Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 210

คู่มือครู

Teacher Script

ชีววิทยำ ม. 5
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
ตามผลการเรียนรู้ เล่ม 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผู้เรียบเรียงหนังสือเรียน ผู้ตรวจหนังสือเรียน บรรณาธิการหนังสือเรียน


ดร.เธียร ธีระวรวงศ์ ดร.น�าชัย ชีววิวรรธน์ รศ. ดร.ฤทธิ์ วัฒนชัยยิ่งเจริญ
ดร.ชลินันท์ เพ็งสุข ดร.ปวย อุ่นใจ นางสาววราภรณ์ ท้วมดี
นายเอกรัฐ วงศ์สวัสดิ์ ผศ. ดร.ศศิวิมล แสวงผล
ผศ. ดร.สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ
ดร.พรรัมภา กาญจนสิงห์
ผู้เรียบเรียงคู่มือครู บรรณาธิการคู่มือครู
นายภูษิต ศรีปะโค นางสาวจันจิรา รัตนนันทเดช
นางสาวฐนิสา หวั่งประดิษฐ์

พิมพครั้งที่ 1
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
รหัสสินคา 3548015
ค� ำ แนะน� ำ กำรใช้
คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา ม.5 เล่ม 1
จัดท�าขึ้นส�าหรับให้ครูผู้สอนใช้เปนแนวทางวางแผนการจัดการเรียน
การสอน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการประกันคุณภาพ
ผูเ้ รียนตามนโยบายของส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
(สพฐ.)
เพทโดยเลือก Trim
ิ่ม คําแนะนําการใช ชวยสรางความเขาใจ เพื่อใชคูมือครูได
เพ นํา นํา สอน สรุป ประเมิน โซน 1
อยางถูกตองและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ขัน้ นํา

โครงสรางและ
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูแจงผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
ิ่ม หนวยการเรียนรูที่

เพ คําอธิบายรายวิชา แสดงขอบขายเนื้อหาสาระของรายวิชา
ซึ่งครอบคลุมผลการเรียนรูตามที่หลักสูตรกําหนด
2. ใหนกั เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการ
เรียนรูที่ 1
3. ครูนาํ ภาพตนไผและตนมะมวง แลวใหนกั เรียน
เปรียบเทียบภาพทั้งสอง
4. ครูถามคําถาม Big Question
1 หนาทีข่ องพืชดอก
พืชดอกประกอบดวยอวัยวะตาง ๆ ได้แก่ ราก ล�าต้น ใบ ดอก และผลทีม
่ สี ว่ นประกอบและหน้าที่
แตกต่างกัน การท�างานของอวัยวะพืชมีความสัมพันธ์กนั ท�าให้พชื ด�ารงชีวติ อยูไ่ ด้ โดยอวัยวะเหล่านี้
5. ให นั ก เรี ย นแต ล ะคนบั น ทึ ก คํ า ถาม Under ประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลายชนิดที่จ�าเพาะต่อการท�าหน้าที่ในพืชแต่ละชนิด อวัยวะเหล่านี้เหมือน
ิ่ม Pedagogy ชวยสรางความเขาใจในกระบวนการออกแบบ standing Check ลงในสมุดบันทึกของตนเอง หรือแตกต่างกันอย่างไร นักเรียนจะได้ศึกษารายละเอียดจากบทเรียนนี้
เพ แลวพิจารณาขอความตามความเขาใจของ
นักเรียนวาถูกหรือผิด •· äÁÅ µŒ ¹ ¢Í§µŒ ¹ 伋 ¡Ñ º µŒ ¹ ÁÐÁ‹ Ç § ¨Ö §
การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ไดอยางมี ᵡµ‹Ò§¡Ñ¹
• ÍÇÑÂÇТͧ¾×ª· ˹ŒÒ·ÕèÊÑÁ¾Ñ¹¸¡Ñ¹Í‹ҧäÃ
• à¾ÃÒÐà˵Ø㴾תʋǹãËÞ‹¨Ö§¤Ò¹ ã¹àÇÅÒ
ประสิทธิภาพ ઌÒ

ิ่ม Teacher Guide Overview ชวยใหเห็นภาพรวมของการ


เพ
จั ด การเรี ย นการสอนทั้ ง หมดของรายวิ ช าก อ นที่ จ ะลงมื อ
สอนจริง
ิ่ม Chapter Overview ชวยสรางความเขาใจและเห็นภาพรวม U n de r s t a n d i ng
Che�

เพ ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิดแล้วบันทึกลงในสมุด

ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรูแตละหนวย
เนื้อเยื่อพืช คือ กลุ่มเซลล์ที่มีหน้าที่แตกต่างกันมาอยู่รวมกัน
รากพืชดูดซึมธาตุอาหารด้วยกระบวนการออสโมซิส
การคายน�้าของพืชเกิดขึ้นที่บริเวณปากใบเท่านั้น
แนวตอบ Understanding Check ทิศทางการล�าเลี้ยงน�้าและธาตุอาหารของพืช คือ ล�าเลียงจากรากไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช
1. ผิด 2. ผิด 3. ผิด พืชอาศัยแรงดึงจากการคายน�้าเข้ามาช่วยล�าเลียงอาหารจากรากไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช

ิ่ม 4. ถูก 5. ผิด


เพ Chapter Concept Overview ช ว ยให เ ห็ น ภาพรวม
Concept และเนื้อหาสําคัญของหนวยการเรียนรู เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question
• ตนไผเปนพืชใบเลีย้ งเดีย่ วมีเนือ้ เยือ่ เจริญเหนือขอทําใหตน ไผมลี าํ ตนสูง
การเรียนการสอน เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก ครูอาจทบทวน
สวนตนมะมวงเปนพืชใบเลีย้ งคูม กั พบเนือ้ เยือ่ เจริญดานขาง ทําใหลาํ ตน
ิ่ม ขอสอบเนนการคิด/ขอสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม ความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับเซลลและเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต โดยเนนให
เพ
ขยายขนาดกวางขึน้ ซึง่ ไมพบในพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว ดังนัน้ ตนไผจงึ มีลาํ ตน
นักเรียนเห็นวา พืชเปนสิ่งมีชีวิตหลายเซลลเหมือนกับคนและสัตว ซึ่งประกอบ
ที่ผอมสูงกวาตนมะมวง
ดวยเซลลจาํ นวนมากมารวมกันเปนเนือ้ เยือ่ ชนิดตาง ๆ ทีท่ าํ หนาทีเ่ ดียวกันกลาย
• อวัยวะของพืช ไดแก ราก ลําตน ใบ ดอก ซึง่ รากทําหนาทีด่ ดู นํา้ และธาตุ
ความพรอมของผูเรียนสูการสอบในระดับตาง ๆ เปนอวัยวะ เชน ราก ลําตน ใบ และทําหนาที่รวมกันกลายเปนรางกายของพืช
ทําใหพืชดํารงชีวิตอยูได
อาหารทีอ่ ยูใ นดินลําเลียงผานลําตนมาสูใ บซึง่ เปนอวัยวะทีม่ หี นาทีห่ ลัก
ในการสังเคราะหดวยแสง เพื่อผลิตอาหารใหกับพืช สวนดอกทําหนาที่
โซน 3
สรางเซลลสบื พันธุใ หกบั พืช เมือ่ ดอกไดรบั การผสมเกสรจะพัฒนาตอไป
ิ่ม st
เปนผลซึ่งภายในมีเมล็ดทําหนาที่แพรพันธุ
เพ กิจกรรม 21 Century Skills กิจกรรมที่จะชวยพัฒนา • แสงมีผลตอการเปด-ปดของปากใบ ทําใหเกิดการลําเลียงสารเขาสู
เซลลคุม สงผลใหเซลลเตง ปากใบพืชจึงเปด
ผูเรียนใหมีทักษะที่จําเปนสําหรับการเรียนรูและการดํารงชีวิต โซน 2
ในโลกแหงศตวรรษที่ 21 T8

โซน 1 ช่วยครูจัด โซน 2 ช่วยครูเตรียมสอน


กำรเรียนกำรสอน
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูผู้สอน ประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เปนประโยชน์ส�าหรับครู
โดยแนะน�าขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรมอย่างละเอียด เพื่อน�าไปประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน
เพื่อให้นักเรียนบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามผลการเรียนรู้ เกร็ดแนะครู
ความรู้เสริมส�าหรับครู ข้อเสนอแนะ ข้อสังเกต แนวทางการจัด
น�ำ สอน สรุป ประเมิน
กิจกรรม และอื่น ๆ เพื่อประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน
นักเรียนควรรู
ความรูเ้ พิม่ เติมจากเนือ้ หา ส�าหรับอธิบายเสริมเพิม่ เติมให้กบั นักเรียน
โดยใช้ หนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1 และแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5 เลม 1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ�ากัด
เปนสื่อหลัก (Core Materials) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้
กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
ซึ่งคู่มือครูเล่มนี้มีองค์ประกอบที่ง่ายต่อการใช้งาน ดังนี้

โซน 1 นํา สอน สรุป ประเมิน


โซน 3 ช่วยครูเตรียมนักเรียน
ขัน้ สอน
Prior Knowledge
เนื้ อ เยื่ อ พื ช แตกต า งจาก 1. เนือ้ เยือ่ พืช
สํารวจค้นหา
1. ใหนกั เรียนรวมกันสืบคนขอมูลเพือ่ ตอบคําถาม
ประกอบด้ ว ยแนวทางส� า หรั บ การจั ด กิ จ กรรมและ
เนื้อเยื่อสัตวอยางไร พืชดอกด�ารงชีวิตอยู่ได้จากการท�างานของอวัยวะต่าง ๆ
ได้แก่ ราก ล�าต้น ใบ ดอก และผล โดยอวัยวะแต่ละส่วนมีสว่ นประกอบ
Prior Knowledge
2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน โดยให เสนอแนะแนวข้อสอบ เพือ่ อ�านวยความสะดวกให้แก่ครูผสู้ อน
และหน้าที่แตกต่างกัน ซึ่งอวัยวะเหล่านี้ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ แตละกลุม สืบคนขอมูล เรือ่ ง เนือ้ เยือ่ เจริญของ
หลายชนิดที่จ�าเพาะต่อโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะนั้น ๆ พืช

กิจกรรม 21st Century Skills


เนื้อเยื่อพืช (plant tissue) เป็นกลุ่มเซลล์ของพืชจ�านวนมากที่มีลักษณะคล้ายกันมาอยู่ 3. ใหแตละกลุม ทําใบงาน เรือ่ ง เนือ้ เยือ่ เจริญของ
รวมกันแล้วท�าหน้าที่เดียวกัน ในการจ�าแนกเนื้อเยื่อของพืชมีหลักเกณฑ์มากมาย เช่น รูปร่าง พืช
โครงสร้าง ต�าแหน่ง หน้าที ่ แต่สว่ นมากจะใช้ความสามารถในการแบ่งเซลล์เพิม่ จ�านวนของเนือ้ เยือ่ 4. ใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอใบงาน
เป็นเกณฑ์ ซึ่งสามารถแบ่งเนื้อเยื่อพืชออกเป็น 2 ชนิด คือ เนื้อเยื่อเจริญและเนื้อเยื่อถาวร 5. ใหนักเรียนแตละคนสรุปความรู เรื่อง เนื้อเยื่อ
เจริญของพืช ลงในสมุดบันทึกของตนเอง
กิ จ กรรมที่ ใ ห้ นั ก เรี ย นได้ ป ระยุ ก ต์ ใ ช้ ความรู ้ ส ร้ า งชิ้ น งาน
1.1 เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissue)
เนือ้ เยือ่ เจริญประกอบด้วยเซลล์เจริญ ซึง่ เป็นกลุม่ เซลล์ทมี่ ผี นังเซลล์ปฐมภูม ิ มีลกั ษณะบาง
สม�า่ เสมอกัน มักมีนวิ เคลียสขนาดใหญ่เมือ่ เทียบกับขนาดของเซลล์ และเซลล์สามารถคงคุณสมบัติ
หรื อ ท� า กิ จ กรรมรวบยอดเพื่ อ ให้ เ กิ ด ทั ก ษะที่ จ� า เป น ใน
ของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (mitosis) เอาไว้ 1 ได้ตลอดชีวิต เนื้อเยื่อเจริญจึงเป็นเนื้อเยื่อที่ท�าให้
พืชเจริญเติบโตได้อย่างไม่สนิ้ สุดตลอดในช่วงทีพ่ ชื ยังคงมีชวี ติ อยู ่ ด้วยเหตุนเี้ ราจึงสังเกตเห็นล�าต้น
ศตวรรษที่ 21
และรากยืดยาว หรือแผ่กิ่งก้านสาขาออกไปเรื่อย ๆ หรือมีเส้นผ่านศูนย์กลางเพิ่มมากขึ้น
B iology
Focus ผนังเซลลพืช
เซลล์พืชทุกชนิดมีผนังเซลล์ที่เรียกว่า ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (primary cell wall) เป็นผนัง
ขอสอบเนนการคิด
เซลล์ชั้นแรกที่อยู่ด้านนอกสุดของเซลล์ มีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ ซึ่งถูกยึดไว้ด้วยมิดเดิล
พลาสโมเดสมาตา ลาเมลลา (middle lamella) เซลล์บางชนิด
ของพื ช จะมี ผ นั ง เซลล์ ทุ ติ ย ภู มิ (secondary
ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิด มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อม
cell wall) เป็นผนังชัน้ ในสุดทีม่ ลี กิ นิน (lignin)
เป็นองค์ประกอบส�าคัญ นอกจากนี้ผนังเซลล์ เฉลยอย่างละเอียด
ผนังเซลล์ปฐมภูมิ ของพืชจะมีช่องว่างเรียกว่า พลาสโมเดสมาตา
ผนังเซลล์ทุติยภูมิ (plasmodesmata) เชื่อมต่อกันระหว่างเซลล์ แนวตอบ Prior Knowledge
ท�าให้สามารถส่งสารเคมี น�้า และธาตุอาหาร เนื้อเยื่อพืชประกอบดวยเซลลที่มีผนังหนา
ขอสอบเนนการคิดแนว O-NET
ไซโทพลาซึม
ระหว่างกันได้
เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งเปนสารประเภทเซลลูโลส และมีแวคิวโอลที่
ภาพที่ 1.1 ส่วนประกอบของผนังเซลล์ มีขนาดใหญกวา และมีคลอโรพลาสตเปนองค
ที่มา : http://www.yourarticlelibrary.com
ประกอบ ทําหนาที่สังเคราะหดวยแสง แตกตาง
กับเนือ้ เยือ่ สัตวทปี่ ระกอบดวยเซลลทไี่ มมผี นังเซลล
ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์ และสอดคล้องกับ
โครงสร้างและ
หน้าที่ของพืชดอก
3
มีแวคิวโอลขนาดเล็กกวา และไมมีคลอโรพลาสต
แนวข้อสอบ O-NET มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อมเฉลยอย่าง
ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู
ละเอียด
ขอใดเปนลักษณะของเซลลบริเวณเนื้อเยื่อเจริญ 1 ไมโทซิส (mitosis) เปนการแบงเซลลเพือ่ เพิม่ จํานวนเซลลรา งกาย เมือ่ ผาน
1. เซลลมขี นาดใหญ
2. เซลลมรี ปู รางยืดยาว
กระบวนการแบงเซลล เริม่ ตนจากเซลลเพียง 1 เซลล จนสมบูรณ จะไดเซลลใหม
2 เซลล ที่มีจํานวนโครโมโซมเทาเดิม โดยไมโทซิสแบงออกเปน 5 ระยะ ดังนี้ กิจกรรมทาทาย
3. ผนังเซลลคอ นขางบาง 1. ระยะอินเตอรเฟส (interphase) เปนระยะที่มีการสังเคราะหสารตาง ๆ
4. ไซโทพลาซึมยอมติดสีจาง
5. นิวเคลียสสลายไปเมือ่ เซลลเจริญเต็มที่
เพื่อเตรียมเขาสูกระบวนการแบงนิวเคลียส เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรม เพือ่ ต่อยอดส�าหรับนักเรียน
2. ระยะโพรเฟส (prophase) เปนระยะที่สารพันธุกรรมจะพันกันแนนจน
โซน 3
(วิเคราะหคําตอบ เนื้ อ เยื่ อ เจริ ญ มี ผ นั ง เซลล ที่ มี ลั ก ษณะบาง
สมํ่าเสมอกัน มีนิวเคลียสขนาดใหญเมื่อเทียบกับเซลลอ่ืน และมี
เริ่มเห็นเปนรูปโครโมโซม
3. ระยะเมตาเฟส (metaphase) เปนระยะทีโ่ ครโมโซมเรียงตรงกลางเซลล
ทีเ่ รียนรูไ้ ด้อย่างรวดเร็ว และต้องการท้าทายความสามารถใน
สมบัติของการแบงเซลล ดังนั้น ตอบขอ 3.) 4. ระยะแอนนาเฟส (anaphase) เปนระยะทีโ่ ครโมโซมแตละอันถูกดึงแยก
จากกันไปยังขั้วของเซลล
ระดับที่สูงขึ้น
5. ระยะเทโลเฟส (telophase) และการแบงไซโทพลาสซึม (cytokinesis)
โซน 2
มีการสรางเยื่อหุมนิวเคลียสขึ้นอีกครั้ง และมีการแบงไซโทพลาซึม ถา
เปนเซลลพืชจะมีการสรางผนังเซลลขึ้นใหม
กิจกรรมสรางเสริม
T9 เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมซ่อมเสริมส�าหรับนักเรียนที่
ควรได้รับการพัฒนาการเรียนรู้

หองปฏิบัติการ (วิทยาศาสตร) แนวทางการวัดและประเมินผล


ค�าอธิบายหรือข้อเสนอแนะสิ่งที่ควรระมัดระวัง หรือข้อควรปฏิบัติ เสนอแนะแนวทางการบรรลุ ผ ลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ย นของ
ตามเนื้อหาในบทเรียน นักเรียนตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั ทีห่ ลักสูตรก�าหนด
สื่อ Digital
แนะน�าแหล่งเรียนรู้และแหล่งค้นคว้าจากสื่อ Digital ต่าง ๆ
ค� ำ อธิ บ ายรายวิ ช า
ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง / ปี

ศึกษาเกี่ยวกับการด�ำรงชีวิตของพืช โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก เนื้อเยื่อพืช อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะของ


พืช โครงสร้างและหน้าที่ของราก ล�ำต้น และใบ การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน�้ำของพืช การล�ำเลียงน�ำ้ และธาตุอาหาร
และการล�ำเลียงอาหารของพืช ศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง กระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C4 และพืช CAM ปัจจัยบางประการที่มี
ผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง ศึกษาการสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต วัฏจักรชีวิตของพืชดอก การสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชดอก การสร้างสปอร์และเซลล์สืบพันธุ์ การปฏิสนธิ โครงสร้างของผลและเมล็ด การงอกของเมล็ด
ศึกษาการตอบสนองของพืช การตอบสนองของพืชต่อสารเคมี และการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การ
ทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน�ำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับชนิดและลักษณะของเนื้อเยื่อพืช และเขียนแผนผังเพื่อสรุปชนิดของเนื้อเยื่อพืช
2. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและรากพืชใบเลี้ยงคู่จากการตัดตามขวาง
3. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของล�ำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและล�ำต้นพืชใบเลี้ยงคู่จากการตัดตามขวาง
4. สังเกต และอธิบายโครงสร้างภายในของใบพืชจากการตัดตามขวาง
5. สืบค้นข้อมูล สังเกต และอธิบายการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน�ำ้ ของพืช
6. สืบค้นข้อมูล และอธิบายกลไกการล�ำเลียงน�้ำและธาตุอาหารของพืช
7. สืบค้นข้อมูล อธิบายความส�ำคัญของธาตุอาหาร และยกตัวอย่างธาตุอาหารที่สำ� คัญที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
8. อธิบายกลไกการล�ำเลียงอาหารในพืช
9. สืบค้นข้อมูล และสรุปการศึกษาที่ได้จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
10. อธิบายขั้นตอนที่เกิดขึ้นในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C3
11. เปรียบเทียบกลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C3 พืช C4 และ พืช CAM
12. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปปัจจัยความเข้มของแสง ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ และอุณหภูมิ ที่มีผลต่อการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืช
13. อธิบายวัฏจักรชีวิตแบบสลับของพืชดอก
14. อธิบาย และเปรียบเทียบกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียของพืชดอก และอธิบายการปฏิสนธิของพืชดอก
15. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผลของพืชดอก โครงสร้างของเมล็ดและผล และยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างต่าง ๆ ของ
เมล็ดและผล
16. ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของเมล็ด และบอกแนวทางในการแก้สภาพพักตัว
ของเมล็ด
17. สืบค้นข้อมูล อธิบายบทบาทและหน้าที่ของออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทิลีน และกรดแอบไซซิก และอภิปรายเกี่ยวกับการ
น�ำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
18. สืบค้นข้อมูล ทดลอง และอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งเร้าภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
รวม 18 ผลการเรียนรู้
Pedagogy
คูมือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
ชี
ววิ ทยำ ม.5 เล่ม 1 รวมถึงสือ่ การเรียนรูร้ ายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา ชัน้ ม.5
ผูจ้ ดั ท�าได้ออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเปนวิธกี ารจัดการเรียนรูแ้ ละเทคนิคการสอนทีเ่ ปย มด้วยประสิทธิภาพ
และมีความหลากหลายให้กบั ผูเ้ รียน เพือ่ ให้ผเู้ รียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธิต์ ามผลการเรียนรู ้ รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่หลักสูตรก�าหนดไว้ โดยครูสามารถน�าไปใช้จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ซึง่ ในรายวิชานี ้ ได้นา� รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ (5Es Instructional Model) มาใช้ในการออกแบบการสอน ดังนี้

รูปแบบกำรสอนแบบสืบเสำะหำควำมรู้ (5Es Instructional Model)

ด้วยจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพื่อช่วย
ุนความสนใจ
ให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเปนเหตุเปนผล คิดสร้างสรรค์ กระต
คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะส�าคัญในการค้นคว้าหาความรู้ และมี Eennggagement
1

สาํ xploration
eEvvaluatio ล
ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเปนระบบ ผู้จัดท�าจึงได้เลือกใช้

รวจ

eE
ตรวจสอบ
n

และคนหา
รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ (5Es Instructional Model) 2
5
ซึ่งเปนขั้นตอนการเรียนรู้ที่มุ่งหมายให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้าง
องค์ความรูด้ ว้ ยตนเองผ่านกระบวนการคิดและการลงมือท�า โดยใช้
5Es
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เปนเครือ่ งมือส�าคัญเพือ่ พัฒนาทักษะ
bo 4 3

n
El a

tio
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรูแ้ ห่งศตวรรษที ่ 21 a
rat lan
ขย

รู
คว ion Exp

าม
คว
าย

ามเ าย
ขาใจ อ ธิบ

วิธีสอน (Teaching Method)

ผู้จัดท�าเลือกใช้วิธีสอนที่หลากหลาย เช่น การทดลอง การสาธิต การอภิปรายกลุ่มย่อย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้


รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะเน้นใช้วิธีสอน
โดยใช้การทดลองมากเปนพิเศษ เนื่องจากเปนวิธีสอนที่มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์ตรงโดย
การคิดและการลงมือท�าด้วยตนเอง อันจะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้และเกิดทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่คงทน

เทคนิคกำรสอน (Teaching Technique)

ผูจ้ ดั ท�าเลือกใช้เทคนิคการสอนทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับเรือ่ งทีเ่ รียน เพือ่ ส่งเสริมวิธสี อนให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้


เช่น การใช้ค�าถาม การเล่นเกม เพื่อนช่วยเพื่อน ซึ่งเทคนิคการสอนต่าง ๆ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ความสุขในขณะที่เรียนและสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งได้พัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 อีกด้วย
Teacher Guide Overview
ชี ว วิ ท ยา ม.5 เล่ ม 1
หน่วย
ผลการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ เวลาที่ใช้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้

1 1. อธิบายเกี่ยวกับชนิดและลักษณะของเนื้อเยื่อพืช - ทักษะการสังเกต
และเขียนแผนผังเพื่อสรุปชนิดของเนื้อเยื่อพืช - ทักษะการจัดกลุ่ม
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
- ตรวจแบบฝึกหัด
- หนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 1
- แบบฝึกหัดชีววิทยา ม.5 เล่ม 1
โครงสร้าง 2. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายใน - ทักษะการ - ตรวจใบงาน - ใบงาน
ของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและรากพืชใบเลี้ยงคู่จาก เปรียบเทียบ - ประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน - แบบทดสอบก่อนเรียน
และหน้าที่ของ การตัดตามขวาง - ทักษะการจำ�แนก - ประเมินการนำ�เสนอผลงาน - แบบทดสอบหลังเรียน
พืชดอก 3. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายใน ประเภท - สังเกตการปฏิบัติการ - ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig
ของล�ำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและล�ำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ - ทักษะการสำ�รวจ - สังเกตพฤติกรรมการทำ�งาน - QR Code
จากการตัดตามขวาง - ทักษะการระบุ รายบุคคล
4. สงั เกต และอธิบายโครงสร้างภายในของใบพืชจาก - ทักษะการสรุปย่อ
- ทักษะการนำ�
26 - สังเกตพฤติกรรมการทำ�งาน
กลุ่ม
- PowerPoint
ประกอบการสอน
การตัดตามขวาง ชั่วโมง
5. สืบค้นข้อมูล สังเกต และอธิบายการแลกเปลี่ยน ความรู้ไปใช้ - สังเกตคุณลักษณะ - อุปกรณ์การทดลอง
แก๊สและการคายน�้ำของพืช - ทักษะการรวบรวม อันพึงประสงค์
6. สืบค้นข้อมูล และอธิบายกลไกการล�ำเลียงน�้ำและ ข้อมูล - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
ธาตุอาหารของพืช
7. สืบค้นข้อมูล อธิบายความส�ำคัญของธาตุอาหาร
และยกตัวอย่างธาตุอาหารที่ส�ำคัญที่มีผลต่อการ
เจริญเติบโตของพืช
8. อธิบายกลไกการล�ำเลียงอาหารในพืช

2 1. สบื ค้นข้อมูล และสรุปการศึกษาทีไ่ ด้จากการทดลอง - ทักษะการสังเกต


ของนั ก วิ ท ยาศาสตร์ ใ นอดี ต เกี่ ย วกั บ กระบวน - ทักษะการระบุ
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
- ตรวจแบบฝึกหัด
- หนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 1
- แบบฝึกหัดชีววิทยา ม.5 เล่ม 1
การ การสังเคราะห์ด้วยแสง - ทักษะการ - ตรวจใบงาน - ใบงาน
2. อธิบายขัน้ ตอนทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการสังเคราะห์ เปรียบเทียบ - ประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน - แบบทดสอบก่อนเรียน
สังเคราะห์ ด้วยแสงของพืช C3 - ทักษะการจ�ำแนก - ประเมินการนำ�เสนอผลงาน - แบบทดสอบหลังเรียน
ด้วยแสง 3. เปรียบเทียบกลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ใน
พืช C3 พืช C4 และ พืช CAM
ประเภท
- ทักษะการ 16 - สังเกตการปฏิบัติการ
- สังเกตพฤติกรรมการทำ�งาน
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig
ชั่วโมง - QR Code
4. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปปัจจัยความเข้ม ส�ำรวจ รายบุคคล
ของแสง ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ - สังเกตพฤติกรรมการทำ�งาน - PowerPoint
และอุณหภูมิ ทีม่ ผี ลต่อการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของ กลุ่ม ประกอบการสอน
พืช - สังเกตคุณลักษณะ - อุปกรณ์การทดลอง
อันพึงประสงค์
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน

3 1. อธิบายวัฏจักรชีวิตแบบสลับของพืชดอก
2. อธิบาย และเปรียบเทียบกระบวนการสร้างเซลล์
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการจัดกลุ่ม
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
- ตรวจแบบฝึกหัด
- หนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 1
- แบบฝึกหัดชีววิทยา ม.5 เล่ม 1
การสืบพันธุ์ สืบพันธุเ์ พศผูแ้ ละเพศเมียของพืชดอก และอธิบาย - ทักษะการ - ตรวจใบงาน - ใบงาน
การปฏิสนธิของพืชดอก เปรียบเทียบ - ประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน - แบบทดสอบก่อนเรียน
ของพืชดอก 3. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผลของพืชดอก - ทักษะการ - ประเมินการน�ำเสนอผลงาน - แบบทดสอบหลังเรียน
และการเจริญ โครงสร้างของเมล็ดและผล และยกตัวอย่างการใช้
ประโยชน์จากโครงสร้างต่าง ๆของเมล็ดและผล
จ�ำแนกประเภท
- ทักษะการระบุ 13 - สังเกตการปฏิบัติการ
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig
เติบโต 4. ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อ - ทักษะการส�ำรวจ ชั่วโมง รายบุคคล
- QR Code
การงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของเมล็ด และบอก ค้นหา - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - PowerPoint
แนวทางในการแก้สภาพพักตัวของเมล็ด กลุ่ม ประกอบการสอน
- สังเกตคุณลักษณะ - อุปกรณ์การทดลอง
อันพึงประสงค์
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน

4 1. สบื ค้นข้อมูล อธิบายบทบาทและหน้าทีข่ องออกซิน - ทักษะการส�ำรวจ


ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทิลีน และกรดแอบ- ค้นหา
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
- ตรวจแบบฝึกหัด
- หนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 1
- แบบฝึกหัดชีววิทยา ม.5 เล่ม 1
กาตอบสนอง ไซซิก และอภิปรายเกี่ยวกับการน�ำไปใช้ประโยชน์ - ทักษะการสรุปย่อ - ประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงาน
ทางการเกษตร - ทักษะการน�ำ - ประเมินน�ำเสนอผลงาน - แบบทดสอบก่อนเรียน
ของพืช 2. สืบค้นข้อมูล ทดลอง และอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งเร้า ความรู้ไปใช้ - สังเกตการปฏิบัติการ - แบบทดสอบหลังเรียน
ภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช - ทักษะการรวบรวม - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
ข้อมูล 5 กลุ่ม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig
- QR Code
ชั่วโมง - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
รายบุคคล - PowerPoint
- สังเกตคุณลักษณะ ประกอบการสอน
อันพึงประสงค์
- ตรวจแบบทดสอบ
หลังเรียน
สำรบั ญ

Chapter
Chapter Teacher
Chapter Title Overview
Concept
Script
Overview
หนวยการเรียนรู้ที่ 1 โครงสร้ำงและหน้ำที่ของ T2 T6 T8
พืชดอก

• เนื้อเยื่อพืช T9-T16
• อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะของพืช T17-T42
• การแลกเปลี่ยนแกสและการคายนํ้าของพืช T43-T48
• การลําเลียงนํ้าและธาตุอาหารของพืช T49-T52
• การลําเลียงอาหารของพืช T53-T56
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 T57-T65

หนวยการเรียนรู้ที่ 2 กำรสังเครำะหดว
้ ยแสง T66 T68 T70

• การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง T71-T81
• กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง T82-T102
• กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของแกสคาร์บอนไดออกไซด์ T103-T105
ในพืช C4
• กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของแกสคาร์บอนไดออกไซด์ T106-T108
ในพืช CAM
• ปจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง T109-T118
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 T119-T129

หนวยการเรียนรู้ที่ 3 กำรสืบพันธุของพืชดอกและ T130 T132 T134


กำรเจริญเติบโต

• วัฏจักรชีวิตของพืชดอก T135-T136
• การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก T137-T165
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 T166-T171

หนวยการเรียนรู้ที่ 4 กำรตอบสนองของพืช T172 T173 T174

• การตอบสนองของพืชต่อสารเคมี T175-T188
• การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม T189-T196
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 T197-T201

บรรณำนุกรม T202
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายเกี่ยวกับชนิดและ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
เนื้อเยื่อพืช - หนังสือเรียนชีววิทยา ลักษณะของเนื้อเยื่อพืช หาความรู้ ก่อนเรียน - ทักษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
ม.5 เล่ม 1 ได้ (K) (5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
3 - แบบฝึกหัดชีววิทยา 2. จำ� แนกประเภทและ
ม.5 เล่ม 1 เขียนแผนผังสรุปชนิด
Instruction
Model)
- ตรวจแบบฝึกหัดจาก
Topic Question
เปรียบเทียบ
- ทกั ษะการจ�ำแนก
การท�ำงาน
ชั่วโมง
- ใบงาน ของเนื้อเยื่อพืชได้ (P) - ตรวจใบงาน เรื่อง ประเภท
- ภาพประกอบการสอน 3. เปรียบเทียบความ เนื้อเยื่อเจริญของพืช - ทักษะการทดลอง
- QR Code แตกต่างระหว่างชนิด - ตรวจใบงาน เรื่อง
- PowerPoint ประกอบ และลักษณะของเนื้อเยือ่ ระบบเนื้อเยื่อถาวร
การสอน พืชได้ (P) ของพืช
4. รับผิดชอบต่อหน้าที่และ - ตรวจผังมโนทัศน์
งานที่ได้รับมอบหมาย เรื่อง เนื้อเยื่อพืช
(A) - ประเมินการนำ�เสนอ
ผลงาน
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายโครงสร้างภายใน แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
โครงสร้างและ ม.5 เล่ม 1 ของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว หาความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - ทกั ษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
หน้าที่ของราก - แบบฝึกหัดชีววิทยา และรากพืชใบเลี้ยงคู่ (5Es Topic Question - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
ม.5 เล่ม 1 จากการตัดตามขวาง Instructional - ตรวจใบงาน เรื่อง เปรียบเทียบ การท�ำงาน
5 - ใบงาน (K) Model) โครงสร้างภายใน - ทกั ษะการจ�ำแนก
- อุปกรณ์การทดลอง 2. เปรียบเทียบโครงสร้าง ของรากพืช ประเภท
ชั่วโมง
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ภายในของรากพืชใบ - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทกั ษะการทดลอง
Twig เลี้ยงเดีย่ วและรากพืชใบ ประเภทของราก
- ภาพประกอบการสอน เลี้ยงคู่ได้ (P) - ตรวจรายงาน เรื่อง
- PowerPoint ประกอบ 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่และ การเจริญของรากพืช
การสอน งานที่ได้รับมอบหมาย - ประเมินแบบจำ�ลอง
(A) โครงสร้างภายในราก
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและ
พืชใบเลี้ยงคู่
- ประเมินนำ�เสนอผลงาน
- สังเกตการปฏิบัติการ
จากการทำ�กิจกรรม
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T2
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายโครงสร้างภายในของ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
โครงสร้างและ ม.5 เล่ม 1 ล�ำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและ หาความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - ทกั ษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
หน้าที่ของล�ำต้น - แบบฝึกหัดชีววิทยา ล�ำต้นพืชใบเลี้ยงคู่จากการ (5Es Topic Question - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
ม.5 เล่ม 1 ตัดตามขวางได้ (K) Instructional - ตรวจใบงาน เรื่อง เปรียบเทียบ การท�ำงาน
5 - อุปกรณ์การทดลอง 2. เปรียบเทียบโครงสร้าง Model) หน้าที่และชนิดของ - ทกั ษะการจ�ำแนก
- ภาพประกอบการสอน ภายในของล�ำต้นพืชใบเลี้ยง ลำ�ต้น ประเภท
ชั่วโมง
- PowerPoint ประกอบ เดีย่ วและล�ำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ - ตรวจ PowerPoint - ทกั ษะการทดลอง
การสอน ได้ (P) หน้าที่และชนิดของ
3. ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ ลำ�ต้น
ประโยชน์จากล�ำต้นของพืช - ตรวจแบบจำ�ลอง
(A) โครงสร้างภายในลำ�ต้น
ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
และพืชใบเลี้ยงคู่
- ประเมินการนำ�เสนอ
ผลงาน
- สังเกตการปฏิบัติการ
จากการทำ�กิจกรรม
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายโครงสร้างภายใน แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
โครงสร้างและ ม.5 เล่ม 1 ใบพืชจากการตัดตามขวาง หาความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - ทกั ษะการจัดกลุม่ - ใฝ่เรียนรู้
หน้าที่ของใบ - แบบฝึกหัดชีววิทยา ได้ (K) (5Es Topic Question - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
ม.5 เล่ม 1 2. อธิบายโครงสร้างภายนอก Instruction - ตรวจใบงาน เรื่อง เปรียบเทียบ การท�ำงาน
3 - ใบงาน ของใบได้ (K) Model) ชนิดและหน้าที่ของใบ - ทกั ษะการจ�ำแนก
- ใบไม้ตัวอย่าง 3. เปรียบเทียบการจัดเรียงของ - ตรวจรายงาน เรื่อง ประเภท
ชั่วโมง
- ภาพประกอบการสอน เส้นใบของพืชแต่ละชนิดได้ ความสำ�คัญของใบพืช
- อุปกรณ์การทดลอง (P) - ประเมินการนำ�เสนอ
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น 4. ตระหนักถึงความส�ำคัญของ ผลงาน
Twig ใบพืช (A) - สังเกตการปฏิบัติการ
- PowerPoint ประกอบ จากการทำ�กิจกรรม
การสอน - สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T3
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 5 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายการแลกเปลี่ยน แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
การแลกเปลี่ยน ม.5 เล่ม 1 แก๊สและการคายน�้ำของ หาความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - ทกั ษะการรวบรวม - ใฝ่เรียนรู้
แก๊ส และการคาย - แบบฝึกหัดชีววิทยา พืชได้ (K) (5Es Topic Question ข้อมูล - มุ่งมั่นใน
น�ำ้ ของพืช ม.5 เล่ม 1 2. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผล Instructional - สังเกตการปฏิบัติการ - ทกั ษะการเชือ่ มโยง การท�ำงาน
- ใบความรู้ ต่อการคายน�ำ้ ของพืช Model) จากการทำ�กิจกรรม
3 - ภาพประกอบการสอน (P) - สังเกตพฤติกรรม
ชั่วโมง
- อุปกรณ์การทดลอง 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ การทำ�งานรายบุคคล
- PowerPoint ประกอบ และงานที่ได้รับ - สังเกตพฤติกรรม
การสอน มอบหมาย (A) การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 6 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายกลไกการ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
การล�ำเลียงน�้ำ ม.5 เล่ม 1 ล�ำเลียงน�ำ้ ของพืชได้ หาความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - ทกั ษะการ - ใฝ่เรียนรู้
ของพืช - แบบฝึกหัดชีววิทยา (K) (5Es Topic Question เปรียบเทียบ - มุ่งมั่นใน
ม.5 เล่ม 1 2. เปรียบเทียบรูปแบบการ Instructional - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทกั ษะการรวบรวม การท�ำงาน
5 - ใบงาน ล�ำเลียงน�ำ้ ของพืชได้ Model) การลำ�เลียงน้ำ�และ ข้อมูล
- ภาพประกอบการสอน (P) ธาตุอาหารของพืช - ทกั ษะการเชือ่ มโยง
ชั่วโมง
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง
Twig และงานที่ได้รบั การลำ�เลียงน้ำ�และ
- QR Code มอบหมาย (A) ธาตุอาหารของพืช
- PowerPoint ประกอบ - ประเมินการนำ�เสนอ
การสอน ผลงาน
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 7 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายความส�ำคัญของ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
ธาตุอาหาร ม.5 เล่ม 1 ธาตุอาหารที่มีต่อพืชได้ หาความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - ทกั ษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
ของพืช - แบบฝึกหัดชีววิทยา (K) (5Es Topic Question - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
ม.5 เล่ม 1 2. เปรียบเทียบลักษณะ Instructional - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง เปรียบเทียบ การท�ำงาน
2 - ใบงาน ของพืชที่ขาดธาตุ Model) ธาตุอาหารของพืช - ทกั ษะการจ�ำแนก
- ภาพประกอบการสอน อาหารชนิดต่าง ๆ ได้ - ตรวจรายงาน เรื่อง ประเภท
ชั่วโมง
- PowerPoint ประกอบ (P) ธาตุอาหารของพืช - ทกั ษะการรวบรวม
การสอน 3. ตระหนักถึงความส�ำคัญ - ประเมินการนำ�เสนอ ข้อมูล
ของธาตุอาหารที่มีต่อ ผลงาน
พืช (A) - สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T4
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 8 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายกลไกการล�ำเลียง แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
การล�ำเลียง ม.5 เล่ม 1 อาหารของพืชได้ (K) หาความรู้ หลังเรียน - ทกั ษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
อาหารของพืช - แบบฝึกหัดชีววิทยา 2. วเิ คราะห์กลไกการล�ำเลียง (5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
ม.5 เล่ม 1 อาหารของพืช (P) Instructional - ตรวจแบบฝึกหัดจาก เปรียบเทียบ การท�ำงาน
2 - QR Code 3. ตระหนักถึงความส�ำคัญ Model) Topic Question - ทกั ษะการ
- ภาพประกอบการสอน ของพืช (A) - ตรวจแผ่นพับ เรื่อง จ�ำแนกประเภท
ชั่วโมง
- วีดิทัศน์ประกอบการ กลไกการลำ�เลียง - ทกั ษะการรวบรวม
สอนจากสื่อ Youtube อาหารของพืช ข้อมูล
- PowerPoint ประกอบ - ตรวจแผ่นพับ เรื่อง
การสอน พืชสร้างอาชีพ
- ตรวจรายงาน เรื่อง
โครงสร้างและหน้าที่
ของพืชดอก
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T5
Chapter Concept Overview
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช แบ่งออกได้เปน 2 ประเภท คือ เนื้อเยื่อเจริญและเนื้อเยื่อถาวร สามารถสรุปเปนแผนผังได้ ดังนี้
เนื้อเยื่อพืช

เนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อถาวร

เนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อเจริญ


เนื้อเยื่อผิว เนื้อเยื่อพื้น เนื้อเยื่อลําเลียง
สวนปลาย เหนือขอ ดานขาง

เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด วาสคิวลาร์- เอพิเดอร์มิส พาเรงคิมา ไซเล็ม


เนื้อเยื่อเจริญปลายราก แคมเบียม เพริเดิร์ม คอลเลงคิมา โฟลเอ็ม
คอร์กแคมเบียม สเกลอเรงคิมา
อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะของพืช
เอพิเดอร์มิส

แพลิเซดมีโซฟลล์ ส่วนประกอบของพืช ได้แก่ ราก ล�าต้น ใบ และดอก ซึ่งราก


ท�าหน้าที่ดูดน�้าและธาตุอาหารที่อยู่ในดิน ภายในล�าต้นมีท่อล�าเลียง
สปันจีมีโซฟลล์ น�้าและอาหาร นอกจากนี้ ล�าต้นของพืชยังช่วยค�้าจุนพืชให้ตั้งตรงได้
ใบ ท�าหน้าที่หลักในการสังเคราะห์ด้วยแสง ดอก เปนอวัยวะสืบพันธุ์
ท�าหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์

กลุ่มมัดท่อล�าเลียงเรียงตัว กลุ่มมัดท่อล�าเลียงเรียงตัว
อย่างเปนระเบียบในแนวรัศมี กระจัดกระจาย

ท่อไซเล็มเรียงตัวเปนแฉก ท่อไซเล็มเรียงตัวอยู่รอบพิธ
จ�านวน 3-4 แฉก มีหลายแฉก

พืชใบเลี้ยงคู พืชใบเลี้ยงเดี่ยว

T6
หนวยการเรียนรูที่ 1
การแลกเปลี่ยนแกสและการคายนํ้าของพืช
พืชส่วนใหญ่คายน�้าออกทางปากใบ โดยแสงมีผลต่อเซลล์คุมซึ่งควบคุมการเปด-ปดของปากใบ ดังภาพ
ไม่มีแสง มีแสง
สารละลายโพแทสเซียม
สารละลายโพแทสเซียม จะแพร่เข้าสู่เซลล์คุม
จะแพร่ออกจากเซลล์คุม
ความเข้มข้นภายในเซลล์คุมต�่า ความเข้มข้นภายในเซลล์คุมสูง
น�้าออสโมซิสออก น�้าจากเซลล์ข้างเคียงออสโมซิส
จากเซลล์คุม เข้าสู่เซลล์คุม

เซลลคุมเหี่ยว ปากใบจึงปด เซลลคุมเตง ปากใบจึงเปด


นอกจากแสงแล้ว อุณหภูมิ ความชื้น สภาพน�้าในดิน และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เปนปัจจัยที่มีผลต่อการคายน�้าของพืช รวมทั้งขนาด
และรูปร่างของใบ การจัดเรียงตัวของเส้นใบพืช

การลําเลียงนํ้าและธาตุอาหารของพืช
แรงดึงจากการคายน�า้ ของพืช ส่งผลให้รากดูดน�า้ และธาตุอาหารที่
ละลายน�้าในรูปของสารละลาย แล้วล�าเลียงเข้าสู่ท่อล�าเลียงไซเล็ม
ปากใบ ได้มากขึ้น โดยมีแรงแอดฮีชันและโคฮีชันช่วยล�าเลียงน�้าจากรากไป
ยังยอดพืชอย่างไม่ขาดสาย
แรงดึงจากการคายน�้า รูปแบบการล�าเลียงน�้าของพืชมี 2 รูปแบบ ดังนี้
- แบบอโพพลาสต เปนรูปแบบการล�าเลียงน�้าในดินเข้าสู่ราก
แอดฮีชัน
ผ่านชัน้ คอร์เทกซ์ไปจนถึงชัน้ เอนโดเดอร์มสิ โดยน�า้ จะผ่านทาง
ผนังเซลล์หรือช่องว่างระหว่างเซลล์
- แบบซิมพลาสต เปนรูปแบบการล�าเลียงน�า้ ผ่านทางไซโทพลาซึม
หรือพลาสโมเดสมาตาก่อนเข้าสู่ท่อล�าเลียงไซเล็ม
น�้าล�าเลียงผ่าน โคฮีชัน เอนโดเดอร์มิส
ท่อล�าเลียงไซเล็ม
โมเลกุลน�้า แคสพาเรียนสตริป
เอพิเดอร์มิส
ขนราก
แบบซิมพลาสต์

อนุภาคดิน
รากพืชดูดน�้า

การลําเลียงอาหารของพืช
ไซเล็ม โฟลเอ็ม แบบอโพพลาสต์
เซลล์คอมพาเนียน

น�้า ใบ (แหล่งสร้าง)
อาหารหรือน�้าตาลที่สังเคราะห์ขึ้นจากใบพืชจะถูกล�าเลียงเข้าสู่
ท่ อ ล� า เลี ย งโฟลเอ็ ม ในรู ป ของน�้ า ตาลซู โ ครสอาศั ย กระบวนการ
แอกทีฟทรานสปอร์ต และน�้าจากเซลล์เข้าเคียงออสโมซิสเข้ามาดัน
ให้สารละลายซูโครสเคลื่อนที่ไปตามท่อล�าเลียงสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืช
น�้า ผล (แหล่งใช้)

T7
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา

โครงสรางและ
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูแจงผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ หนวยการเรียนรูที่
2. ใหนกั เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการ
เรียนรูที่ 1
3. ครูนาํ ภาพตนไผและตนมะมวง แลวใหนกั เรียน
เปรียบเทียบภาพทั้งสอง
4. ครูถามคําถาม Big Question
1 หนาทีข่ องพืชดอก
พืชดอกประกอบดวยอวัยวะตาง ๆ ได้แก่ ราก ล�าต้น ใบ ดอก และผลทีม
่ สี ว่ นประกอบและหน้าที่
แตกต่างกัน การท�างานของอวัยวะพืชมีความสัมพันธ์กนั ท�าให้พชื ด�ารงชีวติ อยูไ่ ด้ โดยอวัยวะเหล่านี้
5. ให นั ก เรี ย นแต ล ะคนบั น ทึ ก คํ า ถาม Under ประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลายชนิดที่จ�าเพาะต่อการท�าหน้าที่ในพืชแต่ละชนิด อวัยวะเหล่านี้เหมือน
standing Check ลงในสมุดบันทึกของตนเอง หรือแตกต่างกันอย่างไร นักเรียนจะได้ศึกษารายละเอียดจากบทเรียนนี้
แลวพิจารณาขอความตามความเขาใจของ
นักเรียนวาถูกหรือผิด •· äÁÅ µŒ ¹ ¢Í§µŒ ¹ 伋 ¡Ñ º µŒ ¹ ÁÐÁ‹ Ç § ¨Ö §
ᵡµ‹Ò§¡Ñ¹
• ÍÇÑÂÇТͧ¾×ª· ˹ŒÒ·ÕèÊÑÁ¾Ñ¹¸¡Ñ¹Í‹ҧäÃ
• à¾ÃÒÐà˵Ø㴾תʋǹãËÞ‹¨Ö§¤Ò¹ ã¹àÇÅÒ
ઌÒ


