธรรมชาติ และแสงจากหลอดไฟทาให้ความยาว
เกิ นไป รั งสี ความร้ อนจะทาให้อุณ หภู มิข องต้นพื ช ของถัว่ งอกไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
ถึ ง จุ ด อัน ตรายหรื อ ทาให้ผ ิว ดิ น สะสมอุ ณ หภู มิ ที่ 3. วัสดุสิ่งปลูกที่ มีความเหมาะสมกับการ
สู งขึ้ นจนเป็ นอันตรายต่ อพื ช ได้ และสอดคล้องกับ ปลูกถัว่ งอก คือ ดินร่ วน และควรปลูกถัว่ งอกในที่มืด
การศึกษาของ สกุลกานต์ และคณะ (2559) ที่พบว่า โดยไม่ให้โดนแสง เพราะจะทาให้ถวั่ งอกมีใบเหลือง
การใช้แ ก้ว กระดาษทึ บ แสง เป็ นการจาลองการ ล าต้น ยาว และอวบอ้ว น น่ า รั บ ประทานเหมื อ นที่
เจริ ญเติบโตของต้นกล้าในสภาพที่มีแสงน้อย ซึ่ งเป็ น วางขายตามท้องตลาด
สภาพที่ตน้ พืชจะมีลกั ษณะอวบน้ ามากกว่าการเจริ ญ
ในสภาพที่มีแสงมากกว่า จากการวิจยั ครั้งนี้ จะเห็นว่า เอกสารอ้างอิง
การปลูกถัว่ งอกโดยได้รับแสงจากธรรมชาติหรื อแสง กัลยารัตน์ เครื อวัลย์. ม.ป.ป. ถั่วงอกธรรมดาที่ไม่
จากหลอดไฟทาให้ความยาวของถัว่ งอกต่ ากว่าการ ธรรมดา. สถาบันโภชนาการมหาวิทยาลัย
ปลูกในที่มืด อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05 อีกทั้งยัง มหิ ดล. แหล่งที่ มา: www.inmu.mahidol.ac.
ทาให้ถวั่ งอกมีสีเขียว ลาต้นผอม ดังแสดงในภาพที่ 4 th/download.php?f=372.pdf, 17 พฤศจิ กายน
สอดคล้อ งกับ การศึ กษาของจิ ร าภา (2559) ที่ พ บว่า 2561.
แสงสว่างมีผลทาให้คุณภาพของถัว่ งอกลดลงและไม่ คริ ษฐ์สพล หนูพรรหม. 2560. ผลของตาข่ ายพรางแสง
เป็ นที่ตอ้ งการของผูบ้ ริ โภค คือ ทาให้ถวั่ งอกมีสีเขียว ต่ อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกวางตุ้ง
ลาต้นผอมยาว และมีกลิ่น ดังนั้นภาชนะเพาะควรทึบ อิ น ทรี ย์ . คณะเทคโนโลยี การเกษตร
แสง หรื อมีสีดา สี เขียว สี น้ าเงิน หรื ออาจจะมีฝาปิ ด มหาวิ ทยาลัยราชภัฎสงขลา. แหล่งที่ มา:
หรื อตั้งภาชนะไว้ในที่มืดไม่มีแสง ทั้งนี้แสงสว่างและ https://repository.rmutr.ac.th/bitstream/handle/
วิธีการปฏิ บตั ิ อาจแตกต่ า งกันตามประเภทของถัว่ ที่ 123456789/898/rmutrconth_225.pdf?sequence
เพาะ =1&isAllowed=y, 17 พฤศจิกายน 2561.
จิราภา จอมไธสง. 2559. การเพาะผักงอก. กรม
สรุป ส่ ง เสริ ม การเกษตร กระทรวงเกษตรและ
ผลการวิจยั สามารถสรุ ปได้ดงั นี้ สหกรณ์ . แหล่งที่ มา: http://www.service
1. วัสดุ สิ่ งปลูกและการได้รับแสงส่ งผลให้ link.doae.go.th/corner%20book/book%200
ร้ อยละการรอดของถัว่ งอกไม่ มีความแตกต่ างกันทาง 6/plant.pdf, 17 พฤศจิกายน 2561.
12 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(1) : 1-12 (2563)

นริ นทร์ สมบูรณ์สาร. ม.ป.ป. เทคนิคการเพาะ วิศลั ย์ ธี ระตันติกานนท์, กฤษณกรรณ พงษ์พนั ธุ์ และ
ถั่ ว ง อ ก แ บ บ ก า ร ค้ า . แ ห ล่ ง ที่ ม า : ธนญัชยั คัมภีร์. 2548. การวิเคราะห์ ความ
http://www.servicelink.doae.go.th/webpage ถดถอยของความยาวต้ นถั่วเขียวจากปริ มาณ
/book%20PDF/%B6%D1%E8%C7%A7% น้ าและปริ มาณปุ๋ ยชี ว ภาพ. หมวดวิ ช า
CD%A1%E1%BA%BA%A1%D2%C3%A คณิ ตศาสตร์ กลุ่ ม วิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
4%E9%D2.pdf, 28 เมษายน 2562. เทคโนโลยี โรงเรี ยนมหิ ด ลวิ ท ยานุ ส รณ์
นิ พนธ์ ไชยมงคล. 2548. ถั่วงอก. ระบบข้อมูลผัก (องค์การมหาชน). แหล่ งที่ มา: www.m
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สาขาพืชผัก ภาควิชาพืช wit.ac.th/~msproject/ex1.pdf, 17 พฤศจิกายน
สวน คณะผลิตกรรมการเกษตร. แหล่งที่มา: 2561.
https://vegetweb.com/wp-content/download สกุลกานต์ สิ มลา, พัชรี สิ ริตระกูลศักดิ์ และ สรพงค์
/sprout.pdf, 17 พฤศจิกายน 2561. เบญจศรี . 2559. การพัฒนาชุดเพาะสาเร็ จ
เพจวิชาชี วิต. 2018. เพาะถั่วงอกคอนโดขาย ลงทุน สาหรับถัว่ เขี ยวงอก. แก่ นเกษตร 44(ฉบับ
หลักร้ อย กาไรเท่ าตัว...!! ทาเองได้ ไม่ ยาก. พิเศษ 1): 820-825.
แหล่งที่ มา: http://postnoname.com/bean- สุ พ รรณี เทพอรุ ณ รั ตน์ . 2555. ถั่วงอกปลอดเชื้ อ
sprout-little-investment/, 28 เมษายน 2562. โรค. วารสารกรมวิ ท ยาศาสตร์ บริ ก าร
วรางคณา เรี ยนสุ ทธิ์ . 2559. แผนแบบการทดลอง. 60(189): 47-49.
ศูนย์หนังสื อมหาวิทยาลัยทักษิณ, สงขลา.
วิบูลย์ พงศ์พ รทรั พ ย์. 2559. การออกแบบการ
ทดลอง. For Quality Magazine 23(218):
17-19.

You might also like