U n de r s t a n d i ng
Che�
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิดแล้วบันทึกลงในสมุด
เนื้อเยื่อพืช คือ กลุ่มเซลล์ที่มีหน้าที่แตกต่างกันมาอยู่รวมกัน
รากพืชดูดซึมธาตุอาหารด้วยกระบวนการออสโมซิส
การคายน�้าของพืชเกิดขึ้นที่บริเวณปากใบเท่านั้น
ทิศทางการล�าเลี้ยงน�้าและธาตุอาหารของพืช คือ ล�าเลียงจากรากไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช
พืชอาศัยแรงดึงจากการคายน�้าเข้ามาช่วยล�าเลียงอาหารจากรากไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช
แนวตอบ Understanding Check
1. ผิด 2. ผิด 3. ผิด
4. ถูก 5. ผิด

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


• ตนไผเปนพืชใบเลีย้ งเดีย่ วมีเนือ้ เยือ่ เจริญเหนือขอทําใหตน ไผมลี าํ ตนสูง
การเรียนการสอน เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก ครูอาจทบทวน
สวนตนมะมวงเปนพืชใบเลีย้ งคูม กั พบเนือ้ เยือ่ เจริญดานขาง ทําใหลาํ ตน
ความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับเซลลและเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต โดยเนนให
ขยายขนาดกวางขึน้ ซึง่ ไมพบในพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว ดังนัน้ ตนไผจงึ มีลาํ ตน
นักเรียนเห็นวา พืชเปนสิ่งมีชีวิตหลายเซลลเหมือนกับคนและสัตว ซึ่งประกอบ
ที่ผอมสูงกวาตนมะมวง
ดวยเซลลจาํ นวนมากมารวมกันเปนเนือ้ เยือ่ ชนิดตาง ๆ ทีท่ าํ หนาทีเ่ ดียวกันกลาย
• อวัยวะของพืช เชน ราก ลําตน ใบ ดอก ซึ่งรากทําหนาที่ดูดนํ้าและธาตุ
เปนอวัยวะ เชน ราก ลําตน ใบ และทําหนาที่รวมกันกลายเปนรางกายของพืช
อาหารทีอ่ ยูใ นดินลําเลียงผานลําตนมาสูใ บซึง่ เปนอวัยวะทีม่ หี นาทีห่ ลัก
ทําใหพืชดํารงชีวิตอยูได
ในการสังเคราะหดวยแสง เพื่อผลิตอาหารใหกับพืช สวนดอกทําหนาที่
สรางเซลลสบื พันธุใ หกบั พืช เมือ่ ดอกไดรบั การผสมเกสรจะพัฒนาตอไป
เปนผลซึ่งภายในมีเมล็ดทําหนาที่แพรพันธุ
• แสงมีผลตอการเปด-ปดของปากใบ ทําใหเกิดการลําเลียงสารเขาสู
เซลลคุม สงผลใหเซลลเตง ปากใบพืชจึงเปด

T8
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
Prior Knowledge
เนื้ อ เยื่ อ พื ช แตกต า งจาก 1. เนือ้ เยือ่ พืช 1. ใหนกั เรียนรวมกันสืบคนขอมูลเพือ่ ตอบคําถาม
เนื้อเยื่อสัตวอยางไร Prior Knowledge
พืชดอกด�ารงชีวิตอยู่ได้จากการท�างานของอวัยวะต่าง ๆ
ได้แก่ ราก ล�าต้น ใบ ดอก และผล โดยอวัยวะแต่ละส่วนมีสว่ นประกอบ 2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน โดยให
และหน้าที่แตกต่างกัน ซึ่งอวัยวะเหล่านี้ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ แตละกลุม สืบคนขอมูล เรือ่ ง เนือ้ เยือ่ เจริญของ
หลายชนิดที่จ�าเพาะต่อโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะนั้น ๆ พืช
เนื้อเยื่อพืช (plant tissue) เป็นกลุ่มเซลล์ของพืชจ�านวนมากที่มีลักษณะคล้ายกันมาอยู่ 3. ใหแตละกลุม ทําใบงาน เรือ่ ง เนือ้ เยือ่ เจริญของ
รวมกันแล้วท�าหน้าที่เดียวกัน ในการจ�าแนกเนื้อเยื่อของพืชมีหลักเกณฑ์มากมาย เช่น รูปร่าง พืช
โครงสร้าง ต�าแหน่ง หน้าที ่ แต่สว่ นมากจะใช้ความสามารถในการแบ่งเซลล์เพิม่ จ�านวนของเนือ้ เยือ่ 4. ใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอใบงาน
เป็นเกณฑ์ ซึ่งสามารถแบ่งเนื้อเยื่อพืชออกเป็น 2 ชนิด คือ เนื้อเยื่อเจริญและเนื้อเยื่อถาวร 5. ใหนักเรียนแตละคนสรุปความรู เรื่อง เนื้อเยื่อ
เจริญของพืช ลงในสมุดบันทึกของตนเอง
1.1 เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissue)
เนือ้ เยือ่ เจริญประกอบด้วยเซลล์เจริญ ซึง่ เป็นกลุม่ เซลล์ทมี่ ผี นังเซลล์ปฐมภูม ิ มีลกั ษณะบาง
สม�า่ เสมอกัน มักมีนวิ เคลียสขนาดใหญ่เมือ่ เทียบกับขนาดของเซลล์ และเซลล์สามารถคงคุณสมบัติ
ของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (mitosis) เอาไว้ 1 ได้ตลอดชีวิต เนื้อเยื่อเจริญจึงเป็นเนื้อเยื่อที่ท�าให้
พืชเจริญเติบโตได้อย่างไม่สนิ้ สุดตลอดในช่วงทีพ่ ชื ยังคงมีชวี ติ อยู ่ ด้วยเหตุนเี้ ราจึงสังเกตเห็นล�าต้น
และรากยืดยาว หรือแผ่กิ่งก้านสาขาออกไปเรื่อย ๆ หรือมีเส้นผ่านศูนย์กลางเพิ่มมากขึ้น
B iology
Focus ผนังเซลลพืช
เซลล์พืชทุกชนิดมีผนังเซลล์ที่เรียกว่า ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (primary cell wall) เป็นผนัง
เซลล์ชั้นแรกที่อยู่ด้านนอกสุดของเซลล์ มีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ ซึ่งถูกยึดไว้ด้วยมิดเดิล
พลาสโมเดสมาตา ลาเมลลา (middle lamella) เซลล์บางชนิด
ของพื ช จะมี ผ นั ง เซลล์ ทุ ติ ย ภู มิ (secondary
cell wall) เป็นผนังชัน้ ในสุดทีม่ ลี กิ นิน (lignin)
เป็นองค์ประกอบส�าคัญ นอกจากนี้ผนังเซลล์
ผนังเซลล์ปฐมภูมิ ของพืชจะมีช่องว่างเรียกว่า พลาสโมเดสมาตา
ผนังเซลล์ทุติยภูมิ (plasmodesmata) เชื่อมต่อกันระหว่างเซลล์
ไซโทพลาซึม ท�าให้สามารถส่งสารเคมี น�้า และธาตุอาหาร
ระหว่างกันได้ แนวตอบ Prior Knowledge
เยื่อหุ้มเซลล์ เนื้อเยื่อพืชประกอบดวยเซลลที่มีผนังหนา
ภาพที่ 1.1 ส่วนประกอบของผนังเซลล์
ที่มา : http://www.yourarticlelibrary.com ซึ่งเปนสารประเภทเซลลูโลส และมีแวคิวโอลที่
มีขนาดใหญกวา และมีคลอโรพลาสตเปนองค-
โครงสร้างและ 3
ประกอบ ทําหนาที่สังเคราะหดวยแสง แตกตาง
หน้าที่ของพืชดอก
กับเนือ้ เยือ่ สัตวทปี่ ระกอบดวยเซลลทไี่ มมผี นังเซลล
มีแวคิวโอลขนาดเล็กกวา และไมมีคลอโรพลาสต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดเปนลักษณะของเซลลบริเวณเนื้อเยื่อเจริญ 1 ไมโทซิส (mitosis) เปนการแบงเซลลเพือ่ เพิม่ จํานวนเซลลรา งกาย เมือ่ ผาน
1. เซลลมขี นาดใหญ กระบวนการแบงเซลล เริม่ ตนจากเซลลเพียง 1 เซลล จนสมบูรณ จะไดเซลลใหม
2. เซลลมรี ปู รางยืดยาว 2 เซลล ที่มีจํานวนโครโมโซมเทาเดิม โดยไมโทซิสแบงออกเปน 5 ระยะ ดังนี้
3. ผนังเซลลคอ นขางบาง 1. ระยะอินเตอรเฟส (interphase) เปนระยะที่มีการสังเคราะหสารตาง ๆ
4. ไซโทพลาซึมยอมติดสีจาง เพื่อเตรียมเขาสูกระบวนการแบงนิวเคลียส
5. นิวเคลียสสลายไปเมือ่ เซลลเจริญเต็มที่ 2. ระยะโพรเฟส (prophase) เปนระยะที่สารพันธุกรรมจะพันกันแนนจน
(วิเคราะหคําตอบ เนื้ อ เยื่ อ เจริ ญ มี ผ นั ง เซลล ที่ มี ลั ก ษณะบาง เริ่มเห็นเปนรูปโครโมโซม
สมํ่าเสมอกัน มีนิวเคลียสขนาดใหญเมื่อเทียบกับเซลลอื่น และมี 3. ระยะเมตาเฟส (metaphase) เปนระยะทีโ่ ครโมโซมเรียงตรงกลางเซลล
สมบัติของการแบงเซลล ดังนั้น ตอบขอ 3.) 4. ระยะแอนนาเฟส (anaphase) เปนระยะทีโ่ ครโมโซมแตละอันถูกดึงแยก
จากกันไปยังขั้วของเซลล
5. ระยะเทโลเฟส (telophase) และการแบงไซโทพลาสซึม (cytokinesis)
มีการสรางเยื่อหุมนิวเคลียสขึ้นอีกครั้ง และมีการแบงไซโทพลาซึม ถา
เปนเซลลพืชจะมีการสรางผนังเซลลขึ้นใหม

T9
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ หากแบ่งเนือ้ เยือ่ เจริญตามต�าแหน่งทีอ่ ยูใ่ นส่วนต่าง ๆ ของพืช จะแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่
ทําใบงาน เรื่อง เนื้อเยื่อเจริญของพืช โดยใช เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ และเนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง
แนวคําถาม ดังนี้ 1. เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem) ถ้าพบตามปลายยอดของล�าต้นหรือ
ï• เนือ้ เยือ่ เจริญของพืชดอกแบงออกเปนกีช่ นิด กิ่งก้านจะเรียกเนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอด (shoot apical meristem) เมื่อแบ่งเซลล์จะท�าให้ล�าต้น
(แนวตอบ เนื้อเยื่อเจริญของพืชมี 3 ประเภท หรือกิ่งก้านยืดยาวออกและเกิดการสร้างใบ แต่ถ้าพบที่ส่วนปลายของรากจะเรียกเนื้อเยื่อเจริญ
ไดแก เนือ้ เยือ่ เจริญสวนปลาย เนือ้ เยือ่ เจริญ ส่วนปลายราก (root apical meristem) เมื่อแบ่งเซลล์จะท�าให้รากยาวขึ้น โดยการเจริญเติบโต
เหนือขอ และเนื้อเยื่อเจริญดานขาง) ที่ท�าให้ส่วนต่าง ๆ ของพืชมีความสูงหรือความยาวเพิ่มมากขึ้น เรียกการเจริญลักษณะเช่นนี้ว่า
•ï เนื้อเยื่อเจริญมีความสําคัญกับพืชอยางไร การเติบโตปฐมภูมิ (primary growth)
(แนวตอบ เนือ้ เยือ่ เจริญเปนเนือ้ เยือ่ ทีม่ สี มบัติ
การแบงเซลลได ทําใหพืชเจริญเติบโตได
อยางไมมสี นิ้ สุด โดยเนือ้ เยือ่ เหลานีจ้ ะเจริญ
ตอไปจนกระทั่งทําหนาที่เฉพาะ เรียกวา
เนื้อเยื่อถาวร โดยมียีนหรือสารพันธุกรรม
เปนตัวกําหนดรูปราง ขนาด และหนาที่ให
สอดคลองกับโครงสรางเฉพาะสวนตาง ๆ
ของพืช)

ภาพที่ 1.2 เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอด ภาพที่ 1.3 เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายราก


ที่มา : www.slideserve.com ที่มา : www.slideserve.com

2. เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (interca-
lary meristem) พบอยู่ระหว่างข้อ (node)
ตรงบริเวณเหนือข้อล่างหรือปล้อง (internode)
บริเวณเหนือโคนของปล้องบน ท�าให้บริเวณ 1
ดังกล่าวยืดยาวขึ้น เนื่องจากข้อหรือปล้อง
บริเวณนีจ้ ะแบ่งเซลล์ได้ยาวนานกว่าบริเวณอืน่
ในปล้องเดียวกัน ส่วนใหญ่มักจะพบในพืช
ใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น หญ้า ข้าว ข้าวโพด ไผ่
ภาพที่ 1.4 เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อของไผ่
ที่มา : คลังภาพ อจท.

4 เนื้อเยื่อเจริญปลายราก

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ปลอง (internode) เปนสวนของลําตนที่อยูระหวางขอ จะสังเกตสวนของ การเติบโตปฐมภูมิเกิดจากการแบงเซลลของเนื้อเยื่อบริเวณใด
ขอปลองในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวไดอยางชัดเจน เชน ตนไผ ออย ขาวโพด สวนพืช ก. เนื้อเยื่อเจริญดานขาง
ใบเลีย้ งคูเ มือ่ เจริญเติบโตเต็มทีจ่ ะเห็นขอปลองไมชดั เจน แตพชื ใบเลีย้ งคูบ างชนิด ข. เนื้อเยื่อเจริญเหนือขอ
สามารถสังเกตเห็นขอปลองไดอยางชัดเจนเหมือนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เชน ตําลึง ค. เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด
ง. เนื้อเยื่อเจริญปลายราก
1. ก. และ ข.
สื่อ Digital 2. ค. และ ง.
3. ก. ข. และ ค.
ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ 4. ข. ค. และ ง.
เนื้อเยื่อพืช จาก QR Code เรื่อง เนื้อเยื่อ 5. ก. ข. ค. และ ง.
เจริญปลายราก (วิเคราะหคําตอบ การเติบโตปฐมภูมทิ าํ ใหพชื มีลกั ษณะยืดยาวขึน้
สวนใหญพบในเนือ้ เยือ่ เจริญสวนปลาย นอกจากนี้ ยังพบในเนือ้ เยือ่
เจริญเหนือขอ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T10
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
3. เนือ้ เยือ่ เจริญด้านข้าง (lateral meristematic) เป็นเนือ้ เยือ่ เจริญทีอ่ ยูใ่ นแนวขนานกับ 2. หลังจากอภิปราย ครูอาจใชภาพจาก Power-
เส้นรอบวง ส่วนใหญ่พบในพืชใบเลี้ยงคู่ เช่น ต้นมะม่วง ถั่ว พริก และพบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว Point ประกอบการสอน และชีส้ ว นตาง ๆ ของพืช
บางชนิ ด เช่ น หมากผู ้ ห มากเมี ย เข็ ม กุ ดั่ น ศรนารายณ์ เนื้ อ เยื่ อ ชนิ ด นี้ จ ะแบ่ ง เซลล์ แล ว ระบุ ว  า มี เ นื้ อ เยื่ อ บริ เ วณใดเป น องค -
เพิ่มจ�านวนออกทางด้านข้าง เรียกว่า แคมเบียม (cambium) ท�าให้ล�าต้นและรากมีขนาดใหญ่ขึ้น ประกอบ
หากพบเนื้อเยื่อนี้อยู่ระหว่างเนื้อเยื่อท่อล�าเลียงน�้าและเนื้อเยื่อท่อ 3. ครูถามนักเรียนวา การเจริญเติบโตปฐมภูมิ
คอร์กแคมเบียม
ล�าเลียงอาหารจะเรียกว่า วาสคิวลาร์แคมเบียม (vascular cambium) (cork cambium) สงผลอยางไรกับพืช จากนั้นสุมนักเรียนออก
ซึ่งจะแบ่งเซลล์ท�าให้เกิดเนื้อเยื่อท่อล�าเลียง คอร์ก มาอธิบายคําตอบ
(vascular tissue) เพิ่มขึ้น และถ้าพบ (cork) (แนวตอบ พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยมี
เนือ้ เยือ่ นีอ้ ยูใ่ นชัน้ เอพิเดอร์มสิ หรือชัน้ แนวคําตอบวา การเจริญปฐมภูมมิ ผี ลทําใหพชื
ถัดเข้าไปจะเรียกว่า คอร์กแคมเบียม สูงยาวขึ้น)
(cork cambium) เมื่อเซลล์เกิด 4. ครูใหนักเรียนจับคู แลวเปายิงฉุบกัน โดย
การแบ่งตัวจะท�าให้เกิดเนื้อเยื่อ วาสคิวลาร์แคมเบีบม
ผูช นะเปนฝายถามคําถามทาทายการคิดขัน้ สูง
คอร์ก (cork) โดยการเจริญเติบโตที่ (vascular cambium)
(H.O.T.S.) และผูแพเปนผูตอบคําถาม จากนั้น
ท�าให้ล�าต้น หรือรากพืชมีขนาด
ครูใหผชู นะนําเสนอคําตอบของคูต นเอง พรอม
เส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางเพิ่ ม มากขึ้ น
เรียกการเจริญลักษณะเช่นนี้ว่า ภาพที่ 1.5 เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง
เสนอแนวคําตอบของตนเองรวมกับของเพื่อน
การเติบโตทุติยภูมิ (secondary growth) ที่มา : http://www.bio.miami.edu/dana/dox/stem.html

1.2 เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissue) H. O. T. S.


คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
เนือ้ เยือ่ ถาวรเป็นเนือ้ เยือ่ ทีป่ ระกอบด้วยกลุม่ เซลล์ทเี่ จริญ
เต็มที่แล้ว ไม่มีการแบ่งเซลล์ต่อไปอีก ประกอบด้วยเซลล์ที่มี พืชจะมีลักษณะ
เซลล์
เป็นเอย่
ยือ่ บุาขงไร
า้ งแก้ม
รูปร่าง ขนาด และหน้าที่ต่างกัน
หากพืชมีเพียง
เนื้อเยื่อถาวรมีหลายชนิด แต่ละชนิดพัฒนาและเปลี่ยน เนื้อเยื่อเจริญ และพืชจะด�ารง
สภาพมาจากเนือ้ เยือ่ เจริญ โดยเนือ้ เยือ่ ถาวรแบ่งได้เป็น 3 ระบบ ชีวิตอยู่ได้หรือไม่
ได้แก่ ระบบเนื้อเยื่อผิว ระบบเนื้อเยื่อพื้น และระบบเนื้อเยื่อ
ท่อล�าเลียง ซึ่งแต่ละระบบมีรูปร่าง ขนาด และท�าหน้าที่ต่างกัน
ดังนี้
แนวตอบ H.O.T.S.
หากพืชมีเพียงเนื้อเยื่อเจริญ พืชจะเจริญแบง
โครงสร้างและ 5
เซลลอยางไมมสี นิ้ สุด ไมมกี ารเปลีย่ นแปลงรูปราง
หน้าที่ของพืชดอก
ไมมีหนาที่เฉพาะ พืชดังกลาวจึงไมมีอวัยวะ และ
ไมสามารถดํารงชีวิตอยูได

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เนื้อเยื่อเจริญชนิดใด เมื่อแบงเซลลแลว มีผลทําใหลําตนพืช ครูอธิบายเพิม่ เติมใหกบั นักเรียนวา ทัง้ การเติบโตปฐมภูมขิ องเนือ้ เยือ่ เจริญ
มีขนาดเสนผานศูนยกลางเพิ่มขึ้น สวนปลาย และการเติบโตทุติยภูมิของเนื้อเยื่อเจริญดานขาง สงผลใหตนไมมี
1. เนื้อเยื่อพื้น รูปทรงที่แตกตางกัน เชน ถาตนไมตนหนึ่งมีเนื้อเยื่อเจริญสวนปลายที่มีความ
2. เนื้อเยื่อเจริญเหนือขอ แข็งแรงและขมเนื้อเยื่อเจริญดานขาง ตนไมจะมีลักษณะเปนทรงพุมสูง ในทาง
3. เนื่อเยื่อเจริญดานขาง ตรงกันขาม หากตนไมชนิดนัน้ มีเนือ้ เยือ่ เจริญสวนปลายไมแข็งแรง จะสงผลใหมี
4. เนื้อเยื่อเจริญปลายราก การเจริญของเนือ้ เยือ่ เจริญดานขางมากกวาเกิดการแตกกิง่ กานเปนจํานวนมาก
5. เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด ตนไมจะมีทรงพุมเตี้ยและแผกวางกวา
(วิเคราะหคําตอบ เนือ้ เยือ่ เจริญดานขางประกอบดวยวาสคิวลาร
แคมเบียมและคอรกแคมเบียม เมื่อเนื้อเยื่อเหลานี้เกิดการแบง
เซลล สงผลใหลาํ ตน หรือรากพืชมีขนาดเสนผานศูนยกลางเพิม่ ขึน้
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T11
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 3 กลุม โดยให เซลล์คุม 1. ระบบเนื้อเยื่อผิว (epidermal tissue system)
แตละกลุมสืบคนขอมูล เรื่อง ระบบเนื้อเยื่อ มีดังนี้
ถาวร โดยแบงหนาที่ความรับผิดชอบแตละ 1) เอพิเดอร์มิส (epidermis) เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่รอบ
กลุม ดังนี้ นอกสุดของส่วนต่าง ๆ ของพืช ท�าหน้าที่ป้องกันเนื้อเยื่ออื่น ๆ
- กลุมที่ 1 ศึกษาหัวขอระบบเนื้อเยื่อผิว ที่อยู่ภายใน เอพิเดอร์มิสของล�าต้นและใบประกอบด้วยเซลล์
- กลุมที่ 2 ศึกษาหัวขอระบบเนื้อเยื่อพื้น หลายชนิด ส่วนใหญ่เป็นเซลล์ผิว (epidermal cell) ที่เรียงตัวกัน
- กลุมที่ 3 ศึกษาหัวขอระบบเนื้อเยื่อลําเลียง เพียงชั้นเดียว แต่ในพืชบางชนิดอาจพบเนื้อเยื่อชั้นนี้มากกว่า
2. ใหแตละกลุม ทําใบงาน เรือ่ ง ระบบเนือ้ เยือ่ ถาวร หนึ่งชั้น เซลล์ผิวมีรูปร่างที่แตกต่างกันหลายแบบ ภายในเซลล์
ของพืช มักไม่พบคลอโรพลาสต์ เซลล์เรียงชิดติดกันไม่มชี อ่ งว่างระหว่าง
- กลุมที่ 1 ทําตอนที่ 1 ระบบเนื้อเยื่อผิว เซลล์ ตัวอย่างเช่น ชัน้ เอพิเดอร์มสิ ของเซลล์ใบพืช ประกอบด้วย
รูปากใบ เซลล์ผิวที่พบเฉพาะผนังเซลล์ปฐมภูมิซึ่ง1ผนังเซลล์ด้านนอกมัก
- กลุมที่ 2 ทําตอนที่ 2 ระบบเนื้อเยื่อพื้น
ภาพที่ 1.6 ลักษณะของปากใบ หนากว่าด้านในและเคลือบด้วยสารคิวทินเพื่อลดการระเหยของ
- กลุมที่ 3 ทําตอนที่ 3 ระบบเนื้อเยื่อลําเลียง ที่มา : http://www.artasaweap-
3. ใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอใบงาน on.info น�้า นอกจากนี้ ยังพบเซลล์คุม (guard cell) ซึ่งมีรูปร่างคล้ายไต
4. ใหนักเรียนแตละคนสรุปความรู เรื่อง ระบบ หรือเมล็ดถัว่ แดงเป็นคูป่ ระกบกัน ภายในเซลล์คมุ มีคลอโรพลาสต์
เนื้อเยื่อถาวร ลงในสมุดบันทึกของตนเอง ส่วนชัน้ เอพิเดอร์มสิ ในรากพืชประกอบด้วยเซลล์ผวิ และเซลล์ขน
ราก แต่ไม่พบเซลล์คุม
2) เพริเดิร์ม (periderm) เป็นเนื้อเยื่อที่เกิดจากการ
แบ่งตัวของเนื้อเยื่อบริเวณเส้นรอบวงของรากและล�าต้น ท�า
ให้เอพิเดอร์มิสแตกออก เนื้อเยื่อชนิดนี้จึงเข้ามาแทนที่ ส่งผล
ให้รากและล�าต้นขยายขนาดขึ้น พบในพืชที่มีอายุมาก เพริ
เดิร์มประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ชั้นนอกสุด คื2อ คอร์กหรือเฟลเลม
(phellem) เซลล์กลุ่มนี้สะสมสารซูเบอริน (suberin) เหนือผนัง
เซลล์เพื่อป้องกันการระเหยของน�้า เมื่อเซลล์แก่จะตายและมี
อากาศเข้ามาแทนที ่ ชัน้ ถัดมา คือ คอร์กแคมเบียมหรือเฟลโลเจน
(phellogen) ท�าหน้าที่สร้างเนื้อเยื่อเพริเดิร์ม และชั้นถัดมา คือ
เฟลโลเดิร์ม (phelloderm) ซึ่งประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมาอยู่
ภาพที ่ 1.7 เนือ้ เยือ่ เพริเดิรม์ (สีแดง) ติดกับชั้นคอร์เทกซ์ (cortex)
เนือ้ เยือ่ พาเรงคิมา (สีฟา้ )
ที่มา : http://irrecenvhort.ifas.
ufl.edu

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนํานักเรียนเพิม่ เติมเกีย่ วกับเอพิเดอรมสิ วา บริเวณชัน้ เอพิเดอร- ขอใดจับคูเนื้อเยื่อและประเภทของเนื้อเยื่อไดถูกตอง
มิสอาจพบเซลลที่มีลักษณะเปนขน เรียกวา ไทรโคม (trichome) ทําหนาที่ขับ 1. คอรก-เนื้อเยื่อถาวร
สารพิษ ชวยปองกันความรอนใหแกพชื สวนไทรโคมทีบ่ ริเวณรากพืช จะทําหนาที่ 2. ไซเล็ม-เนื้อเยื่อเจริญ
เพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึมนํ้าและธาตุอาหาร 3. พาเรงคิมา-เนื้อเยื่อเจริญ
4. เอพิเดอรมิส-เนื้อเยื่อเจริญ
5. วาสคิวลารแคมเบียม-เนื้อเยื่อถาวร
นักเรียนควรรู (วิเคราะหคําตอบ เนื้อเยื่อถาวร เชน คอรก ไซเล็ม พาเรงคิมา
เอพิเดอรมิส สวนเนื้อเยื่อเจริญ เชน วาสคิวลารแคมเบียม คอรก
1 คิวทิน เปนสารที่พบในชั้นเคลือบผิวที่บริเวณใบ เรียกชั้นนี้วา คิวทิเคิล แคมเบียม ดังนั้น ตอบขอ 1.)
(cuticle) คิวทินพบปะปนอยูกับขี้ผึ้ง ทําใหเนื้อเยื่อสวนนั้น ๆ มีสีขาวนวล และ
ปองกันการระเหยของนํ้า
2 ซูเบอริน เปนสารที่มีลักษณะคลายขี้ผึ้ง เชน ผนังเซลลของไมคอรก

T12
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2. ระบบเนื้อเยื่อพื้น (ground tissue system) มีดังนี้ 1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา
1) พาเรงคิมา (parenchyma) ประกอบด้วยเซลล์ ใบงาน เรื่อง ระบบเนื้อเยื่อถาวรของพืช โดย
พาเรงคิมา (parenchyma cell) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีชีวิต ภายใน นําภาพเนื้อเยื่อพืชตัวอยางมาใหนักเรียนรวม
มีแวคิวโอลขนาดใหญ่ โดยทัว่ ไปมีผนังเซลล์ปฐมภูม ิ และมีความหนา กันตอบคําถามวาเปนเนื้อเยื่อชนิดใด
บางสม�า่ เสมอกันทัง้ เซลล์ เซลล์มรี ปู ร่างแตกต่างกันไป เช่น ค่อน ตัวอยางคําถาม เชน บริเวณ A และ B คือ
ข้างกลม ทรงกระบอกหรือรี แต่ส่วนใหญ่มีรูปร่างค่อนข้างกลม เนื้อเยื่ออะไร
การเรียงตัวของเซลล์จงึ ท�าให้เกิดช่องว่างระหว่างเซลล์ (intercel-
lular space) อยูเ่ สมอ เซลล์พาเรงคิมาทีพ่ บในบริเวณแตกต่างกัน A
อาจมีส่วนประกอบแตกต่างกัน และมีหน้าที่ได้หลากหลาย เช่น
การสังเคราะห์ดว้ ยแสง สะสมอาหาร หรือสารต่าง ๆ ทีจ่ า� เป็นต่อ ภาพที่ 1.8 เนื้อเยื่อพาเรงคิมา B
การด�ารงชีวิตของพืช ที่มา : http://learn.mindset.co.za
2) คอลเลงคิมา (collenchyma) เป็นเนือ้ เยือ่ ทีใ่ ห้ความ
แข็งแรงแก่โครงสร้างพืช พบมากบริเวณใต้ชั้นเอพิเดอร์มิสของ
ล�าต้น ก้านใบ และแผ่นใบ แต่ไม่พบในราก เกิดจากกลุ่มเซลล์ ( แนวตอบ บริ เ วณ A คื อ สเกลอเรงคิ ม า
ชนิดเดียวกันเรียกว่า เซลล์คอลเลงคิมา (collenchyma cell) ซึ่ง เนือ่ งจากมีผนังเซลลคอ นขางหนา สวนบริเวณ
เป็นเซลล์ที่มีชีวิต B คือ พาเรงคิมา เนื่องจากเซลลคอนขางกลม
เซลล์คอลเลงคิมามีลักษณะคล้ายกับเซลล์พาเรงคิมา มีผนังเซลลหนาบางสมํ่าเสมอกันทั้งเซลล)
แต่ มี ผ นั ง เซลล์ ป ฐมภู มิ ค ่ อ นข้ า งหนาและมี ค วามหนาบาง
ไม่สม�่าเสมอกัน ส่วนที่หนามักอยู่ตามมุมของเซลล์ ผนังเซลล์
ประกอบด้วยเซลลูโลส (cellulose) กับเพกทิน (pectin) นอกจากนี้ ภาพที่ 1.9 เนื้อเยื่อคอลเลงคิมา
ยังพบในส่วนของพืชที่ยังอ่อน จึงยืดตัวและท�าให้พืชมีการเจริญ ทีม่ า : http://biofile.ru/bio/17602.html
เติบโต
B iology
Focus เซลลูโลส
เซลลูโลส (C6H10O5)n เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่เกิดจากกลูโคสประมาณ 50,000 โมเลกุล
มาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว แต่ละสายของเซลลูโลสเรียงขนานกัน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสาย ท�าให้มี
ลักษณะเป็นเส้นใย สะสมไว้ในพืช ไม่พบในเซลล์สตั ว์ เซลลูโลสไม่ละลายน�า้ และมนุษย์ไม่สามารถย่อย
สลายได้ เซลลูโลสช่วยในการกระตุ้นล�าไส้ใหญ่ให้เคลื่อนไหว เพิ่มเนื้ออุจจาระ และกระตุ้นให้ล�าไส้ใหญ่
หลั่งเมือก (mucous) ออกมา จึงลดโอกาสเป็นโรคริดสีดวงทวาร

โครงสร้างและ 7
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดไมใชสมบัติของเนื้อเยื่อคอลเลงคิมา ครูและนักเรียนรวมกันเปรียบเทียบเนื้อเยื่อชนิดตางๆ ในระบบเนื้อเยื่อพื้น
1. เปนเซลลที่มีชีวิต เปนรูปแบบของตาราง เพื่อใหนักเรียนเขาใจความแตกตางของเนื้อเยื่อในระบบ
2. พบในบริเวณลําตน กานใบ และแผนใบ นี้มากขึ้น
3. มักพบในบริเวณอวัยวะของพืชที่ไมเจริญ
หัวขอที่นํามาเปรียบเทียบ พาเรงคิมา คอลเลงคิมา สเกลอเรงคิมา
4. มีผนังเซลลปฐมภูมิหนาบางไมสมํ่าเสมอกัน
ความหนาบาง สมํ่าเสมอ ไมสมํ่าเสมอ หนามาก
5. ชวยสรางความแข็งแรงใหกับโครงสรางของพืช ของผนังเซลล
(วิเคราะหคําตอบ เนื้ อ เยื่ อ คอลเลงคิ ม า เป น เนื้ อ เยื่ อ ที่ มี ผ นั ง หนาที่ ทําหนาที่ ใหความแข็งแรง ชวยพยุง และให
เซลลปฐมภูมิหนาบางไมสมํ่าเสมอกัน สวนที่หนามักอยูตามมุม หลากหลาย เชน แกโครงสรางพืช ความแข็งแรงแก
สังเคราะหดวย โครงสรางพืช
ของเซลล ทําหนาทีส่ รางความแข็งแรงใหกบั โครงสรางของพืช เชน แสง สะสมอาหาร
ลําตน กานใบ แผนใบ ดังนั้น ตอบขอ 3.) การมีชีวิตของเซลล เปนเซลลที่มีชีวิต เปนเซลลที่มีชีวิต เปนเซลลที่
ไมมีชีวิต

T13
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
2. ใหนักเรียนทํากิจกรรม โดยครูทําสลากที่มีชื่อ 3) สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma) เป็นเนื้อเยื่อที่ Biology
เนื้อเยื่อ ดังนี้ ไดแก เอพิเดอรมิส เพริเดิรม in real life
ท�าหน้าที่ช่วยพยุงและให้ความแข็งแรงแก่ส่วนต่าง ๆ ของพืช
พาเรงคิมา คอลเลงคิมา สเกลอเรงคิมา ไซเล็ม ในปัจจุบันกระดาษท�ามาจาก
ประกอบด้วยเซลล์ทเี่ รียกว่า เซลล์สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma เปลือกไม้ ผ่านกระบวนการผลิต
และโฟลเอ็ม cell) ซึง่ เป็นเซลล์ทไี่ ม่มชี วี ติ มีทงั้ ผนังเซลล์ปฐมภูมแิ ละผนังเซลล์ เยือ่ ให้ได้เส้นใย ซึง่ ประกอบด้วย
3. ครูแจกสลากใหกบั นักเรียน โดยนักเรียนแตละ ทุติยภูมิที่ค่อนข้างหนา ซึ่งประกอบด้วยเซลลูโลส (cellulose) เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส นอกจากนี้
คนจะไดรับฉลากชื่อเนื้อเยื่อเพียง 1 ชื่อ และ ลิกนิน (lignin) เพกทิน (pectin) และซูเบอริน (suberin) ยังมีลิกนิน ซึ่งท�าหน้าที่เชื่อม
หามไมใหเพื่อนเห็นสลากของนักเรียน เซลล์สเกลอเรงคิมาจ�าแนกออกเป็น 2 ชนิด ตามลักษณะ เส้นใยให้อยูด่ ว้ ยกัน ในกระบวน
รูปร่างของเซลล์ ได้แก่ เซลล์เส้นใยหรือไฟเบอร์ (fiber) และ การผลิตกระดาษ จ�าเป็นต้อง
4. ครูพดู ชือ่ ระบบเนือ้ เยือ่ ถาวรแตละระบบ แลวให ก�าจัดลิกนินออก เพราะหากมี
นักเรียนยืนขึน้ ตามระบบทีน่ กั เรียนไดรบั สลาก สเกลอรีด (sclereid) เซลล์ทั้ง 2 ชนิด มักพบในบริเวณ ลิกนินหลงเหลืออยู่ในกระดาษ
เนือ้ เยือ่ นัน้ จากนัน้ จึงแสดงสลากของตนเองให หรื อ อวั ย วะของพื ช ที่ ไ ม่ มี ก ารเจริ ญ เติ บ โตแล้ ว เนื่ อ งจาก เมื่ อ กระดาษถู ก แสงแล้ ว จะ
เพื่อนดู เซลล์ ไ ม่ ส ามารถยื ด ตั ว ได้ เช่ น ส่ ว นที่ แ ข็ ง ของเปลื อ กไม้ ท� า ให้ ก ระดาษเปลี่ ย นเป็ น
เปลือกเมล็ด สีเหลืองเมื่อได้รับแสง
5. ครูและนักเรียนรวมกันประเมินวาถูกหรือไม
อยางไร

ภาพที ่ 1.10 เซลล์เส้นใยหรือไฟเบอร์ เป็นเซลล์ทมี่ รี ปู ร่าง ภาพที ่ 1.11 สเกลอรีดมีรูปร่างหลายแบบ เช่น รูปหลาย
เรียวยาว หัวท้ายแหลม เหลี่ยม รูปดาว เป็นต้น
ที่มา : https://kk.wikipedia.org ทีม่ า : https://en.wikipedia.org/wiki/Ground_tissue

B iology
Focus เพกทิน
1
เพกทินเป็นสารพอลิแซ็กคาไรด์ ((polysaccharide) พบได้ทวั่ ไปในผนังเซลล์ของพืชทีม่ อี ายุนอ้ ย
ท�าหน้าที่เป็นโครงสร้างเซลล์และยึดเหนี่ยวเซลล์พืชให้เชื่อมติดกันในบริเวณชั้นมิดเดิลลาเมลลา
รวมถึงเป็นสารตั้งต้นของเอนไซม์เพกทิเนส และเป็นส่วนประกอบส�าคัญของเนื้อเยื่อพาเรงคิมา

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครู อ าจนํ า สไลด ตั ว อย า งของเซลล เ ส น ใยหรื อ ไฟเบอร และสเกลอรี ด ใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากแหลงเรียนรูตาง ๆ เชน
มาใหนักเรียนศึกษาเปรียบเทียบรูปราง ลักษณะ ภายใตกลองจุลทรรศน เพื่อให อินเทอรเนต หนังสือ วารสารวิชาการ เพือ่ ศึกษาเนือ้ เยือ่ ชนิดตาง ๆ
นักเรียนมีความเขาใจมากขึน้ หรือครูอาจหาภาพสเกลอรีดทีม่ รี ปู รางตาง ๆ เชน ที่อยูภายในลําตนและรากของพืชใบเลี้ยงคู แลวเขียนเปนรายงาน
รูปหลายเหลี่ยม รูปดาว มาใหนักเรียนไดศึกษา ใสกระดาษ A4 สงครูผูสอน

นักเรียนควรรู กิจกรรม ทาทาย


1 พอลิเเซ็กคาไรด เปนคารโบไฮเดรตที่เกิดจากมอนอแซ็กคาไรดตั้งแต 10 ใหนกั เรียนศึกษาคนควาเพิม่ เติมจากแหลงเรียนรูต า ง ๆ เชน
โมเลกุลขึ้นไป มาเชื่อมตอกันดวยพันธะเคมี (พันธะไกลโคซิดิก) ซึ่งในธรรมชาติ อินเทอรเน็ต หนังสือ วารสารวิชาการ เพือ่ สรุปสาระสําคัญ และ
พอลิแซ็กคาไรด ไมมีสี ไมมีรส จําแนกประเภทของเนือ้ เยือ่ พืชในรูปของผังมโนทัศน แลวนําไปใช
ระบุประเภทเนือ้ เยือ่ ทีอ่ ยูใ นสวนประกอบตาง ๆ ของพืช ไดแก ลําตน
ราก และใบ ของพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว เชน ตนไผ และพืชใบเลีย้ งคู เชน
ตนมะมวง

T14
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
3. ระบบเนื้อเยื่อท่อล�าเลียง (vascular tissue system) มีดังนี้ 1. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Question
1) ไซเล็ม (xylem) เป็นเนือ้ เยือ่ ทีท่ ำ� หน้ำทีล่ ำ� เลียงน�ำ้ และธำตุอำหำรจำกรำกไปยังส่วน 2. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
ต่ำง ๆ ของพืช ประกอบด้วยเซลล์หลำยชนิด ได้แก่ เซลล์พำเรงคิมำ เซลล์ไฟเบอร์ เซลล์ที่ท�ำ ม.5 เลม 1
หน้ำที่ล�ำเลียงน�้ำมี 2 ชนิด คือ เทรคีด (tracheid) และเวสเซลเมมเบอร์ (vessel member)
เซลล์ทั้ง 2 ชนิด เมื่อเจริญเต็มที่จะไม่มีชีวิตและมี ขัน้ สรุป
1 ผนังเซลล์หนำ ซึ่งเป็นผนังเซลล์ทุติยภูมิ ตรวจสอบผล
สะสม ยกเว้นบริเวณไส้ไม้หรือพิธ (pith) ซึ่งเป็นบริเวณผนังเซลล์ที่บำง ส่งผลให้
ที่มีสำรลิกนินมำสะสม
น�้ำสำมำรถไหลผ่ำนจำกเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งได้ ลักษณะของเทรคีดและเวสเซลเมมเบอร์ ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย เรือ่ ง เนือ้ เยือ่
แตกต่ำงกันโดยเทรคีดเป็นเซลล์ที่มีรูปร่ำงยำวเรียวรูปกระสวย ไม่พบช่องทะลุที่หัวท้ำยของเซลล์ พืช จากนัน้ ใหนกั เรียนทําผังมโนทัศนสรุปจําแนก
ส่วนเวสเซลเมมเบอร์มรี ปู ร่ำง เทรคีด ประเภทและสรุปชนิดของเนือ้ เยือ่ พืช ลงในกระดาษ
อ้วนสัน้ กว่ำเทรคีดรูปกระบอก เวสเซล
A4 ตกแตงใหสวยงาม พรอมนําเสนอหนาชัน้ เรียน
และมักมีขนำดใหญ่กว่ำ บริเวณ
ด้ำนหัวและท้ำยของเซลล์มชี อ่ ง
รอยปรุ
ทะลุถึงกัน ซึ่งมีลักษณะเป็น พิธ
รอยปรุหรือรูพรุน (perforation
เวสเซลเมมเบอร์
plate) เมื่อเวสเซลเมมเบอร์ 100 μm
หลำย ๆ เซลล์เรียงต่อกันจะ
มีลักษณะคล้ำยท่อน�้ำเรียกว่ำ พิธ
เวสเซล (vessel) ท�ำให้ลำ� เลียง
45 μm เวสเซล เทรคีด
น�้ำได้อย่ำงต่อเนื่อง
ภาพที่ 1.12 ลักษณะของเทรคีดและเวสเซลเมมเบอร์
ที่มา : http://intranet.tdmu.edu.ua

2) โฟลเอ็ม (phloem) เป็นเนื้อเยื่อที่ท�ำหน้ำที่ล�ำเลียงอำหำรที่ได้จำกกระบวนกำร


สังเครำะห์ด้วยแสงไปยังส่วนต่ำง ๆ ของพืช เซลล์ที่ท�ำหน้ำที่ล�ำเลียงอำหำร คือ เซลล์ท่อล�ำเลียง
อำหำรหรือซีฟทิวบ์เมมเบอร์ (sieve tube member) เป็นเซลล์ที่มีชีวิต มีรูปร่ำงของเซลล์เป็น
ทรงกระบอก เมื่อเจริญเต็มที่จะไม่มีนิวเคลียสแต่ยังคงมีชีวิตอยู่ มีแวคิวโอลขนำดใหญ่ที่มีอำหำร
อยู่ภำยใน ผนังเซลล์ปฐมภูมิของซีฟทิวบ์เมมเบอร์จะบำง พบรูเล็ก ๆ อยู่เป็นกลุ่มบริเวณผนังด้ำน
หัวท้ำยของเซลล์ ท�ำให้หัวท้ำยของเซลล์มีลักษณะเป็นแผ่นตะแกรงหรือซีฟเพลต (sieve plate)
หำกซีฟทิวบ์เมมเบอร์หลำย ๆ เซลล์เรียงต่อกันเรียกว่ำ ท่อล�าเลียงอาหารหรือซีฟทิวบ์ (sieve tube)

โครงสร้างและ 9
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดจับคูเนื้อเยื่อกับหนาที่ไดถูกตอง 1 พิธ คือ เนื้อเยื่อบริเวณกลางลําตนและรากซึ่งเปนเซลลที่มีผนังเซลลบาง
1. ไซเล็ม-ลําเลียงนํ้าและอาหาร ในพืชบางชนิดเมื่อมีอายุมากขึ้น ไสในจะสลายตัวไปกลายเปนชองกลางลําตน
2. คอรก-ปองกันเนื้อเยื่อที่อยูภายใน เชน ตนไผ มะละกอ
3. โฟลเอ็ม-ลําเลียงนํ้าและธาตุอาหาร
4. เอพิเดอรมิส-เพิ่มความแข็งแรงแกพืช
5. พาเรงคิมา-ปองกันการระเหยของนํ้าที่อยูภายในเซลล สื่อ Digital
(วิเคราะหคําตอบ ไซเล็ม ทําหนาที่ลําเลียงนํ้าและธาตุอาหาร ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย ว-
คอรก ทําหนาทีป่ อ งกันเนือ้ เยือ่ ทีอ่ ยูภ ายใน โฟลเอ็ม ทําหนาทีล่ าํ เลียง กับเนื้อเยื่อของพืชไดจาก youtube เรื่อง
อาหาร เอพิเดอรมิส ทําหนาที่เปนเนื้อเยื่อผิวใหกับสวนประกอบ เนือ้ เยือ่ พืช (https://www.youtube.com/
ตาง ๆ ของพืช และพาเรงคิมาเปนเนื้อเยื่อพื้นที่ ทําหนาที่หลาก- watch?v=8mwNt2mI090)
หลาย เชน สังเคราะหดวยแสง สะสมอาหาร ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T15
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ตรวจแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรียนรู นอกจากเซลล์ที่กล่าวมาแล้ว ยังพบเซลล์ประกบหรือเซลล์คอมพาเนียน (companion
ที่ 1 cell) ที่ประกบติดกับซีฟทิวบ์เมมเบอร์เสมอ เนื่องจากเซลล์ทั้งสองก�าเนิดมาจากเซลล์เจริญเซลล์
2. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5 เดียวกัน ท�าหน้าที่ควบคุมการท�างานของซีฟทิวบ์เมมเบอร์ และอาจพบเซลล์พาเรงคิมาและ
เลม 1 เซลล์ไฟเบอร์แทรกตัวอยู่ในเนื้อเยื่อล�าเลียงอาหารได้เช่นเดียวกับเนื้อเยื่อล�าเลียงน�้า
3. ตรวจใบงาน เรื่อง เนื้อเยื่อเจริญของพืช
4. ตรวจใบงาน เรื่อง ระบบเนื้อเยื่อถาวรของพืช ซีฟทิวบ์เมมเบอร์
5. ตรวจผังมโนทัศน เรือ่ ง เนือ้ เยือ่ พืช โดยใชแบบ พลาสโมเดสมาตา
ประเมินชิ้นงาน
6. ประเมินการนําเสนอผลงาน ซีฟเพลต
7. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล นิวเคลียส
8. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ
เซลล์คอมพาเนียน
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
9. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ ภาพที่ 1.13 ลักษณะของโฟลเอ็มภาพวาด (ซ้าย) ภาพที่ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (ขวา)
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ที่มา : www.slideshare.net

Topic
Question
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. เนื้อเยื่อเจริญแตกต่างกับเนื้อเยื่อถาวรอย่างไร จงยกตัวอย่างเนื้อเยื่อแต่ละชนิด
2. เนื้อเยื่อถาวรชนิดหนึ่ง มีน�้าตาลสะสมอยู่ ผนังเซลล์มีความหนาบางสม�่าเสมอ คือเนื้อเยื่อชนิดใด
3. เนื้อเยื่อในล�าต้นของต้นไผ่กับต้นถั่วมีความเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร
4. เนื้อเยื่อไซเล็มและโฟลเอ็มท�าหน้าที่อะไร และประกอบด้วยเซลล์อะไรบ้าง
5. เมื่อน�าเนื้อเยื่อบริเวณล�าต้นมาศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ จะทราบได้อย่างไรว่า เนื้อเยื่อบริเวณนี้
เป็นเนื้อเยื่อไซเล็มหรือโฟลเอ็ม

10

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. เนือ้ เยือ่ เจริญมีสมบัตแิ บงเซลลได เชน คอรกแคมเบียม วาสคิวลารแคม-
ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง เนือ้ เยือ่ พืช ไดจากการทํา
เบียม แตเนื้อเยื่อถาวรพัฒนามาจากเนื่อเยื่อเจริญที่มีรูปรางและหนาที่
ผังมโนทัศน เรื่อง เนื้อเยื่อพืช โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบ
เฉพาะ เชน พาเรงคิมา ไซเล็ม โฟลเอ็ม
ประเมินชิ้นงานที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 1
2. พาเรงคิมา
แบบประเมินชิ้นงาน 3. แตกตางกัน ลําตนของตนไผมเี นือ้ เยือ่ เจริญเหนือขอ และลําตนของตนถัว่
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินรายงาน ตามรายการที่กาหนดแล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ลาดับที่

1
รายการประเมิน

การจัดรูปแบบรายงาน
4 3
ระดับคะแนน
2 1 มีเนื้อเยื่อเจริญดานขาง
2
3
ความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา
ภาพประกอบ/ตาราง
รวม
4. เนื้อเยื่อไซเล็ม ทําหนาที่ลําเลียงนํ้าและธาตุอาหาร ประกอบดวย
เวสเซล เทรคีดไฟเบอร และพาเรงคิมา สวนเนื้อเยื่อโฟลเอ็ม ทําหนาที่
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................/................

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน

1. การจัดรูปแบบ
4
รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
3
ระดับคะแนน

รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
2
รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
1
รู ปเล่ มรายงานมี
ลําเลียงอาหารประเภทนํา้ ตาล ประกอบดวย ซีฟทิวบ เซลลคอมพาเนียน
ไฟเบอร และพาเรงคิมา
และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่
ครบถ้วน ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ครบถ้วนเพียงบางส่วน ครบถ้วน
2. ความถูกต้องและ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้ อหาในรายงานไม่
คุณภาพ ของ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง และไม่ ครบ

5. เนื้อเยื่อไซเล็มเปนเนื้อเยื่อที่ประกอบดวยเซลลที่ไมมีชีวิต มีรูปทรง
เนื้อหา และมีภาษาที่สละสลวย เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน ตามที่กาหนด
เข้าใจง่าย
3. ภาพประกอบ/ ภาพมี ความสอดคล้ อง ภาพมี ความสอดคล้ อง ภ า พส อด ค ล้ องกั บ ภาพไม่ สอดคล้ องกั บ
ตาราง กับเนื้อหา มีภาพมีความ กับเนื้อหา ภาพไม่คมชัด เนื้ อหาบางส่ ว น ภาพ เนื้อหา ภาพไม่คมชัด

กระบอกและรูปทรงกระสวย ภายในเซลลมักมีรูพรุน สวนโฟลเอ็ม


คมชัด สวยงาม ตารางที่ ตารางที่นาเสนอมีความ คมชัด ตารางที่นาเสนอ ตารางที่ น าเสนอไม่
นาเสนอมีความถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12
7-9
4-6
0-3
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
ประกอบดวยเซลลทยี่ งั คงมีชวี ติ มีรปู รางเปนทรงกระบอก หัวทายเซลล
มีรูเล็กๆ คลายตะแกรง มักประกบคูกับเซลลที่มีนิวเคลียส
T16
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
อวัยวะของพืชทํางาน 2. อวัยวะและหนาทีข่ องอวัยวะของพืช 1. ครูถามคําถาม Prior Knowledge
สัมพันธกันอยางไร 2. กระตุนความสนใจของนักเรียนโดยนําภาพ
เมื่อเนื้อเยื่อชนิดต่าง ๆ มาประกอบกันเป็นอวัยวะที่ส�าคัญ
ของพืช ได้แก่ ราก ล�าต้น ใบ และดอก โดยอวัยวะแต่ละส่วน เกีย่ วกับการเจริญของรากตนถัว่ มาใหนกั เรียน
มีหน้าที่เฉพาะที่แตกต่างกัน แต่ทั้งหมดท�างานสัมพันธ์กัน เพื่อให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ ศึกษา ซึ่งมีแนวภาพ ดังนี้

2.1 โครงสรางและหนาที่ของราก
รากเป็นอวัยวะแรกที่งอกออกจากเมล็ด และเมื่อรากงอกออกจากเมล็ดแล้ว จะมีการเจริญ
เติบโตโดยมีขนาด ความยาว และจ�านวนที่เพิ่มขึ้น โดยทั่วไปรากเจริญอยู่ใต้ระดับผิวดิน ท�าหน้าที่
ดูดซึมน�้าและธาตุอาหาร รวมทั้งสารอาหารต่าง ๆ ที่อยู่ในดินไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืช นอกจากนี้ 3. หลังจากดูภาพ ครูสุมเรียกเลขที่ของนักเรียน
รากช่วยค�้าจุน หรือช่วยยึดส่วนของพืชที่อยู่เหนือดินให้คงตัวอยู่กับที่ได้ ประมาณ 3-4 คน ตอบคําถามคนละ 1 ขอ
เมื่อน�าปลายรากมาตัดตามยาวและตัดตามขวาง แล้วศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์จะเห็น โดยมีแนวคําถาม ดังนี้
โครงสร้างภายในของปลายราก ดังนี้ ï• การเจริญของรากตนถั่วเปนอยางไร
1. โครงสร้างภายในของปลายรากตัดตามยาว (แนวตอบ ยาวขึ้นและมีขนาดใหญขึ้น)
•ï รากตนถั่วประกอบดวยเนื้อเยื่อประเภทใด
โครงสรางบริเวณปลายราก
ยกตัวอยางชนิดของเนื้อเยื่อมาอยางนอย 3
1 บริเวณเปลี่ยนสภาพและเจริญเต็มที่ของเซลล์ (region of cell ตัวอยาง
differentiation and maturation) : บริเวณทีเ่ ซลล์มกี ารเปลีย่ นแปลงไป
ท�าหน้าที่เฉพาะและเจริญเติบโตเต็มที่ เช่น เซลล์ขนราก มัดท่อล�าเลียง (แนวตอบ เนื้อเยื่อเจริญ ไดแก เนื้อเยื่อเจริญ
1 น�้าและอาหาร ปลายราก เนือ้ เยือ่ เจริญดานขาง หรือวาสคิว-
ลารแคมเบียม และเนื้อเยื่อถาวร เชน เซลล
2 บริเวณยืดตามยาวของเซลล์ (region of cell elongation) : บริเวณที่ ขนราก ทอไซเล็ม โฟลเอ็ม)
อยู่ถัดจากเนื้อเยื่อเจริญ โดยเซลล์ที่ได้จากการแบ่งเซลล์จะมีการขยาย
2 ขนาดและยืดตัวตามความยาวของราก ï• รากทําหนาที่อะไรบาง นอกจากดูดนํ้าและ
ธาตุอาหาร
3 บริเวณการแบ่งเซลล์ (region of cell division) : ส่วนทีอ่ ยูถ่ ดั จากหมวกราก (แนวตอบ สะสมอาหาร หายใจ พยุงลําตน)
3 ขึ้นมา ซึ่งเซลล์บริเวณนี้ คือ เนื้อเยื่อเจริญปลายราก (root apical
meristem) ที่มีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส

4 หมวกราก (root cap) : ส่วนปลายสุดของราก ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมา แนวตอบ Prior Knowledge


4
ที่เรียงกันอย่างหลวม ๆ ผนังเซลล์บาง มีแวคิวโอลขนาดใหญ่ สามารถ อวัยวะของพืชประกอบดวย ราก ลําตน ใบ
ผลิตเมือกออกมา ท�าให้สะดวกต่อการชอนไชของราก นอกจากนี้
หมวกรากยังท�าหน้าที่ป้องกันไม่ให้เซลล์ที่บริเวณปลายรากถูกท�าลาย และดอก ซึ่งแตละอวัยวะทํางานสัมพันธกัน โดย
ภาพที่ 1.14 โครงสร้างภายในของปลายราก รากเปนอวัยวะทีท่ าํ หนาทีด่ ดู นํา้ และธาตุอาหารทีอ่ ยู
ที่มา : คลังภาพ อจท.
โครงสร้างและ
หน้าที่ของพืชดอก
11 ภายในดินและลําเลียงไปยังใบเพือ่ เปนสารตัง้ ตนใน
กระบวนการสังเคราะหดว ยแสงเพือ่ ผลิตอาหารใหกบั
พืช แลวลําเลียงผานลําตนไปสูส ว นตาง ๆ ของพืช

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดคือหนาที่ของหมวกราก กอนเขาสูบทเรียนครูอาจเตรียมชุดสาธิตการทดลองเพื่อใหนักเรียนเห็น
1. ทําหนาที่ยึดเกาะ ชวยพยุงลําตนพืชใหตั้งตรง ความสําคัญและหนาทีห่ ลักของรากพืช โดยครูอาจนําพืชทีม่ ดี อกสีขาวและยังคง
2. ทําหนาที่แบงเซลล สงผลใหรากพืชมีความยาวมากขึ้น มีรากติดอยูมาปลูกลงดินในกระถางที่ 1 และอีกชุดการทดลองนําพืชชนิด
3. ทําหนาที่ชอนไช และปองกันไมใหเซลลบริเวณปลายราก เดียวกันแตตัดรากพืชออกใหเหลือเพียงลําตนมาปลูกลงดินในกระถางที่ 2
ถูกทําลาย แลวรดนํ้าที่มีสีผสมอาหาร แลวใหนักเรียนรวมกันศึกษาและเปรียบเทียบพืชใน
4. ทําหนาที่สังเคราะหดวยแสง เนื่องจากภายในหมวกราก กระถางที่ 1 และ 2
มีคลอโรพลาสต
5. ทําหนาที่แบงเซลลดานขาง สงผลใหรากพืชมีขนาดเสน
ผานศูนยกลางเพิ่มขึ้น
(วิเคราะหคําตอบ หมวกราก คือ สวนปลายสุดของรากทีส่ ามารถ
ผลิตเมือกออกมา ทําใหรากพืชชอนไชไปในดินไดสะดวกขึ้น และ
ปองกันไมใหเซลลทอี่ ยูบ ริเวณปลายรากถูกทําลาย ดังนัน้ ตอบขอ
3.)

T17
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนสืบคนขอมูล หรือศึกษาเนื้อหาและ 2. โครงสร้างภายในของปลายรากตัดตามขวาง
ภาพโครงสรางภายในของปลายรากที่ตัดตาม
ขวางในหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1 โครงสรางภายในของรากพืช
2. ครูถามนักเรียนวา โครงสรางภายในรากที่
ตัดตามขวางแบงออกเปนกีช่ นั้ ไดแกอะไรบาง 1 เอพิเดอรมิส (epidermis) พืชใบเลีย
้ งคู
(แนวตอบ 3 ชั้น ไดแก ชั้นนอกสุดหรือเอพิ- เป็นชั้นที่อยู่นอกสุด เซลล์จะเรียงตัวเป็นแถวเดียว 1
เดอรมิส ชั้นถัดเขามาหรือชั้นคอรเทกซ และ โดยมีคิวทิน (cutin) เคลือบอยู่บนผนังชั้นนอกของ
เซลล์ ช่วยป้องกันเนือ้ เยือ่ ภายใน เนือ่ งจากเซลล์ชนั้ นี้
ชั้นในสุดหรือชั้นสตีล) มีผนังเซลล์บาง บางส่วนของเซลล์ชนั้ นีจ้ ะยืน่ ออกไป
3
3. ใหนกั เรียนแบงกลุม ออกเปน 3 กลุม โดยแตละ ท�าหน้าที่ดูดน�้าและธาตุอาหารต่าง ๆ เรียกบริเวณนี้
ว่า บริเวณขนราก (root hair zone)
กลุมมีหนาที่ศึกษาหัวขอ ดังนี้
- กลุ  ม ที่ 1 ศึ ก ษารายละเอี ย ดภายในชั้ น
เอพิเดอรมิส 2 คอรเทกซ (cortex)
ไซเล็ม
- กลุ  ม ที่ 2 ศึ ก ษารายละเอี ย ดภายในชั้ น เป็ น ชั้ น ที่ อ ยู ่ ถั ด จากชั้ น เอพิ เ ดอร์ มิ ส ส่ ว นใหญ่ (xylem)
คอรเทกซ ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมาเรียงตัวกันหลายแถว
- กลุมที่ 3 ศึกษารายละเอียดภายในชั้นสตีล ไม่มีคลอโรพลาสต์ ท�าหน้าที่สะสมอาหาร ซึ่งชั้น
ในสุดของคอร์เทกซ์ประกอบด้วยเซลล์ขนาดเล็ก
4. เมื่ อ แต ล ะกลุ  ม สื บ ค น และศึ ก ษาข อ มู ล แล ว เรียงตัวแถวเดียว เรียกว่า เอนโดเดอร์มสิ (endodermis)
ให นั ก เรี ย นจั บ กลุ  ม กลุ  ม ละ 3 คน โดย ซึ่ ง มี ส ารซู เ บอริ น (suberin) มาสะสมเป็ น แถบ เพริไซเคิล
เรียกว่า แถบแคสพาเรียน หรือ แคสพาเรียนสตริป (pericycle)
สมาชิกภายในกลุมตองมาจากกลุมที่ศึกษา (casparian strip) ท�าหน้าทีป่ อ้ งกันการเคลือ่ นทีข่ อง
รายละเอียดภายในชั้นเอพิเดอรมิส คอรเทกซ น�า้ และธาตุอาหาร เมือ่ เซลล์มอี ายุมากขึน้ จะมีลกิ นิน
และสตีล ตามลําดับ มาสะสม จะเห็นชัดเจนในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ภาพที่ 1.15 โครงสร้างภายในของปลายรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและ
พืชใบเลี้ยงคู่
การเติบโตทุตย
ิ ภูมข
ิ องราก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

• ส่วนใหญ่พบในพืชใบเลี้ยงคู่ แต่ไม่พบการเติบโตทุติยภูมิในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
• การเติบโตทุติยภูมิเกิดจากการสร้างเนื้อเยื่อถาวรเพิ่มจากการแบ่งเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญด้านข้างของราก คือ
วาสคิวลาร์แคมเบียมและคอร์กแคมเบียม
• วาสคิวลาร์แคมเบียมที่คั่นระหว่างไซเล็มปฐมภูมิกับโฟลเอ็มปฐมภูมิจะแบ่งเซลล์สร้างไซเล็มทุติยภูมิ (secondary
xylem) ทางด้านใน และสร้1 างโฟลเอ็มทุติยภูมิ (secondary phloem) ทางด้านนอก
• ในพืชใบเลี้ยงคู่ เพริไซเคิลเปลี่ยนสภาพเป็นคอร์กแคมเบียมท�าให้เกิดการเติบโตทุติยภูมิ สร้างคอร์กแทนเนื้อเยื่อ
ผิวเดิม

12

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 เพริไซเคิล ประกอบดวยเซลลพาเรงคิมาเปนสวนใหญ เซลลจะเรียงเปนวง ขอใดเรียงลําดับการเติบโตทุติยภูมิของรากพืชจากชั้นนอกไป
โดยรอบ อาจมีชนั้ เดียวหรือหลายชัน้ ชัน้ นีอ้ ยูด า นนอกสุดของสตีล เพริไซเคิลพบ ยังชั้นในไดถูกตอง
เฉพาะในรากเทานั้น และเห็นชัดเจนในรากพืชใบเลี้ยงคู และเปนแหลงกําเนิด 1. วาสคิวลารแคมเบียม ไซเล็มปฐมภูมิ ไซเล็มทุติยภูมิ
ของรากแขนง มีการเจริญเติบโตทุติยภูมิ (secondary growth) สามารถเจริญ 2. วาสคิวลารแคมเบียม ไซเล็มทุติยภูมิ ไซเล็มปฐมภูมิ
เปนคอรกแคมเบียมได 3. วาสคิวลารแคมเบียม โฟลเอ็มปฐมภูมิ ไซเล็มทุติยภูมิ
4. วาสคิวลารแคมเบียม โฟลเอ็มปฐมภูมิ โฟลเอ็มทุติยภูมิ
5. วาสคิวลารแคมเบียม โฟลเอ็มทุติยภูมิ โฟลเอ็มปฐมภูมิ
(วิเคราะหคําตอบ วาสคิวลารแคมเบียมจะแบงเซลล สรางไซเล็ม
ทุติยภูมิดันใหไซเล็มปฐมภูมิเขาสูดานใน ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T18
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ใหสมาชิกภายในกลุม อธิบายสิง่ ทีต่ นเองศึกษา
ใหเพื่อนฟงภายในกลุมใหเขาใจ
2. ครูแจกใบงาน เรื่อง โครงสรางภายในของราก
พืช แลวใหแตละกลุม ศึกษาคําชีแ้ จง และลงมือ
พืชใบเลีย
้ งเดีย
่ ว 3 สตีล (stele) ปฏิบัติ
เป็ น ชั้ น ที่ อ ยู ่ ถั ด จำกชั้ น เอนโดเดอร์ มิ ส เข้ ำ ไป 3. ใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอคําตอบ
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลำยชนิด ได้แก่
2 • เพริไซเคิล (pericycle) : ประกอบด้วยเซลล์ ในใบงาน โดยครูและนักเรียนรวมกันเฉลยและ
พำเรงคิมำ เรียงเป็นวงชั้นเดียว หรือหลำยชั้น อภิปรายคําตอบ
แล้วแต่ชนิดพืช เซลล์สำมำรถเปลี่ยนสภำพเป็น 4. ให นั ก เรี ย นทุ ก คนสรุ ป ความรู  ที่ ไ ด จ ากการ
เนื้อเยื่อเจริญและเกิดกำรแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ได้อีก ท�ำให้เกิดรำกแขนง ทําใบงานลงในสมุดบันทึก
• มัดท่อล�าเลียง (vascular bundle) : ประกอบ
ด้วยโฟลเอ็มปฐมภูมิ (primary phloem) และ
ไซเล็มปฐมภูมิ (primary xylem) โดยไซเล็มเรียง
ตัวเป็นแฉก (arch) อยู่ตรงกลำงของรำก และ
มี โ ฟลเอ็ ม อยู ่ ร ะหว่ ำ งแฉก ซึ่ ง พื ช แต่ ล ะชนิ ด
โฟลเอ็ม มีจ�ำนวนแฉกของไซเล็มแตกต่ำงกัน โดยพืช
(phloem) ใบเลีย้ งคูม่ จี ำ� นวนแฉกน้อยกว่ำพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว
- ไซเล็ม (xylem) : ท�ำหน้ำทีล่ ำ� เลียงน�ำ้ และธำตุ
อำหำร ประกอบด้วยเซลล์หลำยชนิด ได้แก่
เวสเซลเมมเบอร์ เทรคีด เซลล์พำเรงคิมำ
และเซลล์ไฟเบอร์ เวสเซลเมมเบอร์เรียงต่อกัน
เอนโดเดอรมิส เป็นท่อยำว โดยน�ำ้ จะผ่ำนทำงช่องทะลุหวั ท้ำย
(endodermis) ของเวสเซลเมมเบอร์เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์
หนึ่ง ส่วนเทรคีดไม่พบช่องทะลุที่หัวท้ำยของ
เซลล์ น�้ำจึงไหลผ่ำนจำกเซลล์หนึ่งไปยังอีก
เซลล์หนึ่งได้ทำงพิธ
คอร์เทกซ์ที่ถูกเบียดออก - โฟลเอ็ม (phloem) : ท�ำหน้ำที่ล�ำเลียงอำหำร
โดยอำหำรถู ก ล� ำ เลี ย งผ่ ำ นซี ฟ เพลตเข้ ำ สู ่
เพริไซเคิลที่เปลี่ยนแปลง ซีฟทิวบ์เมมเบอร์ถดั ไป โดยมีเซลล์คอมพำเนียน
เป็นคอร์กแคมเบียม ควบคุมกำรล�ำเลียง นอกจำกนี้ยังพบเซลล์
ไซเล็มทุติยภูมิ พำเรงคิมำและเซลล์ไฟเบอร์แทรกอยู่ด้วย
วำสคิวลำร์แคมเบียม • พิธ (pith) : อยู่บริเวณตรงกลำงของรำกที่ไม่ใช่
ไซเล็มปฐมภูมิ ส่วนใหญ่พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
แต่ไม่พบในพืชใบเลี้ยงคู่
โฟลเอ็มทุติยภูมิ
ภาพที่ 1.16 กำรเติบโตทุติยภูมิของรำกพืชใบเลี้ยงคู่
ที่มา : http://www.nana-bio.com
โครงสร้างและ 13
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดเรียงลําดับการเติบโตทุติยภูมิของรากพืชจากชั้นนอกไป ครูอาจแนะนําใหนักเรียนศึกษาภาพโครงสรางภายในรากที่ตัดตามขวาง
ยังชั้นในไดถูกตอง ในหนังสือเรียนชีววิทยา เพื่อใหนักเรียนศึกษาองคประกอบ และเปรียบเทียบ
1. ไซเล็มปฐมภูมิ ไซเล็มทุติยภูมิ วาสคิวลารแคมเบียม ความแตกตางระหวางโครงสรางภายในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู
2. ไซเล็มฑุติยภูมิ ไซเล็มปฐมภูมิ วาสคิวลารแคมเบียม กอนทํากิจกรรม
3. โฟลเอ็มปฐมภูมิ โฟลเอ็มทุติยภูมิ วาสคิวลารแคมเบียม
4. โฟลเอ็มทุติยภูมิ โฟลเอ็มปฐมภูมิ วาสคิวลารแคมเบียม
5. วาสคิวลารแคมเบียม โฟลเอ็มปฐมภูมิ โฟลเอ็มทุติยภูมิ สื่อ Digital
(วิเคราะหคําตอบ วาสคิวลารแคมเบียมจะแบงเซลล สรางโฟล- ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
เอ็มทุติยภูมิดันโฟลเอ็มปฐมภูมิออกไปทางดานนอก ดังนั้น ตอบ การสังเคราะหดวยแสง จากภาพยนตร
ขอ 3.) สารคดีสั้น Twig เรื่อง ขนราก (https://
www.twig-aksorn.com/f ilm/root-
hairs-8599//)

T19
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูนําภาพเกี่ยวกับประเภทของรากพืชมาให 3. หน้าที่และชนิดของราก รากเป็นอวัยวะแรกที่งอกออกจากเมล็ด รากในระยะแรกจะ
นักเรียนศึกษา โดยมีแนวภาพ ดังนี้ เรียกว่า แรดิเคิล (radicle) ซึง่ จะเจริญไปเป็นรากแก้ว ส่วนมากรากแก้วในพืชใบเลีย้ งคูจ่ ะเจริญเติบโต
เพิม่ ความยาวไปเรือ่ ย ๆ และมีการสร้างรากสาขาทีเ่ รียกว่า รากแขนง (lateral root) ขณะทีพ่ ชื ใบเลีย้ งเดีย่ ว
รากแก้วจะหยุดการเจริญเติบโตตัง้ แต่พชื ยังเล็ก แต่จะมีรากพิเศษเกิดขึน้ แทน หากแบ่งรากพืชตาม
การก�าเนิดจะแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1) รากปฐมภูมิ (primary root) เป็นรากที่เกิดมาจากรากแรกเกิดหรือแรดิเคิล ในขณะ
ที่เป็นเอ็มบริโออยู่ในเมล็ดแล้วเจริญเติบโตยืดยาวออกมา ซึ่งจะติดอยู่กับล�าต้น มีขนาดใหญ่และ
เรียวเล็กลงเรื่อย ๆ หรือที่เรียกว่า รากแก้ว (tap root)
2. หลังจากดูภาพ ครูถามคําถามนักเรียน เพื่อ 2) รากทุตยิ ภูม ิ (secondary root) เป็นรากทีเ่ จริญจากรากแก้วอีกทีหนึง่ เรียกว่า รากแขนง
ใหนักเรียนสืบคนขอมูลจากแหลงเรียนรู หรือ ซึ่งจะแตกแขนงออกไปได้อีก โดยรากแขนงนี้จะแตกออกจากส่วนเพริไซเคิลของราก
จากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1 โดยมี 3) รากพิเศษหรือรากวิสามัญ (adventious root) เป็นรากที่เกิดจากกิ่ง ใบ หรือล�าต้น
แนวคําถาม ดังนี้ ซึ่งไม่ได้เกิดมาจากแรดิเคิลหรือรากแก้วโดยตรง สามารถแยกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ตามรูปร่างและ
ï• จากภาพ รากทั้งสองมีลักษณะแตกตางกัน หน้าที่ ดังนี้
อยางไร
(แนวตอบ ภาพซาย รากมีขนาดใหญและเรียว
เล็กลง และภาพขวา รากมีการแตกแขนง
ออกไป)
ï• ภาพซายเปนรากประเภทใด
(แนวตอบ รากแกว)
ï• ภาพขวาเปนรากประเภทใด
(แนวตอบ รากฝอย)
ï• ภาพซายเปนรากที่มีแหลงกําเนิดมาจาก
อะไร
(แนวตอบ รากแรกเกิดหรือแรดิเคิล) ภาพที่ 1.17 รากเกาะ ภาพที่ 1.18 รากฝอย
ï• ภาพขวาเป น รากที่ มี แ หล ง กํ า เนิ ด มาจาก ที่มา : https://bullsapbio.wordpress.com ที่มา : www.murvegetalpatrickblanc.com
อะไร รากเกาะ (climbing root) รากฝอย (fibrous root)
รากที่แตกออกมาจากบริเวณข้อของล�าต้น แล้วมาเกาะ รากเส้นเล็ก ๆ จ�านวนมาก ซึ่งงอกออกมาจากรอบโคน
(แนวตอบ เพริไซเคิล) ตามหลักหรือเสา เพือ่ พยุงล�าต้นให้มนั่ คงและชูล�าต้นขึน้ ต้นแทนรากแก้วทีฝ่ อ่ ไป หรือ หยุดเจริญเติบโตไป ส่วนใหญ่
ที่สูง เช่น รากของพลู พริกไทย กล้วยไม้ พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว

14

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนํานักเรียนเพิ่มเติมวา รากพืชบางชนิดทําหนาที่ไดหลากหลาย ขอใดคือไมใชความแตกตางระหวางระหวางรากปฐมภูมิกับ
เชน รากกลวยไมมีสีเขียว นอกจากชวยในการสังเคราะหดวยแสงแลว ยังพบวา รากทุติยภูมิ
มีเยื่อพิเศษลักษณะนุมคลายฟองนํ้า ซึ่งเปนเซลลพาเรงคิมาที่เรียงตัวกันอยาง 1. จํานวนราก
หลวมๆ มีชองวางระหวางเซลลจํานวนมาก เรียกวา นวม (velamen) หุมอยู 2. ชนิดของพืช
ตามขอบนอกของราก ชวยดูดนํา้ รักษาความชืน้ ใหแกราก และชวยในการหายใจ 3. หนาที่ของราก
4. รูปรางของราก
5. แหลงกําเนิดของราก
(วิเคราะหคาํ ตอบ รากปฐมภูมเิ กิดมาจากรากแรกเกิดหรือแรดิเคิล
มีขนาดใหญ เรียวเล็กลง สวนมากพบในพืชใบเลี้ยงคู รากทุติยภูมิ
เกิดมาจากรากแกว ซึ่งแตกแขนงออกมาจากเพริไซเคิล ดังนั้น
ตอบขอ 3.)

T20
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
3. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 3-4 คน
ทําใบงาน เรื่อง ประเภทของราก ตอนที่ 1
4. ใหนักเรียนกลุมเดิมรวมกันสืบคนขอมูลเกี่ยว-
กับรากพิเศษ หรือรากวิสามัญ แลวทําใบงาน
ในตอนที่ 2

อธิบายความรู้
1. สงตัวแทนกลุมออกมานําเสนอใบงาน
2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายความรูจ ากการ
ภาพที่ 1.19 รากค�้าจุน ภาพที่ 1.20 รากอากาศ ทําใบงาน
ที่มา : www.murvegetalpatrickblanc.com ที่มา : www.gardensonline.com.au
รากค�้า (prop root) รากอากาศ (aerial root)
รากทีแ่ ตกออกมาจากข้อของล�าต้นทีอ่ ยูใ่ ต้ดนิ และเหนือ รากที่แตกออกมาจากบริเวณข้อของล�าต้น แล้วห้อยลง
ดินขึ้นมาเล็กน้อย พุ่งแทงลงไปในดิน เพื่อพยุงล�าต้น มาในอากาศ ไม่เจริญลงดิน ท�าหน้าที่ดูดความชื้นใน
ไม่ให้ลม้ พบในพืชบริเวณทีม่ นี �้าท่วมขังตลอดเวลา หรือ อากาศ และส่วนปลายยังสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้
พื้นเป็นดินโคลน เช่น ต้นล�าแพน โกงกาง เช่น รากกล้วยไม้ ไทร

ภาพที่ 1.21 รากหายใจ ภาพที่ 1.22 รากสะสมอาหาร


ที่มา : http://www.saj.usace.army.mil ที่มา : https://www.lovethegarden.com
รากหายใจ (aerating root) รากสะสมอาหาร (storage root)
รากที่ปลายรากโผล่ขึ้นมาเหนือพื้นดิน หรือเหนือผิวน�้า รากทีท่ า� หน้าทีเ่ ก็บสะสมอาหาร ท�าให้มลี กั ษณะอวบอ้วน
เพื่อท�าหน้าที่หายใจ และช่วยดักตะกอนรวมทั้งอินทรีย- มักเรียกว่า หัว เช่น แคร์รอต มันเทศ มันส�าปะหลัง
วัตถุต่าง ๆ ตามพื้นที่ชายฝั่งเอาไว้ พบในพืชบางชนิด
บริเวณป่าชายเลน เช่น รากต้นแสม ล�าพู

โครงสร้างและ 15
หน้าที่ของพืชดอก

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากแหลงเรียนรูตาง ๆ เชน ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมวา มีรากบางชนิดเปนปรสิต เรียกวา รากกาฝาก
อินเทอรเน็ต หนังสือ วารสารวิชาการ เพือ่ ศึกษาหนาทีข่ องรากพืช (parasitic root) ซึ่งเปนรากของพืชที่ไปเกาะกับตนพืชชนิดอื่น แลวมีรากเล็กๆ
พิเศษหรือรากวิสามัญ แลวนํามาเขียนสรุปเปนผังมโนทัศนลงใน แตกออกมาเปนกระจุกแทงลงไปในลําตนจนถึงทอลําเลียงเพื่อแยงอาหาร เชน
กระดาษ A4 พรอมนําเสนอในรูปแบบที่สวยงาม รากของตนกาฝาก ตนฝอยทอง ดังภาพ

กิจกรรม ทาทาย
ใหนกั เรียนศึกษาคนควาเพิม่ เติมจากแหลงเรียนรูต า ง ๆ เชน
อินเทอรเน็ต หนังสือ วารสารวิชาการ เพือ่ สรุปสาระสําคัญ และ
จําแนกความแตกตางของโครงสรางเนื้อเยื่อภายในรากพืชใบ
เลีย้ งเดีย่ วและพืชใบเลีย้ งคู แลวสรุปลงในกระดาษ A4 พรอมตกแตง
ในรูปแบบทีส่ วยงาม

T21
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน เพื่อทํา • การสังเกต
กิจกรรม การเจริญของรากพืช ในหนังสือเรียน การเจริญเติบโตของรากพืช • การวัด
• การค�านวณ
ชีววิทยา ม.5 เลม 1 จิตวิทยาศาสตร์
2. ครูใชรปู แบบการเรียนรูแ บบรวมมือ : เทคนิค จุดประสงค์ • ความสนใจใฝ่รู้
• ความรับผิดชอบ
คูคิดสี่สหาย มาจัดกระบวนการเรียนรู โดย อธิบายและเปรียบเทียบการงอกและการเจริญเติบโตของรากพืชใบเลีย้ ง • การท�างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง
สร้างสรรค์
กํ า หนดให ส มาชิ ก แต ล ะคนภายในกลุ  ม มี เดี่ยวและรากพืชใบเลี้ยงคู่ได้
บทบาทหนาทีข่ องตนเอง ดังนี้
สมาชิกคนที่ 1 : ทําหนาทีเ่ ตรียมวัสดุอปุ กรณ วัสดุอปุ กรณ์
สมาชิกคนที่ 2 : ทํ า หน า ที่ อ  า นวิ ธี ก ารทํ า 1. เมล็ดถั่วเขียว 10 เม็ด 4. กระดาษทิชชู
กิจกรรม และนํามาอธิบาย 2. เมล็ดข้าวโพด 10 เม็ด 5. ด้ายหรือเชือกเส้นเล็ก
ใหสมาชิกภายในกลุมฟง 3. ก ล่องพลาสติกใสรูปสีเ่ หลีย่ มทีม่ คี วามยาวประมาณ 6. ไม้บรรทัด
สมาชิกคนที่ 3 : ทํ า หน า ที่ บั น ทึ ก ผลการ 20 เซนติเมตร จ�านวน 4 กล่อง
ทดลอง
วิธปี ฏิบตั ิ
สมาชิกคนที่ 4 : ทํ า หน า ที่ นํ า เสนอผลการ
ทดลอง 1. นา� เมล็ดถัว่ เขียวและเมล็ดข้าวโพด แช่นา�้ ไว้ประมาณ 6-12 ชัว่ โมง จากนัน้ น�าเมล็ดแต่ละชนิดแบ่งออกเป็น
2 ส่วน น�าแต่ละส่วนเพาะลงในกล่องพลาสติกใสบนกระดาษทิชชูทชี่ นื้ วางเมล็ดให้กระจายบนกระดาษทิชชู
รดน�้าจนชุ่ม ปิดฝากล่อง (ให้ปริมาณน�้าในแต่ละกล่องเท่ากัน)

เมล็ดถั่วเขียว จ�านวน 2 กล่อง เมล็ดข้าวโพด จ�านวน 2 กล่อง

2. เขียนหมายเลข 1 และ 2 บนกล่องทีเ่ พาะเมล็ดถัว่ เขียว และหมายเลข 3 และ 4 บนกล่องทีเ่ พาะเมล็ดข้าวโพด

1 3
2 4

16

หองปฏิบัติการ ขอสอบเนน การคิด


 à·¤¹Ô¤ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ขอใดจับคูประเภทของรากพืชกับชนิดของพืชไดถูกตอง
ฝากลองที่นํามาปดกลอง ซึ่งเปนที่เพาะเมล็ดถั่วเขียวและเมล็ดขาวโพด 1. รากแกว-ตนไทร
ควรมีลักษณะเปนฝาทึบ เนื่องจากแสงไมมีความจําเปนตอการงอกของเมล็ด 2. รากวิสามัญ-ขาวโพด
แตแสงจะมีความจําเปน หลังจากที่เมล็ดงอกแลว ขณะที่เปนตนกลา โดย 3. รากแขนง-ตนมะมวง
ปริมาณแสงที่พอเหมาะ จะทําใหตนกลาแข็งแรงและเจริญเติบโตไดดี 4. รากแขนง-ตนโกงกาง
5. รากวิสามัญ-ตนมะมวง
(วิเคราะหคําตอบ รากของตนไทรเปนรากอากาศที่แตกออกมา
จากบริเวณขอของลําตน จัดเปนรากวิสามัญ รากของตนมะมวง
เปนรากแกว เนื่องจากตนมะมวงเปนพืชใบเลี้ยงคู รากของตน
โกงกางเปนรากคํ้าจุน จัดเปนรากวิสามัญ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T22
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. หลังจากทํากิจกรรม ใหนักเรียนแตละกลุมจัด
3. สงั เกตการงอกของเมล็ดการเปลีย่ นแปลงความยาวและจ�านวนรากถัว่ เขียวในกล่องหมายเลข 1 และ 2 และ
ทํารายงาน เรื่อง การเจริญของรากพืช โดย
รากข้าวโพดในกล่องหมายเลข 3 และ 4 ทุก ๆ วันเป็นเวลา 3 วัน วัดความยาวรากจากภายนอกกล่องโดย
ใช้ด้ายหรือไม้บรรทัด แล้วสังเกตดูว่าขนรากที่เกิดขึ้นมานั้นเจริญมาจากส่วนใด ตองมีองคประกอบของรายงานครบถวน และ
นําเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวของกับการทํากิจกรรม
การเจริญของรากพืชใหตรงกับจุดประสงคของ
1 2 3 กิจกรรม ผลการทํากิจกรรมในรูปแบบตาราง
4 หรือรูปแบบการนําเสนอที่นาสนใจ
2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากกิจกรรม
เรื่อง การเจริญของรากพืช
ภาพที ่ 1.23 กิจกรรมการเจริญเติบโตของรากพืช 3. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
ที่มา : คลังภาพ อจท.

4. บันทึกผลและหาค่าเฉลี่ยความยาวของรากในแต่ละวัน พร้อมทั้งวาดภาพเมล็ดที่งอก

?
ค�าถามท้ายกิจกรรม
1. ส่วนใดของเมล็ดที่งอกออกมาก่อน และงอกออกมาจากต�าแหน่งใดของเมล็ด
2. ต�าแหน่งที่มีการงอกออกมาของเมล็ดถั่วเขียวและเมล็ดข้าวโพดเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร
3. การงอกของรากถั่วเขียวและข้าวโพดเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร

อภิปรายผลกิจกรรม

จากกิจกรรม เมื่อสังเกตการเจริญเติบโตในช่วง 3 วัน พบว่า ส่วนแรกที่โผล่พ้นเมล็ดออกมาก่อน คือ


รากปฐมภูมหิ รือรากแก้ว และความยาวของรากจะเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ จนสังเกตเห็นขนรากเกิดขึน้ ทีบ่ ริเวณถัดจาก
ปลายสุดของราก เมื่อเวลาผ่านไป พบว่า รากถั่วเขียวมีจ�านวนรากเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นรากแขนงที่เจริญออกมา แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
จากรากเดิม ส�าหรับรากข้าวโพดจ�านวนรากที่เพิ่มขึ้นไม่ได้เจริญออกมาจากรากเดิมแต่เจริญมาจากจุดที่อยู่
1. รากเปนสวนทีง่ อกออกมาจากเมล็ดเปนลําดับ
เหนือขึ้นไปเรียกว่า รากพิเศษ
แรก
2. ไมแตกตางกัน คือ รากจะงอกออกมาทางรู
ขนาดเล็กทีอ่ ยูใ ตรอยแผล เรียกวา รูไมโครไพล
โครงสร้างและ 17
3. แตกตางกัน รากของตนถั่วเขียวจะเจริญเปน
หน้าที่ของพืชดอก
รากแกว สวนรากขาวโพดจะเจริญมาจาก
โคนตนเปนรากพิเศษหรือรากฝอย

ขอสอบเนน การคิด แนวตอบ กิจกรรม


เมล็ดถั่ว
รากพืชในขอใดทําหนาที่สะสมอาหารทั้งหมด
วันที่ จํานวนราก ความยาวราก ลักษณะการเจริญของราก
1. ไชเทา มันฝรั่ง เผือก
2. แครรอต ไชเทา หอม 1 เรียน
งนัก รากที่เกิดขึ้นใหมเจริญแตกแขนง
3. ไชเทา มันเทศ มันฝรั่ง 2 ิจกรรมขอ
มาจากรากเดิม
ูกบั ผลก
4. มันสําปะหลัง มันฝรั่ง มันเทศ 3 ขึ้นอย
5. แครรอต มันเทศ มันสําปะหลัง
(วิเคราะหคําตอบ รากที่ทําหนาที่สะสมอาหาร เชน แครรอต เมล็ดขาวโพด
มันเทศ มันสําปะหลัง ดังนั้น ตอบขอ 5.) วันที่ จํานวนราก ความยาวราก ลักษณะการเจริญของราก
1 ียน
ข อ ง นักเร รากทีเ่ กิดขึน้ ใหมไมไดเจริญแตกแขนง
2 รม

ั ผ ล กิจกร มาจากรากเดิม
3 อ ย ก
 ู
ขึ้น
หมายเหตุ : จํานวนและความยาวของรากถั่วเขียวและขาวโพดมีแนวโนมเพิ่มขึ้น

T23
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร
1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน เพื่อทํา • การสังเกต
กิจกรรม โครงสรางภายในของปลายรากพืช โครงสร้างภายในของปลายรากพืช จิตวิทยาศาสตร
• ความสนใจใฝรู
ตอนที่ 1 โดยสมาชิกในกลุมมีหนาที่ ดังนี้ • ความรับผิดชอบ

- สมาชิกคนที่ 1 เตรียมอุปกรณ จุดประสงค • การทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง


สรางสรรค
- สมาชิกคนที่ 2 และ 3 ทําการทดลอง 1. ศึกษาโครงสรางภายในของปลายรากพืชดวยกลองจุลทรรศนได
- สมาชิกคนที่ 4 บันทึกผลการทํากิจกรรม 2. เปรียบเทียบความแตกตางของโครงสรางภายในของปลายรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู
- สมาชิกคนที่ 5 หรือ 6 นําเสนอผลที่ไดจาก
วัสดุอปุ กรณ
กิจกรรม
2. นําผลจากการทํากิจกรรมมาสืบคนขอมูล หรือ 1. เมล็ดพืชใบเลี้ยงคู (เมล็ดทานตะวัน) และเมล็ด 4. พูกัน เข็มเขี่ย จานเพาะเชื้อ ใบมีดโกน และ
ศึ ก ษาจากหนั ง สื อ เรี ย นเกี่ ย วกั บ โครงสร า ง พืชใบเลี้ยงเดี่ยว (เมล็ดขาว) หลอดหยด
2. กระบะเพาะเมล็ดพืช พรอมดิน 5. สไลดและกระจกปดสไลด
ภายในรากทีต่ ดั ตามยาว โดยแตละบริเวณเรียก
3. สีซาฟรานีนหรือสีผสมอาหารสีแดง 6. กลองจุลทรรศนแบบใชแสง
วาอะไร แลวบันทึกขอมูลลงในสมุดบันทึก ความเขมขน 1% 7. บีกเกอรขนาด 50 cm3

อธิบายความรู้ วิธปี ฏิบตั ิ


1. หลังจากการทํากิจกรรม ครูและนักเรียนรวม ตอนที่ 1 โครงสร้างส่วนปลายราก
กันอภิปรายผลจากกิจกรรม ตอนที่ 1 1. นําเมล็ดทานตะวัน และเมล็ดขาวเพาะลงกระบะ 2. ตัดรากพืชทีส่ มบูรณพชื ละ 2-3 ราก ลางใหสะอาด
2. ครูอาจนําภาพสไลดตัวอยางของรากพืชที่ตัด เพาะชําประมาณ 2 สัปดาห แลวขุดขึ้นมา ใชใบมีดโกนตัดตามยาวสวนปลายสุดของราก ใหมี
ตามยาวภายใตกลองจุลทรรศนมาถามคําถาม ความยาวประมาณ 3-5 มม. จํานวน 5-6 ทอน
ดังนี้ ใสในบีกเกอร
ตัวอยางคําถาม พิจารณาภาพตัวอยาง และ
ระบุชื่อบริเวณ A B C และ D ราก
A B C D

3. หยด HCl ความเขมขน 10% พอทวมราก ทิ้งไว


ประมาณ 1 ชั่วโมง
Safety first
(แนวตอบ A คือ บริเวณเปลี่ยนสภาพและเจริญ
กรด HCI กรดไฮโดรคลอริก มีสมบัตเิ ปนกรดแก หากสัมผัส
เต็มที่ของเซลล B คือ บริเวณยืดตามยาวของ กับผิวหนังจะกอใหเกิดการระคายเคือง ดังนัน้ ควร
เซลล C คือ บริเวณแบงเซลล และ D คือ สวมถุงมือปองกันขณะใชงาน
บริเวณหมวกราก)
18

หองปฏิบัติการ ขอสอบเนน การคิด


 à·¤¹Ô¤ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ บริเวณปลายรากสวนใดของพืชทําใหพืชชอนไชเขาหานํ้าและ
ครูอาจใหนักเรียนทําความเขาใจขั้นตอนการทํากิจกรรมกอน จากนั้นครู ธาตุอาหารไดสะดวกขึ้น
จึงแนะนําวิธีเลือกบริเวณรากที่นํามาตัดเพื่อใชในการทํากิจกรรม โดยใหเลือก 1. บริเวณหมวกราก
บริเวณที่ไมไกลจากปลายราก เพื่อจะไดศึกษาการเติบโตปฐมภูมิ พรอมทั้ง 2. บริเวณที่มีการแบงเซลล
สาธิตวิธีการตัดที่ถูกตองใหนักเรียนดู และกําชับใหนักเรียนตัดใหมีจํานวน 3. บริเวณที่เซลลเจริญเต็มที่
มากพอสมควร เพื่อเลือกรากที่ตัดไดบางและสมบูรณครบทุกสวน นอกจากนี้ 4. บริเวณที่เซลลขยายขนาดตามยาว
ครูอาจเสนอวิธีการตัดรากพืชโดยใชอุปกรณชวย เชน แทงโฟม ไสในของคะนา 5. บริเวณที่เซลลเปลี่ยนแปลงไปทําหนาที่เฉพาะ
(วิเคราะหคําตอบ หมวกรากเป น บริ เ วณที่ มี ก ารหลั่ ง เมื อ กลื่ น
ออกมาเพื่อใหรากชอนไช แทงลึกลงไปในดินไดสะดวกขึ้น ดังนั้น
ตอบขอ 1.)

T24
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
4. ลา้ ง HCl ออกจากเนือ้ เยือ่ ปลายราก โดยใช้หลอด 5. หยดสีซาฟรานีนหรือสีผสมอาหารสีแดงลงไปพอ ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม เดิ ม เพื่ อ ทํ า กิ จ กรรม
หยดดูด HCl ออกจนหมด แล้วเติมน�้าลงไปให้ ท่วมราก ทิ้งไว้ 5 นาที ล้างสีส่วนเกินออก โดย โครงสรางภายในของปลายรากพืช ตอนที่ 2 โดย
ท่วมราก แช่ทิ้งไว้ 5 นาที แล้วดูดน�้าออก เติม การดูดน�้าสีออกแล้วเติมน�้า จากนั้นดูดน�้าออก สมาชิกในกลุมมีหนาที่ ดังนี้
น�า้ ใหม่แล้วดูดออก ท�าเช่นนีป้ ระมาณ 3 ครัง้ เพือ่ ท�าเช่นนี้ประมาณ 3 ครั้ง - สมาชิกคนที่ 1 เตรียมอุปกรณ
ล้างกรดออกให้หมด
- สมาชิกคนที่ 2 และ 3 ทําการทดลอง
- สมาชิกคนที่ 4 บันทึกผลการทํากิจกรรม
- สมาชิกคนที่ 5 หรือ 6 นําเสนอผลที่ไดจาก
กิจกรรม

อธิบายความรู้

6. ใช้พู่กันเขี่ยท่อนรากที่ย้อมสีแล้ว 1 ท่อน วางบน 1. หลังจากทํากิจกรรม ครูและนักเรียนรวมกัน


สไลด์ทหี่ ยดน�า้ แล้ว 1 หยด น�ากระจกปิดสไลด์วาง อภิปรายผลจากกิจกรรม ตอนที่ 2
ทับแล้วกดเบา ๆ ด้วยนิ้วจนเนื้อเยื่อแบน น�าไป 2. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ก�าลังขยายต่าง ๆ วาด
ภาพและบันทึกผล
ภาพที่ 1.24 โครงสร้างภายในของปลายรากพืช
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ตอนที่ 2 โครงสรางภายในของราก

1. น�าเมล็ดทานตะวัน และเมล็ดข้าวเพาะลงกระบะ 2. ขุดต้นทานตะวันและต้นข้าวขึ้นมา (พยายามอย่า


เพาะช�าประมาน 2 สัปดาห์ ให้รากขาด) ตัดรากพืชที่สมบูรณ์พืชละ 2-3 ราก
ล้างให้สะอาดแล้วน�าไปแช่น�้า

เมล็ดทานตะวัน เมล็ดข้าว รากทานตะวัน รากต้นข้าว

โครงสร้างและ 19
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด แนวตอบ กิจกรรมตอนที่ 1


ภาพที่เห็นภายใตกลองจุลทรรศน ควรมีลักษณะ ดังนี้
รากพืชในขอใดทําหนาที่เปนรากหายใจ
1. ไทร
2. ลําพู
3. ลําแพน
4. โกงกาง
5. กลวยไม
(วิเคราะหคําตอบ รากของตนไทร และกลวยไม ทําหนาที่เปน
รากอากาศ สวนรากของตนลําแพน และโกงกาง ทําหนาทีเ่ ปนราก
คํ้าจุน สวนรากของตนลําพู ทําหนาที่เปนรากหายใจ ดังนั้น ตอบ
ขอ 2.)

T25
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด 3. ใช้พู่กันแตะชิ้นส่วนของรากที่เฉือนออกมา แล้ว 4. น� า ชิ้ น ส่ ว นที่ บ างไปย้ อ มสี วางลงบนหยดน�้ า
ในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5 เลม 1 แช่ในน�้าสีที่ใส่ในจานเพาะเชื้อ โดยแยกเป็นจาน บนสไลด์แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ แล้วน�าไป
ละชนิด ส่องภายใต้กล้องจุลทรรศน์
ขัน้ สรุป
รากต้น รากต้น
ตรวจสอบผล ทานตะวัน ข้าว
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย เรือ่ ง โครงสราง
และหนาที่ของดอก

ขัน้ ประเมิน ภาพที่ 1.25 โครงสร้างภายในของปลายรากพืช


ตรวจสอบผล ที่มา : คลังภาพ อจท.

1. ตรวจแบบฝกหัด
2. ตรวจใบงาน เรื่อง โครงสรางภายในของราก
3. ตรวจใบงาน เรื่อง ประเภทของราก ?
ค�าถามท้ายกิจกรรม
4. สังเกตการปฏิบัติการจากการทํากิจกรรม 1. โ ครงสร้างภายในของรากจากการตัดตามยาวในพืชใบเลี้ยงคู่และใบเลี้ยงเดี่ยวเหมือนกันหรือแตกต่างกัน
5. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล อย่างไร
2. ก ารเจริญเติบโตปฐมภูมิและการเจริญเติบโตทุติยภูมิของรากแตกต่างกันอย่างไร และสามารถพบได้ทั้งใน
6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม รากพืชใบเลี้ยงคู่และรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวหรือไม่
7. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
อภิปรายผลกิจกรรม

จากกิจกรรมตอนที ่ 1 พบว่า เมือ่ น�ารากของพืชใบเลีย้ งคู ่ (ทานตะวัน) และรากของพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว (ข้าว)


ที่มีอายุประมาณ 2 สัปดาห์ มาตัดตามยาว พบว่า มีโครงสร้างที่เหมือนกัน คือ บริเวณปลายสุดของรากขึ้นไป
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม แบ่งออกเป็นบริเวณต่าง ๆ คือ หมวกราก บริเวณการแบ่งเซลล์ บริเวณเซลล์ยืดตามยาว และบริเวณที่เซลล์
1. เหมือนกัน ซึ่งประกอบดวย 4 บริเวณ ไดแก เปลี่ยนสภาพและเจริญเติบโตเต็มที่ ตามล�าดับ
จากกิจกรรมตอนที ่ 2 พบว่า เมือ่ น�ารากพืชอายุประมาณ 2 สัปดาห์ ซึง่ เป็นรากทีเ่ จริญเติบโตเต็มทีแ่ ละแปลง
บริเวณเปลี่ยนสภาพและเจริญเต็มที่ของเซลล
สภาพโครงสร้างไปท�าหน้าที่เฉพาะมาตัดตามขวาง พบว่า รากพืชใบเลี้ยงคู่ (ทานตะวัน) และพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
บริเวณยืดตามยาวของเซลล บริเวณแบงเซลล (ข้าว) มีโครงสร้างภายในของราก 3 บริเวณเหมือนกัน คือ เอพิเดอร์มิส คอร์เทกซ์ และสตีล แต่จ�านวนแฉก
และบริเวณหมวกราก ในพืชใบเลี้ยงคู่มีจ�านวนแฉกน้อยกว่า และการจัดเรียงตัวของท่อล�าเลียงเป็นระเบียบมากกว่าพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
2. รากตนทานตะวันและรากตนขาวประกอบดวย
เนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ ชั้นเอพิเดอรมิส คอรเทกซ
และสตีล แตตนทานตะวันจะมีจํานวนแฉก
ของทอลําเลียงไซเล็มที่อยูในชั้นสตีลมากกวา 20
ตนขาว และมีการจัดเรียงทอลําเลียงที่เปน
ระเบียบมากกวา

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ กิจกรรมตอนที่ 2


ภาพที่เห็นภายใตกลองจุลทรรศน ควรมีลักษณะ ดังนี้
ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของ
ราก ไดจากการทํากิจกรรม โครงสรางภายในปลายราก โดยศึกษาเกณฑการวัด
และประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติการที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู
ประจําหนวยการเรียนรูที่ 1
แบบประเมินการปฏิบัติการ
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบตั ิการจากการทากิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การออกแบบการทดลอง
2 การดาเนินการทดลอง
3 การนาเสนอ
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................/................

รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว รากพืชใบเลี้ยงคู

T26
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
2.2 โครงสรางและหนาที่ของลําตน 1. ครูกระตุนความสนใจของนักเรียนโดยครูอาจ
ล�าต้นเป็นอวัยวะของพืชที่โดยทั่วไปเจริญอยู่เหนือระดับผิวดินถัดขึ้นมา ล�าต้นพืชบางชนิด นําตนพืชขนาดเล็ก เชน ตอยติง่ ตนถัว่ ทีเ่ พาะไว
จะมีข้อ ปล้อง บริเวณข้อจะมีใบ ที่ซอกใบมีตา ล�าต้นท�าหน้าที่ชูกิ่ง ใบ ดอก และผล ให้อยู่เหนือ มาใหนักเรียนศึกษา
ระดับผิวดิน ล�าเลียงน�้า ธาตุอาหาร และอาหารไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช 2. ครูถามนักเรียนวา นักเรียนรูไดอยางไรวา
เมือ่ น�าล�าต้นพืชใบเลีย้ งเดีย่ วและพืชใบเลีย้ งคูม่ าศึกษา พบว่า การเจริญเติบโตของพืชแต่ละ บริเวณใดเปนลําตน
ชนิดแตกต่างกัน โดยการเติบโตปฐมภูมิจะท�าให้พืชมีล�าต้นสูงขึ้น พบทั้งในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและ (แนวตอบ ลําตนมักมีสีเขียวหรือสีอื่นรวม มีใบ
พืชใบเลี้ยงคู่ ส่วนการเติบโตทุติยภูมิจะท�าให้พืชมีล�าต้นขยายออกทางด้านข้าง พบเฉพาะใน เจริญออกดานขางของลําตนตรงตําแหนงขอที่
พืชใบเลี้ยงคู่ เห็นไดชัดเจน โดยเฉพาะพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เชน
ตนขาว ไผ จะเห็นขอและปลองชัดเจนกวาพืช
B iology ใบเลี้ยงคู)
Focus โครงสรางบริเวณปลายยอด

1 เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอด (shoot apical meristem) : อยู่บริเวณปลายสุดของล�าต้น ประกอบ ขัน้ สอน


ด้วยกลุ่มเซลล์ที่มีการแบ่งตัวตลอดเวลา และเจริญไปเป็นล�าต้น ใบ และตาตามซอก สํารวจค้นหา
2 ใบแรกเกิด (leaf primordium) : อยูต่ รงด้าน 1. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลจากแหลงการเรียนรู
ใบแรกเกิด 2 ข้างของปลายยอดที่เป็นขอบของความโค้ง และศึ ก ษาโครงสร า งและหน า ที่ ภ ายในของ
ใบอ่อน และจะเจริญพัฒนาเป็นใบอ่อน ตรงโคนใบ
3
แรกเกิดจะเห็นเซลล์ขนาดเล็กรูปร่างยาวเรียง ลําตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู
เนื้อเยื่อเจริญ 1
ส่วนปลายยอด ตัวเป็นแนวยาวจากล�าต้นขึ้นไปจนเกือบถึง 2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 6 คน รวมกัน
4 ส่วนปลาย เซลล์เหล่านีจ้ ะเจริญไปเป็นเนือ้ เยือ่ สืบคนขอมูลบริเวณปลายสุดของลําตน จาก
ล�าต้นอ่อน ท่อล�าเลียงทีแ่ ยกออกจากล�าต้นสูใ่ บ ภาพที่ครูเตรียมมาให ตัวอยางภาพเชน
3 ใบอ่อน (young leaf) : เซลล์ของใบยังมีการ ภาพที่ 1 ภาพที่ 2
แบ่งเซลล์อยู่ และเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลง
ต่อไป เพือ่ เพิม่ ความหนาและขนาดของใบจน
เป็นใบทีเ่ จริญเต็มที ่ อย่างไรก็ตาม ใบในระยะ
ภาพที่ 1.26 โครงสร้างบริเวณปลายยอด นี้ยังไม่แผ่ออกเต็มที่ ตรงซอกของใบอ่อน
ที่มา : คลังภาพ อจท. พบตาตามซอกเริ่มเกิดที่จะพัฒนาไปเป็นตา
ตามซอกเมื่อใบที่รองรับอยู่เจริญเต็มที่แล้ว 3. ใหแตละกลุม รวมกันสืบคนขอมูล และระบุสว น
4 ล�าต้นอ่อน (young stem) : อยู่ถัดจากต�าแหน่งใบเริ่มเกิดลงมา ล�าต้นส่วนใบเริ่มเกิดเป็นล�าต้น ประกอบในภาพ จากนั้นครูสุมตัวแทนกลุม
ระยะทีย่ งั เจริญไม่เต็มที ่ โดยเซลล์บางบริเวณอาจพัฒนาไปจนเจริญเต็มทีใ่ นระดับหนึง่ แล้ว แต่บาง กลุมละ 2 คน ออกมานําเสนอขอมูลของกลุม
บริเวณยังแบ่งเซลล์เพือ่ เพิ่มจ�านวนและขยายขนาดต่อไปได้อกี จนกระทัง่ เป็นล�าต้นทีเ่ จริญเต็มที่ ตนเองที่รวบรวมได
4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ
โครงสร้างและ 21
สืบคน และรวมกันระบุองคประกอบภายใน
หน้าที่ของพืชดอก
ภาพ

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เพราะเหตุใดตนมะมวงและตนหมากที่มีอายุเทากัน ปลูกอยู ครูอาจพานักเรียนไปสํารวจสวนพฤกษศาสตรภายในโรงเรียน หรือตนไม
บริเวณใกลกัน ตนมะมวงจึงมีลําตนใหญกวาตนหมาก ในโรงเรียนหรือภายในชุมชน โดยใหนักเรียนสังเกตลักษณะของลําตนของพืช
1. ตนมะมวงมีแคมเบียม แตตนหมากไมมีแคมเบียม ชนิดตาง ๆ แลวใหนักเรียนจดบันทึกชื่อตนไม วาดภาพลักษณะของลําตน หรือ
2. ตนหมากมีแคมเบียม แตตนมะมวงไมมีแคมเบียม ใชวธิ กี ารบรรยายลักษณะของลําตนลงในสมุดบันทึกของนักเรียน จากนัน้ ครูและ
3. จํานวนกลุมทอลําเลียงของตนมะมวงมีมากกวาตนหมาก นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับลักษณะของลําตน และรวมกันคาดคะเนวา
4. เซลลของตนมะมวงแบงตัวไดรวดเร็วกวาเซลลของตนหมาก พืชชนิดนั้นเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวหรือพืชใบเลี้ยงคู โดยการใชเหตุผลและความรู
5. ตนมะมวงมีการเรียงตัวของกลุมทอลําเลียงเปนระเบียบ จากการศึกษา เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
มากกวาตนหมาก
(วิเคราะหคําตอบ ตนมะมวงมีแคมเบียม ซึ่งเปนเนื้อเยื่อเจริญ
ดานขาง ทําใหลาํ ตนมีขนาดใหญกวาตนหมาก ดังนัน้ ตอบขอ 1.)

T27
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
5. ครูใหนักเรียนแบงกลุมดวยวิธีการจับสลาก 1. โครงสร้างภายในของล�าต้นระยะการเติบโตปฐมภูมิ เมื่อตัดตำมขวำง แล้วน�ำมำ
หมายเลข 1-4 เพือ่ แบงกลุม นักเรียนออกเปน 4 ศึกษำด้วยกล้องจุลทรรศน์จะเห็นโครงสร้ำงแบ่งออกเป็น 3 ชั้น ดังนี้
กลุม จากนั้นครูนํากลองจุลทรรศน และสไลด
ตั ว อย า งของลํ า ต น พื ช ใบเลี้ ย งเดี่ ย วและพื ช โครงสรางภายในของลําตน
ใบเลี้ยงคูมาใหนักเรียนแตละกลุมศึกษา
6. ครูมอบหมายใหแตละกลุม ทําชิน้ งานวาดภาพ 1 เอพิเดอรมิส พืชใบเลีย
้ งเดีย
่ ว
โครงสรางภายในของลําตนเมือ่ ตัดตามขวางที่ (epidermis) 1
เป็ น เนื้ อ เยื่ อ ที่ อ ยู ่ ชั้ น นอกสุ ด ท� ำ
ศึกษาจากกลองจุลทรรศนลงในกระดาษ A4 หน้ำที่ปองกันอันตรำยให้กับเนื้อเยื่อ
กลุ่มท่อ-
ล�ำเลียง ลําต้นพืช
พรอมระบุสวนประกอบกอบตาง ๆ พรอมนํา ภำยในของล�ำต้น ส่วนใหญ่เซลล์จะ ใบเลี้ยงเดี่ยว
เรียงตัวเพียงชั้นเดียว พืชบำงชนิด พิธ
เสนอหนาชั้นเรียน พิธ
เอพิเดอร์มิสมีกำรเปลี่ยนแปลงไป 2
เป็นขน
อธิบายความรู้ โฟลเอ็ม โฟลเอ็ม

1. แตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอชิ้นงาน 2 คอรเทกซ
2. ครูอธิบายใหนกั เรียนเขาใจโดยใชคาํ ถาม ดังนี้ (cortex)
ไซเล็ม
ï• การจัดเรียงตัวของกลุม มัดทอลําเลียงภายใน เป็นบริเวณที่อยู่ถัดจำกเอพิเดอร์มิส
เข้ ำ ไป ประกอบด้ ว ยเซลล์ ห รื อ
ลําตนพืชใบเลีย้ งเดีย่ วและใบเลีย้ งคูแ ตกตาง เนื้ อ เยื่ อ หลำยชนิ ด ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น มัดท่อล�ำเลียง
กันหรือไม อยางไร เนือ้ เยือ่ พำเรงคิมำและมีคอลเลงคิมำ
อยู ่ ใ ต้ เ ซลล์ ผิ ว ในพื ช ใบเลี้ ย งเดี่ ย ว
(แนวตอบ แตกตางกัน กลุม มัดทอลําเลียงใน บำงชนิดอำจเห็นส่วนคอร์เทกซ์ไม่ชดั ไซเล็ม เอพิเดอร์มิส
ลําตนพืชใบเลีย้ งเดีย่ วจะกระจายทัว่ เนือ้ เยือ่
แต จ ะเรี ย งตั ว เป น ระเบี ย บในลํ า ต น พื ช
ขอแตกตางระหวางลําตนพืชใบเลีย
้ งเดีย
่ วและลําตนพืชใบเลีย
้ งคู
ใบเลี้ยงคู)
ล�าต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ล�าต้นพืชใบเลี้ยงคู่
ï• วาสคิวลารแคมเบียมทําหนาที่อะไร และ
1. กลุ่มท่อล�ำเลียงกระจำยทั่วไปในเนื้อเยื่อพื้น 1. กลุ่มท่อล�ำเลียงเรียงเป็นระเบียบในแนวรัศมี
เนื้อเยื่อชนิดนี้พบไดในพืชชนิดใด (ground tissue)
( แนวตอบ ทํ า หน า ที่ แ บ ง เซลล ทํ า ให เ กิ ด 2. ส่วนใหญ่ไม่พบเนือ้ เยือ่ เจริญวำสคิวลำร์แคมเบียม 2. มีเนื้อเยื่อเจริญวำสคิวลำร์แคมเบียมระหว่ำง
เนื้ อ เยื่ อ ท อ ลํ า เลี ย ง ส ว นมากพบในพื ช ยกเว้นหมำกผู้หมำกเมียและพืชวงศ์ปำล์ม โฟลเอ็มและไซเล็ม จึงมีกำรเติบโตทุติยภูมิ
ใบเลี้ยงคู) 3. เนื้อเยื่อพิทจะพบกลุ่มท่อล�ำเลียงกระจำยอยู่เต็ม 3. เห็นขอบเขตของเนื้อเยื่อพิธอย่ำงชัดเจน
ท�ำให้ไม่เห็นขอบเขตของพิธ
ï• ชองพิธพบไดในพืชชนิดใด
4. ส่วนใหญ่ไม่มีกำรเติบโตทุติยภูมิ ซึ่งบริเวณพิท 4. พิทถูกแทนที่ด้วยไซเล็ม เมื่อมีกำรเติบโตทุติยภูมิ
(แนวตอบ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว สวนพิธในลําตน และเนือ้ เยือ่ อืน่ ๆ อำจสลำยไปกลำยเป็นช่องกลำง
พืชใบเลี้ยงคูจะถูกแทนที่ดวยไซเล็ม) ล�ำต้นเรียกว่ำ ช่องพิธ (pith cavity)
22

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมวา นอกจากเซลลขนแลว ยังมีเซลลคุมซึ่งเปน ขอใดถูกตองเกี่ยวกับโครงสรางภายในของลําตนของพืช
เซลลที่มีการเปลี่ยนแปลงมาจากเอพิเดอรมิสดานลาง ซึ่งเปนเนื้อเยื่อที่อยู 1. คอรเทกซเปนชั้นเนื้อเยื่อที่อยูภายในสุดของลําตน
ดานทองใบ กลุมเซลลเหลานี้จะมีลักษณะคลายเอพิเดอรมิสดานบน แต 2. ชองพิธพบอยูใ นชัน้ สตีลของพืชใบเลีย้ งเดีย่ วเทานัน้
มี คิ ว ทิ เ คิ ล น อ ยกว า ทํ า หน า ที่ ค วบคุ ม การคายนํ้ า และการแลกเปลี่ ย นแก ส 3. พิธเกิดขึ้นภายในชั้นสตีลของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเทานั้น
ของพืชทางปากใบ (stomata) นอกจากนี้ ภายในเซลลคุมมีคลอโรพลาสต จึง 4. เซลลคุมพบในชั้นเอพิเดอรมิสของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเทานั้น
สามารถสังเคราะหดวยแสงได สวนใหญเซลลคุมพบบริเวณทางดานทองใบ 5. วาสคิวลารแคมเบียมพบอยูใ นชัน้ คอรเทกซของพืชใบเลีย้ งคู
มากกวาหลังใบ ยกเวน พืชนํ้าจะไมมีปากใบ และพืชปริ่มนํ้าจะมีปากใบเฉพาะ เทานั้น
ดานหลังใบเทานั้น เชน ใบบัว (วิเคราะหคําตอบ พิธ เปนเนือ้ เยือ่ ทีอ่ ยูบ ริเวณสวนกลางของลําตน
สวนใหญเปนเนื้อเยื่อพาเรงคิมา เกิดขึ้นทั้งในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
และพืชใบเลี้ยงคู เมื่อพืชเจริญเต็มที่ พิธในพืชใบเลี้ยงคูจะถูก
แทนที่ดวยไซเล็ม สวนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวไมมีการเจริญทุติยภูมิ ทํา
ใหพิธสลายกลายเปนชองวาง เรียกวา ชองพิธ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T28
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
3. ครู นํ า ภาพโครงสร า งภายในของลํ า ต น เมื่ อ
ตัดตามขวางมาใหนกั เรียนรวมกันตอบคําถาม
จากภาพ โดยมีแนวคําถาม ดังนี้
ภาพที่ 1 ภาพที่ 2

พืชใบเลีย
้ งคู 3 สตีล
1 (stele)
กลุ่มท่อ ชัน้ ทีถ่ ดั จำกชัน้ คอร์เทกซ์เข้ำมำจนถึง
ลําต้นพืช ล�ำเลียง ส่วนกลำงของล�ำต้น และแบ่งแยก
ใบเลี้ยงคู 3 ออกจำกชั้นคอร์เทกซ์ได้ไม่ชัดเจน
พิธ
โดยทั่วไปสตีลมีขอบเขตกว้ำงมำก
พิธ 2 ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่ส�ำคัญ ได้แก่
วำสคิวลำร์ • วาสคิวลาร์แคมเบียม (vascular
แคมเบียม โฟลเอ็ม
cambium) : พบในพืชใบเลี้ยง ï• ภาพที่ 1 เปนภาพของเนื้อเยื่อที่อยูภายใน
โฟลเอ็ม คู่ เป็นเนื้อเยื่อพำเรงคิมำที่อยู่ ลําตนชนิดใด
ระหว่ำงกลุ่มท่อล�ำเลียง โดยเรียง (แนวตอบ ลําตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว)
ไซเล็ม ตัวกันเป็นวงเชือ่ มต่อระหว่ำงคอร์-
เทกซ์และพิธ ï• ภาพที่ 2 เปนภาพของเนื้อเยื่อที่อยูภายใน
คอร์เทกซ์
• พิธ (pith) : เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ส่วน ลําตนชนิดใด
กลำงของล�ำต้น ส่วนใหญ่เป็น
เอพิเดอร์มิส เนื้อเยื่อประเภทพำเรงคิมำ จึง (แนวตอบ ลําตนพืชใบเลี้ยงคู)
ท�ำหน้ำที่ในกำรสะสมสำรต่ำง ๆ
ไซเล็ม
มัดท่อล�ำเลียง
ภาพที่ 1.27 โครงสร้ำงภำยในของล�ำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
ที่มา : คลังภาพ อจท.

• มัดท่อล�าเลียง (vascular bundle) : กลุ่มของเนื้อเยื่อที่ท�ำหน้ำที่เกี่ยวข้องกับกำรล�ำเลียงน�้ำและอำหำร


- ในพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว กลุม่ ท่อล�ำเลียงจะกระจำยอยูท่ วั่ ไปในชัน้ คอร์เทกซ์ ประกอบด้วยทัง้ โฟลเอ็มและไซเล็ม
ซึ่งจะถูกล้อมรอบด้วยเนื้อเยื่อพำเรงคิมำหรือสเกลอเรงคิมำ เรียกเซลล์ที่มำล้อมรอบนี้ว่ำ เนื้อเยื่อหุ้มท่อ
ล�าเลียง หรือบันเดิลชีท (bundle sheath)
- ในพืชใบเลีย้ งคู่ ประกอบด้วยโฟลเอ็มซึง่ เรียงตัวอยูท่ ำงด้ำนนอก และไซเล็มซึง่ เรียงตัวอยูท่ ำงด้ำนในหรือ
ด้ำนที่ติดกับพิธ ระหว่ำงโฟลเอ็มกับไซเล็มมีเนื้อเยื่อเจริญที่เรียกว่ำ วาสคิวลาร์แคมเบียม คั่นกลำงอยู่
ท�ำหน้ำที่แบ่งเซลล์เพื่อให้ก�ำเนิดโฟลเอ็มทุติยภูมิกับไซเล็มทุติยภูมิ

โครงสร้างและ 23
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เนือ้ เยือ่ ลําเลียงนํา้ และธาตุอาหารทีอ่ ยูภ ายในลําตนพืชใบเลีย้ ง ครูอาจเพิ่มเติมความรูใหกับนักเรียนเกี่ยวกับความแตกตางระหวางพืช
คูมีลักษณะเปนอยางไร ใบเลี้ยงเดี่ยวกับพืชใบเลี้ยงคู โดยเปรียบเทียบเปนรูปแบบของตารางเพื่อให
1. เรียงตัวเปนแฉก นักเรียนเขาใจมากขึ้น ดังนี้
2. เรียงตัวกระจัดกระจาย
ลักษณะ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงคู
3. เรียงตัวเปนแนววงกลม
4. เรียงตัวเปนแนวสี่เหลี่ยม จํานวนใบเลี้ยง 1 ใบ 2 ใบ
5. เรียงตัวเปนกระจุกอยูบริเวณกลางลําตน ขอและปลอง มองเห็นชัดเจน มองเห็นไมชัดเจน
เสนใบ เรียงตัวขนานกัน เปนรางเห
(วิเคราะหคําตอบ เนื้อเยื่อลําเลียงนํ้าและธาตุอาหารของพืช คือ
ระบบราก รากฝอย รากแกว
เนื้อเยื่อไซเล็ม เรียงตัวกันเปนวง ดังนั้น ตอบขอ 3.)
จํานวนกลีบ 3 กลีบ หรือทวีคูณของ 3 4-5 กลีบ หรือทวีคูณของ 4-5

T29
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนสืบคนขอมูล และศึกษาเนื้อหาจาก 2. ล�าต้นในระยะการเติบโตทุตยิ ภูมิ จะท�ำให้ลำ� ต้นมีเส้นรอบวงเพิม่ ขึน้ และมีโครงสร้ำง
แหลงการเรียนรู เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต แตกต่ำงไปจำกเดิม เนื่องจำกมีกำรสร้ำงเนื้อเยื่อเพริเดิร์ม และเนื้อเยื่อท่อล�ำเลียงทุติยภูมิเพิ่มขึ้น
หนังสือเรียน โดยครูกําหนดหัวขอ เรื่อง ลําตน ท�ำให้ล�ำต้นพืชเจริญขยำยออกทำงด้ำนข้ำง
ขยายขนาดเปนวงกวางไดอยางไร
2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน สืบคน
กำรสร้ำงเนือ้ เยือ่ ท่อล�ำเลียงทุตยิ ภูมิ เกิด
ขึน้ โดยเนือ้ เยือ่ เจริญทีอ่ ยูร่ ะหว่ำงเนือ้ เยือ่ ไซเล็ม
ขอมูลวา ทําไมเนื้อไมจึงมีสีเขมและสีออน พิธ
ไซเล็มปฐมภูมิ ปฐมภูมิและโฟลเอ็มปฐมภูมิ เรียกว่ำ วาสคิว-
แตกตางกัน เอพิเดอร์มิส
วำสคิวลำร์แคมเบียม ลาร์แคมเบียม (vascular cambium) จะแบ่ง
โฟลเอ็มปฐมภูมิ คอร์เทกซ์ เซลล์ได้ 2 ทิศทำง คือ แบ่งเข้ำทำงด้ำนใน
และด้ำนนอก
กำรแบ่งเซลล์เข้ำด้ำนในของวำสคิวลำร์
ไซเล็มปฐมภูมิ
ไซเล็มทุติยภูมิ แคมเบียมเกิดได้เร็วกว่ำด้ำนนอก และเจริญ
วำสคิวลำร์แคมเบียม คอร์ก เป็ น เนื้ อ เยื่ อ ไซเล็ ม เรี ย กไซเล็ ม ที่ เ กิ ด จำก
โฟลเอ็มทุติยภูมิ คอร์กแคมเบียม
โฟลเอ็มปฐมภูมิ วำสคิวลำร์แคมเบียมว่ำ ไซเล็มทุตยิ ภูมิ (secondary
ปแรก xylem) ส่ ว นเซลล์ ที่ แ บ่ ง ออกทำงด้ ำ นนอก
ปที่สอง
เจริ ญ เป็ น เนื้ อ เยื่ อ โฟลเอ็ ม เรี ย กโฟลเอ็ ม ที่
ไซเล็มทุติยภูมิ เปลี่ ย นแปลงมำจำกวำสคิ ว ลำร์ แ คมเบี ย ม
ว่ำ โฟลเอ็มทุติยภูมิ (secondary phloem)
วำสคิวลำร์แคมเบียม
โฟลเอ็มทุติยภูมิ ดังนั้น กำรเติบโตทุติยภูมิท�ำให้ไซเล็ม
เปลือกไม้ คอร์กแคมเบียม
คอร์ก ชั้นในสุดของล�ำต้นมีอำยุมำกที่สุด และไซเล็ม
ภาพที่ 1.28 กำรเจริญเติบโตของล�ำต้นในระยะทุติยภูมิ ที่มีอำยุน้อยอยู่ถัดออกมำก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

แก่น (heart wood)


เป็นบริเวณที่ไซเล็มมีอำยุมำก ซึ่งจะหยุดล�ำเลียง
น�้ำ แต่ยังคงให้ควำมแข็งแรงแก่ล�ำต้นอยู่ และ เนื้อไม้
อำจมีกำรสะสมสำรอินทรีย์ จึงท�ำให้เห็นไซเล็ม
บริเวณนี้มีสีเข้ม

กระพี้ (sap wood) วำสคิวลำร์แคมเบียม


เป็นบริเวณที่ไซเล็มมีอำยุน้อย สำมำรถล�ำเลียง โฟลเอ็ม เปลือกไม้
น�้ำและธำตุอำหำรได้ มีสีที่จำงเนื่องจำกยังไม่มี คอร์กแคมเบียม
กำรสะสมสำรอินทรีย์ คอร์ ก
ภาพที่ 1.29 เนื้อไม้ของล�ำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีอำยุมำก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
24

เกร็ดแนะครู กิจกรรม 21st Century Skills


ครูอาจทําเปนตารางสรุปเพื่อเปรียบเทียบลักษณะของลําตนพืชใบเลี้ยงคู ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ศึกษาคนควาเพิ่มเติม
และพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เพื่อใหนักเรียนเขาใจมากขึ้น ดังนี้ จากการสํารวจสวนพฤกษศาสตรของโรงเรียนหรือภายในชุมชน
แลวเลือกตนไมมา 2 ชนิด เพื่อทํานายโครงสรางภายในลําตนพืช
ลําตนพืชใบเลี้ยงคู ลําตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลีย้ งเดีย่ วและพืชใบเลีย้ งคู แลวนํามาเขียนสรุปและเปรียบเทียบ
1. วาสคิวลารบันเดิลเรียงตัวอยางเปน 1. วาสคิวลารบันเดิลเรียงตัวกระจัด ความแตกตางลงในกระดาษ A4 พรอมนําเสนอในรูปแบบทีส่ วยงาม
ระเบียบ กระจายอยูทั่วลําตน
2. มีแคมเบียมระหวางโฟลเอ็มและไซเล็ม 2. สวนใหญไมมีแคมเบียมระหวางโฟลเอ็ม
และไซเล็ม
3. มีการเจริญเติบโตทุติยภูมิ ทําใหลําตน 3. มีเพียงการเจริญเติบโตปฐมภูมิ ทําให
อวบอวน ลําตนสูง แตไมเพิ่มขนาดดานขาง
4. ชั้นคอรเทกซรวมกับโฟลเอ็มกลายเปน 4. ชั้นคอรเทกซบาง ไมมีการรวมเปน
เปลือกไม เปลือกไม
5. เมื่อพืชมีอายุมากขึ้นไซเล็มจะถูกดัน 5. ภายในจะกลวงเปนชองพิธ เพราะไมมี
เขาไปภายใน และมีสารอื่นมาสะสม การเจริญทุติยภูมิ
กลายเปนแกน

T30
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
การสร้างเนื้อเยื่อเพริเดิร์ม เกิดขึ้นโดยเนื้อเยื่อเจริญที่ Biology 1. ครู นํ า เกมหรื อ ความบั น เทิ ง ช ว ยกระตุ  น ให
พัฒนามาจากเนื้อเยื่อในชั้นคอร์เทกซ์ เรียกว่า คอร์กแคมเบียม in real life นักเรียนมีสวนรวม และเลือกตัวแทนนักเรียน
(cork cambium) หรือ เฟลโลเจน (phllogen) ท�าหน้าที่สร้าง ไม้ ค อร์ ก หรื อ จุ ก ขวดปิ ด ปาก 3-4 คน ออกมานําเสนอชิ้นงาน เรื่อง ลําตน
ชั้นเนื้อเยื่อที่ช่วยปกป้องเนื้อเยื่อส่วนอื่น ๆ ที่อยู่ภายใน โดย ขวดไวน์ท�ามาจากเปลือกไม้ ขยายขนาดไดอยางไร แลวใหนักเรียนทุกคน
ของต้นโอ๊ก เมื่อต้นโอ๊กมีอายุ
เนื้อเยื่อเพริเดิร์มจะไปแทนที่เอพิเดอร์มิสที่แตกออกหรือแห้ง ประมาณ 25 - 30 ป จะเริ่ม รวมกันอภิปรายสิ่งที่ตัวแทนนักเรียนนําเสนอ
แล้วหลุดออกไป เซลล์ทไี่ ด้จากการแบ่งเซลล์ของคอร์กแคมเบียม ลอกเปลือกเพื่อท�าไม้คอร์ก ไม้ ขอมูล
นั้น ถ้าเซลล์ที่อยู่ด้านนอกของคอร์กแคมเบียมจะเป็นเซลล์ที่ คอร์ ก ที่ ไ ด้ ค รั้ ง แรกจะยั ง ไม่ มี 2. ใหตวั แทนกลุม ออกมานําเสนอขอมูลวา ทําไม
เปลี่ยนสภาพไปเป็นเซลล์คอร์ก (cork cell) เมื่อเจริญเต็มที่ คุณสมบัติที่เหมาะสมในการใช้ เนือ้ ไมจงึ มีสเี ขมและออนแตกตางกัน จากนัน้ ครู
จะสะสมสารประกอบพวกซูเบอริน (suberin) ที่ผนังเซลล์เป็น เป็นจุกปิดปากขวดไวน์ ต่อมา พิจารณาขอมูลทีต่ วั แทนนักเรียนนําเสนอ โดยมี
ประมาณ 9 - 11 ป ชั้นของไม้
ปริมาณมาก ท�าให้เซลล์ตายในทีส่ ดุ ชัน้ ของเซลล์คอร์กทีเ่ กิดขึน้ คอร์กจะเกิดขึ้นมาใหม่ และมี แนวคําตอบวา เนือ้ ไม ประกอบดวย แกนไม
นีเ้ รียกว่า คอร์ก (cork) หรือ เฟลเลม (phellem) ช่วยป้องกันการ การลอกไม้คอร์กมาใช้ประโยชน์ และกระพี้ไม ซึ่งแกนไม เปนบริเวณที่มีไซเล็ม
สูญเสียน�้าภายในล�าต้น และถ้าเป็นเซลล์ที่อยู่ด้านในของคอร์ก ทุก 9 - 11 ป ต้นโอ๊กที่ควรน�า ที่มีอายุมาก มีการสะสมของสารอินทรียจึง
แคมเบียมจะเป็นเซลล์ทมี่ ผี นังบางคล้ายเซลล์พาเรงคิมาเรียกว่า มาผลิตจุกขวดควรมีอายุอย่าง
ทําใหบริเวณนี้มีสีเขมและไมสามารถลําเลียง
เฟลโลเดิร์ม (phelloderm) ท�าให้ชั้นคอร์เทกซ์มีขนาดใหญ่ขึ้น น้อย 50 ป
นํ้าได สวนกระพี้ไม เปนบริเวณที่มีไซเล็มที่
ซึ่งทั้งคอร์ก คอร์กแคมเบียม และเฟลโลเดิร์ม รวมเรียกว่า
มีอายุนอ ย สามารถลําเลียงนํา้ และธาตุอาหาร
เพริเดิร์ม (periderm)
ในล�าต้นที่มีอายุมากเอพิเดอร์มิสจะหลุดสลายไปเหลือแต่เนื้อเยื่อคอร์ก (cork) และคอร์ก ได เนื่องจากยังไมมีสารอินทรียมาสะสมจึง
แคมเบียม (cork cambium) โดยเนื้อเยื่อเพริเดิร์มและโฟลเอ็มทุติยภูมิที่สร้างขึ้นมาใหม่ รวมเรียก ทําใหบริเวณนี้มีสีออน
ว่า เปลือกไม้ (bark) ส�าหรับล�าต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น ปาล์ม มะพร้าว ไผ่ ข้าวโพด
พืชเหล่านี้จะมีการเติบโตทุติยภูมิ แต่มีลักษณะและขั้นตอนต่างออกไปจากพืชใบเลี้ยงคู่
B iology
Focus วงป

ใน 1 ป วาสคิวลาร์แคมเบียมแบ่งเซลล์เพิ่มขึ้นตามมาก
หรื อ น้ อ ยต่ า งกั น ในแต่ ล ะฤดู ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู ่ กั บ ปริ ม าณน�้ า และ
อาหาร ท�าให้การสร้างเนื้อไม้ในแต่ละฤดูมีขนาดมากน้อย
แตกต่ า งกั น เซลล์ ชั้ น ไซเล็ ม ที่ ส ร้ า งขึ้ น ในฤดู ฝ นจะเจริ ญ
เร็ ว มี ข นาดใหญ่ ท� า ให้ ไ ซเล็ ม กว้ า งและมั ก มี สี จ าง ส่ ว น
ฤดู แ ล้ ง เซลล์ จ ะมี ข นาดเล็ ก และมี สี เ ข้ ม ลั ก ษณะดั ง กล่ า ว
ท� า ให้ เ นื้ อ ไม้ มี สี จ างและสี เ ข้ ม สลั บ กั น มองเห็ น เป็ น วง เรี ย กว่ า
วงป (annual ring) ภาพที่ 1.30 วงป
ที่มา : คลังภาพ อจท.

โครงสร้างและ 25
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


วงปเกิดขึ้นไดในสวนใดของพืช ครูอาจเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับการนําเปลือกไมมาประยุกตใชประโยชน
1. ในลําตนของพืชจําพวกสน ในชีวิตประจําวัน ตัวอยางเชน เปลือกไมอบเชยใชผสมในเครื่องสําอาง มีสมบัติ
2. เฉพาะในลําตนพืชใบเลี้ยงคูเทานั้น กระตุน และฆาเชือ้ ชวยกระตุน การไหลเวียนของเลือด หรือนํามาสกัดทํายาหอม
3. ทั้งในลําตนและในรากพืชใบเลี้ยงคู ใชสูดดมบรรเทาอาการไอ และโรคระบบทางเดินหายใจ นอกจากนี้ นิยมนํามา
4. เฉพาะในลําตนและรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทุกชนิด ทํายาสมุนไพรที่มีสรรพคุณในการแกจุกเสียด แนนทอง
5. ในลําตนพืชใบเลี้ยงคูทุกชนิดและพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด
(วิเคราะหคําตอบ สวนมากวงปพบในลําตนพืชใบเลีย้ งคูท กุ ชนิด
และพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด นอกจากนี้ ยังพบในรากพืชทุกชนิด
ตอบขอ 5.)

T31
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1. ใหนักเรียนศึกษากิจกรรม โครงสรางภายใน • การสังเกต
ของลําตน ในหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1 โครงสรางภายในของล�าตน จิตวิทยาศาสตร์
• ความสนใจใฝ่รู้
2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน โดยให • ความรับผิดชอบ

สมาชิกภายในกลุมแบงภาระหนาที่รับผิดชอบ จุดประสงค์ • การท�างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง


สร้างสรรค์
ดังนี้ 1. ศกึ ษาโครงสร้างภายในของล�าต้นพืชใบเลีย้ งเดีย่ วและพืชใบเลีย้ งคูด่ ว้ ยกล้องจุลทรรศน์ได้
- สมาชิกคนที่ 1 เตรียมอุปกรณ 2. อธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของล�าต้นพืชแต่ละชนิด
- สมาชิกคนที่ 2 และ 3 ทําการทดลอง
- สมาชิกคนที่ 4 บันทึกผลการทํากิจกรรม วัสดุอปุ กรณ์
- สมาชิกคนที่ 5 นําเสนอผลทีไ่ ดจากกิจกรรม 1. ต้นหญ้า (พืชใบเลี้ยงเดี่ยว) 5. พู่กัน เข็มเขี่ย จานเพาะเชื้อ และหลอดหยด
2. ต้นถั่วเขียว (พืชใบเลี้ยงคู่) 6. สไลด์ และกระจกปิดสไลด์
3. ใบมีดโกน 7. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
4. สีซาฟรานีนหรือสีผสมอาหารสีแดงเข้มข้น 1%

วิธปี ฏิบตั ิ
1. น�าล�าต้นหญ้าและถั่วเขียวมาลอกใบออกจนเห็น 2. ใช้พู่กันแตะชิ้นส่วนของล�าต้นหญ้าและถั่วเขียวที่
ข้ อ และปล้ อ ง ล้ า งให้ ส ะอาด และตั ด บริ เ วณ ตัดเป็นชิ้นบาง ๆ แล้วน�ามาแช่ในน�้าสีที่ใส่ในจาน
กึ่งกลางปล้องให้เป็นชิ้นบาง ๆ เพาะเชื้อที่ 1 และ 2 ตามล�าดับ
จานเพาะเชื้อที่ 1 จานเพาะเชื้อที่ 2

3. ใช่พู่กันเลือกชิ้นส่วนของล�าต้นหญ้าและถั่วเขียว 4. น�าสไลด์ไปส่องภายใต้กล้องจุลทรรศน์ บันทึกผล


ที่บางและสมบูรณ์ซึ่งย้อมสีแล้ว วางลงบนหยด
น�้าบนสไลด์ที่ 1 และ 2 ตามล�าดับ แล้วปิดด้วย
กระจกปิดสไลด์

สไลด์ที่ 1 สไลด์ที่ 2

ภาพที่ 1.31 กิจกรรมโครงสร้างภายในของล�าต้น


26 ที่มา : คลังภาพ อจท.

หองปฏิบัติการ ขอสอบเนน การคิด


 à·¤¹Ô¤ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ การจําแนกเนือ้ เยือ่ รากหรือลําตนทีต่ ดั ตามขวางแลวสองดูดว ย
กอนเริม่ ทํากิจกรรม ครูอาจแนะนําวิธกี ารเลือกลําตนถัว่ เขียวทีจ่ ะนํามาตัด กลองจุลทรรศน สามารถสังเกตไดจากขอใด
เปนชิน้ บาง เชน ควรเลือกตนถัว่ เขียวทีม่ ลี าํ ตนตรง ไมโคงงอ โดยตัดบริเวณลําตน 1. ชั้นของมัดทอลําเลียงกระจัดกระจายทั้งในรากและลําตน
ใกลกบั ปลายยอดทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะสามารถทําได และตัดตามขวางลงมาหลาย ๆ ชิน้ 2. ชัน้ ของคอรเทกซในรากจะแคบ คอรเทกซของลําตนจะกวาง
แลวเลือกชิ้นที่บางเหมาะสมที่จะนํามาศึกษาโครงสรางภายในที่มีการเจริญ 3. ชัน้ ของคอรเทกซในลําตนจะแคบคอรเทกซของรากจะกวาง
เติบโตปฐมภูมทิ สี่ ดุ สวนลําตนพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว หากนักเรียนเลือกลําตนขาวโพด 4. ชั้นของมัดทอลําเลียงกระจัดกระจายในลําตนและเปน
มาศึกษาใหลอกกาบออกจากขอ จะทําใหเห็นบริเวณลําตนมีขอปลองชัดเจน ระเบียบในราก
ใหเลือกตัดตามขวางลําตนขาวโพดบริเวณกลาง ๆ ปลอง 5. ชั้นของมัดทอลําเลียงกระจัดกระจายในรากและเปน
ระเบียบในลําตน
(วิเคราะหคําตอบ การจําแนกเนื้อเยื่อรากหรือลําตนที่ตัดตาม
ขวาง สามารถสังเกตไดจากชัน้ ของคอรเทกซภายในลําตนจะแคบ
สวนคอรเทกซของรากจะกวาง ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T32
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ค�าถามท้ายกิจกรรม 1. ครูสมุ ตัวแทนกลุม ออกมานําเสนอผลจากการ
?
ทํากิจกรรม
เนื้อเยื่อของล�ำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่มีโครงสร้ำงเหมือนหรือแตกต่ำงกัน อย่ำงไร
2. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
อภิปรายผลกิจกรรม 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา
กิจกรรม เพือ่ ใหไดขอ สรุปวา โครงสรางภายใน
จำกกิจกรรม เมื่อน�ำเนื้อเยื่อของล�ำต้นพืชที่เติบโตเต็มที่มำตัดตำมขวำง พบว่ำ โครงสร้ำงภำยในล�ำต้น
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่ำง ๆ ที่เหมือนกันซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3 บริเวณ ดังนี้ ลําตนประกอบดวยเนือ้ เยือ่ ตาง ๆ แบงออกได
1. เอพิเดอร์มิส เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว เปน 3 บริเวณ คือ เอพิเดอรมสิ คอรเทกซ และ
2. คอร์เทกซ์ เป็นบริเวณที่อยู่ถัดจำกเอพิเดอร์มิสเข้ำไป ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อพำเรงคิมำในพืชใบเลี้ยง สตีล
เดี่ยวบำงชนิดเห็นส่วนคอร์เทกซ์ไม่ชัดเจน
3. สตีล อยู่ถัดจำกชั้นคอร์เทกซ์ เข้ำมำจนถึงใจกลำงของล�ำต้น ประกอบด้วยเนื้อเยื่อกลุ่มท่อล�ำเลียง
วำสคิวลำร์แคมเบียม (พบในพืชใบเลี้ยงคู่) และพิธ
ล�ำต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่มีบำงบริเวณที่แตกต่ำงกัน แต่ที่เห็นได้อย่ำงชัดเจน คือ กลุ่ม
ท่อล�ำเลียงที่มีกำรจัดเรียงตัวที่แตกต่ำงกัน

3. หน้าที่และชนิดของล�าต้น ล�ำต้นเป็นอวัยวะที่เป็นแกนหลักของพืชที่อยู่เหนือระดับ
พื้นดิน หน้ำที่หลักของล�ำต้น คือ ชูกิ่งก้ำนและใบเพื่อรับแสง ล�ำเลียงน�้ำและธำตุอำหำร รวมทั้ง
อำหำรที่พืชสร้ำงขึ้นส่งไปยังส่วนต่ำง ๆ ของพืช นอกจำกนี้ล�ำต้นยังมีหน้ำที่พิเศษอื่น ๆ อีกตำม
ลักษณะภำยนอกของล�ำต้นที่พบ เช่น สะสมอำหำร สังเครำะห์ด้วยแสง ช่วยในกำรคำยน�้ำ ใช้ใน
กำรขยำยพันธุ์
หำกแบ่งประเภทของล�ำต้นตำมต�ำแหน่งที่พบ สำมำรถ
แบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้
1) ล�าต้นเหนือดิน (aerial stem) เป็นต้นที่ขนำน แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
อยู่เหนือพื้นดินทั่ว ๆ ไป นอกจำกจะพบล�ำต้นขนำดใหญ่ที่ เนื้อเยื่อชั้นตางๆ ของลําตนพืชใบเลี้ยงคูและ
ท�ำหน้ำที่เป็นแกนหลักของพืชแล้ว ยังพบล�ำต้นลักษณะอื่น ๆ ที่ ลําตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวประกอบไปดวยชั้นเนื้อเยื่อ
เปลี่ยนแปลงรูปร่ำงและท�ำหน้ำที่ต่ำงกันออกไป ดังนี้ ที่คลายกัน คือ เอพิเดอรมิส มัดทอลําเลียงกับ
- ล�าต้นเกาะเลื้อย (creeping stem) เป็นต้นที่ขนำน พิธ แตแตกตางกันที่พืชใบเลี้ยงคูระหวางไซเล็ม
ไปกับผิวดินหรือผิวน�้ำ ส่วนใหญ่มีล�ำต้นอ่อน ตั้งตรงไม่ได้ จึง ภาพที ่ 1.32 ล�ำต้นเกำะเลื้อย
ที่มา : คลังภาพ อจท. กั บ โฟลเอ็ ม จะมี เ นื้ อ เยื่ อ แคมเบี ย มคั่ น แต พื ช
ต้องเลื้อยขนำนไปกับผิวดินหรือผิวน�้ำ เช่น ผักกระเฉด แตงโม ใบเลี้ยงเดี่ยวไมมีเนื้อเยื่อแคมเบียมคั่น และในพืช
ฟักทอง ใบเลี้ ย งคู  จ ะเห็ น ขอบเขตบริ เ วณพิ ธ ชั ด เจน
โครงสร้างและ 27
หน้าที่ของพืชดอก
นอกจากนี้ การจัดเรียงตัวของมัดทอลําเลียงในพืช
ใบเลี้ยงคูจะเปนระเบียบมากกวาพืชใบเลี้ยงเดี่ยว

ขอสอบเนน การคิด บันทึก กิจกรรม

โครงสรางในขอใดไมพบภายในลําตน ชนิดของพืชที่นํามาศึกษา ภาพโครงสรางภายในลําตน


1. สตีล ตัวอยางพืชใบเลี้ยงคู เชน ถั่วเขียว ภาพที่ไดควรเห็นกลุมมัดทอลําเลียง
2. โฟลเอ็ม เรียงตัวในแนวรัศมี และเห็นเนื้อเยื่อ
3. คอรเทกซ แคมเบียมคัน่ ระหวางทอลําเลียงไซเล็ม
4. เอพิเดอรมิส กับโฟลเอ็ม
5. เอนโดเดอรมิส
(วิเคราะหคําตอบ ภายในลําตนพืชใบเลีย้ งเดีย่ วและพืชใบเลีย้ งคู ตัวอยางพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เชน ภาพที่ไดควรเห็นกลุมมัดทอลําเลียง
ลวนประกอบไปดวย ชัน้ เอพิเดอรมสิ คอรเทกซ และสตีล ซึง่ ภายใน ขาวโพด เรียงตัวกระจายอยูทั่วลําตน
สตีลจะประกอบไปดวยมัดทอลําเลียงที่มีทอลําเลียงโฟลเอ็มและ
ไซเล็ม ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T33
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนกั เรียนจับสลาก เพือ่ แบงกลุม นักเรียนออก - ล�าต้นเลื้อยขึ้นสูง หรือล�าต้นไต่ (climbing stem) มีล�าต้นที่อ่อน และไต่ขึ้นสูงไปตาม
เปน 2 กลุม โดยแตละกลุม มีหนาทีส่ บื คนหัวขอ หลักหรือต้นไม้ที่อยู่ติดกัน เช่น แตงกวา พลูด่าง เฟื่องฟ้า
ตอไปนี้ - ล�าต้นคล้ายใบ (cladophyll) ล�าต้นที่เปลี่ยนไปอาจแผ่แบนคล้ายใบหรือเป็นเส้นเล็ก
- กลุมนักเรียนที่จับสลากไดหมายเลข 1 : ยาวและยังมีสีเขียว ท�าหน้าที่แทนใบในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ นอกจากนั้นยังมีล�าต้นอวบน�้า
ศึกษาลําตนเหนือดิน เป็นล�าต้นของพืชที่อยู่ในที่แห้งแล้งป้องกันการคายน�้า เช่น สนทะเล กระบองเพชร
- กลุมนักเรียนที่จับสลากไดหมายเลข 2 :
ศึกษาลําตนใตดิน
2. ใหนักเรียนแตละกลุมทํา PowerPoint โดยให
นักเรียนภายในกลุมรวมกันแบงหนาที่สมาชิก
ภายในกลุมออกเปนกลุมยอย ๆ ดังนี้
- นักเรียนกลุมที่ 1 : ศึกษาและรวบรวมขอมูล
- นักเรียนกลุมที่ 2 : ทําขอมูลนําเสนอในรูป
แบบ PowerPoint
- นักเรียนกลุมที่ 3 : นําเสนอขอมูล
ภาพที่ 1.33 ล�าต้นที่เลื้อยขึ้นสูงโดยเปลี่ยนเป็นมือเกาะ ภาพที่ 1.34 ล�าต้นคล้ายใบของต้นกระบองเพชร
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
อธิบายความรู้
1. ใหตัวแทนกลุมออกมานําเสนอขอมูล แลวให B iology
Focus ลักษณะการไตขึ้นสูงของล�าตน
นักเรียนบันทึกขอมูลที่ตัวแทนนําเสนอลงใน
สมุดบันทึกของตนเอง ลักษณะการไต่ขึ้นสูงของล�าต้น มีดังนี้
2. ใหนักเรียนนําขอมูลที่รวบรวมได ทําใบงาน 1. ลา� ต้นพันหลักเปนเกลียวขึน้ ไป หรือไม้พนั เลือ้ ย (twinter) : การพันอาจเวียนซ้ายหรือเวียนขวา เช่น
เรื่อง หนาที่และชนิดของลําตน บอระเพ็ด เถาวัลย์ ต้นถั่วฟักยาว
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลทีไ่ ดจากการ 2. ล �าต้นเปลี่ยนเปนมือเกาะ (tendril) : มือจะบิดเกาะเป็นเกลียวคล้ายสปริงเพื่อให้มีการยืดหยุ่น เช่น
แตงกวา บวบ
ทําใบงาน 3. ร ากพัน (root climber) : เป็นล�าต้นที่ไต่ขึ้นสูงโดยงอกรากออกมาบริเวณข้อยึดกับหลักหรือ
ต้นไม้อื่น รากนี้หากยึดกับต้นไม้จะไม่แทงรากเข้าไปในล�าต้นของพืชที่เกาะ เช่น พริกไทย
ขยายความเข้าใจ พลูด่าง พลู
ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา 4. ล � า ต้ น เปลี่ ย นเป น หนาม (stem spine) : เป็ น ล� า ต้ น ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปเป็ น หนามรวมทั้ ง
ม.5 เลม 1 ขอเกี่ยว เพื่อใช้ส�าหรับไต่ขึ้นที่สูงและท�าหน้าที่ป้องกันอันตราย โดยหนามแตกออกมาจากบริเวณ
ซอกใบ เช่น เฟื่องฟ้า ไมยราบ

28

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจใหนักเรียนศึกษาหนาที่ของลําตนพืชหลายๆ ชนิดที่ทําหนาที่พิเศษ ขอใดไมใชหนาที่พิเศษของลําตน
อืน่ ๆ นอกเหนือจากการชูกงิ่ กาน ใบ และพยุงลําตน แลวใหนกั เรียนสรุปเปนตาราง 1. หายใจ
ตัวอยางเชน 2. ทุนลอยนํ้า
3. ฟอกอากาศ
หนาที่พิเศษ ตัวอยางพืช 4. สะสมอาหาร
คํ้าจุนลําตน เตย โกงกาง ขาวโพด ขาวฟาง ลําเจียก 5. สังเคราะหดวยแสง
หายใจ ไทร
(วิเคราะหคําตอบ ลําตนพืชนอกจากทําหนาทีช่ ว ยพยุงและคํา้ จุน
ทุนลอย แพงพวยนํ้า
รางกายพืชแลว ยังทําหนาทีพ่ เิ ศษ ไดแก หายใจ คายนํา้ สังเคราะห
ยึดเกาะ พลูดาง พริกไทย
ดวยแสง สะสมอาหาร ทุนลอยนํ้า ลําตนบางชนิด สามารถ
ยึดเกาะและดูดซับความชื้นในอากาศ กลวยไม ไทร เปลี่ยนแปลงไปเปนใบ เชน กระบองเพชร ดังนั้น ตอบขอ 3.)
หายใจ แสม ลําพู ลําแพน
สะสมอาหาร มันแกว มันเทศ มันสําปะหลัง
สังเคราะหดวยแสง กลวยไม

T34
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
2) ล�าต้นใต้ดิน (underground stem) เป็นล�าต้นที่เจริญอยู่ใต้ระดับผิวดิน ล�าต้นใต้ดิน ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายโครงสรางและ
ของพืชหลายชนิดท�าหน้าที่พิเศษในการสะสมอาหาร ซึ่งล�าต้นมีขนาดใหญ่ อวบหนา มักจะสะสม หนาทีข่ องลําตน จากนัน้ ใหนกั เรียนจับกลุม กลุม ละ
แป้งหรือน�้ามันไว้ภายในเซลล์ 4-5 คน เพื่อสรางแบบจําลองโครงสรางภายใน
หากแบ่งล�าต้นใต้ดินตามลักษณะรูปร่าง สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายแบบ ดังนี้ ลําตนพืชใบเลีย้ งเดีย่ วและพืชใบเลีย้ งคู โดยรวมกัน
ออกแบบใชวัสดุที่เหมาะสมกับแบบจําลอง เชน
ตะเกียบ หลอด หนังยาง แลวนําเสนอหนาชัน้ เรียน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5
ภาพที่ 1.35 ล�าต้นของข่า ภาพที่ 1.36 ล�าต้นของเผือก
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท. เลม 1
2. ตรวจใบงาน เรื่อง หนาที่และชนิดของลําตน
เหงา (rhizome) คอรม (corm)
ล�าต้นที่อยู่ใต้ดิน เห็นข้อปล้องชัดเจน ตามข้อมีใบ ล�าต้นมีลักษณะตั้งตรง เก็บอาหารไว้ในล�าต้น จึงมี 3. ประเมินชิน้ งาน โครงสรางภายในลําตนเมือ่ ตัด
สีน�้าตาล ลักษณะเป็นเกล็ดเรียกว่า ใบเกล็ด หุ้มตา ลักษณะอวบใหญ่ ทางด้านล่างมีรากเส้นเล็ก ๆ หลาย ตามขวาง
เอาไว้ มีรากงอกออกจากเหง้า ตาแตกแขนงเป็นใบ เส้น ที่ข้อมีใบเกล็ดบาง ๆ หุ้ม ตาแตกออกมาจาก 4. ประเมิ น ชิ้ น งาน PowerPoint โดยใช แ บบ
อยู่เหนือดิน หรืออาจเป็นล�าต้นอยู่ใต้ดิน เช่น ขิง ข้อ มีใบชูขึ้นสูงหรืออาจเป็นล�าต้นใต้ดินต่อไป เช่น ประเมินชิ้นงาน
ข่า ขมิ้น เผือก แห้ว
5. ประเมินแบบจําลองโครงสรางภายในลําตน
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู โดยใชแบบ
ประเมินการนําเสนอผลงาน
6. สังเกตการปฏิบัติการจากการทํากิจกรรม โดย
ใชแบบประเมินการปฏิบัติการ
7. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดย
ภาพที่ 1.37 หอม ภาพที่ 1.38 มันฝรั่ง ใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
8. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ
หัวกลีบ (bulb) ทูเบอร (tuber)
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
ล�าต้นทีม่ ลี กั ษณะตัง้ ตรง มีขอ้ ปล้องสัน้ มาก ตามปล้อง ล�าต้นทีป่ ระกอบด้วยข้อและปล้อง 3 - 4 ปล้อง ไม่มใี บ
มีใบเกล็ด ท�าหน้าที่สะสมอาหารซ้อนห่อหุ้มล�าต้นไว้ ภายในล�าต้นมีอาหารสะสม ท�าให้อวบกลม บริเวณ 9. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ
หลายชัน้ จนเห็นเป็นหัวลักษณะกลม ใบชัน้ นอกสุดจะ ปล้องมีตาซึง่ ตามักจะบุม ลงไป ตาเหล่านีส้ ามารถงอก ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
ลีบแบนไม่สะสมอาหาร ส่วนด้านล่างของล�าต้นมีราก เป็นต้นใหม่ได้ เช่น มันฝรั่ง
เป็นกระจุก เช่น หอม กระเทียม
โครงสร้างและ 29
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล


จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง โครงสรางภายในลําตนพืช
ก. หัวผักกาดขาว แครรอต มันเทศ จัดเปนรากพิเศษทีท่ าํ หนาที่ ได จ ากการสร า งแบบจํ า ลองโครงสร า งภายในลํ า ต น พื ช ใบเลี้ ย งเดี่ ย วและ
สะสมอาหาร พืชใบเลี้ยงคู โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการ
ข. มันฝรั่ง แหว ขิง ขา เผือก จัดเปนลําตนพิเศษที่ทําหนาที่ นําเสนอผลงานที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 1
สะสมอาหาร
ค. ถั่วลันเตา พวงชมพู องุน จะมีลําตนพิเศษที่ทําหนาที่ แบบประเมินการนาเสนอผลงาน

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการนาเสนอใบงาน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ยึดเกาะกับตนไมใหญ
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
3 2 1
1 ความถูกต้องของเนื้อหา   
2 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย   

ขอความใดกลาวถูกตอง
3 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ   
4 วิธีการนาเสนอผลงาน   
5 ความสวยงามของใบงาน   
รวม

1. ก. เทานั้น 2. ก. และ ข. ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


.............../................/................

3. ก. และ ค. 4. ข. และ ค. เกณฑ์การให้คะแนน


ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน
ให้
ให้
ให้
3
2
1
คะแนน
คะแนน
คะแนน

5. ก. ข. และ ค.
(วิเคราะหคําตอบ ลําตนของถั่วลันเตา พวงชมพู องุนเปลี่ยนไป
เปนมือเกาะ ดังนั้น ตอบขอ 2.)
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-15 ดีมาก
11-13 ดี

T35
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูนําใบพืชตัวอยางมาใหนักเรียนสังเกตและ 2.3 โครงสรางและหนาที่ของใบ
ศึกษาโครงสรางภายนอกของใบ ใบเป็นอวัยวะที่เจริญออกไปบริเวณด้านข้าง อยู่บริเวณข้อปล้องของล�าต้นและกิ่งท�าหน้าที่
2. ครูถามคําถามกระตุนความคิดของนักเรียน หลักในสร้างอาหารโดยการสังเคราะห์ด้วยแสง
โดยมีแนวคําถาม ดังนี้
1. โครงสร้างและการเจริญเติบโตของใบ ใบต้องมีโครงสร้างที่เอื้อต่อการรับแสง การ
ï• ลักษณะของใบพืชทั่วไปเปนอยางไร แลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และการล�าเลียงน�้า สารอาหาร และอาหารที่เหมาะสม
(แนวตอบ มีลักษณะแบน ผิวใบดานบน
คอนขางมัน สวนใหญมีสีเขียว) โครงสรางของใบ
ï• หนาที่หลักสําคัญของใบพืชคืออะไร โครงสราง
1 ภายนอกของใบ
(แนวตอบ สังเคราะหดวยแสง เพื่อผลิต
อาหารใหกับพืช) 1 ก้านใบ (petiole) : อยู่ระหว่าง
ตัวใบและล�าต้น ซึ่งในพืชใบ
ï• ลักษณะของใบพืชทั่วไปเหมาะสมตอการ เลี้ยงเดี่ยวมักมีก้านใบแผ่เป็น
สรางอาหารของพืชอยางไร แผ่นหุ้มข้อของล�าต้น เรียกว่า
กาบใบ (leaf sheath)
(แนวตอบ ชวยเพิ่มพื้นที่ผิวในการรับแสง ซึ่ง 2
มีผลตอการสังเคราะหดวยแสง) 2 แผ่นใบ (blade) : ส่วนทีเ่ ป็นแผ่น
แบน โดยมีรปู ร่างลักษณะแตก
ต่างกัน ขึน้ อยูก่ บั ชนิดของพืช
ขัน้ สอน 1
3 เส้นใบ (vein) : ประกอบด้วย 3
สํารวจค้นหา ท่อไซเล็มและท่อโฟลเอ็มเรียง 4
ตัวอยู่
1. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 3-4 คน สํารวจ
4 หูใบ (stipule) : เป็นส่วน
สวนพฤกษศาสตรภายในโรงเรียน หรือตนไม ที่ ยื่ น ออกมาตรงโคนใบที่ ติ ด
บริเวณภายในชุมชน แลวเลือกตนไมตวั อยางมา กั บ ล� า ต้ น ท� า หน้ า ที่ ป ้ อ งกั น
1 ชนิด บันทึกชือ่ ตนไม สังเกต และวาดภาพ อันตรายให้กบั ตาอ่อน พบทัว่ ไป
ในพืชใบเลี้ยงคู่ แต่ไม่ค่อยพบ
ลักษณะภายนอกของใบลงในสมุดบันทึก ในพื ช ใบเลี้ ย งเดี่ ย ว หู ใ บมั ก
2. ใหนักเรียนนําใบไมจากตนไมตัวอยางที่กลุม มีอายุไม่นานและจะหลุดร่วงไป
ภาพที่ 1.39 โครงสร้างและส่วนประกอบของใบพืช
นักเรียนเลือกมาทํากิจกรรม โครงสรางภายนอก ที่มา : คลังภาพ อจท.
และโครงสรางภายในของใบไม
ลักษณะการจัดเรียงเสนใบ
พืชใบเลี้ยงคู เส้นกลางใบ พื ช ใบเลี้ ย งเดี่ ย ว
เส้นใบจะแยกออกจาก เส้นใบจะเรียงขนาน
เส้นกลางใบ และแตก เส้นใบ หรื อ ตั้ ง ฉากกั บ เส้ น
แขนงเป็นร่างแห กลางใบ โดยไม่ มี
เส้นใบย่อย การแตกแขนงเป็ น
ร่างแห
30

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ในการเรียนการสอนหัวขอนี้ ครูอาจพานักเรียนไปศึกษาลักษณะโครงสราง ขอใดไมใชลักษณะใบของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ของใบภายในสวนพฤกษศาสตรหรือบริเวณรอบๆ โรงเรียน แลวใหนักเรียน 1. มีหูใบ
สังเกตผิวใบ ความเขมของสีใบ โครงสรางภายนอกของใบ และใหนกั เรียนสังเกต 2. มีกานใบ
การจัดเรียงตัวของเสนใบวาพืชแตละชนิดมีการจัดเรียงตัวของเสนใบเหมือนหรือ 3. มีแผนใบ
แตกตางกัน อยางไร 4. มีเสนใบแตกแขนงเปนรางแห
5. มีเสนใบเรียงขนานตลอดทั้งใบ
(วิเคราะหคําตอบ องคประกอบหลักของใบพืชประกอบไปดวย
กานใบ หูใบ แผนใบ และเสนใบ ซึ่งใบของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและ
พืชใบเลี้ยงคูจะแตกตางกันที่เสนใบ เนื่องจากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะ
มีเสนใบเรียงขนานตลอดทั้งใบ สวนพืชใบเลี้ยงคูจะมีเสนใบแตก
แขนงเปนรางแห ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T36
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
3. ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาข อ มู ล เกี่ ย วกั บ โครงสร า ง
ภายนอกของใบไม จากหนังสือเรียนชีววิทยา
ม.5 เลม 1 แลวระบุองคประกอบที่ศึกษาได
ลงในสมุดบันทึก
4. ครูเขียนคําศัพทบนกระดาน และใหนักเรียน
โครงสราง สืบคนความหมายของคําศัพท ตอไปนี้
2 ภายในของใบ
1 - upper epidermis
1 เอพิเดอร์มิส (epidermis) : อยู่
ชัน้ นอกสุดของใบทัง้ ด้านบน หรือ
- bundle sheath
หลังใบ (upper epidermis) และ - lower epidermis
ด้ า นล่ า ง หรื อ ท้ อ งใบ (lower - vascular bundle
epidermis) ประกอบด้วยเซลล์
ผิวเซลล์คุม และอาจมีขน มีคิว - palisade mesophyll
ทินเคลือบที่ด้านนอกเพื่อป้องกัน - spongy mesophyll
การระเหยของน�า้ ออกจากใบ โดย
เอพิเดอร์มิสด้านบนมักมีคิวทิน อธิบายความรู้
เคลือบหนากว่าเอพิเดอร์มสิ ด้านล่าง
2 กลุม่ ท่อล�าเลียง (vascular bundle) : 1. ใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอผลจาก
ง 1
3 แทรกอยูใ่ นชัน้ มีโซฟิลล์ ในบริเวณ การสืบคนโครงสรางภายในและภายนอกของ
ก้านใบ เส้นใบ และเส้นใบย่อย ใบไม
ประกอบด้วยไซเล็มและโฟลเอ็ม ใน
พืชบางชนิดมัดท่อล�าเลียงจะล้อม 2. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายโครงสร า ง
2 รอบด้ว2ยกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า บัน ภายในและภายนอกของใบไม เพื่อใหไดขอ
เดิลชีท ( (bundle sheath) ซึ
) ซึ่งช่วย
ท�าให้มัดท่อล�าเลียงแข็งแรงขึ้น สรุปวา โครงสรางภายนอกของใบประกอบดวย
3 มโี ซฟลล์ (mesophyll) : อยูร่ ะหว่าง กานใบ แผนใบ เสนใบ หูใบ และโครงสราง
เอพิเดอร์มิสด้านบนและด้านล่าง ภายในของใบประกอบดวย เอพิเดอรมิส กลุม
ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมาที่มี มัดทอลําเลียง และมีโซฟลล
คลอโรพลาสต์ (chloroplast) ซึง่ มี
รูปร่างต่างกัน 2 แบบ ได้แก่
แพลิเซดมีโซฟลล (palisade mesophyll) : อยูต่ ดิ กับเอพิเดอร์มสิ ด้านบน ประกอบ
ด้วยเซลล์ที่มีรูปร่างยาวเรียงตัวกันในแนวตั้งฉากกับเอพิเดอร์มิส โดยไม่มีช่องว่าง
ระหว่างเซลล์ ภายในเซลล์มีคลอโรพลาสต์อยู่จ�านวนมาก จึงเป็นบริเวณที่มีการ
สังเคราะห์ด้วยแสงมากที่สุด
สปนจีมีโซฟลล (spongy mesophyll) : อยู่ถัดลงมาจากแพลิเซดมีโซฟิลล์จนถึง
เอพิเดอร์มสิ ด้านล่าง ประกอบด้วยเซลล์ทมี่ รี ปู ร่างค่อนข้างกลม เรียงตัวหลวม ๆ อย่าง
ไม่เป็นระเบียบ ภายในเซลล์มคี ลอโรพลาสต์จา� นวนมากแต่นอ้ ยกว่าแพลิเซดมีโซฟิลล์
โครงสร้างและ 31
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดพบในชั้นเอพิเดอรมิสของใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั้งหมด 1 มีโซฟลล อาจเรียกวาเปนสวนของเนื้อใบ หมายถึง สวนของเนื้อเยื่อที่อยู
1. คิวทิน ไซเล็ม ระหวางเอพิเดอรมิสดานบนและเอพิเดอรมิสดานลาง เนื้อเยื่อสวนใหญเปนพวก
2. คิวทิน เซลลขน พาเรงคิมาที่มีคลอโรพลาสตอยูดวยจึงเรียกวา คลอเรงคิมา (chlorenchyma)
3. เซลลคุม ไซเล็ม 2 บันเดิลชีท คือ กลุมเซลลพาเรงคิมาขนาดใหญมาเรียงตัวลอมรอบมัดทอ
4. เซลลขน ไซเล็ม ลําเลียงประมาณ 1-2 ชั้น ซึ่งในพืชบางชนิดจําพวกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว หรือพืช C4
5. เซลลคุม โฟลเอ็ม เชน กก ขาวโพด ขาวฟาง ภายในบันเดิลชีทมักมีคลอโรพลาสตจาํ นวนมาก และ
(วิเคราะหคําตอบ เอพิเดอรมิส คือ ชั้นนอกสุดของใบ ประกอบ ในพืชบางชนิด กลุมเซลลบันเดิลชีทประกอบดวยสเกลอเรงคิมา จึงทําใหมัดทอ
ดวยเซลลผิว เซลลคุม และอาจมีเซลลขนและคิวทิน ดังนั้น ตอบ ลําเลียงมีความแข็งแรงมากขึ้น
ขอ 2.)

T37
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1. ใหนักเรียนแบงกลุมเดิม และใชใบไมตัวอยาง • การสังเกต
ทํากิจกรรม โครงสรางภายนอกและโครงสราง โครงสรางภายนอกและโครงสรางภายในของใบไม จิตวิทยาศาสตร์
• ความสนใจใฝ่รู้
ภายในของใบไม • ความรับผิดชอบ

2. ใหนกั เรียนภายในกลุม แบงหนาทีแ่ ละความรับ จุดประสงค์ • การท�างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง


สร้างสรรค์
ผิดชอบของแตละคน โดยใหสมาชิกในกลุมมี 1. สังเกตและระบุประเภทของพืชจากโครงสร้างภายนอกของใบได้
บทบาทและหนาที่ของตนเอง ดังนี้ 2. ศึกษาโครงสร้างภายในของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่ด้วยกล้องจุลทรรศน์ได้
- สมาชิกคนที่ 1 ทําหนาที่ ศึกษาและทําความ
เขาใจขั้นตอนการทํากิจกรรม วัสดุอปุ กรณ์
- สมาชิกคนที่ 2 ทําหนาที่ เตรียมอุปกรณ 1. ใบไม้ชนิดต่าง ๆ 5. สไลด์และกระจกปิดสไลด์
- สมาชิกคนที่ 3 ทําหนาที่ ทํากิจกรรมตาม 2. ใบมีดโกน 6. แว่นขยาย
ขั้นตอน 3. สีซาฟรานีน หรือสีผสมอาหารความเข้มข้น 1% 7. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
4. พู่กัน เข็มเขี่ย จานเพาะเชื้อ และหลอดหยด
- สมาชิกคนที่ 4 ทําหนาที่ บันทึกผลกิจกรรม
และนําเสนอผลการทํากิจกรรม วิธปี ฏิบตั ิ
ตอนที่ 1 ศึกษาโครงสรางภายนอกของใบ

ภาพที่ 1.40 กิจกรรมโครงสร้างภายนอกและภายในของใบไม้ ตอนที่ 1


ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. นา� ใบไม้ชนิดต่าง ๆ มาศึกษาและสังเกตองค์ประกอบ 2. สั ง เกตลั ก ษณะการจั ด เรี ย งของเส้ น ใบ และ
ภายนอก บันทึกผลและวาดภาพรูปร่างของใบไม้ นับจ�านวนก้านใบ บันทึกผล (ใช้แว่นขยายศึกษา
ที่น�ามาศึกษา รายละเอียดของใบในกรณีที่ใบมีขนาดเล็ก)

3. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะโครงสร้างภายนอกของใบ เพื่อระบุประเภทของพืช

32

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนํานักเรียนวา ลักษณะของใบพืชสามารถบอกสภาพแวดลอมที่ ใบพื ช ชนิ ด หนึ่ ง มี คิ ว ทิ เ คิ ล เคลื อ บชั้ น เอพิ เ ดอร มิ ส หนามาก
พืชอาศัยอยูได เนื่องจากใบพืชมีความสัมพันธกับการสรางอาหารและแหลง แสดงวาพืชชนิดนี้สามารถเจริญไดดีในสถานที่ใด
ที่อยูอาศัยของพืช ตัวอยางเชน พืชนํ้ามักมีแผนใบแบนและบาง เชน สาหราย 1. ทะเล
หางกระรอก พืชในที่แลงมักมีใบอวบหนา หรือมีใบขนาดเล็กกวาใบพืชที่อยูใน 2. ปาสน
แหลงนํ้าสมบูรณ เพราะพืชเหลานี้ตองเก็บนํ้าไวภายในเพื่อลดการคายนํ้า จึงมี 3. ปาดิบชื้น
ใบที่มีขนาดเล็ก 4. ทะเลทราย
5. แมนํ้าลําคลอง
(วิเคราะหคําตอบ คิวทิเคิลหรือคิวทินทีเ่ คลือบอยูบ นผิวของใบไม
ชวยปองกันการระเหยของนํา้ ออกจากใบ ถาหากพืชชนิดใดมีควิ ทิน
เคลือบหนามาก แสดงวาพืชชนิดนั้นอยูในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง
ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T38
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ตอนที่ 2 ศึกษาโครงสรางภายในของใบ 1. ใหตวั แทนกลุม นําเสนอผลจากการทํากิจกรรม
หนาชั้นเรียน
1. เลื อ กใบไม้ ตั ว อย่ า งที่ น� า มา 2. นา� ส่วนของใบทีต่ ดั แล้วใส่ลงไป 3. น�าสไลด์ไปศึกษาโครงสร้าง 2. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
ศึกษา 2 ชนิด เป็นใบของพืช ในจานเพาะเชือ้ ทีม่ นี า�้ สี ใช้พกู่ นั ภายในด้วยกล้องจุลทรรศน์ที่ 3. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายผลการทํ า
ใบเลี้ ย งคู ่ 1 ชนิ ด และพื ช เลือกชิน้ ทีบ่ างและสมบูรณ์ทสี่ ดุ ก�าลังขยายต่าง ๆ บันทึกผล
กิจกรรม
ใบเลี้ยงเดี่ยว 1 ชนิด 2-3 ชิน้ วางบนหยดน�า้ บนสไลด์
ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์

แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
ภาพที่ 1.41 กิจกรรมโครงสร้างภายนอกและภายในของใบไม้ ตอนที่ 2
ที่มา : คลังภาพ อจท. 1. ได เนือ่ งจากพืชใบเลีย้ งคูจ ะมีเสนใบแยกออก
จากเสนกลางใบและแตกแขนงเปนรางแห สวน
พืชใบเลีย้ งเดีย่ วจะมีเสนใบเรียงขนานตลอดทัง้
ค�าถามท้ายกิจกรรม ใบ
? 2. แตกตางกัน พืชใบเลี้ยงคูจะพบทั้งแพลิเซด
1. ลักษณะภายนอกของใบที่เห็นสามารถจ�าแนกได้หรือไม่ว่า พืชชนิดใดเป็นพืชใบเลี้ยงคู่และพืชชนิดใด มีโซฟลลและสปนจีมโี ซฟลล แตพชื ใบเลีย้ งเดีย่ ว
เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มั ก พบเพี ย งสป น จี มี โ ซฟ ล ล ล  อ มรอบมั ด ท อ
2. โครงสร้างภายในใบของพืชใบเลี้ยงคู่และพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร ลําเลียง
3. โครงสร้างและการเรียงตัวของเซลล์ในเนื้อเยื่อชั้นต่าง ๆ สัมพันธ์กับหน้าที่ของใบหรือไม่
3. ชัน้ นอกสุดเปนเนือ้ เยือ่ เอพิเดอรมสิ ทีบ่ าง เซลล
บางชนิดเปลี่ยนแปลงรูปรางไปเปนเซลลคุม
ทําหนาที่ควบคุมการเปด-ปดของปากใบ ซึ่ง
อภิปรายผลกิจกรรม
เกีย่ วของกับการคายนํา้ ของพืช ภายในเซลลคมุ
จากการศึกษาโครงสร้างภายนอกของใบพืช พบว่า ใบพืชแต่ละชนิดมีลกั ษณะทีเ่ หมือนกัน คือ ใบประกอบด้วย มีคลอโรพลาสต ทําหนาที่เกี่ยวของกับการ
ก้านใบ แผ่นใบ เส้นกลางใบที่แยกออกเป็นเส้นใบ และหูใบ แต่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีการเรียงเส้นใบต่างไป สังเคราะหดว ยแสง ชัน้ ถัดจากเอพิเดอรมสิ ดาน
จากพืชใบเลีย้ งคู ่ คือ เส้นใบของพืชใบเลีย้ งเดีย่ วจะเรียงขนานหรือตัง้ ฉากกับเส้นกลางใบ โดยไม่มกี ารแตกแขนง บนลงมาเปนแพลิเซดมีโซฟลล แตละเซลลจะมี
ส่วนพืชใบเลี้ยงคู่เส้นใบจะแยกออกจากเส้นกลางใบและแตกแขนงเป็นร่างแห เมื่อน�าใบพืชใบเลี้ยงคู่และพืช คลอโรพลาสตอยูห นาแนน ทําใหมองเห็นผิวใบ
ใบเลี้ยงเดี่ยวมาตัดตามขวางแล้วศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พบว่า ลักษณะการจัดเรียงตัวของเนื้อเยื่อชั้นมี
ดานบนมีสเี ขียวเขมกวาผิวใบดานลาง ชัน้ ถัดมา
โซฟิลล์แตกต่างกัน รวมทั้งกลุ่มมัดท่อล�าเลียงด้วย
คือ สปนจีมโี ซฟลล มีมดั ทอลําเลียงแทรกอยู ซึง่
ประกอบดวย ทอลําเลียงไซเล็ม ทําหนาทีล่ าํ เลียง
โครงสร้างและ 33
หน้าที่ของพืชดอก นํ้ า และธาตุ อ าหารต า ง ๆ และท อ ลํ า เลี ย ง
โฟลเอ็ม ทําหนาทีล่ าํ เลียงอาหาร

ขอสอบเนน การคิด บันทึก กิจกรรม


ตอนที่ 1
ขอใดกลาวไมถูกตอง
1. บัวสายจะมีปากใบอยูทางดานบนของใบเทานั้น ชื่อใบพืชที่นํามาศึกษา สีของใบ องคประกอบ การจัดเรียงเสนใบ
2. ดานบนของใบจะมีชนั้ คิวทิเคิลชวยในการลดการสูญเสียนํา้ ตัวอยาง ใบมะมวง สีเขียว กานใบ แผนใบ เสนใบแตกออก
3. สาหรายหางกระรอกจะมีปากใบอยูโ ดยรอบของใบเทา ๆ กัน หูใบ และเสนใบ เปนรางแห
4. เซลลเอพิเดอรมิสบนใบพืชโดยทั่วไปจะไมมีคลอโรพลาสต ตอนที่ 2
ยกเวนเซลลคุม
5. ปากใบของพื ช ทั่ ว ไปจะพบที่ ด  า นล า งของใบ (ท อ งใบ) ชื่อใบพืชที่นํามาศึกษา ลักษณะโครงสรางภายในใบ
มากกวาทางดานบน (หลังใบ) ตัวอยาง ใบมะมวง ประกอบไปดวยเอพิเดอรมิส กลุมมัดทอลําเลียง
และชั้นมีโซฟลล ซึ่งในชั้นมีโซฟลลจะพบเซลลที่
(วิเคราะหคําตอบ สาหรายหางกระรอกเปนพืชนํ้าที่ไมมีปากใบ มีรูปรางแทง (แพลิเซดมีโซฟลล) และรูปรางกลม
ดังนั้น ตอบขอ 3.) (สปนจีมีโซฟลล)
ตัวอยาง ใบขาวโพด ประกอบไปดวยเอพิเดอรมิส กลุมมัดทอลําเลียง
และชั้นมีโซฟลล ซึ่งในชั้นมีโซฟลลจะพบเซลล
มีรูปรางกลมเรียงตัวกันอยางหลวม ๆ

T39
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน สืบคน 2. ชนิดและหน้าที่ของใบ หน้าที่หลักของใบพืช คือ สร้างอาหารโดยกระบวนการ
และศึกษาขอมูลเกี่ยวกับชนิดและหนาที่ของ สังเคราะห์ด้วยแสง แลกเปลี่ยนแก๊สและคายน�้า นอกจากนี้ใบพืชยังมีหน้าที่อื่น ๆ อีกตามชนิดของ
ใบพืชนอกเหนือจากการสังเคราะหดวยแสง ใบ ดังนี้
เพื่อทําใบงาน เรื่อง ชนิดและหนาที่ของใบ 1) ใบเลีย้ ง (cotyledon) ท�าหน้าทีส่ ะสมอาหารเพือ่ เลีย้ งต้นอ่อนขณะงอก โดยพืชใบเลีย้ งคู่
2. ครูเขียนคําศัพทตอไปนี้บนกระดาน แลวให มีใบเลี้ยง 2 ใบ แต่ถ้าเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีใบเลี้ยงเพียงใบเดียว
นักเรียนรวมกันสืบคนความหมายและหนาที่ 2) ใบแท้ (foliage leaf) เป็นส่วนของพืชที่เกิดจากตาใบท�าหน้าที่สร้างอาหารด้วย
ของคําศัพท ดังนี้ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง แลกเปลี่ยนแก๊สและคายน�้า แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้
- cotyledon - bract - ใบเดี่ยว (simple leaf) คือ ใบ
- foliage leaf - scale leaf ที่มีแผ่นใบเพียงแผ่นเดียว หรือใบเดียวติดอยู่
- simple leaf - f loating leaf กับก้านใบที่แตกออกมาจากล�าต้นหรือกิ่ง เช่น
- compound leaf - leaf tendril กล้วย ชมพู่ มะม่วง ใบเดี่ยวบางชนิดถึงแม้จะ
- leafl f let - leaf spine มีลกั ษณะหยักเว้ามากจนคล้ายกับมีใบย่อยเกิด
- petiolule - carnivorous leaf ขึ้น แต่เนื้อเยื่อของแผ่นใบยังไม่แหว่งจนหลุด
- modifi fied leaf - storage leaf ออกจากกัน จึงถือว่าเป็นใบเดีย่ ว เช่น มะละกอ
มันส�าปะหลัง ฟักทอง ต�าลึง ตาล
- ใบประกอบ (compound leaf)
คือ ใบทีแ่ ยกออกเป็นใบเล็ก ๆ ตัง้ แต่ 2 ใบขึน้ ไป
ติ ด อยู ่ กั บ ก้ า นใบก้ า นเดี ย วเรี ย กว่ า ใบย่ อ ย
(leaflet) ก้านใบของใบย่อยเรียกว่า ก้านใบย่อย
(petiolule) ใบประกอบของพืชบางชนิด เช่น ใบ
มะขาม กระถิน มะพร้าว จะมีแกนกลางต่อจาก
ปลายก้านใบและมีใบย่อยเรียงกันเป็นแถวบน
แกนกลางนัน้ แต่ใบประกอบบางชนิด เช่น ใบ
ภาพที ่ 1.42 ตัวอย่างภาพบน คือ พืชใบเดีย่ ว (ใบมะม่วง)
และภาพล่าง คือ พืชใบประกอบ (ใบมะขาม) หนวดปลาหมึ ก จะไม่มแี กนกลาง ใบย่อยจึงติด
ที่มา : คลังภาพ อจท. อยูบ่ ริเวณปลายก้านใบในต�าแหน่งเดียวกัน

3) ใบที่เปลี่ยนแปลงไป (modified leaf) พืชบางชนิดอาจมีใบที่มีหน้าที่พิเศษ ท�าให้


ใบมีการเปลีย่ นแปลงไปจากใบแท้ทมี่ ลี กั ษณะแผ่นแบนไปเป็นลักษณะอืน่ ทีเ่ หมาะสมกับหน้าที ่ เช่น
- ใบสะสมอาหาร (storage leaf) คือ ใบที่เปลี่ยนแปลงเป็นแหล่งเก็บสะสมอาหาร
จึงมีลักษณะอวบหนา เช่น ใบว่านหางจระเข้
34

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจนําตัวอยางใบไม เชน ใบมะยม มาใหนักเรียนศึกษาและอธิบาย ขอใดเปนพืชที่มีใบเดี่ยวทั้งหมด
ใหนักเรียนฟงวา คนสวนใหญมักเขาใจวาใบที่แตกออกมาจากกิ่งมะยมเปน 1. มะขาม กามปู ออย
ใบประกอบ แตที่จริงแลวใบมะยม คือ ใบเดี่ยว แตละใบมักมีตาตามซอก ซึ่ง 2. มะมวง ชมพู กามปู
อาจเจริญไปเปนผลได และใบบนกิ่งมะยมมีความออนและแกไมเทากัน ใบที่อยู 3. กุหลาบ ถั่ว มะละกอ
บริเวณโคนกิ่งจะแกที่สุด สวนใบที่อยูบริเวณปลายกิ่งจะออนที่สุด 4. ลูกใตใบ มะยม ผักหวาน
5. ตําลึง เฟรนใบมะขาม ปรง
(วิเคราะหคําตอบ ใบเดี่ยว เชน มะละกอ มะมวง ชมพู สาเก
ตําลึง ออย ละหุง มันสําปะหลัง ลูกใตใบ มะยม ผักหวาน สวน
ใบประกอบ เชน เฟรน ปรง กุหลาบ ถั่ว กระถิน มะขาม กามปู
ชมพูพันธุทิพย ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T40
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
- ใบประดับ (bract) คือ ใบที่ 1. สุมตัวแทนกลุมออกมานําเสนอใบงาน เรื่อง
เปลี่ยนแปลงไปเพื่อรองรับดอก ส่วนมากอยู่ ชนิดและหนาที่ของใบ
บริเวณก้านดอก มีสีเขียว พืชบางชนิดมีใบ 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายความรูท ไี่ ดจาก
ประดับที่สีสวยงามคล้ายกลีบดอก ท�าหน้าที ่ ใบงาน
ล่อแมลง เช่น หน้าวัว คริสต์มาส เฟือ่ งฟ้า 3. ครูถามคําถามทบทวนความรูโ ดยมีแนวคําถาม
ดังนี้
- ใบเกล็ด (scale leaf) คือ ใบ ภาพที่ 1.43 ใบประดับของดอกหน้าวัว
ที่มา : คลังภาพ อจท. ï• เพราะเหตุใดใบของพืชจึงมีลักษณะแบน
ที่ เ ปลี่ ย นมาจากใบแท้ เ พื่ อ ท� า หน้ า ที่ ป ้ อ งกั น
(แนวตอบ ใบพืชที่มีลักษณะแบน เพื่อเพิ่ม
อันตรายให้กับตาและยอดอ่อน พบในเผือก
ต้นพีแคน ขิงข่า แห้วจีน พื้นที่ผิวในการรับแสงสงผลดีตอกระบวน
การสังเคราะหดวยแสงของพืช)
- ทุน่ ลอย (floating leaf) พืชน�า้ •ï ยกตัวอยางพืชที่มีกาบใบที่นักเรียนรูจักมา
บางชนิดสามารถลอยน�า้ อยูไ่ ด้ โดยอาศัยก้านใบ อยางนอย 3 ตัวอยาง
พองโตออก ภายในมีเนื้ออยู่กันอย่างหลวม ๆ ( แนวตอบ ขึ้ น อยู  กั บ ดุ ล ยพิ นิ จ ของครู แ ละ
และมีช่องว่างอากาศท�าให้มีอากาศอยู่มาก จึง ภาพที่ 1.44 ใบเกล็ดของต้นพีแคน คําตอบของนักเรียน ตัวอยางพืชที่มีกาบใบ
ช่วยพยุงให้ล�าต้นลอยน�้าได้ เช่น ผักตบชวา ที่มา : คลังภาพ อจท. เชน ขาว กวนอิม พุทธรักษา กลวย)
- มือเกาะ (leaf tendril) คือ ใบ •ï ยกตัวอยางพืชที่มีใบเดี่ยวที่นักเรียนรูจักมา
ที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นมือเกาะเพื่อยึดและพยุง อยางนอย 3 ตัวอยาง
ล� า ต้ น ให้ ขึ้ น สู ง อาจเปลี่ ย นแปลงมาจากใบ ( แนวตอบ ขึ้ น อยู  กั บ ดุ ล ยพิ นิ จ ของครู แ ละ
ทั้งใบ หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของใบ เช่น บานบุรี คําตอบของนักเรียน ตัวอยางพืชทีม่ ใี บเดีย่ ว
สีม่วง มะระ ดองดึง หวายลิง เชน มะละกอ มันสําปะหลัง ฟกทอง ตําลึง
1 ตาล กลวย ชมพู มะมวง)
- หนาม ( หนาม leaf spine) คือ ใบที่ ภาพที่ 1.45 ใบของต้นองุ่นที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นมือเกาะ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ï• ยกตัวอยางพืชทีม่ ใี บประกอบทีน่ กั เรียนรูจ กั
เปลี่ยนแปลงเป็นหนาม เพื่อป้องกันอันตราย
จากสัตว์ และลดการคายน�า้ ซึง่ หนามทีเ่ กิดอาจ มาอยางนอย 3 ตัวอยาง
มีการเปลี่ยนแปลงทั้งใบกลายเป็นหนาม หรือ ( แนวตอบ ขึ้ น อยู  กั บ ดุ ล ยพิ นิ จ ของครู แ ละ
บางส่วนของใบกลายเป็นหนาม เช่น หนามของ คํ า ตอบของนั ก เรี ย น ตั ว อย า งพื ช ที่ มี ใ บ
ต้นเหงือกปลาหมอเปลี่ยนแปลงมาจากขอบใบ ประกอบ เชน มะขาม กระถิน มะพราว)
และหูใบ หนามของต้นกระบองเพชรเปลีย่ นแปลง
ขยายความเข้าใจ
มาจากใบ หนามมะขามเทศเปลีย่ นแปลงมาจาก
หูใบ ภาพที ่ 1.46 ใบของต้นกระบองเพชรทีล่ ดรูปกลายเป็นหนาม 1. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
ที่มา : คลังภาพ อจท. ม.5 เลม 1
โครงสร้างและ 35
หน้าที่ของพืชดอก 2. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Question

กิจกรรม สรางเสริม นักเรียนควรรู


ใหนักเรียนสืบคนจากแหลงการเรียนรู เชน อินเทอรเน็ต 1 หนาม คือ สวนตาง ๆ ของพืชที่เปลี่ยนแปลงไปทําหนาที่พิเศษ หนามจึง
วารสารทางวิชาการ หนังสือเรียนเกีย่ วกับโครงสรางและหนาทีข่ อง มีหนาที่แตกตางกัน โดยทั่วไปแบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้
ใบพืช แลวสรุปเนือ้ หาสาระสําคัญในรูปแบบของรายงาน พรอมนํา 1. Prickle เกิดจากเนื้อเยื่อผิวของลําตนหรือกิ่ง ยื่นออกไปเปนหนามแข็ง
เสนอขอมูลหนาชั้นเรียน แหลมคม เชน หนามกุหลาบมีหนาที่ปองกันอันตรายจากสัตวไมใหเขาใกล
2. Spine เกิดจากสวนหนึง่ ของใบ หรือทัง้ ใบเปลีย่ นแปลงไปเปนหนาม อาจ
มีลักษณะ รูปราง และขนาดแตกตางกัน เชน เกิดจากขอบใบและปลายใบของ
กิจกรรม ทาทาย สับปะรด หนามจึงมีหนาที่แตกตางกัน เชน ลดการคายนํ้าหรือปองกันอันตราย
ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน สํารวจตนไมภายในชุมชน 3. Thron เกิดจากกิ่งที่เกิดตามซอกใบ เชน มะนาว มะกรูด ซึ่งหนามของ
หรือบริเวณใกลกบั โรงเรียนอยางนอย 10 ตน แลวระบุวา พืชแตละ กุหลาบเมาะลําเลิง พบวา ทัง้ กิง่ เปลีย่ นเปนหนามหลายอัน เห็นเปนกระจุก มีหนา
ชนิดมีใบที่มีหนาที่พิเศษอยางไร โดยใหนักเรียนบันทึกชื่อตนไม ที่ปองกันอันตราย
บันทึกลักษณะใบดวยกลองถายรูปหรือวาดภาพ จากนัน้ ระบุหนาที่
ของพืชแตละชนิด

T41
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายโครงสรางและ - ใบกับดักแมลง (carnivorous leaf) คือ ใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นกับดักแมลง
หนาที่ของใบ และใหนักเรียนเลือกพืชตัวอยางมา หรือสัตว์เล็ก ภายในกับดักจะมีต่อมสร้างน�้าย่อยอาหารจ�าพวกโปรตีน พบในต้นกาบหอยแครง
1 ชนิด เพือ่ ทํารายงาน เรือ่ ง ความสําคัญของใบพืช หม้อข้าวหม้อแกงลิง หยาดน�้าค้าง เป็นต้น
ซึ่งภายในรายงานตองมีเนื้อหาที่ครอบคลุมทั้ง
โครงสรางภายในและภายนอกของพืช ชนิด และ
หนาที่ของใบพืชตัวอยาง

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5
เลม 1
2. ตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question ภาพที่ 1.47 ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง มีหม้อที่บรรจุ ภาพที่ 1.48 หยาดน�้าค้างมีต่อมหนวดที่มีสารเหนียวใช้
3. ตรวจใบงาน เรื่อง ชนิดและหนาที่ของใบ ของเหลวที่มีลักษณะเป็นน�้าหรือน�้าเชื่อม ใช้ส�าหรับให้ ดักจับและย่อยเหยื่อ
เหยื่อจมน�้าตายและย่อยเหยื่อ ที่มา : คลังภาพ อจท.
4. ตรวจรายงาน เรื่อง ความสําคัญของใบพืช ที่มา : คลังภาพ อจท.
5. สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติการ โดยใชแบบ
ประเมินการปฏิบัติการ - ใบขยายพันธุ์ (reproductive organ) คือ ใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อช่วยขยายพันธุ์
6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช โดยบริเวณของใบมีลักษณะเว้าเข้าเล็กน้อย และมีตาที่งอกต้นเล็ก ๆ ออกมา เช่น ต้นโคมญี่ปุ่น
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล เศรษฐีพันล้าน
7. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ Topic
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม Question
8. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค 1. วาสคิวลาร์แคมเบียมพบในอวัยวะใดของพืช
2. จากภาพที่ 1.49 พืชชนิดนี้มีการจัดเรียงเส้นใบเป็นอย่างไร และ
เนื้อเยื่อชนิดนี้พบในอวัยวะใดของพืช
3. โครงสร้างภายในล�าต้นเมื่อตัดตามขวางของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและ
พืชใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
4. แก่นและกระพี้แตกต่างกันอย่างไร
5. ใบและล�าต้นของกระบองเพชรแตกต่างไปจากพืชทั่วไปอย่างไร ภทีาพที ่ 1.49 เนื้อเยื่อพืช
่มา : คลังภาพ อจท.
เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น

36

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. ราก ลําตน และใบ
ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง โครงสรางและหนาทีข่ องใบ
2. พืชใบเลี้ยงคู มีเสนใบแยกออกจากเสนกลางใบ แตกแขนงเปนรางแห
ไดจากการทํารายงาน เรื่อง ความสําคัญของใบพืช โดยศึกษาเกณฑการวัดและ
ภาพนี้พบที่ราก
ประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงานที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวย
3. ลําตนพืชใบเลี้ยงคูมีคอรเทกซแคบ ชั้นสตีลมีกลุมทอลําเลียงเรียงเปน
การเรียนรูที่ 1
ระเบียบ เห็นขอบเขตพิธชัดเจน สวนลําตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีคอรเทกซ
แบบประเมินชิ้นงาน

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินรายงาน ตามรายการที่กาหนดแล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน


แคบ ชั้นสตีลมีกลุมทอลําเลียงกระจายทั่วไป มองไมเห็นขอบเขตพิธ
ลาดับที่

1
2
รายการประเมิน

การจัดรูปแบบรายงาน
ความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา
4 3
ระดับคะแนน
2 1 4. แกนไม คือ ทอลําเลียงไซเล็มที่ไมทํางานแลว และแปรสภาพมาจาก
3 ภาพประกอบ/ตาราง
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


กระพี้ สวนกระพี้ คือ เนื้อไมที่มีการเจริญเติบโตอยูระหวางเปลือกชั้น
ใน และแกนไม มีหนาที่ลําเลียงนํ้าและธาตุอาหาร
................./................/................

เกณฑ์การประเมิน
ระดับคะแนน

5. ใบของตนกระบองเพชรลดรูปไปเปนหนาม เพือ่ ลดกระบวนการคายนํา้


รายการประเมิน
4 3 2 1
1. การจัดรูปแบบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รู ปเล่ มรายงานมี
และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่

และลําตนมีลักษณะอวบ บางชนิดเปลี่ยนแปลงไปทําหนาที่คลายใบ มี
ครบถ้วน ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ครบถ้วนเพียงบางส่วน ครบถ้วน
2. ความถูกต้องและ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้ อหาในรายงานไม่
คุณภาพ ของ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง และไม่ ครบ
เนื้อหา และมีภาษาที่สละสลวย เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน ตามที่กาหนด
เข้าใจง่าย
3. ภาพประกอบ/
ตาราง
ภาพมี ความสอดคล้ อง
กับเนื้อหา มีภาพมีความ
คมชัด สวยงาม ตารางที่
นาเสนอมีความถูกต้อง
ภาพมี ความสอดคล้ อง
กับเนื้อหา ภาพไม่คมชัด
ตารางที่นาเสนอมีความ
ถูกต้อง
ภ า พส อด ค ล้ องกั บ
เนื้ อหาบางส่ ว น ภาพ
คมชัด ตารางที่นาเสนอ
ถูกต้อง
ภาพไม่ สอดคล้ องกั บ
เนื้อหา ภาพไม่คมชัด
ตารางที่ น าเสนอไม่
ถูกต้อง
สีเขียว สามารถสังเคราะหดวยแสงได
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T42
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
การคายนํ้ า ของพื ช ส ว น 3. การแลกเปลีย่ นแกสและการคาย ครูถามคําถาม Prior Knowledge และใช
ใหญเกิดขึ้นที่ใด นํา้ ของพืช คํ า ถามอื่ น กระตุ  น ความสนใจนั ก เรี ย น โดยมี
แนวคําถาม ดังนี้
กระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน�้าของพืชเป็น ï• เซลลชนิดใดมีสว นชวยควบคุมสมดุลของนํา้
กระบวนการส� า คั ญ อย่ า งหนึ่ ง ในการด� า รงชี วิ ต ของพื ช ซึ่ ง
ภายในรางกายของพืช
เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างอาหารของพืช และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการล�าเลียงสารของพืช
(แนวตอบ เซลลคุม)
พืชมีการแลกเปลีย่ นแก๊สและการคายน�า้ ผ่านทางปากใบ โดยการเปิด-ปิดของปากใบพืชมีผล
ต่อการแลกเปลี่ยนแก๊ส เมื่อความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศภายนอกต�่ากว่าภายในใบพืช ï• นักเรียนคิดวา ปากใบของพืช เปรียบเสมือน
จะท�าให้น�้าภายในพืชระเหยเป็นไอออกมาทางรูปากใบ เรียกว่า การคายน�้า อวัยวะใดของรางกาย เพราะเหตุใดนักเรียน
(transpiration) การคายน�้าที่เกิดขึ้นส่งผลให้เกิดแรงดึงภายในท่อล�าเลียง จึงคิดเชนนั้น
เรียกว่า แรงดึงจากการคายน�้า (transpiration pull) เลนทิเซล (แนวตอบ ขึน้ อยูก บั ความคิดเห็นของนักเรียน
การเปิด-ปิดของปากใบไม่ได้มีจุดประสงค์หลักในการแลก และดุลยพินิจของครู โดยมีแนวทางในการ
เปลี่ยนแก๊สเพื่อน�าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มาใช้เพียงอย่าง ตอบ คือ จมูก เพราะทําหนาที่แลกเปลี่ยน
เดียวเท่านั้น แต่ยังท�าให้พืชสามารถล�าเลียงน�้าจากรากขึ้น แกส)
มาถึงยอดโดยอาศัยแรงดึงจากการคายน�้าในขณะที่ปากใบ ï• ต น ไม บ างชนิ ด มี ร อยแตกบริ เ วณลํ า ต น
เปิดอีกด้วย นักเรียนคิดวา รอยแตกนี้เกิดขึ้นไดอยางไร
การคายน�า้ นอกจากจะเกิดขึน้ ทีบ่ ริเวณปากใบแล้ว และมีประโยชนกับพืชหรือไม
ยังสามารถเกิดขึน้ ได้บริเวณช่องอากาศทีเ่ รียกว่า เลนทิเซล (แนวตอบ เลนทิเซลเปนรอยแตกที่เกิดจาก
(lenticel) ซึ่งเป็นรอยแตกที่เปลือกของล�าต้นพืช โดย การแบงเซลลของคอรกแคมเบียม ทําให
จะมีพืชบางชนิดเท่านั้นที่มีเลนทิเซล ส่วนใหญ่พบใน ภาพที่ 1.50 ลักษณะของเลนทิเซล ที่พบ
ลําตนมีรัศมีกวางขึ้น นํ้าภายในลําตนบาง
บนล�าต้นพืช
พืชที่มีการเติบโตทุติยภูมิ เช่น มะยม หม่อน ที่มา : คลังภาพ อจท. สวน จึงระเหยออกมาทางเลนทิเซล)
B iology
Focus ต�าแหนงของปากใบ
ต�าแหน่งปากใบพืชสามารถพบได้ 3 รูปแบบ ดังนี้
1. ปากใบแบบธรรมดา (ordinary stoma) เป็นปากใบของพืชทั่วไปที่เจริญในบริเวณที่มี
น�้าสมบูรณ์ ปากใบลักษณะนี้เซลล์คุมและเซลล์เนื้อเยื่อชั้นผิวอยู่ในระดับเดียวกัน
2. ปากใบแบบจม (sunken stoma) เป็นปากใบของพืชทีอ่ ยูใ่ นบริเวณทีแ่ ห้งแล้ง ปากใบลักษณะนี้
เซลล์คุมอยู่ในระดับต�่ากว่าเนื้อเยื่อชั้นผิว
3. ปากใบแบบยกสูง (raised stoma) เป็นปากใบของพืชทีเ่ จริญอยูใ่ นน�า้ หรือบริเวณทีม่ นี า�้ มาก
ปากใบลักษณะนี้เซลล์คุมจะถูกยกขึ้นในระดับที่สูงกว่าเนื้อเยื่อชั้นผิว

โครงสร้างและ 37
หน้าที่ของพืชดอก แนวตอบ Prior Knowledge
สวนใหญเกิดขึ้นที่ใบ

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


พืชชนิดใดไมพบเลนทิเซล ครูอาจอธิบายใหนักเรียนฟงเพิ่มเติมวา เลนทิเซลจะพบไดในลําตนพืชที่
1. ไผ มีการเจริญเติบโตทุติยภูมิเทานั้น โดยครูอาจพานักเรียนไปสํารวจสวนพฤกษ-
2. ถั่ว ศาสตร หรือบริเวณภายในชุมชน แลวใหนักเรียนสังเกตเลนทิเซล และครูอาจ
3. ไทร ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติม เรื่อง การคายนํ้าทางเลนทิเซลแตกตางกับการ
4. มะมวง คายนํ้าออกทางปากใบของพืชอยางไร
5. มะขาม
(วิเคราะหคําตอบ พืชที่พบเลนทิเซล สวนใหญเปนพืชใบเลี้ยงคู
เชน ถั่ว มะมวง มะขาม มะยม ไทร เนื่องจากมีการเจริญเติบโต
ทุติยภูมิทําใหลําตนขยายขนาด เกิดรอยแตกบนลําตน เรียกวา
เลนทิเซล ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T43
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 6 คน โดยสมาชิก เซลล์คุม
การคายน�า้ ของพืชส่วนใหญ่เกิดขึน้ บริเวณปากใบ จากการ
ภายในกลุมแบงหนาที่ออกเปน 2 ทีม เพื่อ H2O ศึกษาพบว่า ปากใบในชั้นเอพิเดอร์มิสประกอบด้วย เซลล์คุม
H2O
ศึกษาใบความรู ดังนี้ (guard cell) อยู่กันเป็นคู่ ๆ มีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว หรือคล้ายไต
H 2O
- ทีมที่ 1 ศึกษาใบความรู เรื่อง การปรับตัว เซลล์คุม 2 เซลล์ จะหันด้านเว้า และมีความหนามากกว่า
โครงสรางภายในใบของพืชและสรุปเปน มาประกบกันท�าให้เกิดช่องว่าง เรียกว่า รูปากใบ (stomatal pore)
แผนผังมโนทัศน เรือ่ ง การปรับตัวโครงสราง การทีป่ ากใบเปิดหรือปิดขึน้ อยูก่ บั ความเต่งและการสูญเสีย
ภายในใบของพืช H2O
ความเต่ ง ของเซลล์ คุ ม ลั ก ษณะดั ง กล่ า วขึ้ น อยู ่ กั บ ความ
H 2O เข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์เป็นปัจจัยก�าหนด กล่าวคือ
- ทีมที่ 2 ศึกษาใบความรู เรือ่ ง กลไกการคาย
นํ้าของพืช และสรุปลงในกระดาษรายงาน เมือ่ พืชได้รบั แสงจะมีการล�าเลียงโพแทสเซียมไอออนเข้าสูเ่ ซลล์คมุ
รูปากใบ
ในรูปแบบที่ตนเองเขาใจ ในปริมาณมาก ท�าให้ความเข้มข้นของสารละลายในเซลล์คมุ เพิม่
ภาพที่ 1.51 ลักษณะปากใบเปิด
2. ใหทีมที่ 1 และ 2 ของแตละกลุมแลกเปลี่ยน ที่มา : http://docplayer.net มากขึน้ น�า้ จากเซลล์ขา้ งเคียงจึงออสโมซิลเข้าสูเ่ ซลล์คมุ ท�าให้
ความรูกันภายในกลุม เซลล์คมุ เต่งจนท�าให้ปากใบเปิด ในทางตรงข้ามเมือ่ ไม่ได้รบั แสง
การล�าเลียงโพแทสเซียมไอออนเข้าสูเ่ ซลล์คมุ ลดลง ความเข้มข้น
H2O H2O ของสารละลายภายในเซลล์ คุ ม จึ ง ลดลง น�้ า จึ ง ออสโมซิ ส
ออกจากเซลล์คุมท�าให้เซลล์เหี่ยว ปากใบจึงปิด
H2O การเปิด-ปิดของปากใบส่งผลโดยตรงต่อการคายน�้าของ
พืช โดยการเปิด-ปิดของปากใบจะขึ้นอยู่กับทั้งปัจจัยภายในและ
H2O ปัจจัยภายนอก
H2O 1. ปัจจัยภายนอก มีดังนี้
- อุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิของอากาศสูง จะท�าให้ปาก
ภาพที่ 1.52 ลักษณะปากใบปิด ใบเปิด เกิดการคายน�า้ ได้มากและรวดเร็วขึน้ เพราะอุณหภูมทิ สี่ งู
ที่มา : http://docplayer.net 1
ที่ส่งผลให้อุณหภูมิของน�้าในใบสูงขึ้น และความชื้นสัมพัทธ์
ในอากาศก็ลดลง ท�าให้นา�้ ระเหยออกจากใบได้มากและเร็วขึน้ แต่ถา้ อุณหภูมสิ งู จนเกินไปปากใบจะ
ปิดเพื่อป้องกันการสูญเสียน�้า
- ความเข้มของแสง ในสภาพปกติ ถ้าความเข้มของแสงสูงขึ้นจะส่งผลให้ปากใบของ
พืชเปิดมากขึน้ เกิดการคายน�า้ มากขึน้ ในทางตรงข้ามถ้าความเข้มของแสงลดลง รูปากใบของพืช
จะแคบลงและท�าให้พืชคายน�้าลดลง ในกรณีที่พืชขาดน�้า แม้ว่าจะมีความเข้มของแสงสูง ปากใบ
ของพืชจะปิด
- ความชืน้ ในอากาศ ถ้าความชืน้ ในอากาศลดลง จะเกิดความแตกต่างระหว่างความชืน้
ภายนอกและภายในใบมากขึ้น ท�าให้ไอน�้าแพร่ออกจากรูปากใบได้มากและเร็วขึ้น
38

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ความชืน้ สัมพัทธ คือ อัตราสวนระหวางมวลของไอนํา้ ทีม่ อี ยูจ ริงในอากาศ ขอใดเปนสาเหตุทําใหปากใบเปด
ขณะนั้นกับมวลของไอนํ้าที่อากาศซึ่งมีปริมาตรและอุณหภูมิเดียวกันจะรับได 1. ปากใบถูกกระตุนดวยแสงสวาง
เต็มที่ (อากาศอิม่ ตัว) ดังนัน้ ในวันทีม่ คี วามชืน้ สัมพัทธในอากาศตํา่ พืชจะคายนํา้ 2. ปากใบถูกกระตุน ดวยความเขมของคารบอนไดออกไซด
ออกทางปากใบไดมาก 3. เซลลคุมของปากใบเกิดแรงดันเตงเนื่องจากสิ่งแวดลอม
ภายนอก
4. เซลลคุมของปากใบเกิดแรงดันเตงเนื่องจากการสังเคราะห
สื่อ Digital ดวยแสง
ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ 5. เซลลคุมของปากใบเกิดแรงดันออสโมซิสเนื่องจากการ
การเปด-ปดของปากใบ จากสื่อ Youtube สังเคราะหดวยแสง
เรื่อง กลไกการเปด-ปดปากใบ (https:// (วิเคราะหคําตอบ เมือ่ เซลลคมุ ถูกกระตุน ทําใหนาํ้ ออสโมซิสเขาสู
www.youtube.com/watch?v=mnd4 เซลลคุมเกิดแรงดันเตง ปากใบจึงเปด ซึ่งการเปด-ปดของปากใบ
kow1YeA) จะเกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมภายนอก ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T44
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
- แกสคาร์บอนไดออกไซด์ ถ้าน�าพืชไปไว้ในบริเวณทีม่ ปี ริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 1. ครูสุมตัวแทนกลุมออกมานําเสนอและอธิบาย
สูงกว่าปกติ รูปากใบของพืชจะแคบลง แม้วา่ จะมีแสงก็ตาม แต่ถา้ น�าพืชไปไว้ในบริเวณทีม่ ปี ริมาณ ความรูที่ไดจากการแลกเปลี่ยนความรูภายใน
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ต�่า ปากใบของพืชก็จะเปิดกว้างขึ้นถึงแม้ว่าจะไม่มีแสงก็ตาม กลุม
- สภาพน�้าในดิน ถ้าน�้าในดินมีปริมาณน้อยมากจนท�าให้เกิดสภาวะเครียดพืชจะ 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ
1
สังเคราะห์กรดแอบไซซิก (abscisic acid; ABA) ขึน้ ซึง่ เป็นฮอร์โมนพืชชนิดหนึง่ ท�าให้รปู ากใบปิด ศึกษาใบความรู
เพื่อลดการสูญเสียน�้าจากการคายน�้า 3. ใหนกั เรียนรวมกันวิเคราะหและแสดงความคิด
- ความกดอากาศ ในบริเวณทีม่ คี วามกดอากาศต�า่ อากาศจะบางลงและมีความหนาแน่น เห็นวา ปจจัยใดบางที่มีสวนเกี่ยวของกับการ
น้อย ท�าให้ไอน�้าในใบระเหยออกมาได้ง่าย แต่ถ้าความกดอากาศสูง อากาศจะมีความหนาแน่น คายนํ้าของพืช โดยมีแนวตอบ ดังนี้
มากท�าให้ไอน�้าในใบระเหยออกมาน้อยลง (แนวตอบ ขึ้นอยูกับความคิดเห็นของนักเรียน
- กระแสลม กระแสลมที่พัดผ่านใบท�าให้ความกดอากาศบริเวณใบลดลง แสงมีผลให้ และดุลยพินิจของครู โดยมีแนวคําตอบ ดังนี้
ไอน�า้ ระเหยออกจากปากใบได้มากขึน้ ขณะเดียวกันกระแสลมจะช่วยพัดพาไอน�า้ ทีร่ ะเหยออกจากใบ ป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ การคายนํ้ า ของพื ช มี ทั้ ง
รวมทั้งที่อยู่รอบ ๆ ใบ ให้หลุดจากผิวใบ ท�าให้การระเหยของไอน�้าออกจากใบมากขึ้นเช่นกัน ปจจัยภายในและปจจัยภายนอก ดังนี้
2. ปัจจัยภายใน ดังนี้ 1. ปจจัยภายใน มีดงั นี้
- ขนาดและรูปร่างของใบ ใบพืชทีม่ ขี นาดใหญ่และกว้างจะมีการคายน�า้ มากกว่าใบเล็กแคบ - ขนาดและรูปรางของใบ
- การจัดเรียงตัวของใบ ถ้าพืชหันทิศทางอยูใ่ นมุมทีต่ รงกันข้ามกับแสงอาทิตย์เป็นมุมแคบ - การจัดเรียงตัวของใบ
จะเกิดการคายน�้าน้อยกว่าใบที่อยู่ในมุมที่ตรงกันข้ามกับแสงอาทิตย์เป็นมุมกว้าง - จํานวนราก
- จ�านวนราก พืชทีม่ รี ากจ�านวนมาก จะคายน�า้ มาก เนือ่ งจากอัตราการดูดซึมน�า้ จะมีมาก 2. ปจจัยภายนอก มีดงั นี้
B iology - อุณหภูมิ
Focus สภาพของน�้าในดิน - ความเขมของแสง
ภายในดินจะมีช่องว่างซึ่งมีน�้าและอากาศ เป็นองค์ประกอบ แบ่งออกเป็น 5 สภาวะ ได้แก่ - ความชืน้ ในอากาศ
1. สภาพดินที่อิ่มตัวด้วยน�้า ได้แก่ ดินที่อยู่ในสภาพน�้าขัง - แกสคารบอนไดออกไซด
2. สภาพดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยน�้า ได้แก่ ดินที่ใช้ท�าเกษตรกรรมทั่วไป
- สภาพนํ้าในดิน
3. สภาพความจุความชื้นภาคสนาม คือ สภาพของดินที่สามารถอุ้มน�้าหรือดูดยึดน�้าได้มาก
ที่สุดซึ่งอยู่ในช่วงความลึกจากผิวดินลงไป 6 นิ้ว - ความกดอากาศ
4. สภาพน�า้ เยือ่ เป็นสภาพทีน่ า�้ จะอยูใ่ นรูปเยือ่ บาง ๆ รอบอนุภาคดิน ซึง่ เป็นพืชทีไ่ ม่สามารถน�า - กระแสลม)
ไปใช้ประโยชน์
5. สภาพจุดเหี่ยวถาวรของพืช เป็นสภาพที่ช่องว่างของดินมีขนาดเล็ก มีปริมาณน�้าอยู่น้อย
ประกอบกับมีแรงยึดระหว่างดิน จึงท�าพืชเหี่ยวเฉาถาวร

โครงสร้างและ 39
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


การดูดนํ้าของพืชเกิดขึ้นมากที่สุดในชวงเวลาใดของแตละวัน 1 ฮอรโมนพืช เปนสารเคมีภายในพืชซึ่งเกี่ยวของกับการเจริญของพืช มีทั้ง
1. เกิดขึ้นเมื่อใดก็ไดขึ้นอยูกับพืชแตละชนิด ชนิดที่กระตุนการเจริญเติบโตและระงับการเจริญเติบโตของพืช ฮอรโมนพืชที่
2. พืชจะดูดนํ้าดวยอัตราที่เทากันตลอดเวลา พบในปจจุบัน คือ ออกซิน (Auxin) จิบเบอเรลลิน (Gibberellins) ไซโตไคนิน
3. ในตอนกลางคืน เพราะอากาศเย็นและในดินมีนํ้ามาก (Cytokinins) กรดแอบไซซิก (Abscisic Acid) หรือ ABA และเอทิลนี (Ethylene)
4. ในตอนบาย เพราะมีแดดจัด อากาศรอนพืชคายนํ้ามาก ซึ่งมีสถานะเปนแกส
5. ในตอนเช า เพราะพื ช เริ่ ม ได รั บ แสง เกิ ด กระบวนการ
สังเคราะหดวยแสง พืชจึงตองการใชนํ้ามาก
(วิเคราะหคําตอบ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น อัตราการคายนํ้าของพืช
จะสูงขึ้น แตถาอุณหภูมิสูงเกินไป พืชจะปดปากใบเพื่อรักษานํ้า
ในรางกายของพืช ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T45
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร
1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน ศึกษา • การสังเกต

กิจกรรม เรื่อง การคายนํ้าของพืช การคายนํ้าของพืช จิตวิทยาศาสตร


• ความสนใจใฝรู
2. ใหสมาชิกภายในกลุมแบงหนาที่และความ • ความรับผิดชอบ

รับผิดชอบ โดยสมาชิกในกลุมมีบทบาทและ จุดประสงค • การทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง


สรางสรรค
หนาที่ของตนเอง ดังนี้ 1. ศึกษารูปแบบการคายนํ้าของพืช
- สมาชิกคนที่ 1 เตรียมอุปกรณ 2. ศึกษาปจจัยที่สงผลตอการคายนํ้าของพืช
- สมาชิกคนที่ 2 และ 3 ทําการทดลอง
- สมาชิกคนที่ 4 บันทึกผลและนําเสนอผลที่ วัสดุอปุ กรณ
ไดจากการทํากิจกรรม 1. กิ่งไมที่มีใบไมติดอยู 2 กิ่ง 4. นํ้ามันพืช
2. นํา้ ขวดละ 300 ml 5. ถุงพลาสติกใส
3. ขวดนํ้า 2 ขวด 6. หนังยาง
อธิบายความรู้
1. ให ตั ว แทนกลุ  ม ออกมานํ า เสนอผลการทํ า วิธปี ฏิบตั ิ
กิจกรรมหนาชั้นเรียน 1. นําขวดมา 2 ขวด ใสนํ้าประมาณ 300 ml ใหเทากัน
ใบที่เคลือบนํ้ามัน ใบปกติ
แสง
2. ครูถามคําถามทายกิจกรรม แลวระบุหมายเลข 1 และ 2 ตามลําดับ
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลกิจกรรม 2. นํากิ่งไมท่ีมีใบมา 2 กาน มาใสในขวดนํ้าที่ 1 และ 2
ตามลําดับ โดยกิ่งทั้งสองตองมีขนาดใบเทากัน ถุงพลาสติก
3. ทานํ้ามันพืชบนผิวใบไมในขวดที่ 1
4. นําถุงพลาสติกใสมาครอบกิง่ ไมทงั้ 2 ขวด แลวมัดปากถุง
ดวยหนังยาง ตั้งทิ้งไวกลางแจง 1 ชั่วโมง
5. สังเกตและเปรียบเทียบปริมาณไอนํา้ จากการเปลีย่ นแปลง
ทุก ๆ 5 10 20 30 45 และ 60 นาที ตามลําดับ ขวดที่ 1 ขวดที่ 2
ภาพที่ 1.53 กิจกรรมการคายนํ้าของพืช
ที่มา : คลังภาพ อจท.
?
คําถามทายกิจกรรม
1. รูปแบบการคายนํ้าของพืชเปนอยางไร
2. จากกิจกรรมการคายนํ้าของพืชในขวดที่ 1 และ ขวดที่ 2 ใหผลเหมือนหรือแตกตางกัน อยางไร

อภิปรายผลกิจกรรม

แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม จากกิจกรรม พบวา พืชคายนํา้ ในรูปแบบของไอนํา้ โดยอัตราการคายนํา้ ของพืชในขวดที่ 2 มากกวาพืชใน


ขวดที่ 1 เนือ่ งจากใบพืชในขวดที่ 2 มีสภาพปกติ เมือ่ วางไวกลางแจงจะทําใหปากใบเปดไดดี จึงทําใหพชื คายนํา้ ไดดี
1. ไอนํ้า สวนใบพืชในขวดที่ 1 ถูกเคลือบผิวใบดวยนํ้ามันพืช ทําใหปากใบเปดไดไมเต็มที่ จึงทําใหพืชคายนํ้าไดไมดี
2. แตกตางกัน พืชในขวดที่ 2 มีอตั ราการคายนํา้ และมีอัตราการคายนํ้าที่ตํ่ากวา
มากกวาพืชในขวดที่ 1 เนือ่ งจากใบพืชในขวด 40
ที่ 1 ถูกเคลือบดวยนํ้ามันพืช สงผลใหปากใบ
พืชปด

บันทึก กิจกรรม
ขอสอบเนน การคิด
เวลา ขวดที่ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
(นาที) พืชทั่วไปจะคายนํ้าออกทางบริเวณในขอใดมากที่สุด
1 1. ริมใบ
5 2 2. หลังใบ
1
ียน

10 3. ทองใบ
เร

2
นัก
อง

1 4. ขอบใบ

20
รม

2 5. ปลายใบ
กร
กิจ

1
30
ผล

2 (วิเคราะหคําตอบ พืชคายนํา้ ออกทางปากใบ ซึง่ ปากใบพืชทัว่ ไป


ูกับ
อย

1 จะอยูบริเวณทองใบ ดังนั้น ตอบขอ 3.)


ขึ้น

45 2
1
60 2
หมายเหตุ พืชในขวดที่ 1 จะมีอตั ราการคายนํา้ ตํา่ กวาพืชในขวดที่ 2

T46
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
• การสังเกต
1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ศึกษา
ปากใบของพืช • การค�านวณ กิจกรรม เรื่อง ปากใบของพืช
จิตวิทยาศาสตร์
• ความสนใจใฝ่รู้
2. ใหสมาชิกภายในกลุมแบงหนาที่และความ
จุดประสงค์ • ความรับผิดชอบ รับผิดชอบ โดยสมาชิกในกลุมมีบทบาทและ
• การท�างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง

ศึกษาลักษณะเซลล์คุมและปากใบพืชด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงได้ สร้างสรรค์ หนาที่ของตนเอง ดังนี้


- สมาชิกคนที่ 1 เตรียมอุปกรณ
วัสดุอปุ กรณ์ - สมาชิกคนที่ 2 และ 3 ทําการทดลอง
- สมาชิกคนที่ 4 บันทึกผลการทํากิจกรรม
1. ใบพืชชนิดต่าง ๆ ชนิดละ 1 ใบ ดังนี้
- พืชบก เช่น ชบา กุหลาบ กะเพรา ข้าวโพด หญ้าขน - สมาชิกคนที่ 5 และ 6 นําเสนอผลที่ไดจาก
- พืชปริ่มน�้า เช่น บัว ผักตบชวา กิจกรรม
- พืชใต้น�้า เช่น สาหร่ายหางกระรอก
- พืชทนแล้ง เช่น สับปะรดสี ว่านหางจระเข้ ลิ้นมังกร อธิบายความรู้
2. ใบมีดโกน 5. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ 1. ครูสุมตัวแทนกลุมออกมานําเสนอผลการทํา
3. พู่กัน เข็มเขี่ย และปากคีบปลายแหลม 6. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงได้
4. น�้ายาทาเล็บชนิดใส
กิจกรรมหนาชั้นเรียน
2. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
วิธปี ฏิบตั ิ 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลกิจกรรม
1. น �าใบไม้สด 1 - 2 ชนิด มา 2. ใช้ใบมีดโกนตัดเฉพาะส่วนที่ 3. น� า สไลด์ ไ ปศึ ก ษาภายใต้ ขยายความเข้าใจ
ลอกเยื่ อ ผิ ว ใบ โดยฉี ก ตาม บางใสและวางลงบนหยดน�้า กล้ อ งจุ ล ทรรศน์ บั น ทึ ก ผล
แนวทแยง ให้เห็นเยื่อเอพิ- บนสไลด์ แล้วปิดด้วยกระจก โดยการวาดภาพที่ ป รากฏ
1. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
เดอร์ มิ ส ด้ า นล่ า งเป็ น แผ่ น ปิดสไลด์ และนั บ จ� า นวนปากใบชั้ น ม.5 เลม 1
บาง ๆ ลอกเยื่อนั้นมาศึกษา เอพิเดอร์มิสด้านบนและด้าน 2. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Question
ล่างของพืชแต่ละชนิด

ภาพที่ 1.54 กิจกรรมปากใบของพืช


ที่มา : คลังภาพ อจท.

โครงสร้างและ 41
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด หองปฏิบัติการ


ปากใบของพืชทั่วไปจะเปดในชวงเวลาใด  à·¤¹Ô¤ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
1. กลางวัน ครูอาจสาธิตวิธีการลอกเยื่อผิวใบใหนักเรียนดูกอนลงมือปฏิบัติ และกรณี
2. กลางคืน ที่พืชบางชนิดอาจลอกผิวใบไดยาก ครูอาจแนะนําใหใชยาทาเล็บชนิดใส ไมมีสี
3. เปดทั้งกลางคืนและกลางวัน ปายไปที่ใบพืชดานลางเพื่อลอกผิวใบมาศึกษาไดงายขึ้น
4. เปดชวงเวลาเชาและกลางคืน
5. เปดกลางวันและชวงเวลาเย็น
บันทึก กิจกรรม
(วิเคราะหคําตอบ โดยทัว่ ไปปากใบพืชจะเปดในชวงเวลาทีม่ แี สง
ดังนั้น ตอบขอ 1.) ใบพืชแตละชนิดมีจาํ นวนปากใบไมเทากัน แตโดยทัว่ ไปพืชบกมีจาํ นวนปากใบ
อยูท เี่ อพิเดอรมสิ ดานลางมากกวาดานบน เชน ชบา ขาวโพด สวนพืชนํา้ ทีม่ ใี บปริม่ นํา้
เชน บัว ผักตบชวา มีปากใบอยูท เี่ อพิเดอรมสิ ดานบนเทานัน้ สวนพืชทนแลง เชน
สับปะรด วานหางจระเข ลิ้นมังกร จะมีสารคิวทินเคลือบทั้งเอพิเดอรมิสดานบน
และดานลาง โดยทีเ่ อพิเดอรมสิ ดานลางจะมีจาํ นวนปากใบมากกวาเอพิเดอรมสิ
ดานบนเล็กนอยและมีจํานวนไมมาก

T47
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายการแลกเปลีย่ น ค�าถามท้ายกิจกรรม
?
และการคายนํ้ า ของพื ช เพื่ อ ให ไ ด ข  อ สรุ ป ว า
1. ป ากใบมีลักษณะอย่างไร เซลล์ที่เป็นองค์ประกอบของปากใบแตกต่างจากเซลล์อื่น ๆ ในชั้นเอพิเดอร์มิส
กระบวนการแลกเปลี่ยนแกสและการคายนํ้าของ อย่างไร
พืชสวนใหญเกิดขึ้นที่ปากใบ ซึ่งการคายนํ้าของ 2. ค วามหนาแน่นของปากใบในชั้นเอพิเดอร์มิสด้านบนและด้านล่างของใบพืชแต่ละชนิดแตกต่างกันหรือไม่
พืชทําใหเกิดแรงดึงจากการคายนํ้า ทําใหรากพืช อย่างไร
ดูดนํ้าและธาตุอาหารไดดีขึ้น 3. จ งเปรียบเทียบความหนาแน่นของปากใบของพืชในแต่ละกลุ่ม

ขัน้ ประเมิน อภิปรายผลกิจกรรม


ตรวจสอบผล จากการศึกษา พบว่า ปากใบในชัน้ เอพิเดอร์มสิ ประกอบด้วยเซลล์คมุ อยูก่ นั เป็นคู ่ ๆ มีรปู ร่างคล้ายเมล็ดถัว่ หรือ
1. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกชีววิทยา ม.5 เลม 1 คล้ายไต เซลล์คมุ 2 เซลล์ จะหันด้านเว้าและมีความหนามากกว่ามาประกบกันท�าให้เกิดช่องว่าง เรียกว่า รูปากใบ
2. ตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question ซึง่ ในใบพืชทัว่ ๆ ไปมักมีปากใบทางเอพิเดอร์มสิ ด้านล่างมากกว่าด้านบน พืชทีม่ ใี บอยูป่ ริม่ น�า้ เช่น บัวมีปากใบ
อยู่ทางด้านบนของใบเท่านั้น และพืชที่จมอยู่ในน�้า เช่น สาหร่ายหางกระรอกไม่มีปากใบ และปากใบของ
3. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช
พืชมีจ�านวนแตกต่างไปตามชนิดของพืช การคายน�้าของพืชเป็นกระบวนการรักษาดุลยภาพเพื่อการปรับตัว
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล ให้มชี วี ติ รอดในสภาวะทีไ่ ม่เหมาะสม พืชแต่ละประเภทจึงมีรปู แบบการคายน�า้ ต่างกัน ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั ปัจจัยแวดล้อม
4. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ เป็นส�าคัญ
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
5. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
Topic
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม Question
1. เปนชองวาง ที่บริเวณขอบมีลักษณะคลาย ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
เมล็ดถั่วแดงประกบกัน 1 คู เรียกวา เซลลคุม 1. หากตัดใบพืชออกจนหมด พืชยังคงคายน�้าได้หรือไม่ อย่างไร
2. แสงมีผลต่อการเปิดปิดของปากใบพืชอย่างไร
2. แตกต า งกั น ส ว นใหญ จ ะพบปากใบในชั้ น 3. จงเปรียบเทียบอัตราการคายน�้าของต้นจามจุรีที่ปลูกบริเวณริมถนนกับบริเวณอุทยาน
เอพิเดอรมิสดานลาง 4. หากปลูกพืชในสภาพดินที่ไม่อุ้มน�้า พืชจะมีกลไกรักษาดุลยภาพของน�้าอย่างไร
3. พืชที่มีปากใบจํานวนนอยมีแนวโนมวาอยูใน 5. เซลล์คุมและปากใบของสาหร่ายหางกระรอกและใบกะเพราเหมือนและแตกต่างกัน อย่างไร
สภาพแวดลอมที่มีอากาศคอนขางรอนหรือ 6. อัตราการคายน�้าของต้นมะม่วงในเวลาเช้าและบ่ายมีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
รอนจัด พืชบางชนิดไมมีปากใบ มีแนวโนมวา 7. อัตราการคายน�้ามีผลต่อการดูดน�้าและธาตุอาหารของพืชหรือไม่ อย่างไร
อยูในสภาพแวดลอมที่ประกอบไปดวยนํ้า 8. ความกดอากาศมีผลต่ออัตราการคายน�้าของพืชอย่างไร
9. จงเปรียบเทียบอัตราการคายน�้าระหว่างใบของต้นมะม่วงกับใบของต้นคุณนายตื่นสาย
10. การจัดเรียงตัวของเส้นใบมีผลต่ออัตราการคายน�้าของพืชอย่างไร

42

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. ได เพราะพืชคายนํ้าออกทางเลนทิเซล
ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง การแลกเปลี่ยนแกสและ
2. แสงทําใหเซลลคมุ เตง ปากใบพืชจึงเปด เมือ่ ไมมแี สงเซลลคมุ จะเหีย่ ว
การคายนํ้า ไดจากการสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยศึกษาเกณฑการ
ปากใบพืชจึงปด
วัดและประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมที่อยูในแผนการ
3. ตนจามจุรที ปี่ ลูกบริเวณริมถนนมีอตั ราการคายนํา้ ตํา่ กวาบริเวณอุทยาน
จัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 1
4. พืชจะสังเคราะหกรดแอบไซซิกทําใหปากใบปด เพือ่ ลดการสูญเสียนํา้
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ


5. เหมือนกัน คือ มีลักษณะเหมือนเมล็ดถั่วประกบกัน 1 คู
6. แตกตางกัน ตนมะมวงจะมีอัตราการคายนํ้าในเวลาเชาตํ่ากวาเวลา
คะแนน
การมี
การทางาน
การแสดง การยอมรับฟัง ส่วนร่วมในการ รวม
ลาดับ ชื่อ–สกุล ตามที่ได้รับ ความมีน้าใจ
ความคิดเห็น คนอื่น ปรับปรุง 15
ที่ ของนักเรียน มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

บาย เนื่องจากในเวลาบายความเขมของแสงสูงกวา
7. มีผลทําใหรากพืชดูดนํ้าและธาตุอาหารไดมากขึ้น
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
8. บริเวณที่มีความกดอากาศตํ่า พืชจะคายนํ้าไดมาก
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้
................/.............../...............

3 คะแนน
9. ใบของตนมะมวงมีขนาดใหญและกวางจึงคายนํ้าไดมากกวาใบของ
ตนคุณนายตื่นสายที่มีขนาดเล็ก
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 1 คะแนน

14-15
11-13
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ดีมาก
ดี
10. ถาใบพืชอยูตรงขามกับดวงอาทิตยเปนมุมแคบจะคายนํ้าไดนอยกวา
ใบที่ทํามุมกวาง
8-10 พอใช้
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง

T48
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
เนือ
้ เยือ
่ ทอลําเลียงนํา้ และ 4. การลําเลียงนํ้าและธาตุอาหาร 1. ครูถามคําถาม Prior Knowledge
ธาตุอาหารของพืช ของพืช 2. ครู นํ า รากพื ช จํ า ลองที่ ตั ด ตามขวางมาให
คืออะไร 1 นักเรียนรวมกันวิเคราะห และถามนักเรียน
พืชชั้นต�่า เช่น มอส เป็นพืชที่มีขนาดเล็กไม่มีท่อล�าเลียง วา นํ้าและธาตุอาหารที่อยูภายในดินเขาสูทอ
แต่เซลล์ทุกเซลล์ได้รับน�้าอย่างทั่วถึงด้วยการแพร่ของน�้าจาก
ลําเลียงไซเล็มไดอยางไร
เซลล์หนึง่ ไปยังอีกเซลล์หนึง่ ส่วนพืชชัน้ สูงเป็นพืชขนาดใหญ่และมีความสูง จ�าเป็นต้องมีทอ่ ล�าเลียง
น�้าหรือไซเล็มส�าหรับล�าเลียงน�้าและธาตุอาหารจากรากไปยังส่วนต่าง ๆ
โดยปกติแล้วสารละลายภายในเซลล์ขนรากมีความเข้มข้นสูงกว่าภายนอก ดังนัน้ น�า้ ในดินจะ
ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
แพร่ผา่ นเยือ่ หุม้ เซลล์เข้าสูเ่ ซลล์ขนราก จากการศึกษาโครงสร้างภายในของรากทิศทางการเคลือ่ นที่
ของน�้าภายในรากเริ่มตั้งแต่เซลล์ขนรากและล�าเลียงผ่านชั้นคอร์เทกซ์ซึ่งมีชั้นเอนโดเดอร์มิส 1. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม เพื่ อ สื บ ค น รู ป แบบการ
เป็นชั้นในสุด ผ่านเพริไซเคิลและเข้าสู่ไซเล็ม ตามล�าดับ โดยการเคลื่อนที่ของน�้าในแนวระนาบ ลําเลียงนํ้าและธาตุอาหารในแนวระนาบ แลว
แล้วล�าเลียงไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืชในแนวดิง่ ซึง่ ทิศทางการเคลือ่ นทีด่ งั กล่าวเกิดขึน้ 2 แบบ ดังนี้ สรุปลงในกระดาษ A4 พรอมนําเสนอในรูป
1. แบบอโพพลาสต์ (apoplast) น�้าในดินจะเข้าสู่รากผ่านชั้นคอร์เทกซ์ของรากไปจนถึง แบบที่สวยงาม
ชั้นเอนโดเดอร์มิสโดยน�้าจะผ่านจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งทางผนังเซลล์ หรือผ่านทางช่อง 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ
ว่างระหว่างเซลล์ สืบคนรูปแบบการลําเลียงนํ้าและธาตุอาหาร
2. แบบซิมพลาสต์ (symplast 2 ) น�้าจะเคลื่อนผ่านเซลล์หนึ่งผ่านไปอีกเซลล์หนึ่งทาง อธิบายความรู้
ไซโทพลาซึม พลาสโมเดสมาตา และเยื่อหุ้มเซลล์ ผ่านชั้นเอนโดเดอร์มิสก่อนเข้าสู่ไซเล็มต่อไป 1. ครูเขียนคําศัพทบนกระดาน ดังตอไปนี้
เยื่อหุ้มเซลล์ - apoplast - casparian strip
เวสเซล อโพพลาสต์ - symplast - endodermis
- plasmodesmata - cortex
2. ใหนักเรียนเขียนความหมายคําศัพทแตละคํา
ซิมพลาสต์ พร อ มอธิ บ ายความเชื่ อ มโยงเกี่ ย วกั บ การ
ขนราก ลําเลียงนํ้าของพืช
มัดท่อล�าเลียง เอนโดเดอร์มิส คอร์เทกซ์ เนื้อเยื่อชั้นผิว
การล�าเลียงแบบอโพพลาสต
การล�าเลียงแบบซิมพลาสต
3. ใหนกั เรียนจับคูแ ลกเปลีย่ นความรู ความหมาย
ภาพที่ 1.55 การเคลื่อนที่ของน�้าเข้าสู่ท่อไซเล็ม และความเชื่อมโยงของคําศัพท
ที่มา : คลังภาพ อจท.
น�้าถูกล�าเลียงทั้งแบบอโพพลาสต์และแบบซิมพลาสต์ผ่านเซลล์ขนรากและเซลล์ต่าง ๆ ใน
ชั้นคอร์เทกซ์ เมื่อมาถึงชั้นเอนโดเดอร์มิส น�้าที่ถูกล�าเลียงไปตามผนังเซลล์ด้านที่มีแถบแคสพา
เรียนสตริปจะเปลี่ยนรูปแบบการล�าเลียงเป็นซิมพลาสต์เพื่อหลีกเลี่ยงแถบแคสพาเรียนสตริป
ก่อนเข้าสู่ท่อล�าเลียงไซเล็ม
โครงสร้างและ 43
หน้าที่ของพืชดอก แนวตอบ Prior Knowledge
ทอไซเล็ม

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


สวนของรากในขอใดเปนอุปสรรคตอการลําเลียงนํา้ ของพืชมาก 1 พืชชั้นตํ่า คือ พืชที่มีอวัยวะตางๆ ไมครบ เชน ราก ใบ ลําตน และดอก
ที่สุด จึงไมสามารถสืบพันธุแบบอาศัยเพศได แบงออกเปน 2 กลุม คือ พวกที่มีคลอ-
1. คอรเทกซ โรฟลลอยูตามสวนตางๆ เชน สาหราย เฟรน มอส และพวกที่ไมมีคลอโรฟลล
2. เพริไซเคิล เชน เห็ด
3. พาเรงคิมา 2 พลาสโมเดสมาตา เปนชองวางเล็กจํานวนมากที่อยูบนผนังเซลล มีขนาด
4. เอพิเดอรมิส เสนผานศูนยกลางประมาณ 50-60 นาโนเมตร ทําหนาที่เชื่อมเซลลที่อยูใกล
5. เอนโดเดอรมิส เคียงกัน เพื่อชวยในการขนถายสิ่งตางๆ ระหวางเซลลพืช เชน นํ้า สารอาหาร
(วิเคราะหคําตอบ ชัน้ เอนโดเดอรมสิ มีสารพวกลิกนินและซูเบอริน ฮอรโมน
ที่มาเรียงเปนแถบ เรียกวา แคสพาเรียนสตริป มีสมบัติไมยอมให
นํ้าไหลผาน ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T49
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนแบงกลุมศึกษารูปแบบการลําเลียง การล� า เลี ย งน�้ า ในท่ อ ไซเล็ ม เกิ ด ขึ้ น ไซเล็ม
นํ้าและธาตุอาหารในแนวดิ่ง เนื่ อ งจากมี แ รงดึ ง น�้ า ที่ อ ยู ่ ใ นท่ อ ไซเล็ ม ขึ้ น มา มีโซฟิลล์
2. ใหนักเรียนทําใบงาน เรื่อง การลําเลียงนํ้าและ ทดแทนน�้ า ที่ พื ช คายออกสู ่ บ รรยากาศ แรง ปากใบ
ธาตุอาหารของพืช ดึงนี้จะถูกถ่ายทอดไปยังราก ท�าให้รากดึง โมเลกุลน�้า
อากาศ
น�้าจากดินเข้ามาในท่อไซเล็มได้ โดยน�้า ไซเล็ม
อธิบายความรู้ จะถู ก ล� า เลี ย งอย่ า งต่ อ เนื่ อ งไม่ ข าดตอน แอดฮีชัน
เนื่องจากน�้ามีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ผนังเซลล์
1. ครูสุมเรียกนักเรียนออกมานําเสนอใบงาน โคฮีชัน
2. ครูและนักเรียนอภิปรายผลจากการทําใบงาน ของน�้าด้วยกันเอง เรียกว่า แรงเชื่อมติด หรือ
โคฮี ชั น ( cohesion ) นอกจากนี้ ยั ง มี แ รงยึ ด โมเลกุลน�้า

ขัน้ สรุป เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน�้ากับผนังของท่อ ขนราก


อนุภาคดิน
ตรวจสอบผล ไซเล็ ม เรี ย กว่ า แรงยึ ด ติ ด หรื อ แอดฮี ชั น
น�้า
(adhesion) เมือ่ พืชมีการคายน�า้ น�า้ ในท่อไซเล็ม
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายการลําเลียงนํา้ ภาพที ่ 1.56 การล�าเลียงน�า้ ทีเ่ กิดจากแรงดึงจากการคายน�า้
จะสามารถเคลือ่ นทีไ่ ปยังส่วนต่าง ๆ ของพืชได้ ที่มา : คลังภาพ อจท.
และธาตุอาหารของพืช แลวใหนกั เรียนทําผังมโน-
ในสภาวะทีบ่ รรยากาศมีความชืน้ สัมพัทธ์
ทัศน เรื่อง การลําเลียงนํ้าและธาตุอาหารของพืช
สูงมากไม่สามารถเกิดการคายน�้าได้ตามปกติ
เช่น ในเวลากลางคืนที่ปากใบปิด น�้าจะยังคง
ขัน้ ประเมิน เคลื่อนที่เข้าสู่ท่อไซเล็มของราก เนื่องจากราก
ตรวจสอบผล
พืชยังคงมีการดูดน�้าจากดินตลอดเวลา ท�าให้
1. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5 เกิดแรงดันภายในรากเรียกว่า แรงดันราก
เลม 1 (root pressure) ดันให้น�้าที่อยู่ภายในไซเล็ม
2. ตรวจใบงาน เรื่อง การลําเลียงนํ้าและธาตุ ผ่ า นออกมาทางรู ห ยดน�้ า หรื อ ไฮดาโทด ภาพที่ 1.57 ปรากฏการณ์กัตเตชัน
อาหาร (hydrathode) ซึ่งเป็นส่วนปลายของท่อไซเล็ม ที่มา : http://www.bio.miami.edu
3. ตรวจผังมโนทัศน เรือ่ ง การลําเลียงนํา้ และธาตุ อยู่บริเวณขอบใบหรือปลายใบของพืชในรูป
อาหารของพืช หยดน�้า เรียกปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ว่า กัตเตชัน (guttation) H. O. T. S.
คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
ไซเล็มของพืชนอกจากจะท�าหน้าที่ล�าเลียงน�้าแล้ว ยังท�า
หน้าที่ในการล�าเลียงสารอาหารอีกด้วย สารอาหารประกอบ แคสพาเรียน
เซลล์
สติปเในชั
ยือ่ บุข้นา้ งแก้ม
ด้วยธาตุอาหารชนิดต่าง ๆ ที่มีความส�าคัญต่อการด�ารงชีวิต เอนโดเดอร์มิส
แนวตอบ H.O.T.S. ของพืช การล�าเลียงสารอาหารมีความซับซ้อนกว่าการล�าเลียง ส่งผลต่อการล�าเลียงน�้า
แคสพาเรียนสตริป คือ สารซูเบอรินที่สะสมตัว น�า้ เนือ่ งจากเซลล์มกั ไม่ยอมให้สารอาหารเคลือ่ นทีผ่ า่ นเข้าออก และธาตุอาหารของพืชอย่างไร
ที่ผนังดานรัศมีและดานตัดขวางของเซลล ทําให ได้โดยอิสระ
นํา้ และธาตุอาหารรวมทัง้ นํา้ ตาลซูโครสไมสามารถ 44 แรงดึงจากการคายนํ้า
ผานได จึงตองเปลีย่ นรูปแบบการลําเลียงเปนแบบ
ซิมพลาสต

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง การลําเลียงนํ้าและธาตุ ในการลําเลียงนํา้ ของรากไมยางทีม่ คี วามสูงเกิน 15 เมตร ขึน้ สู
อาหาร ไดจากการทําผังมโนทัศน เรื่อง การลําเลียงนํ้าและธาตุอาหารของพืช ปลายยอด สามารถทําดวยกลไกของแรงชนิดใด
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งานทีอ่ ยูใ นแผนการ 1. แรงดันรากและแรงแคพิลลารี
จัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 1 2. แรงดึงจากการคายนํ้าและโคฮีชัน
3. แรงแคพิลลารีและแรงดึงจากการคายนํ้า
4. แรงดันออสโมติกและแรงดึงจากการคายนํ้า
แบบประเมินชิ้นงาน

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินรายงาน ตามรายการที่กาหนดแล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน

5. แรงดึงจากการคายนํ้า แรงดันราก และแคพิลลารี


ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การจัดรูปแบบรายงาน
2 ความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา
3 ภาพประกอบ/ตาราง
รวม

เกณฑ์การประเมิน
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................/................ (วิเคราะหคําตอบ พืชที่มีลําตนสูงตองอาศัยแรงจํานวนมากใน
รายการประเมิน

1. การจัดรูปแบบ
4
รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
3
ระดับคะแนน

รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
2
รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
1
รู ปเล่ มรายงานมี
การลําเลียงนํ้าทั้งแรงดันจากรากและรากดึงจากใบ ไดแก แรงดัน
ราก แรงแคพิลลารี และแรงดึงจากการคายนํ้า รวมทั้งแรงแอดฮี-
และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่
ครบถ้วน ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ครบถ้วนเพียงบางส่วน ครบถ้วน
2. ความถูกต้องและ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้ อหาในรายงานไม่
คุณภาพ ของ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง และไม่ ครบ

ชันและโคฮีชัน (แรงแคพิลลารี) เพื่อดึงนํ้าใหเปนสายยาว ดังนั้น


เนื้อหา และมีภาษาที่สละสลวย เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน ตามที่กาหนด
เข้าใจง่าย
3. ภาพประกอบ/ ภาพมี ความสอดคล้ อง ภาพมี ความสอดคล้ อง ภ า พส อด ค ล้ องกั บ ภาพไม่ สอดคล้ องกั บ
ตาราง กับเนื้อหา มีภาพมีความ กับเนื้อหา ภาพไม่คมชัด เนื้ อหาบางส่ ว น ภาพ เนื้อหา ภาพไม่คมชัด
คมชัด สวยงาม ตารางที่ ตารางที่นาเสนอมีความ คมชัด ตารางที่นาเสนอ ตารางที่ น าเสนอไม่

ตอบขอ 5.)
นาเสนอมีความถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T50
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
พืชแต่ละชนิดต้องการชนิดและปริมาณของธาตุอาหารทีแ่ ตกต่างกัน ธาตุอาหารทีจ่ า� เป็นต่อ ครูเปรียบเทียบรางกายของมนุษยเหมือนกับ
การเจริญเติบโตของพืชแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ ตนไม แลวถามนักเรียนวา ถาหากรางกายมนุษย
1. ธาตุอาหารหลัก (macronutrients) เป็นสารอาหารทีพ่ ชื ต้องการในปริมาณมาก ประกอบ ไมไดรับสารอาหารจะมีลักษณะเปนอยางไร
ด้วยธาตุ 9 ชนิด ได้แก่ ธาตุคาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) ออกซิเจน (O) มักพบในสารอินทรีย์ (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับการแสดงความคิด
และธาตุอื่น ๆ ดังตารางที่ 1.1 เห็นของนักเรียนและดุลยพินิจของครู โดย
มีแนวตอบ ดังนี้ ผอม เปนโรค ไมมีแรงหรือ
ตารางที่ 1.1 : หน้าที่ของธาตุและอาการตอบสนองหรืออาการที่พืชแสดงออกเมื่อขาดธาตุอาหารหลัก เคลื่อนไหวได)
อาการที่พืชแสดงออก
ธาตุ หน้าที่
เมื่อขาดธาตุอาหาร ขัน้ สอน
ไนโตรเจน (N) เป็นองค์ประกอบที่ส�าคัญของสารภายในเซลล์ เช่น ใบเหลือง ใบมีขนาดเล็กลง สํารวจค้นหา
1 2
โปรตีน คลอโรฟิลล์ ATP กรดอะมิ
กรดอะมิโน กรดนิวคลีอิก ล�าต้นแคระแกร็น และให้
ฮอร์โมน เป็นต้น ผลผลิตต�่า 1. ใหนักเรียนจับกลุม กลุมละ 3-4 คน สืบคน
ขอมูลเกี่ยวกับหนาที่และความสําคัญของธาตุ
โพแทสเซียม (K) ควบคุมแรงดันออสโมติก รักษาสมดุลไอออน ควบคุม พืชจะไม่แข็งแรง ล�าต้น
โดยใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาจับสลาก
การสังเคราะห์น�้าตาล แป้ง และโปรตีน ส่งเสริมการ อ่อนแอ ขอบใบและปลาย
เคลื่อนย้ายน�้าตาลจากใบไปสู่ผล ใบไหม้ หมายเลข 1-13 โดยแตละหมายเลขใหศึกษา
ขอมูลเกี่ยวกับธาตุอาหาร ดังนี้
ฟอสฟอรัส (P) ช่วยเร่งการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของราก ระบบรากจะไม่ เ จริ ญ เติ บ โต
1 : ธาตุแคลเซียม 8 : ธาตุคลอรีน
ควบคุมการออกดอก ออกผล และการสร้างเมล็ด ใบแก่จะเปลีย่ นจากสีเขียวเป็น
สีแดงหรือสีมว่ งแล้วกลายเป็น 2 : ธาตุไนโตรเจน 9 : ธาตุโบรอน
สีน�้าตาล และหลุดร่วง ล�าต้น 3 : ธาตุฟอสฟอรัส 10 : ธาตุสังกะสี
แคระแกร็นไม่ผลิดอกออกผล 4 : ธาตุโพแทสเซียม 11 : ธาตุแมงกานีส
แคลเซียม (Ca) เป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์ ช่วยในการแบ่งเซลล์ ใบที่เจริญใหม่จะหงิกงอ
5 : ธาตุแมกนีเซียม 12 : ธาตุทองแดง
กระตุ้นการท�างานของเอนไซม์หลายชนิดกระตุ้น ตายอดไม่เจริญ อาจมีจุดด�า 6 : ธาตุกํามะถัน 13 : ธาตุโมลิบดินัม
การงอกของเมล็ด ที่เส้นใบ รากสั้นและผลแตก 7 : ธาตุเหล็ก
แมกนีเซียม (Mg) ช่วยเสริมสร้างสารคลอโรฟิลล์ ช่วยในการเคลื่อน ใบแก่จะเหลือง ยกเว้นเส้นใบ 2. ให นั ก เรี ย นนํ า ข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากการสื บ ค น
ย้ายธาตุฟอสฟอรัสและช่วยกระตุ้นการท�างานของ เกิดจุดสีแดงบนใบ และใบจะร่วง มาเปรียบเทียบกับตนไมที่อยูบริเวณใกลเคียง
เอนไซม์ในพืช หล่นเร็ว มี ลั ก ษณะดั ง กล า วหรื อ ไม บั น ทึ ก ภาพและ
ก�ามะถัน (S) เป็นองค์ประกอบส�าคัญของกรดอะมิโน โปรตีน และ ใบอ่อนและใบแก่จะมี รวบรวมไวในรายงาน
วิตามินซึ่งเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง และ สีเหลืองซีด และล�าต้น
เมแทบอลิซึมของกรดไขมัน อ่อนแอ

โครงสร้างและ 45
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดเปนธาตุอาหารรองของพืชทั้งหมด 1 ATP เปนสารประกอบทีส่ ลายตัวใหพลังงานสูงชนิดหนึง่ ในโมเลกุลของ ATP
1. คลอรีน โบรอน สังกะสี ประกอบดวยแอดีนีนและนํ้าตาลไรโบส อยางละ 1 โมเลกุล และหมูฟอสเฟต 3
2. กํามะถัน โพแทสเซียม เหล็ก หมู โดยพันธะระหวางหมูฟ อสเฟต 2 หมูส ดุ ทาย เปนพันธะพลังงานสูง เมือ่ สลาย
3. แมกนีเซียม สังกะสี ทองแดง พันธะนี้จะใหพลังงานออกมา 7 กิโลแคลอรี
4. ไนโตรเจน แคลเซียม กํามะถัน 2 กรดนิวคลีอกิ เปนสารชีวโมเลกุลทีม่ ขี นาดใหญ ทําหนาทีเ่ ก็บและถายทอด
5. แคลเซียม แมกนีเซียม แมงกานีส ขอมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตจากรุนหนึ่งไปยังรุนตอไปใหแสดงลักษณะ
(วิเคราะหคําตอบ ธาตุอาหารสําหรับพืช แบงออกเปน 2 ประเภท ตางๆ ของสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ ยังทําหนาที่ควบคุมการเจริญเติบโตและ
คือ ธาตุอาหารหลัก ไดแก ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) กระบวนการตางๆ ของสิ่งมีชีวิต
โพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และซัลเฟอร
หรือกํามะถัน (S) ธาตุอาหารรอง ไดแก คลอรีน (Cl) เหล็ก (Fe)
โบรอน (B) สังกะสี (Zn) แมงกานีส (Mn) ทองแดง (Cu) และ
โมลิบดินัม (Mo) ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T51
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ใหแตละกลุมสงตัวแทนกลุมออกมานําเสนอ 2. ธาตุอาหารรอง (micronutrients) เป็นสารอาหารที่พืชต้องการในปริมาณน้อย แต่
ขอมูลหนาชั้นเรียน ไม่สามารถขาดได้ ประกอบด้วยธาตุ 9 ชนิด ได้แก่ คลอรีน (Cl) เหล็ก (Fe) โบรอน (B) สังกะสี
2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ (Zn) แมงกานีส (Mn) ทองแดง (Cu) โมลิบดินัม (Mo) นิกเกิล (Ni) และซิลิคอน (Si)
นําเสนอและสรุปหนาที่ ความสําคัญของธาตุ ธาตุอาหารเหล่านีจ้ ะละลายผสมกับน�า้ ภายในดินอยูใ่ นรูปสารละลาย ซึง่ จะถูกล�าเลียงเข้า
แตละชนิดที่เพื่อนนําเสนอลงในสมุดบันทึก สูท่ อ่ ไซเล็มไปยังเซลล์ตา่ ง ๆ ของพืช ธาตุอาหารทีพ่ ชื ล�าเลียงเข้าไปในไซเล็มนัน้ เป็นสารอนินทรีย์
ที่ประกอบด้วยธาตุอาหารหลายชนิด ซึ่งจ�าเป็นต่อการด�ารงชีวิตและการเจริญเติบโตของพืช
ขยายความเข้าใจ
1. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
ม.5 เลม 1
2. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Question

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายการลําเลียงนํา้
ภาพที่ 1.58 ใบของต้นที่ขาดฟอสฟอรัส (ภาพซ้าย) และขาดแมกนีเซียม (ภาพขวา)
และธาตุอาหารของพืช และใหนกั เรียนทําแผนผัง ที่มา : คลังภาพ อจท.
มโนทัศน เรื่อง ธาตุอาหารของพืช ลงในกระดาษ
A4 พรอมตกแตงใหสวยงาม Topic
Question
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
ขัน้ ประเมิน 1. การเคลื่อนที่ของน�้าแบบอโพพลาสต์เกิดขึ้นเมื่อใด และมีลักษณะอย่างไร
ตรวจสอบผล
2. การเคลื่อนที่ของน�้าแบบซิมพลาสต์เกิดขึ้นเมื่อใด และมีลักษณะอย่างไร
1. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5 3. พลาสโมเดสมาตาคืออะไร
เลม 1 4. ต้นสนอาศัยกลไกใดในการล�าเลียงน�้าจากปลายรากไปสู่ปลายยอด
2. ตรวจรายงาน เรื่อง ธาตุอาหารของพืช 5. โคฮีชันและแอดฮีชันแตกต่างกันอย่างไร
3. ตรวจผังมโนทัศน เรื่อง ธาตุอาหารของพืช 6. ในสภาวะที่อากาศมีความชื้นสัมพัทธ์สูง จะส่งผลต่อแรงภายในท่อไซเล็มอย่างไร
4. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ 7. ไฮดาโทดเหมือนหรือแตกต่างกับปากใบอย่างไร
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม 8. หากดินมีธาตุอาหารน้อย รากพืชจะล�าเลียงอาหารแบบใด
5. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ 9. หากใบพืชที่เจริญใหม่หงิกงอ ตายอดไม่เจริญ มีจุดด�าที่เส้นใบ พืชชนิดนี้ขาดธาตุอาหารอะไร
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค 10. พืชต้องการธาตุอาหารในปริมาณที่แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร

46

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. เซลลขนรากและกอนเขาสูท อ ลําเลียงไซเล็ม โดยนํา้ จะเคลือ่ นทีไ่ ปตาม
ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง การลําเลียงนํ้าและธาตุ ผนังเซลล
อาหาร ไดจากการทํารายงาน เรื่อง ธาตุอาหารของพืช โดยศึกษาเกณฑการวัด 2. เซลลขนรากผานชั้นเอนโดเดอรมิส โดยนํ้าจะเคลื่อนที่ผานทางไซโท-
และประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงานที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจํา พลาซึม พลาสโมเดสมาตา และเยื่อหุมเซลล
หนวยการเรียนรูที่ 1 3. ชองวางระหวางเซลล
4. แรงดึงจากการคายนํ้า ประกอบกับแรงโคฮีชันและแอดฮีชัน
5. แรงโคฮีชันเปนแรงระหวางโมเลกุลนํ้า 2 โมเลกุล สวนแรงแอดฮีชัน
แบบประเมินชิ้นงาน

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินรายงาน ตามรายการที่กาหนดแล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน

เกิดขึ้นระหวางโมเลกุลนํ้ากับผนังทอลําเลียง
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การจัดรูปแบบรายงาน
2 ความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา
3 ภาพประกอบ/ตาราง
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................./................/................
6. ปากใบพืชจะปด แตรากพืชยังคงดูดนํา้ อยูต ลอดเวลาทําใหเกิดแรงดัน
รายการประเมิน
เกณฑ์การประเมิน
ระดับคะแนน ภายในราก
7. แตกตางกัน รูไฮดาโทดเปนสวนปลายของทอไซเล็มที่อยูตามขอบใบ
4 3 2 1
1. การจัดรูปแบบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รู ปเล่ มรายงานมี
และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่
ครบถ้วน ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ครบถ้วนเพียงบางส่วน ครบถ้วน

แตปากใบ คือ สวนหนึ่งของเซลลคุม


2. ความถูกต้องและ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้ อหาในรายงานไม่
คุณภาพ ของ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง และไม่ ครบ
เนื้อหา และมีภาษาที่สละสลวย เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน ตามที่กาหนด
เข้าใจง่าย

8. ออสโมซิส
3. ภาพประกอบ/ ภาพมี ความสอดคล้ อง ภาพมี ความสอดคล้ อง ภ า พส อด ค ล้ องกั บ ภาพไม่ สอดคล้ องกั บ
ตาราง กับเนื้อหา มีภาพมีความ กับเนื้อหา ภาพไม่คมชัด เนื้ อหาบางส่ ว น ภาพ เนื้อหา ภาพไม่คมชัด
คมชัด สวยงาม ตารางที่ ตารางที่นาเสนอมีความ คมชัด ตารางที่นาเสนอ ตารางที่ น าเสนอไม่
นาเสนอมีความถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง

9. ธาตุแคลเซียม
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี

10. แตกตางกัน คือ ธาตุอาหารหลัก พืชตองการปริมาณมาก สวนธาตุ


4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T52 อาหารรอง พืชขาดไมไดแตตองการในปริมาณนอย


นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
เนือ
้ เยือ
่ ทีท
่ าํ หนาทีล่ าํ เลียง 5. การลําเลียงอาหารของพืช 1. ครูกระตุนความสนใจของนักเรียน โดยนํา
อาหารของพืชไดแก ลูกบอลมา 1 ลูก แลวใหนักเรียนสงลูกบอล
การสร้างอาหารของพืชเกิดจากกระบวนการสังเคราะห์
อะไรบาง
ด้วยแสงจนได้ผลผลิตเป็นน�า้ ตาล และมักสะสมอยูใ่ นรูปของแป้ง ตอไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งเพลงหยุด ลูกบอลอยู
ซึง่ เป็นคาร์โบไฮเดรต การสร้างอาหารของพืชส่วนใหญ่จะเกิดขึน้ ทีน่ กั เรียนคนใด ใหนกั เรียนคนนัน้ ตอบคําถาม
ที่ใบ แล้วล�าเลียงอาหารไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช Prior Knowledge
2. เมื่อนักเรียนตอบคําถามแลวใหนักเรียนเลือก
5.1 การทดลองเกีย่ วกับผลผลิตที่ ไ ดจากกระบวนการสังเคราะหดว ยแสง เพื่อนมาอีก 1 คน เพื่ออภิปรายคําตอบของ
ในป พ.ศ. 2229 มาร์เซลโล มัลพิจิ (Marcello นักเรียน
Malpighi) ทดลองการล�าเลียงอาหารของพืช โดย
การควั่นล�าต้นพืชใบเลี้ยงคู่ตั้งแต่เปลือกไม้จนถึง
ชั้นแคมเบียมออกห่างกันประมาณ 2 เซนติเมตร
แล้วปล่อยทิ้งไว้ระยะหนึ่ง พบว่า บริเวณเหนือรอย
ควั่นมีลักษณะพองออก ทั้งนี้เพราะอาหารส่วนใหญ่
ถูกสร้างขึ้นที่ใบ ดังนั้น บริเวณรอบล�าต้น อาหาร
จะถูกล�าเลียงจากบนไปส่วนล่างเสมอ ถ้าตัดท่อ
ล�าเลียงอาหารของพืชโดยการควัน่ เปลือกนอก
ของล�าต้นออกรอบทั้งล�าต้น ท�าให้อาหารถูก
ล�าเลียงลงมาจากใบไม่สามารถผ่านต่อลงไปได้
จึงสะสมอยู่บริเวณปลายสุดของท่อล�าเลียงอาหาร
ในป พ.ศ. 2471 ที จี เมสัน (T.G. Mason) และ ภรอยควั าพที่ 1.59 การพองของเปลือกของล�าต้นเหนือ
่น
อี เจ มัสเคล (E.J. Maskell) ได้ศกึ ษาการทดลองของ ที่มา : คลังภาพ อจท.
มัลพิจ ิ และพบว่า รอยควัน่ เปลือกต้นไม้ไม่มผี ลต่อการคายน�า้ เพราะไซเล็มยังสามารถล�าเลียงน�า้ ได้
การศึกษาทิศทางการล�าเลียงน�้าตาลในรูปของสารละลาย ซึ่งเป็นอาหารที่ได้จากการ
สั ง เคราะห์ ด ้ ว ยแสงของพื ช ภายในโฟลเอ็ ม เพื่ อ อธิ บ ายว่ า มี ทิ ศ ทางในการล� า เลี ย งอย่ า งไร
มีผู้ศึกษาโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์ที่มีธาตุกัมมันตรังสี 14C เป็นองค์ประกอบ โดยการเตรียม
คาร์บอนไดออกไซด์ในรูปของสารละลาย ซึ่งคาร์บอนไดออกไซด์ในรูปของสารละลายนี้จะระเหย
เป็นแก๊ส เมือ่ พืชเกิดการสังเคราะห์ดว้ ยแสงพืชจะน�าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ทเี่ ป็นธาตุกมั มันตรังสี
14C นี้ไปใช้

แนวตอบ Prior Knowledge


โครงสร้างและ 47
หน้าที่ของพืชดอก
เนื้ อ เยื่ อ ลํ า เลี ย งโฟลเอ็ ม ซึ่ ง ประกอบด ว ย
ซีฟทิวบและเซลลคอมพาเนียน

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับทิศทางการลําเลียงอาหารในโฟลเอ็ม กอนเริ่มศึกษาในหัวขอนี้ ครูอาจทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับ
1. ทิศทางใดก็ได ตําแหนงของเนื้อเยื่อลําเลียงไซเล็มและโฟลเอ็มภายในลําตนพืชใบเลี้ยงคูและ
2. จากรากไปยอดเสมอ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว แลวใหนักเรียนศึกษาการทดลองของมารเซลโล มัลพิจิ แลว
3. จากรากไปทั่วทั้งลําตน ตั้งคําถามนักเรียนวา หากมารเซลโล มัลพิจิ ใชพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในการทดลอง
4. จากใบไปยังสวนตางๆ จะใหผลการทดลองเหมือนกับพืชใบเลี้ยงคูหรือไม อยางไร
5. จากใบออนไปใบแกเสมอ
(วิเคราะหคําตอบ อาหารของพื ช คื อ นํ้ า ตาลกลู โ คสที่ ผ ลิ ต
ขึ้นบริเวณใบดวยกระบวนการสังเคราะหดวยแสง แลวลําเลียง
ไปยังสวนตางๆ ของพืช ในรูปของสารละลายซูโครสไปเก็บสะสม
ที่สวนตางๆ ของพืชในรูปของแปง ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T53
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 3 กลุม แลวให หลังจากทิ้งไว้ประมาณ 35 นาที น�าพืชมาท�าการแช่แข็ง (freeze-dried) เพื่อท�าให้แห้ง
แต ล ะกลุ  ม ส ง ตั ว แทนกลุ  ม ออกมาจั บ สลาก จากนัน้ หัน่ เป็นชิน้ บาง ๆ แล้วน�าไปวางบนแผ่1 นฟิลม์ ถ่ายรูปในห้องมืด เมือ่ ล้างฟิลม์ ก็จะทราบได้วา่
หมายเลข 1-3 โดยแตละหมายเลขใหนักเรียน ส่วนใดของพืชที่ได้รับสารกัมมันตภาพรังสี ซึ่งจะเป็นส่วนที่ตรวจพบว่าน�้าตาลที่มี 14C อยู่
แตละกลุมศึกษาหัวขอ ตอไปนี้
14CO
หมายเลข 1 : ศึกษาการพองของเปลือกของ 2

ลําตนเหนือรอยควั่น 14CO
หมายเลข 2 : ศึกษาการลําเลียงนํ้าตาลในพืช 2

โดยใช 14C
14CO
หมายเลข 3 : ศึกษาการลําเลียงอาหารภายใน 2

ทอโฟลเอ็มโดยเพลี้ยออน
2. ใหแตละกลุมสรุปสาระสําคัญลงกระดาษ A4

ข.
ก. ค.
ภาพที่ 1.60 การศึกษาการล�าเลียงน�้าตาลในพืชโดยใช้ 14C
ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากการทดลองพบว่า พืชในภาพ ก. ตรวจพบน�้าตาลที่มี 14C ที่ส่วนล่างของพืช พืชในภาพ


ข. ตรวจพบน�้าตาลที่มี 14C ที่ส่วนยอดของพืช และพืชในภาพ ค. เมื่อดึงใบบนออก แล้วให้ 14C
ที่ใบล่าง
ผลการทดลองตรวจพบ 14C ทั้งที่ส่วนบนและส่วนล่างของพืช ส่วนใหญ่พบ 14C ในซีฟทิวบ์
นัน่ แสดงว่า พืชใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ทรี่ บั เข้ามาทางรูปากใบเพือ่ ใช้สร้างอาหาร อาหารทีพ่ ชื
สร้างขึ้นจะล�าเลียงทางโฟลเอ็มได้ 2 ทิศทาง คือ ล�าเลียงขึ้นไปสู่ยอดและล�าเลียงลงไปสู่ราก ซึ่ง
ต่างจากการล�าเลียงน�้าในไซเล็มที่มีทิศทางเดียว คือ จากรากสู่ใบและยอด
ประมาณป พ.ศ. 2496 เอ็ม เอช ซิมเมอร์แมน (M.H. Zimmerman) ศึกษาเกี่ยวกับ
การล�าเลียงอาหารภายในโฟลเอ็ม พบว่าเพลีย้ อ่อน (aphids) เป็นสิง่ มีชวี ติ ทีด่ า� รงชีวติ โดยการดูดกิน
น�้าเลี้ยงตามใบและยอดอ่อนของพืช โดยสามารถใช้งวงแทงเข้าไปถึงท่อโฟลเอ็มและดูดของเหลว
ภายในท่อออกมากิน
48

นักเรียนควรรู กิจกรรม 21st Century Skills


1 กัมมันตภาพรังสี คือ ปรากฏการณที่ธาตุกัมมันตรังสีแผรังสีออกมาได ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน เพื่อศึกษาเกี่ยวการ
เองอยางตอเนื่อง เรียกวา ไอโซโทปกัมมันตรังสี ซึ่งเปนคุณสมบัติของธาตุและ ลําเลียงนํ้าและอาหารของพืช จากนั้นนําขอมูลที่ไดจากการสืบคน
ไอโซโทปบางสวนทีไ่ มเสถียรจึงมีการปลดปลอยพลังงานในรูปของรังสีเพือ่ ใหได มาเชื่อมโยง แลวสรุปลงในกระดาษ A4 วา การลําเลียงนํ้าสัมพันธ
ธาตุไอโซโทปที่เสถียร กับการลําเลียงอาหารของพืชอยางไร พรอมวาดภาพและตกแตงให
สวยงาม

T54
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ซิมเมอรแมนไดทดลองวางยาสลบขณะทีเ่ พลีย้ ออนกําลังดูดของเหลวโดยงวงของเพลีย้ ออน 1. ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอหนา
ยังคงแทงอยูในเนื้อไมและติดอยูกับทอลําเลียงโฟลเอ็ม จากนั้นตัดใหเหลือเพียงแตสวนของงวง ชั้นเรียน
แลวใชหลอดคะปลลารีดูดของเหลวที่ยังคงไหลออกมาศึกษา พบวา ของเหลวดังกลาวสวนใหญ 2. ใหนักเรียนในหองเขียนคําถามที่ตนเองสงสัย
เปนนํ้าตาลซูโครส และสารอื่น ๆ เชน กรดอะมิโน ฮอรโมน ธาตุอาหาร หรือตั้งคําถามลงในสมุดบันทึกของตนเอง
3. ครูสุมนักเรียน 5-6 คน อานคําถามของตนเอง
แล ว ให ก ลุ  ม นั ก เรี ย นที่ นํ า เสนอข อ มู ล เรื่ อ ง
หยดของเหลว หลอดคะปลลารี
ดังกลาว เปนผูตอบคําถามและอธิบายคําตอบ
ใหเขาใจ
เพลี้ยออน หยดของเหลว 4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาอั ต ราการเคลื่ อ นที่ ข อง
ตัดงวงออก
นํ้าตาลในทอโฟลเอ็มจาก Biology Focus
งวงที่ถูกตัดออก

ซีฟทิวบ
ก. ข.
ภาพที่ 1.61 การศึกษาการลําเลียงอาหารภายในทอโฟลเอ็ม
ภาพ ก. เพลี้ยออนดูดของเหลวจากโฟลเอ็มจนมีหยดของเหลวออกมาที่กน
ภาพ ข. ตัดงวงของเพลี้ยออนออกพบวา ของเหลวยังคงไหลออกมาจากงวง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

B iology
Focus อัตราการเคลื่อนที่ของนํ้าตาลในโฟลเอ็ม
ซิมเมอรแมน เปนนักชีววิทยาที่สนใจ และศึกษาความเร็วในการลําเลียงอาหารภายใน
ทอโฟลเอ็มโดยการใชคารบอน 14C เปนองคประกอบในการสังเคราะหดว ยแสงของพืช จากนัน้ ใหเพลีย้
ออนแทงงวงเขาทอโฟลเอ็มในตําแหนงที่ตางกัน ทําใหสามารถหาอัตราการเคลื่อนที่ของนํ้าตาลใน
โฟลเอ็มได ผลการศึกษาพบวา นํา้ ตาลเคลือ่ นทีภ่ ายในทอโฟลเอ็มดวยความเร็วประมาณ 100 เซนติเมตร
ตอชั่วโมง

โครงสร้างและ 49
หน้าที่ของพืชดอก

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับการทดลองเกี่ยวกับผลผลิต ครูอาจแนะนํานักเรียนเพิ่มเติมวา พืชจะสรางกรดอะมิโนที่จําเปนจาก
ที่ไดจากกระบวนการสังเคราะหดวยแสงจากแหลงการเรียนรู เชน องคประกอบพื้นฐาน ไดแก คารบอน ออกซิเจน ไฮโดรเจน และไนโตรเจน เริ่ม
สือ่ อินเทอรเน็ต หนังสือเรียน วารสาร บทความ แลวนํามาสรุปเปน จากพืชจะนําคารบอนและออกซิเจนทีไ่ ดจากกระบวนการสังเคราะหดว ยแสงไป
ผังมโนทัศนลงในกระดาษ A4 ตกแตงใหสวยงาม พรอมนําเสนอ ผสมกับไนโตรเจนที่พืชดูดซึมขึ้นมาจากดินได “กรดอะมิโน ชนิด L” แตในขอ
ในรูปแบบที่นาสนใจ จํากัดทางธรรมชาติ พืชไมสามารถสรางกรดอะมิโนใหพอเหมาะกับความตองการ
ได ดังนั้น ในบางสภาวะพืชจึงขาดกรดอะมิโน
กิจกรรม ทาทาย
ใหนกั เรียนลองคํานวณการทดลองของซิมเมอรแมนวา ตนไมที่
ซิมเมอรแมนนํามาศึกษาเมือ่ เวลาผานไป ครึง่ วัน และหนึง่ วัน นํา้ ตาล
ทีล่ าํ เลียงในทอโฟลเอ็มจะเคลือ่ นทีไ่ ปไดกเี่ มตร ตามลําดับ

T55
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาวี ดิ ทั ศ น เรื่ อ ง กลไกการ 5.2 กลไกการลําเลียงอาหารของพืช
ลําเลียงอาหารของพืช จาก Youtube เรื่อง
การลําเลียงในโฟลเอ็ม (https://www.you- แบบจ�าลองกลไกการล�าเลียงอาหารของมึนซ
tube.com/watch?v=aAy0qTKc66U)
1 น�้าตาลถูกสร้างในแหล่งสร้าง (source) โดยน�้าตาล
2. ใหนักเรียนสรุปความรูและสาระสําคัญลงใน ซีฟทิวบ์ต้นทาง ส่ ว นหนึ่ ง ถู ก ล� า เลี ย งออกมาในไซโทพลาซึ ม แล้ ว
สมุดบันทึกของตนเอง ไซเล็ม โฟลเอ็ม เปลี่ยนเป็นน�้าตาลซูโครส ท�าให้ความเข้มข้นของ
น�้าตาลภายในเซลล์เพิ่มสูงขึ้น น�้าตาลจึงถูกล�าเลียง
เซลล์คอม- ไปยังเซลล์ข้างเคียงไปเรื่อย ๆ
อธิบายความรู้ น�้า พาเนียน แหล่งสร้าง
1. ใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นเพือ่ แลกเปลีย่ นความรู 3 2 ซูโครสเคลื่อนย้ายจากเซลล์ที่เป็นแหล่งสร้างไป
2 1 ยังโฟลเอ็ม โดยเข้าสู่ซีฟทิวบ์ของโฟลเอ็ม (อาศัย
และสาระสําคัญ เรือ่ ง กลไกการลําเลียงอาหาร กระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต) ท�าให้ความเข้มข้น
ของพืช ใหกับคูของตนเอง ของสารละลายในซีฟทิวบ์ต้นทางสูงขึ้น
2. ใหนักเรียนแตละคูทําแผนพับ เรื่อง กลไกการ โมเลกุลน�้าตาลซูโครส 3 น�้าจากเซลล์ข้างเคียงออสโมซิสเข้าไปในซีฟทิวบ์
ลําเลียงอาหารของพืช ท�าให้ซีฟทิวบ์มีแรงดันเต่งสูงขึ้น ท�าให้สารละลาย
3. ครูสมุ ตัวแทนนักเรียน 5-6 คู นําเสนอขอมูลใน น�้ า ตาลซู โ ครสล� า เลี ย งไปตามท่ อ ซี ฟ ทิ ว บ์ จ นถึ ง
เนื้อเยื่อต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งใช้ (sink)
แผนพับ และอธิบายกลไกการลําเลียงอาหาร
ของพืช 4 4 ซโู ครสออกจากซีฟทิวบ์เข้าสูเ่ ซลล์ในเนือ้ เยือ่ เหล่านัน้
4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลทีไ่ ดจากการ 5 ด้วยกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ตอีกครั้ง ท�าให้
น�้า ซีฟทิวบ์ปลายทางมีความเข้มข้นของสารละลายลดลง
ทํากิจกรรมภายในหองเรียน เซลล์คอม- แหล่งใช้
พาเนียน 5 น�้ า จากซี ฟ ทิ ว บ์ ป ลายทางออสโมซิ ส ออกสู ่ เ ซลล์
ซิฟทิวบ์ปลายทาง ข้างเคียง ส่งผลให้ซฟี ทิวบ์ปลายทางมีแรงดันน้อยกว่า
ภาพที่ 1.62 กลไกการล�าเลียงอาหารของพืช ซีฟทิวบ์ตน้ ทาง จึงมีการล�าเลียงอาหารอย่างต่อเนือ่ ง
ที่มา : คลังภาพ อจท. ตลอดเวลาที่พืชมีการสังเคราะห์ด้วยแสง
Topic
Question
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. ทิศทางการล�าเลียงน�้ากับอาหารของพืชเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร
2. การล�าเลียงอาหารและการล�าเลียงน�้าของพืชเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร
3. พืชล�าเลียงอาหารไปยังส่วนต่าง ๆ ในรูปแบบใด
4. การล�าเลียงอาหารของพืชจากแหล่งสร้างไปยังท่อล�าเลียงใช้กระบวนการใด
5. การล�าเลียงอาหารของพืชไปตามท่อล�าเลียงอย่างต่อเนื่องใช้กระบวนการใด

50 การลําเลียงอาหารของพืช
https://www.aksorn.com/interactive3D/RNB11

สื่อ Digital แนวตอบ Topic Question


1. แตกตางกัน พืชจะลําเลียงนํ้าจากรากไปยังสวนตางๆ ของพืช และ
ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ การลํ า เลี ย งอาหารของพื ช จาก พืชจะลําเลียงอาหารจากแหลงสราง เชน ใบ ไปยังสวนตางๆ ของพืช
QR Code 3D เรื่อง การลําเลียงอาหารของพืช 2. แตกตางกัน นํา้ จะออสโมซิสเขาสูเ ซลลขนรากและถูกลําเลียง 2 รูปแบบ
คือ แบบซิมพลาสตและแบบอโพพลาสต ไปตามไซโทพลาสซึมและ
ผนังเซลลพืช ตามลําดับ อาศัยแรงดึงจากการคายนํ้า รวมทั้งแรงแอด-
การลําเลียงอาหารของพืช ฮีชนั และโคฮีชนั ชวยในการลําเลียงนํา้ จากปลายรากไปยังยอด สวนการ
www.aksorn.com/interactive3D/RKB11 ลําเลียง อาหารอาศัยการแพรแบบแอกทีฟทรานสปอรต และนํ้าจาก
เซลลขางเคียงออสโมซิสเขาสูทอลําเลียงโฟลเอ็ม ผลักดันใหอาหารถูก
ลําเลียงไปยังเซลลเปาหมาย
3. สารละลายซูโครส
4. กระบวนการแพรแบบแอกทีฟทรานสปอรต
5. การออสโมซิสของนํ้าจากเซลลขางเคียง

T56
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
Biology 1. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Question
in real life น�้ายางพารา 2. ใหนักเรียนศึกษา เรื่อง นํ้ายางพารา จาก
Biology in real life แลวรวมกันวิเคราะห
หนังยาง หรือยางรัดแกง มีลักษณะเป็นวง มีความยืดหยุ่นสูง
จึงสามารถน�ามาประยุกต์ใช้กับกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ใช้รัดผม ใช้ผูก โครงสรางและหนาทีข่ องตนยางพารา แลวให
สิ่งของ หรือยึดสิ่งของให้อยู่ด้วยกัน ซึ่งยางเหล่านี้ผลิตขึ้นมาจาก นักเรียนจัดทําแผนพับสรุปความรู พรอมนําเสนอ
อาหารของพืชเรียกว่า น�้ายาง หนาชัน้ เรียน
3. ใหนกั เรียนทํา Self Check เพือ่ ตรวจสอบความ
ภาพที่ 1.63 การกรีดยางพารา เขาใจของตนเอง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
4. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดประจําหนวยการเรียน
น�้ายางเป็นอาหารของต้นยางพาราที่ประกอบด้วยส่วน 1 รูที่ 1
ที่เป็นเนื้อยางและส่วนที่ ไม่ ใช่เนื้อยาง ได้แก่ โปรตีน เรซิน 5. ใหนกั เรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนหนวยการ
คาร์โบไฮเดรต และสารอนินทรีย์อื่น ๆ โดยน�้ายางจะล�าเลียงโดย เรียนรูที่ 1
ท่อล�าเลียงอาหาร (pholem) ทีม่ ชี อื่ เรียกว่า ท่อน�า้ ยาง (Latexvessel)
ซึง่ เกิดจากการแบ่งเซลล์ของเนือ้ เยือ่ เจริญแคมเบียม (cambium)
โดยการแบ่งเซลล์ของเนือ้ เยือ่ ชนิดนีจ้ ะแบ่งเซลล์ออกทางด้านนอก
ภาพที่ 1.64 ท่อน�้ายาง
เป็นเปลือกยางซึง่ เป็นทีอ่ ยูข่ องท่อน�า้ ยาง และถ้าแบ่งเซลล์เข้าทาง ที่มา : https://botweb.uwsp.edu
ด้านในจะเป็นเนื้อไม้ซึ่งเป็นที่อยู่ของท่อล�าเลียงน�้า
การเรียงตัวของท่อน�้ายางจะเรียงตัวรอบล�าต้นตามแนวดิ่งเป็นชั้น ๆ โดยทั่วไปอยู่ในลักษณะ
เอียงไปทางขวาจากแนวดิ่งเล็กน้อยประมาณ 2.1 - 2.7 องศา ดังนั้นจะเห็นว่าชาวสวนยางพารา
จึงต้องกรีดเปลือกยางให้เป็นร่องจากซ้ายไปขวาตามแนวเฉียง เพื่อให้ตัดจ�านวนท่อน�้ายางได้มาก
และท�าให้การไหลของน�า้ ยางอยูใ่ นอัตราความเร็วทีเ่ หมาะสมและมีปริมาณสูง ซึง่ น�า้ ยางทีไ่ ด้จะถูกท�าให้
อยู่ ในรูปของแผ่นยางก่อนน�าไปแปรรูป
เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นอุ ต สาหกรรมต่ า ง ๆ
เช่น หนังยาง ยางรถยนต์ ยางลบ ถุงยาง
อนามัย

ภาพที่ 1.65 หนังยาง


ที่มา : คลังภาพ อจท.

โครงสร้างและ 51
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


นํา้ ยางจากตนยางพาราทีช่ าวสวนกรีดไดสว นใหญมาจากเซลล 1 เรซิน สารชนิดหนึ่งที่ไดจากยางเหนียวของตนไม หรือจากการสังเคราะห
ที่พบในเนื้อเยื่อชั้นใด ทางเคมี สวนใหญใชเปนสารประกอบหลักในการแตง และเคลือบผิว เชน
1. สตีล แลกเกอร ยูรีเทน ซิลิโคน
2. คอรก
3. คอรเทกซ
4. เอพิเดอรมิส สื่อ Digital
5. เอนโดเดอรมิส ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
(วิเคราะหคําตอบ นํ้ า ยางจะถู ก ลํ า เลี ย งอยู  ภ ายในท อ นํ้ า ยาง การกรีดยางพารา จาก Youtube เรื่อง วิธี
(latex vessel) ซึ่งเปนทอลําเลียงอาหารที่เกิดจากแบงตัวของ กรีดยางใหออกดี ไมตองพึ่งสารเรงนํ้ายาง
เนื้อเยื่อแคมเบียมออกมาทางดานนอก ซึ่งอยูในชั้นคอรเทกซ rubber tree (https://www.youtube.com/
ดังนั้น ตอบขอ 3.) watch?v=EByz8mTOgHo)

T57
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย เรือ่ ง โครงสราง
Summary
และหน า ที่ ข องพื ช ดอก แล ว สรุ ป ความรู  จ าก โครงสรางและหนาที่
หนวยการเรียนรูที่ 1 ทั้งหมด จัดทําเปนรายงาน ของพืชดอก
เรื่ อ ง โครงสร า งและหน า ที่ ข องพื ช ดอก โดย เนื้อเยื่อพืช
รายงานตองมีองคประกอบครบสมบรูณ เนื้อเยื่อพืช (plant tissue) เป็นกลุ่มเซลล์ของพืชหลำยล้ำนเซลล์ที่มีลักษณะคล้ำยกันมำอยู่รวมกันและ
ท�ำหน้ำที่เดียวกัน เนื้อเยื่อพืชแบ่งประเภทออกเป็นแผนผังได้ ดังนี้
เนื้อเยื่อพืช

เนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อถาวร

เนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อผิว เนื้อเยื่อพื้น เนื้อเยื่อล�ำเลียง


ส่วนปลำย เหนือข้อ ด้ำนข้ำง
เอพิเดอร์มิส พำเรงคิมำ ไซเล็ม
วำสคิวลำร์- เพริเดิร์ม คอลเลงคิมำ โฟลเอ็ม
แคมเบียม สเกลอเรงคิมำ
คอร์กแคมเบียม

อวัยวะและหนาที่ของอวัยวะพืช
อวัยวะของพืช ได้แก่ รำก ล�ำต้น ใบ และดอก ต่ำงท�ำหน้ำที่กัน เพื่อให้พืชด�ำรงชีวิตอยู่ได้
ตารางที่ 1.2 : โครงสรางและหนาที่ของรากและลําตนของพืช

เน�้อเยื่อโครงสร้าง ภาพโครงสร้างภายใน
อวัยวะ หน้าที่ ภายใน
พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงคู่
รำก 1. ดูดซึมน�้ำและธำตุ 1. เอพิเดอร์มิสมีขน 1. ไซเล็มเรียงเป็นแฉก 1. ไซเล็มเรียงเป็นแฉก 2-4
อำหำร 2. คอร์เทกซ์กว้ำง มำกกว่ำ 6 แฉก แฉก
2. ค�้ำจุนและยึดส่วน 3. สตีลแคบ 2. ไม่มีกำรเติบโตขั้นที่สอง 2. มี ก ำรเติ บ โตขั้ น ที่ ส องจึ ง
ต่ำง ๆ ของพืช 4. เอนโดเดอร์มิส จึงไม่พบแคมเบียม พบแคมเบียมคั่นระหว่ำง
5. เพริไซเคิล ท่อไซเล็มกับโฟลเอ็ม
ล�ำต้น 1. ชูกิ่งก้ำนและใบ 1. เอพิเดอร์มิสอำจมี 1. กลุ่มมัดท่อล�ำเลียง 1. กลุม่ มัดท่อล�ำเลียงเรียงตัว
2. ล�ำเลียงน�้ำและธำตุ ขนหรือเปลี่ยนเป็น เรียงตัวกระจำยทั่วล�ำต้น ในแนวรัศมี
อำหำร หนำม 2. ไม่มกี ำรเติบโตขัน้ ทีส่ องจึง 2. มี ก ำรเติ บ โตขั้ น ที่ ส องจึ ง
3. สะสมอำหำร 2. คอร์เทกซ์แคบ ไม่พบแคมเบียม พบแคมเบียมคั่นระหว่ำง
4. สังเครำะห์ด้วยแสง 3. สตีลกว้ำง 3. ล�ำต้นกลวงเนือ่ งจำกพิธ โฟลเอ็มและไซเล็ม
5. ขยำยพันธุ์ สลำยกลำยเป็นช่องพิธ 3. ชัน้ คอร์เทกซ์รวมกับท่อ
โฟลเอ็มกลำยเป็นเปลือกไม้

52

สื่อ Digital กิจกรรม สรางเสริม


ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ การลํ า เลี ย งอาหารของพื ช จาก ใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากแหลงเรียนรูตาง ๆ เชน
ภาพยนตรสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง การลําเลียงในพืช (https://www.twig-aksorn. อินเทอรเน็ต หนังสือ วารสารวิชาการ เพื่อศึกษาโครงสรางและ
com/fifilm/plant-transport-8057/) หนาที่ของเนื้อเยื่อที่อยูภายในลําตน แลวนํามาเขียนสรุปเปนผัง
มโนทัศนลงในกระดาษ A4 พรอมนําเสนอในรูปแบบที่สวยงาม

กิจกรรม ทาทาย
ใหนักเรียนแบงกลุม กลุม 5-6 คน รวมกันสํารวจหาตนที่
สามารถสังเกตเห็นวงปชดั เจน ภายในชุมชนของตนเอง จากนัน้ ให
แตละกลุม บันทึกภาพดวยกลองดิจทิ ลั หรือวาดภาพลงในสมุด พรอม
ทํานายอายุของตนไม บรรยาย และระบุองคประกอบตาง ๆ ให
ถูกตอง

T58
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล

ใบ 1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หนวยการเรียนรู
โครงสร้างภายในของใบ ประกอบด้วยชั้นต่าง ๆ 3 ชั้น ดังนี้ ที่ 1
• เอพิเดอร์มิส เป็นชั้นเนื้อเยื่อที่อยู่ทั้งด้านบนและ 2. ตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question
เอพิเดอร์มิส ด้านล่างของใบ ประกอบด้วยปากใบซึ่งมีจ�านวน 3. ตรวจแบบฝกหัดประจําหนวยการเรียนรูที่ 1
มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช 4. ตรวจแผนพับ เรื่อง กลไกลการลําเลียงอาหาร
• มโี ซฟลล์ เซลล์สว่ นใหญ่เป็นคอลเลงคิมา ท�าหน้าที่
แพลิเซด
สังเคราะห์ด้วยแสง แบ่งเป็น 2 ชั้น คือ แพลิเซด
ของพืช โดยใชแบบประเมินชิ้นงาน
มีโชฟิลล์
สปันจี มีโซฟิลล์และสปันจีมีโซฟิลล์ 5. ครูประเมินแผนพับ เรื่อง พืชสรางอาชีพ โดย
มีโชฟิลล์ มัดท่อ • มัดท่อล�าเลียง ประกอบด้วยไซเล็มและโฟลเอ็มอยู่ ใชแบบประเมินชิ้นงาน
ล�าเลียง
ภายในบันเดิลชีท ส่วนใหญ่อยูใ่ นชัน้ สปันจีมโี ซฟิลล์ 6. ตรวจรายงาน เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของ
ภาพที่ 1.66 โครงสร้างภายในของใบ พืช โดยใชแบบประเมินชิ้นงาน
ที่มา : http://nchsbands.info
7. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช
หน้าทีข่ องใบ ได้แก่ สร้างอาหารโดยกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง แลกเปลีย่ นแก๊สหรือการหายใจ ควบคุม แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
ดุลยภาพของน�้าโดยวิธีการคายน�้า นอกจากนี้ ใบยังช่วยยึด ค�้าจุนล�าต้น และดักจับแมลง 8. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
การแลกเปลี่ยนแกสและการคายน�้าของพืช
9. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ
• ปจั จัยภายนอก ได้แก่ อุณหภูม ิ ความเข้มของแสง ความชืน้ สภาพน�า้ ในดิน และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
• ปจั จัยภายใน ได้แก่ ขนาดและรูปร่างของใบ และการจัดเรียงตัวของใบ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค

การล�าเลียงน�้าและธาตุอาหารของพืช
กลไกลการเคลื่อนที่ของน�้าเข้าสู่ไซเล็ม
เวสเซล พลาสโมเดสมาตา ผนังเซลล์
ทิศทางการเคลื่อนที่ของน�้าไปยัง
อโพพลาสต์ ท่อไซเล็มเกิดขึ้นได้ 2 แบบ คือ
• อโพพลาสต์ น�า้ ผ่านทางผนัง
เซลล์หรือช่องว่างระหว่าง
ซิมพลาสต์ เซลล์
ขนราก • ซมิ พลาสต์ น�า้ ผ่านทางพลาส-
มัดท่อ เอนโดเดอร์มิส เนื้อเยื่อชั้นผิว โมเดสมาตาของเซลล์
ล�าเลียง คอร์เทกซ์
ภาพที่ 1.67 การเคลื่อนที่ของน�้าเข้าสู่ท่อล�าเลียงไซเล็ม
ที่มา : คลังภาพ อจท.

โครงสร้างและ 53
หน้าที่ของพืชดอก

ขอสอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล


จากภาพ บริเวณ A เปนเนื้อเยื่ออะไร และเปนโครงสรางของ ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การลําเลียงอาหารของพืช
พืชชนิดใด ตามลําดับ ไดจากการทําแผนพับ เรือ่ ง กลไกการลําเลียงอาหารของพืช โดยศึกษาเกณฑการ
1. ไซเล็ม รากพืชใบเลี้ยงคู A วัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งานทีอ่ ยูใ นแผนการจัดการเรียนรูป ระจํา
2. ไซเล็ม รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว หนวยการเรียนรูที่ 1
3. โฟลเอ็ม ลําตนพืชใบเลี้ยงคู แบบประเมินชิ้นงาน

4. โฟลเอ็ม รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินรายงาน ตามรายการที่กาหนดแล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3
ระดับคะแนน
2 1

5. ไซเล็ม ลําตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว 1
2
3
การจัดรูปแบบรายงาน
ความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา
ภาพประกอบ/ตาราง
รวม

(วิเคราะหคําตอบ จากภาพ บริเวณ A คือ ไซเล็ม และกลุมมัด เกณฑ์การประเมิน


ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................/................

ทอลําเลียงกระจายอยูใ นชัน้ คอรเทกซ ซึง่ เปนเนือ้ เยือ่ ทีพ่ บในลําตน รายการประเมิน

1. การจัดรูปแบบ
4
รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
3
ระดับคะแนน

รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
2
รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
1
รู ปเล่ มรายงานมี

พืชใบเลี้ยงเดี่ยว ดังนั้น ตอบขอ 5.)


และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่
ครบถ้วน ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ครบถ้วนเพียงบางส่วน ครบถ้วน
2. ความถูกต้องและ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้ อหาในรายงานไม่
คุณภาพ ของ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง และไม่ ครบ
เนื้อหา และมีภาษาที่สละสลวย เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน ตามที่กาหนด
เข้าใจง่าย
3. ภาพประกอบ/ ภาพมี ความสอดคล้ อง ภาพมี ความสอดคล้ อง ภ า พส อด ค ล้ องกั บ ภาพไม่ สอดคล้ องกั บ
ตาราง กับเนื้อหา มีภาพมีความ กับเนื้อหา ภาพไม่คมชัด เนื้ อหาบางส่ ว น ภาพ เนื้อหา ภาพไม่คมชัด
คมชัด สวยงาม ตารางที่ ตารางที่นาเสนอมีความ คมชัด ตารางที่นาเสนอ ตารางที่ น าเสนอไม่
นาเสนอมีความถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T59
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ถูก 2. ผิด 3. ผิด
4. ผิด 5. ผิด ธาตุอาหารของพืช ซีฟทิวบ์ต้นทาง
ธาตุอาหารของพืชแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ไซเล็ม โฟลเอ็ม
• ธาตุอาหารหลัก ได้แก่ C H O N K P Ca Mg เซลล์คอม- แหล่งสร้าง
น�้า พาเนียน
และ S
• ธาตุอาหารรอง ได้แก่ Si Cl Fe B Zn Mn Ni
Cu และ Mo
โมเลกุลน�า้ ตาลซูโครส
การล�าเลียงอาหารของพืช
• อ าหารหรื อ น�้ า ตาลส่ ว นมากสร้ า งที่ ใ บ แล้ ว
ล�าเลียงในรูปของน�้าตาลซูโครสไปยังส่วนต่าง ๆ
ของพืช
• พชื ล�าเลียงน�า้ ตาลซูโครสจากแห่งสร้างไปยังยอด
และราก น�้า
เซลล์คอม- แหล่งใช้
• อาหารหรือน�า้ ตาลจากแหล่งสร้างจะล�าเลียงเข้าสู่ พาเนียน
ท่อโฟลเอ็มด้วยกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต ซฟี ทิวบ์ปลายทาง
และอาศัยน�้าจากเซลล์เข้าเคียงออสโมซิสเข้ามา ภาพที่ 1.68 กลไกการล�าเลียงอาหารของพืช
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ดันให้อาหารเคลื่อนที่ไปตามท่อล�าเลียงอาหาร

Self Check
ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
หากพิจารณาข้อความไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามที่หัวข้อก�าหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. ก ารสังเคราะห์ด้วยแสงส่วนมากเกิดขึ้นที่ใบเนื่องจากบริเวณผิวใบ 1.2
มีเนื้อเยื่อเอพิเดอร์มิส
2. ไซเล็มทุติยภูมิจะถูกดันเข้าสู่แกนกลางของล�าต้น เรียกว่า กระพี้ 2.2
ซึ่งเป็นเซลล์ที่ยังคงมีชีวิตอยู่ สามารถล�าเลียงน�้าได้
3. เมือ่ ความเข้มของแสงมากขึน้ ปริมาณ K+ ในเซลล์จะลดลง ท�าให้ความ

ุ ด
3.

ส ม
ใ น
เต่งของเซลล์มากขึ้น มีผลท�าให้ปากใบเปิด

ล ง
ท ึ ก

บ ั น

4. พืชอาศัยแรงดึงจากการคายน�้า ช่วยให้น�้าไหลไปตามท่อล�าเลียงอย่าง 4.
ต่อเนื่อง
5. น�้าตาลซูโครสเข้าสู่ท่อไซเล็มด้วยกระบวนการออสโมซิส 5.2

54

ขอสอบเนน การคิด
จากภาพ จงระบุสวนประกอบลงในหมายเลขที่กําหนดให พรอมอธิบายหนาที่ของสวนประกอบ
1
คอรเทกซ 2
สตีล 3
2
3
4
(วิเคราะหคําตอบ
1. เอพิเดอรมิส เปนเนื้อเยื่อชั้นนอกสุด มีเซลลที่เรียงตัวกันเพียงชั้นเดียวและผนังเซลลบาง
ไมมีคลอโรพลาสต บางเซลลจะเปลี่ยนแปลงไปเปนขนราก
2. ไซเล็ม ทําหนาที่ลําเลียงนํ้าและธาตุอาหารจากรากไปยังสวนตางๆ
3. โฟลเอ็ม ทําหนาที่ลําเลียงอาหารจากใบไปสูสวนตางๆ
4. พิธ สวนใหญเปนเนือ้ เยือ่ พาเรงคิมา ทําหนาทีส่ ะสมสารตางๆ)

T60
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Question

U nit
คําชี้แจง :
Question 1
ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต่ อ ไปนี้
1. 1.1 พาเรงคิมา มีเนือ้ เยือ่ ทีบ่ างสมํา่ เสมอกัน แต
คอลเลงคิมามีเนื้อเยื่อที่บางไมสมํ่าเสมอกัน
และพาเรงคิมาเปนเนื้อเยื่อพื้นอยูในสวน
1. จงเปรียบเทียบเนื้อเยื่อต่อไปนี้ ประกอบตาง ๆ ของพืช มีหนาที่ที่หลาก-
1.1 พาเรงคิมากับคอลเลงคิมา หลาย เชน สังเคราะหดว ยแสง สะสมอาหาร
และสารตาง ๆ สวนคอลเลงคิมา ทําหนาทีใ่ ห
1.2 ไซเล็มกับโฟลเอ็ม
ความแข็งแรงแกโครงสรางพืช
1.3 คอร์กแคมเบียมกับวาสคิวลาร์แคมเบียม 1.2 ไซเล็มและโฟลเอ็มเปนเนื้อเยื่อลําเลียงที่มี
1.4 เอพิเดอร์มิสกับเอนโดเดอร์มิส เนื้อเยื่อพาเรงคิมาชวยสะสมอาหาร และ
1.5 ไฟเบอร์กับสเกลอรีด ไฟเบอรชวยเพิ่มความแข็งแรง แตไซเล็ม
แตกตางกับโฟลเอ็ม คือ ไซเล็มมีเซลลลาํ เลียง
2. จากภาพ ก. ข. ค. และ ง. เป็นโครงสร้างของอวัยวะและพืชชนิดใด เพราะเหตุใด
นํา้ ประกอบไปดวย เทรคีดซึง่ เปนเซลลทมี่ ี
รูปรางยาวเรียว ทรงกระสวย มีรูพรุนดาน
ขาง เเละเวสเซลเปนเซลลทมี่ รี ปู รางอวนสัน้
ทรงกระบอกหัวทายมีรทู ะลุตอ กันเหมือนทอ
ประปา ทัง้ สองเซลลเปนเซลลทไี่ มมชี วี ติ สวน
โฟลเอ็มมีเซลลลําเลียงอาหาร ประกอบไป
ดวยซีฟทิวบ ใชลาํ เลียงอาหาร เปนเซลลที่
มีชวี ติ เเตไมมนี วิ เคลียส เพือ่ เพิม่ พืน้ ทีใ่ นการ
ลําเลียงอาหาร ถูกควบคุมโดยเซลลคอม-
ก. ข. พาเนียน ทีห่ วั ทายมีตะเเกรง เรียกวา ซีฟเพลต
1.3 คอรกแคมเบียมเปนเยื่อเจริญดานขางที่อยู
ระหวางคอรกับโฟลเอ็ม สวนวาสคิวลาร
แคมเบี ย มเป น เนื้ อ เยื่ อ เจริ ญ ด า นข า งอยู 
ระหวางไซเล็มกับโฟลเอ็ม
1.4 เอพิเดอรมิสและเอนโดเดอรมิสเปนเซลลที่
เรียงตัวแถวเดียว โดยเอพิเดอรมสิ เปนชัน้ ที่
อยูนอกสุด สวนเอนโดเดอรมิสเปนชั้นที่อยู
ค. ง. ในสุดของคอรเทกซ
1.5 ไฟเบอรและสเกลอรีดเปนเนือ้ เยือ่ สเกลอเรง-
ภาพที่ 1.69 โครงสร้างเนื้อเยื่อในอวัยวะต่าง ๆ ของพืช คิมา ซึง่ ไฟเบอรมลี กั ษณะเปนเสนใย มีรปู ราง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ยาวเรียว หัวทายแหลม สวนสเกลอรีดมี
โครงสร้างและ
หน้าที่ของพืชดอก
55 รูปรางหลายแบบ เชน รูปดาว รูปหลาย
เหลีย่ ม
2. ก. ลําตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เนื่องจากกลุมมัดทอ
ลําเลียงกระจายอยูใ นชัน้ สตีล
ข. รากพืชใบเลีย้ งคู เนือ่ งจากมีจาํ นวนแฉกของ
ไซเล็มประมาณ 3-4 แฉก
ค. ใบของพืชทัว่ ไป (พืช C3) เนือ่ งจากภายใน
โครงสรางใบมีเซลล 2 ชัน้ คือ แพลิเซดมีโซ-
ฟลลกบั สปนจีมโี ซฟลล
ง. ลําตนของพืชใบเลีย้ งคู เนือ่ งจากมัดทอลําเลียง
เรียงตัวอยางเปนระเบียบ

T61
นํา สอน สรุป ประเมิน

3. บริเวณหมายเลข 1 คือ บริเวณยืดตามยาวของ


เซลล
บริเวณหมายเลข 2 คือ บริเวณการแบงเซลล 3. จากภาพ บริเวณหมายเลข 1 2 และ 3 คือบริเวณใด และเป็นเนื้อเยื่อประเภทใด
บริเวณหมายเลข 3 คือ หมวกราก
1
4. กระเทียม คือ สวนของใบ
ไชเทาและแครรอต คือ สวนของราก
มันฝรัง่ คือ สวนของลําตน 2
5. หมายเลข 1 คือ เอพิเดอรมสิ
หมายเลข 2 คือ แพลิเซดมีโซฟลล 3
หมายเลข 3 คือ สปนจีมโี ซฟลล
หมายเลข 4 คือ กลุม มัดทอลําเลียง
หมายเลข 5 คือ เซลลคมุ
ภาพที่ 1.70 โครงสร้างภายในของปลายรากพืช
ที่มา : http://hesed.info

4. ก ระเทียม ไชเท้า แคร์รอต มันฝรั่ง เป็นส่วนประกอบที่นิยมน�ามาท�าอาหาร ส่วนประกอบเหล่านี้


คือส่วนใดของพืช ตามล�าดับ
5. จงระบุส่วนประกอบจากภาพต่อไปนี้

1
2

4 3

ภาพที่ 1.71 โครงสร้างภายในของใบ


ที่มา : http://nchsbands.info

56

6. แตกตางกัน สามารถสรุปเปนตาราง ดังนี้


สวนของพืช พืชใบเลี้ยงคู พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ทอไซเล็มจะเรียงตัวเปนแฉก และมีทอโฟลเอ็มแทรกตัวอยู ทอไซเล็มจะเรียงตัวอยูรอบๆ พิธ และมีทอโฟลเอ็มแทรกตัว
ราก
ระหวางแฉก อยูระหวางทอไซเล็ม
ทอไซเล็มและทอโฟลเอ็มจะเรียงตัว ทอไซเล็มและทอโฟลเอ็มจะเรียงตัวกระจัดกระจาย ไมเปน
ลําตน
อยางเปนระเบียบ ระเบียบ
7. บริเวณปลายรากพืชมีหมวกรากทีห่ ลัง่ เมือกออกมา ทําใหรากชอนไชลงไปในดินไดสะดวกมากขึน้ ประกอบกับธาตุอาหารทีล่ ะลายในนํา้ ในรูปสารละลาย
แพรเขาสูราก ทําใหพืชสามารถนําธาตุอาหารที่อยูภายในดินไปใชในการเจริญเติบโตได
8. โครงสรางภายนอกของใบ ประกอบดวย กานใบ แผนใบ เสนใบ และหูใบ
9. พบในชั้นเอพิเดอรมิส เนื่องจากภายในเซลลคุมมีคลอโรพลาสต และพบในชั้นมีโซฟลล
10. แพลิเซดมีโซฟลลมีรูปรางเรียว เรียงตัวในแนวตั้งฉากกับเอพิเดอรมิส สวนสปนจีมีโซฟลลมีรูปรางคอนขางกลม เรียงตัวหลวมๆ ไมเปนระเบียบ

T62
นํา สอน สรุป ประเมิน

11. ใบเดีย่ วมีแผนใบเพียงแผนเดียวติดกับกานใบที่


แตกออกมาจากลําตนหรือกิง่ เชน ชมพู มะมวง
6. ก ารจัดเรียงตัวของมัดท่อล�าเลียงในรากและล�าต้นพืชใบเลี้ยงคู่และใบเลี้ยงเดี่ยวเหมือนหรือ สวนใบประกอบเปนใบทีแ่ ยกออกเปนใบเล็ก ๆ
แตกต่างกัน อย่างไร ตั้งแต 2 ใบขึ้นไป ติดกับกานใบกานเดียว เชน
ใบมะขาม กระถิน
7. พ ืชน�าน�้าและธาตุอาหารที่อยู่ในดินไปใช้ได้อย่างไร จงอธิบายพอสังเขป
12. เลนทิเซลเปนรอยแตกบริเวณเปลือกของลําตน
8. โครงสร้างภายนอกของใบประกอบไปด้วยอะไรบ้าง ทําหนาที่คายนํ้า
9. ค ลอโรพลาสต์พบในโครงสร้างภายในของใบที่ส่วนใด 13. เมือ่ พืชไดรบั แสง จะมีการลําเลียงโพแทสเซียม
ไอออนเขาสูเซลลคุมมากขึ้น สงผลใหความ
10. แพลิเซดมีโซฟิลล์แตกต่างกับสปันจีมีโซฟิลล์อย่างไร เข ม ข น ของสารละลายภายในเซลล คุ ม เพิ่ ม
11. จ งอธิบายความแตกต่างระหว่างใบเดี่ยวกับใบประกอบ และยกตัวอย่างพืชที่มีใบเดี่ยวและ มากขึ้น นํ้าจากเซลลขางเคียง จึงแพรเขาสู
ใบประกอบมาอย่างน้อย 3 ชนิด เซลลคุม ทําใหเซลลคุมเตง ปากใบจึงเปด ใน
ทางตรงขามเมื่อพืชไมไดรับแสง การลําเลียง
12. จ ากภาพ บริเวณ A คืออะไร ท�าหน้าที่อะไร โพแทสเซี ย มไอออนเข า สู  เ ซลล คุ ม จะลดลง
A ทําใหความเขมขนของสารละลายภายในเซลล
คุมลดลง นํา้ ภายในเซลลคมุ จึงแพรออก ทําให
เซลลเหี่ยว ปากใบจึงปด
ภาพที่ 1.72 ล�าต้นพืช 14. ปจจัยภายในที่มีผลตอการคายนํ้าของพืช มี
ที่มา : คลังภาพ อจท. ดังนี้
13. จ งอธิบายกลไกการเปิด-ปิดของปากใบ 1) ขนาดและรูปรางของใบ ใบพืชที่มีขนาด
ใหญและกวางจะมีการคายนํ้ามากกวา
14. ป ัจจัยภายในที่มีผลต่อการคายน�้าของพืชได้แก่อะไรบ้าง และมีผลอย่างไร 2) การจัดเรียงตัวของใบ ถาใบพืชหันทิศทาง
15. ค วามเข้มของแสงมีผลต่อการคายน�้าของพืชอย่างไร อยู  ใ นมุ ม ที่ ต รงข า มกั บ แสงอาทิ ต ย เ ป น
มุมกวางจะคายนํ้าไดมากกวา
16. ในช่วงเดือนเมษายนพืชจะมีอัตราการคายน�้าเป็นอย่างไรเมื่อเทียบกับช่วงเดือนธันวาคม 3) จํานวนราก พืชทีม่ รี ากจํานวนมาก จะคาย
17. ใ นวันที่การจราจรแออัด ปากใบพืชที่ปลูกอยู่บริเวณริมถนนจะมีลักษณะเป็นอย่างไร นํ้าไดมากกวา
15. ความเขมของแสงมาก จะสงผลใหปากใบของ
18. ป ากใบแบบจมและแบบยกสูงพบได้ในพืชชนิดใด ตามล�าดับ
พืชเปดมากขึ้น เกิดการคายนํ้ามากขึ้น ในทาง
19. ห ากนักเรียนต้องการให้พืชมีอัตราการคายน�้ามากที่สุด จะจ�าลองสภาพแวดล้อมให้กับพืชชนิดนี้ ตรงขามถาความเขมแสงนอย ปากใบของพืช
อย่างไร จะหรี่ลงและทําใหพืชคายนํ้าลดลง
20. จ งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการคายน�้ากับการล�าเลียงน�้าและธาตุอาหารของพืช 16. ชวงเดือนเมษายนเปนชวงที่มีอุณหภูมิสูง จะ
ทําใหปากใบพืชเปดกวางสงผลใหเกิดการคาย
โครงสร้างและ 57 นํา้ ไดมากและรวดเร็วกวาในชวงเดือนธันวาคม
หน้าที่ของพืชดอก
ซึง่ มีอณ
ุ หภูมติ าํ่ กวา แตในบางวันของชวงเดือน
เมษายนที่ มี อุ ณ หภู มิ สู ง มากเกิ น ไป ปากใบ
พืชจะปด เนื่องจากพืชตองรักษานํ้าไวภายใน
รางกายของพืช
17. วันที่มีการจราจรแออัด มีความเปนไปไดวา ปริมาณของแกสคารบอนไดออกไซดในอากาศคอนขางสูงกวาวันปกติ ดังนั้น ปากใบของพืชในบริเวณนั้นจะ
หรี่ลง
18. ปากใบพืชแบบจม พบไดในพืชที่อยูบริเวณแหงแลง เชน กระบองเพชร สวนปากใบพืชแบบยกสูง พบไดในพืชที่อยูในนํ้าหรือที่ชื้นแฉะ เชน หญาชายเลน
19. บริเวณนั้นตองมีแสงที่พอเหมาะ มีลมพัด อุณหภูมิสูง และมีปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดตํ่า
20. การคายนํ้าของพืชออกทางปากใบหรือออกทางบริเวณรอยแตกของลําตน จะทําใหเกิดแรงดึงจากการคายนํ้า ทําใหรากพืชดูดซึมนํ้าที่อยูภายในดินได
มากขึ้น

T63
นํา สอน สรุป ประเมิน

21. 21.1 กัตเตชัน


21.2 บริเวณนั้นมีสภาวะอากาศที่มีความชื้น
สัมพัทธสูงมาก และนํ้าในดินมีปริมาณ 21. พิจารณาภาพที่ก�าหนดให้ แล้วตอบค�าถามต่อไปนี้
มากพอ
21.3 เกิดขึน้ เนือ่ งจากรูไฮดาโทดอยูต ามขอบ 21.1 จากภาพเป็นปรากฏการณ์ใด
ใบหรือปลายใบ 21.2 บ ริ เ วณที่ เ กิ ด ปรากฏการณ์ นี้ มี ลั ก ษณะ
22. 22.1 A คือ ซีฟเพลตหรือเซลลตะแกรง อากาศอย่างไร
B คือ เซลลคอมพาเนียน 21.3 หากเคลือบใบด้วยน�า้ ยาทาเล็บบริเวณแผ่น
C คือ ซีฟทิวบเมมเบอร ใบ ปรากฏการณ์นี้จะยังคงเกิดขึ้นหรือไม่
22.2 โฟลเอ็ม เพราะเหตุใด
22.3 ราก ลําตน และใบ ภาพที่ 1.73 ต้นหญ้า
23. ทําใหปากใบพืชปด เพื่อลดการสูญเสียนํ้า ที่มา : http://www.gloomy-grim.info
24. เมื่อพืชอยูในสภาวะเครียด เชน นํ้าในดินมี 22. จากภาพ จงตอบค�าถามต่อไปนี้
ปริมาณนอย
25. 1 วิ ธี คื อ แบบซิ ม พลาสต เนื่ อ งจากนํ้ า A 22.1 ภาพ A B และ C คือเซลล์ชนิดใด
จะเคลื่อนที่เขาสูเซลลขนรากได 2 แบบ คือ
แบบอโพพลาสตและแบบซิมพลาสต เมือ่ มาถึง B 22.2 จากภาพเป็นเนื้อเยื่อประเภทใด
ชั้นเอนโดเดอรมิสนํ้าจะถูกลําเลียงในรูปแบบ C
22.3 เนื้อเยื่อชนิดนี้พบในอวัยวะใดของพืชบ้าง
ซิมพลาสตเพียงแบบเดียวกอนเขาสูท อ ลําเลียง ภาพที่ 1.74 เนื้อเยื่อพืช
ไซเล็ม ที่มา : คลังภาพ อจท.
26. ตนทานตะวันจะเจริญไมดีและตายในเวลา 23. กรดแอบไซซิกมีผลต่อพืชอย่างไร พืชจะหลั่งฮอร์โมนชนิดนี้เมื่อใด
ต อ มา เนื่ อ งจากต น ทานตะวั น ไม ส ามารถ
ลําเลียงอาหารได เพราะทอโฟลเอ็มหลุดออก 24. การจัดเรียงตัวของมัดท่อล�าเลียงในรากและล�าต้นพืชใบเลี้ยงคู่ และพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเหมือนหรือ
ไปพรอมกับเปลือกไม แตกต่างกัน อย่างไร
27. แตกตางกัน คือ พืชจะลําเลียงนํ้าและธาตุ 25. น�้าและธาตุอาหารในรากพืชจะเคลื่อนที่เข้าสู่ท่อล�าเลียงไซเล็มได้กี่วิธี อะไรบ้าง
อาหารจากรากไปสูส ว นตาง ๆ ของพืช และพืช
26. หากทดลองควัน่ เปลือกไม้จนถึงชัน้ แคมเบียมของต้นทานตะวัน และควัน่ เปลือกต้นไผ่ในความลึก
จะลําเลียงอาหารจากใบไปสูส ว นตาง ๆ ของพืช ที่เท่ากัน เมื่อผ่านไประยะเวลาหนึ่งนักเรียนคิดว่าผลจะเป็นอย่างไร
28. ทรานสโลเคชัน
27. ทิศทางในการล�าเลียงน�้าและธาตุอาหารของพืชแตกต่างกับทิศทางในการล�าเลียงอาหารของพืช
หรือไม่ อย่างไร
28. กระบวนการล�าเลียงอาหารของพืชเรียกว่าอะไร

58

T64
นํา สอน สรุป ประเมิน

29. 29.1 ดิน C


29.2 ดิน A เพราะมีธาตุอาหารหลักและธาตุ
29. ด ินตัวอย่าง 3 บริเวณ ปริมาณ 100 กรัม มีปริมาณธาตุอาหาร ดังตารางที่ 1.3 จงตอบค�าถาม อาหารรอง ซึ่งธาตุอาหารรอง เปนธาตุ
อาหารที่พืชตองการในปริมาณนอย แต
ตารางที่ 1.3 : ปริมาณธาตุอาหารในดินตัวอยาง 3 บริเวณ ขาดไมได
ปริมาณธาตุอาหารในดินตัวอย่าง คิดเปนร้อยละของดิน (%) 30. 30.1 เนื้อเยื่อลําเลียง
บริเวณ
K P N Ca Mg S Fe Zn Cu B
30.2 A คือ โฟลเอ็ม
B คือ นิวเคลียส
A 5 5 5 5 5 5 35 10 10 15
C คือ ไซเล็ม
B 20 20 20 20 10 10 - - - - 30.3 ทอลําเลียงไมสามารถลําเลียงอาหารได
C 25 25 20 10 10 10 5 5 5 5 เนื่องจาก C มีนิวเคลียสที่ควบคุมการ
ทํางานของทอลําเลียง
29.1 ดินบริเวณใดพืชจะเจริญเติบโตได้ดีที่สุด
31. สารละลายซูโครส
29.2 หากจ�าเป็นต้องเลือกระหว่างดินบริเวณ A และ B มาปลูกต้นมะม่วง นักเรียนจะเลือกดิน
บริเวณใด เพราะเหตุใด 32. แปง สามารถทดสอบไดโดยการหยดสารละลาย
ไอโอดี น หากส ว นประกอบของพื ช มี แ ป ง
30. จ ากภาพ จงตอบค�าถามต่อไปนี้
สะสมอยู สารละลายไอโอดีนจะเปลี่ยนเปน
A 30.1 จากภาพเป็นเนื้อเยื่อประเภทใด สีมวง
30.2 จงระบุส่วนประกอบและหน้าที่ของ A B 33. สัมพันธกนั เนือ่ งจากนํา้ จากทอไซเล็มจะออส-
B และ C
C โมซิสเขาสูท อ โฟลเอ็มในบริเวณแหลงสราง เพือ่
30.3 หากท่อล�าเลียงในภาพไม่มสี ว่ นประกอบ B ลําเลียงนํา้ ตาลซูโครสไปยังแหลงใช หรือแหลง
ภาพที่ 1.75 ส่วนล�าต้นของพืชที่ตัดตามยาว จะเป็นอย่างไร สะสม นํ้าจะออสโมซิสออกสูทอไซเล็ม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
34. การออสโมซิ ส และการแพร แ บบแอกที ฟ -
31. อ าหารที่พืชสร้างขึ้นเคลื่อนที่ไปตามท่อล�าเลียงในรูปใด ทรานสปอรต
32. อ าหารสะสมของพืชคืออะไร มีวิธีน�ามาทดสอบอย่างไร 35. อัตราเร็วในการลําเลียงอาหารของพืชตามผล
33. ก ารล�าเลียงน�้ามีความสัมพันธ์กับการล�าเลียงอาหารของพืชหรือไม่ อย่างไร การทดลองของซิมเมอรแมนมีคาเทากับ 100
34. ร ูปแบบในการล�าเลียงสารที่เกี่ยวข้องกับการล�าเลียงอาหารของพืชมีอะไรบ้าง เซนติเมตรตอชั่วโมง หรือ 1 เมตรตอชั่วโมง
ถาพืชสูง 35.25 เมตร จะใชเวลาเทากับ 35.25
35. พ ืชชนิดหนึ่งมีความสูงจากรากไปยังยอด 35.25 เมตร อยากทราบว่าพืชชนิดนี้จะล�าเลียงอาหาร
จากยอดไปสะสมไว้ที่รากจะต้องใช้เวลาเท่าใด (อัตราเร็วในการล�าเลียงอาหารของพืชชนิดนี้เป็น ชั่วโมง หรือ 1 วัน 11 ชั่วโมง 15 นาที
ไปตามผลการทดลองของซิมเมอร์แมน)

โครงสร้างและ 59
หน้าที่ของพืชดอก

T65
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายและสรุป แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
การค้นคว้าที่ - หนังสือเรียนชีววิทยา การทดลองของ หาความรู้ ก่อนเรียน - ทกั ษะการจัดกลุม่ - ใฝ่เรียนรู้
เกี่ยวข้องกับ ม.5 เล่ม 1 นักวิทยาศาสตร์ในอดีต (5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
กระบวนการ - แบบฝึกหัดชีววิทยา ที่เกีย่ วข้องกับ Instruction - ตรวจแบบฝึกหัดจาก เปรียบเทียบ การท�ำงาน
สังเคราะห์ด้วย ม.5 เล่ม 1 กระบวนการสังเคราะห์ Model) Topic Question - ทกั ษะการจ�ำแนก
แสง - ใบงาน ด้วยแสงได้ (K) - ตรวจใบงาน เรื่อง ประเภท
- ภาพประกอบการสอน 2. เปรียบเทียบผล การทดลองการ - ทกั ษะการส�ำรวจ
4 - PowerPoint ประกอบ การทดลองของ สังเคราะห์ด้วยแสง
ชั่วโมง การสอน นักวิทยาศาสตร์ - ประเมินชิ้นงาน
ในอดีตที่เกี่ยวข้องกับ - สังเกตพฤติกรรม
กระบวนการสังเคราะห์ การทำ�งานรายบุคคล
ด้วยแสงได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ การทำ�งานกลุ่ม
และงานที่ได้รับ - สังเกตคุณลักษณะ
มอบหมาย (A) อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายโครงสร้างของ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
โครงสร้าง ม.5 เล่ม 1 คลอโรพลาสต์ได้ (K) หาความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - ทกั ษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
คลอโรพลาสต์ - แบบฝึกหัดชีววิทยา 2. วเิ คราะห์และสรุป (5Es Topic Question - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
ม.5 เล่ม 1 กระบวนการสังเคราะห์ Instruction - ตรวจใบงาน เรื่อง เปรียบเทียบ การท�ำงาน
3 - ใบงาน ด้วยแสงที่เกิดขึ้นใน Model) โครงสร้างและหน้าที่ - ทกั ษะการจ�ำแนก
- อุปกรณ์การทดลอง คลอโรพลาสต์ได้ (P) ของคลอโรพลาสต์ ประเภท
ชั่วโมง
- ภาพประกอบการสอน 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - ประเมินชิ้นงาน - ทกั ษะการทดลอง
- QR Code และงานที่ได้รับมอบ - สังเกตการปฏิบัติการ
- PowerPoint หมาย (A) จากการทำ�กิจกรรม
ประกอบการสอน - สังเกตพฤติกรรมการ
ทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมการ
ทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T66
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายกระบวนการ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
กระบวนการ ม.5 เล่ม 1 สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช หาความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - ทกั ษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
สังเคราะห์ด้วย - แบบฝึกหัดชีววิทยา ได้ (K) (5Es Topic Question - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
แสงของพืช ม.5 เล่ม 1 2. วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก Instruction - ตรวจใบงาน เรื่อง เปรียบเทียบ การท�ำงาน
- ใบงาน กระบวนการสังเคราะห์ด้วย Model) ปฏิกิริยาแสง - ทกั ษะการจ�ำแนก
2 - อุปกรณ์การทดลอง แสงของพืชได้ (P) - ตรวจใบงาน เรื่อง ประเภท
ชั่วโมง
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น 3. รับผิดชอบต่อหน้าทีแ่ ละงาน กระบวนการสังเคราะห์ - ทกั ษะการทดลอง
Twig ที่ได้รับมอบหมาย (A) ด้วยแสง
- ภาพประกอบการสอน - ประเมินชิ้นงาน
- PowerPoint ประกอบ - สังเกตการปฏิบัติการ
การสอน จากการทำ�กิจกรรม
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายกลไกการตรึง แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
กลไกการตรึง ม.5 เล่ม 1 คาร์บอนไดออกไซด์ หาความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - ทกั ษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
คาร์บอนได- - แบบฝึกหัดชีววิทยา ในพืชได้ (K) (5Es Topic Question - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
ออกไซด์ของพืช ม.5 เล่ม 1 2. เปรียบเทียบกลไกการตรึง Instruction - ตรวจใบงาน เรื่อง เปรียบเทียบ การท�ำงาน
- ใบงาน คาร์บอนไดออกไซด์ Model) กลไกการตรึงแก๊ส - ทกั ษะการจ�ำแนก
2 - บัตรคำ� ในพืช (P) คาร์บอนไดออกไซด์ ประเภท
ชั่วโมง
- QR Code 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่และงาน ของพืช CAM - ทกั ษะการทดลอง
- PowerPoint ที่ได้รับมอบหมาย (A) - ประเมินชิ้นงาน
ประกอบการสอน - สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 5 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อภิปรายและสรุปปัจจัยที่มี แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
ปัจจัยที่มีผลต่อ ม.5 เล่ม 1 ผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง หาความรู้ หลังเรียน - ทกั ษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
การสังเคราะห์ - แบบฝึกหัดชีววิทยา ของพืชได้ (K) (5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
ด้วยแสงของพืช ม.5 เล่ม 1 2. วิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นกับพืช Instruction - ตรวจแบบฝึกหัดจาก เปรียบเทียบ การท�ำงาน
- ใบไม้ตัวอย่าง ได้แก่ ที่ขาดปัจจัยที่มีผลต่อการ Model) Topic Question - ทกั ษะการจ�ำแนก
5 ใบเดีย่ วและใบประกอบ สังเคราะห์ด้วยแสง (P) - ตรวจแบบฝึกหัดประจำ� ประเภท
ชั่วโมง
- ภาพประกอบการสอน 3. เปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นกับ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 - ทกั ษะการทดลอง
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น พืชที่ขาดปัจจัยที่มีผลต่อการ - ประเมินรายงาน เรื่อง
Twig สังเคราะห์ด้วยแสง (P) ปัจจัยที่มีผลต่อการ
4. รับผิดชอบต่อหน้าที่และงาน สังเคราะห์ด้วยแสง
ที่ได้รับมอบหมาย (A) - สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T67
Chapter Concept Overview
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
• ฌองแบบติสท์แวนเฮลมองท์ : นำ้าหนักของต้นหลิวเพิ่มมา • เองเกล มัน : สาหร่ายสไปโรไจราดูดกลืนความยาวคลื่น
จากนำ้าเท่านั้น ในช่วงแสงสีแดงและนำ้าเงินเพื่อใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง
• โจเซฟพริสต์ลีย์ : พืชทำาให้อากาศเสียเปลี่ยนเป็นอากาศดีได้ มากที่สุด ซึ่งได้ออกซิเจนเป็นผลิตภัณฑ์ ทำาให้บริเวณนั้นมี
• แจนอินเก็นฮูซ : การทดลองของโจเซฟจะสำาเร็จก็ต่อเมื่อมี aerobic bacteria มาเกาะเป็นจำานวนมาก
แสงและพืชเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์เป็นสารอินทรีย์ • แวนนีล: การสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียน่าจะคล้ายกับ
• ฌองซีนบี เิ ยร์ : การเผาไหม้และการหายใจได้คาร์บอนไดออกไซด์ การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
และใช้ออกซิเจน • แซม รูเบน และมาร์ติน คาเมน : ยืนยันการทดลองของ
• นิโคลาส ธีโอดอร์ เดอ โซซูร์ : การทดลองของฌอง แบบ แวน นีลว่า ออกซิเจนมาจากโมเลกุลนำ้า
ติสท์ แวน เฮลมองท์ นำ้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นมาจาก • โรบิน ฮิลล์ : พบว่า ปฏิกิริยาโฟโตลิซิส หรือปฏิกิริยาที่แสง
คาร์บอนไดออกไซด์ไม่ใช่นำ้า ทำาให้นำ้าแตกตัวได้ออกซิเจนก็ต่อเมื่อมีตัวรับอิเล็กตรอน
• จูเลียส ซาซ : สารอินทรีย์ที่เกิดขึ้นน่าจะเป็นนำ้าตาล และ • แดเนียล อาร์นอน : เกิดแนวคิดว่า ขั้นตอนการสังเคราะห์
สามารถเขียนสมการได้ว่า ด้วยแสงแบ่งออกเป็นปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสงและปฏิกิริยาที่ไม่
6CO2 + 6H2O C6H12O6 + 6CO2 ใช้แสง

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาแสงและการตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

เยื่อหุ้มชั้นนอก เยื่อหุ้มชั้นใน ปฏิกิริยาแสง


ลูเมน
สโตรมาลาเมลลา
วัฏจักร
ไทลาคอยด์ คัลวิน
กรานุม

เยื่อหุ้มไทลาคอยด์
สโตรมา
สโตรมา

กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ ในพืช C4

เซลล์มีโซฟิลล์ CO2 ในอากาศ


PEP
พืช C4 มีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 2 ครั้ง ดังนี้
carboxylase ครั้งแรกเกิดขึ้นที่มีโซฟิลล์โดยมีเอนไซม์ PEP carboxylase ช่วย
OAA(4C) PEP(3C)
ตรึง CO2 กับ PEP ได้สารประกอบคาร์บอน 4 อะตอม แล้วส่งไป
บันเดิลชีท มาเลต(4C) ATP
ยังบันเดิลชีท
ไพรูเวต(3C)
CO2 ครั้งที่สองเกิดขึ้นที่บันเดิลชีท สารประกอบคาร์บอน 4 อะตอม
วัฏจักร
คัลวิน จะสลายตัวให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วัฏจักรคัลวินเพื่อผลิต
นำ้าตาล นำ้าตาลต่อไป

เนื้อเยื่อ

T68
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ ในพืช CAM
CO2 H2O CO2 พืช CAM มีกลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 2 ครั้ง ดังนี้
ครั้งแรกเกิดขึ้นในเวลากลางคืน โดยมีเอนไซม์ PEP carboxylase
CO2 H2O H2O ช่วยตรึง CO2 กับ PEP ได้สารประกอบคาร์บอน 4 อะตอมหรือ
HCO3-
OAA PEP Triose P Triose P มาเลต แล้วเก็บสะสมไว้ที่แวคิวโอลในรูปของกรดมาลิก
ไพรูเวต
Pi
แป้ง แป้ง ครัง้ ทีส่ องเกิดขึน้ เมือ่ มีแสง กรดมาลิกจะถูกล�ำเลียงจากแวคิวโอล
NADH CO2 ไปยังบันเดิลชีท จากนั้นสารประกอบคาร์บอน 4 อะตอม หรือมาลิก
NAD+ จะเปลีย่ นรูปเป็นมาเลต แล้วสลายตัวให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้า
มาเลต คลอโรพลาสต์ มาเลต คลอโรพลาสต์ สู่วัฏจักรคัลวินเพื่อผลิตน�้ำตาลต่อไป
กรดมาลิก กรดมาลิก
แวคิวโอล แวคิวโอล
ช่วงกลางคืน ช่วงมีแสง

ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
• แสงและความเข้มแสง
C3 - ไลต์คอมเพนเซชันพอยต์ คือ ช่วงความเข้มแสงที่อัตราการ
30 ตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง (μmol m-2 s-1)

C4
- พืช C4 มีไลต์คอมเพนเซชันพอยต์สูงกว่า พืช C3
- จุดอิ่มตัวแสง คือ จุดที่ความเข้มแสงเพิ่มขึ้น แต่อัตราการ
20 สังเคราะห์ด้วยแสงไม่เพิ่ม
- พืช C4 จุดอิ่มตัวแสงสูงกว่าพืช C3
• ความเข้มของคาร์บอนไดออกไซด์
10
- ค าร์ บ อนไดออกไซด์ ค อมเพนเซชั น พอยต์ คื อ ช่ ว ง
ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ที่ท�ำให้อัตราการตรึง
0 คาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์
0 200 400 600 800 1000 - พืช C4 คาร์บอนไดออกไซด์คอมเพนเซชันพอยต์ต�่ำกว่าพืช
CO2 (ppm)
C3
- จดุ อิม่ ตัวของคาร์บอนไดออกไซด์ คือ จุดทีค่ วามเข้มข้นของ
พืช C3 คาร์บอนไดออกไซด์เพิม่ ขึน้ แต่อตั ราการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
40
พืช C4 ไม่เพิ่ม
- พืช C4 มีจุดอิ่มตัวแสงต�่ำกว่า พืช C3
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง (μmol m-2 s-1)

พืช CAM
30 • อณุ หภูมิ อุณหภูมมิ ผี ลต่อเอนไซม์ทเี่ กีย่ วข้องในการสังเคราะห์
ด้วยแสง ดังนัน้ อุณหภูมทิ เี่ หมาะสมจะช่วยให้พชื สังเคราะห์ดว้ ย
20 แสงได้มาก
• อายุใบ ใบพืชทีแ่ ก่เกินไปหรืออ่อนเกินไป ส่งผลให้การสังเคราะห์
10 ด้วยแสงลดลง
• ปริมาณน�ำ้ ทีพ่ ชื ได้รบั ปริมาณน�ำ้ ในดินและความชืน้ ในอากาศมี
ผลต่อการเปิดปิดของปากใบพืช ซึ่งมีผลต่อการสังเคราะห์ด้วย
0
0 10 20 30 40 50
แสงของพืช
อุณหภูมิ (oC) • ธาตุอาหาร ได้แก่ ธาตุแมกนีเซียม ไนโตรเจน เหล็ก แมงกานีส
คลอรีน ล้วนอยูใ่ นองค์ประกอบส�ำคัญทีเ่ กีย่ วข้องกับกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง

T69
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา

การสังเคราะห
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูแจงผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ หนวยการเรียนรูที่
2. ใหนกั เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการ
เรียนรูที่ 2
3. ใหนกั เรียนทํากิจกรรมภายในหองเรียนเพือ่ เลือก
ตัวแทนนักเรียนตอบคําถาม Big Question
4. ใหนักเรียนแตละคนบันทึกคําถาม Under-
2 ดวยแสง
การสังเคราะหด้วยแสง เป็นกระบวนการสร้างอาหารของพืช โดยมีใบเป็นอวัยวะสําคัญ ภายใน
ใบของพืชมีสารคลอโรฟิลล์ทสี่ ามารถนําพลังงานแสงมาเปลีย่ นให้เป็นพลังงานเคมี และมีเอนไซม์
standing Check ลงในสมุดบันทึกของตนเอง ที่สามารถตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศมาผลิตอาหารเก็บไว้ในรูปสารอินทรีย์ได้
แลวพิจารณาขอความตามความเขาใจของ สิง่ ทีน่ า่ สนใจ คือ พืชนําปัจจัยเหล่านีม้ าใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงได้อย่างไร
นักเรียนวาถูกหรือผิด
• ¡Ãкǹ¡ÒÃÊѧà¤ÃÒÐˏ´ŒÇÂáʧ¢Í§¾×ª
ᵋÅЪ¹Ô´ÁÕ¢Ñ鹵͹·Õèᵡµ‹Ò§¡Ñ¹ËÃ×ÍäÁ‹
Í‹ҧäÃ
• µŒ¹ÁÐÁ‹Ç§ ¢ŒÒÇâ¾´ áÅСÃкͧྪÃ
ÁÕ ¡ Åä¡¡ÒõÃÖ § ¤ÒÏ º ͹ä´ÍÍ¡ä«´ ·Õè
ᵡµ‹Ò§¡Ñ¹ËÃ×ÍäÁ‹ Í‹ҧäÃ
• ÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁÊ‹§¼Åµ‹Í¡Ãкǹ¡ÒüÅÔµ
ÍÒËÒâͧ¾×ªÍ‹ҧäÃ


U n de r s t a n d i ng
Che�
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิดแล้วบันทึกลงในสมุด
นํ้าเป็นทั้งสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นที่ใบเท่านั้น
แก๊สที่พืชใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมีส่วนช่วยทําให้ไฟติด
ในวันที่อากาศมีอุณหภูมิสูง พืชจะมีอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสูงขึ้น
อาหารที่พืชผลิตขึ้นจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ แป้ง
แนวตอบ Understanding Check
1. ถูก 2. ผิด 3. ผิด
4. ถูก 5. ผิด

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


• ไมแตกตางกัน สวนใหญมี 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาแสงและการตรึง
ครูควรใหนักเรียนศึกษาการทดลองของนักวิทยาศาสตรในอดีตเกี่ยวกับ
คารบอนไดออกไซด
กระบวนการสังเคราะหดวยแสง และสรุปผลการทดลองเพื่อนําไปสูการแปล
• แตกตางกัน เนือ่ งจากตนมะมวง ตนขาวโพด มีสภาพแวดลอมทีแ่ ตกตาง
ความหมายและสรางขอสรุป จากนั้นครูควรถามคําถามในแตละการทดลอง
ไปจากกระบองเพชรซึ่งเปนพืชในเขตรอน ดังนั้น ชวงเวลาในการ
แลวใหนักเรียนวิเคราะหหาคําตอบจากขอมูล ครูไมควรตอบคําถามเอง แตควร
เปดปดปากใบของกระบองเพชรจึงแตกตางไปจากพืชทัว่ ไป ซึง่ มีผลตอ
แนะนําขอมูลเพื่อนําไปสูคําตอบที่ถูกตอง จากนั้นใหนักเรียนนําขอมูลทั้งหมด
การตรึงคารบอนไดออกไซดของพืช
มาเชื่อมโยงกับความรูในปจจุบัน
• แกสคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศและนํ้าเปนสารตั้งตนที่สําคัญ
ในกระบวนการสังเคราะหดว ยแสง ดังนัน้ ในวันทีส่ ภาพแวดลอมมีความ
เหมาะสม เชน มีความเขมแสงและคารบอนไดออกไซดที่เหมาะสม
มีอุณหภูมิ นํ้า และธาตุอาหารในดินเหมาะสมตอการเจริญของพืช
จะสงผลใหพืชสังเคราะหดวยแสงไดดี

T70
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
Prior Knowledge
นักวิทยาศาสตรได 1. การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับ 1. ครูถามคําถาม Prior Knowledge
ศึกษาคนควาเกี่ยวกับ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง 2. ใหนกั เรียนแบงกลุมออกเปน 8 กลุม จากนั้น
กระบวนการสังเคราะห สงตัวแทนกลุมมาจับสลากหมายเลข 1-8 โดย
ดวยแสงอยางไร นักวิทยาศาสตร์หลายท่านศึกษาเกีย่ วกับปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ ใหนักเรียนแตละกลุมศึกษา ดังนี้
ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การศึกษาบางประเด็นต้อง
หมายเลข 1 ศึกษาการทดลองของฌอง แบบ
ใช้ระยะเวลานาน ทั้งยังต้องอาศัยความสามารถในการค้นคว้าหาความรู้ของนักวิทยาศาสตร์จาก
ติสท แวน เฮลมองท
หลาย ๆ ยุค ดังนั้นความรู้เกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงขณะนี้ล้วนเป็นผลจากการค้นคว้าของ
นักวิทยาศาสตร์ในอดีตมาจนถึงปัจจุบัน หมายเลข 2 ศึ ก ษาการทดลองของโจเซฟ
ในปี พ.ศ. 2191 ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ (Jean Baptiste van Helmont) ได้ทดลอง พริสตลีย
ปลูกต้นหลิวหนัก 5 ปอนด์ในถังที่บรรจุดินที่แห้งสนิทหนัก 200 ปอนด์ และปิดฝาถังให้มิดชิด หมายเลข 3 ศึกษาการทดลองของแจน อินเก็น
เพื่อป้องกันสัตว์มาขุดคุ้ย ป้องกันไม่ให้ใบหลิวร่วงหล่นลงไปในกระถาง ฮูซ
ระหว่างทําการทดลองได้รดนํ้าต้นหลิวด้วยนํ้าฝนทุก ๆ วัน เป็นระยะ หมายเลข 4 ศึ ก ษาการทดลองของนิ โ คลาส
เวลา 5 ปี แล้วนําต้นหลิวและดินแห้งไปชั่งนํ้าหนัก พบว่า ดินมี ธีโอดอร เดอ โซซูร
นํ้าหนักน้อยกว่าดินที่ใช้ก่อนทําการทดลองเพียง 2 ออนซ์ แต่ 1 ต้น หมายเลข 5 ศึกษาการทดลองของจูเลียส ซาซ
หลิวมีนํ้าหนักเพิ่มขึ้นเป็น 169 ปอนด์ ดังภาพ หมายเลข 6 ศึกษาการทดลองของแวน นีล
ทดลองปลูกต้นหลิว หมายเลข 7 ศึกษาการทดลองของโรบิน ฮิลล
หนัก 5 ปอนด์ หมายเลข 8 ศึ ก ษาการทดลองของแดเนี ย ล
ดินแห้งสนิท 200 ปอนด์
ในถังที่มีฝาปิด อารนอน
3. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม บั น ทึ ก ข อ มู ล ที่ สื บ ค น
ลงในกระดาษ A4 พรอมนําเสนอขอมูลใน
รูปแบบที่นาสนใจหนาชั้นเรียน

169 ปอนด์ 199 ปอนด์

เปิดฝารดนํ้า
เป็นระยะเวลา 5 ปี

ภาพที่2.1 การทดลองของฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์


ที่มา : http://kruhom.blogspot.com/2016/ แนวตอบ Prior Knowledge
จากการทดลอง เขาจึงสรุปว่า “นํ้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นได้มาจากนํ้าเพียงอย่างเดียว” ทดลองปลูกตนไมในสภาวะตาง ๆ โดยศึกษา
การสังเคราะห์ 61
ผลลัพธที่เกิดขึ้นจากนํ้าหนักของตนไม การดํารง
ด้วยแสง
อยูไดของสิ่งมีชีวิต เชน หนู รวมทั้งผลิตภัณฑที่
เกิดขึน้ จากสภาพแวดลอมทีแ่ ตกตางกัน เชน นํา้ แสง

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


นักวิทยาศาสตรทา นใดทีก่ ลาววา นํา้ หนักของพืชมาจากนํา้ เทานัน้ 1 ออนซ มีสัญลักษณ oz เปนหนวยวัดมวลในระบบอังกฤษ โดย 1 ออนซ มี
1. แวน นีล คาเทากับ 28.3415 กรัม หรือ 16 ออนซ เทากับ 1 ปอนด ปอนดเปนหนวยวัด
2. โรบิน ฮิลล มวลและนํ้าหนักในระบบอังกฤษ
3. อินเก็น ฮูซ
4. แวน เฮลมองท
5. โจเซฟ พริสตลีย
(วิเคราะหคําตอบ ฌอง แบบติสท แวน เฮลมองทไดทดลองปลูก
ตนหลิวหนัก 5 ปอนด ในถังใบใหญทบี่ รรจุดนิ ซึง่ ทําใหแหงสนิทหนัก
200 ปอนด เมื่อเวลาผานไป 5 ป พบวา ตนหลิวมีนํ้าหนักเพิ่มขึ้น
จึงสรุปไดวา นํ้าหนักของตนหลิวที่เพิ่มขึ้นไดมาจากนํ้าเพียงอยาง
เดียว ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T71
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ใหนักเรียนกลุมที่จับไดหมายเลข 1-4 ออกมา ในปี พ.ศ. 2315 โจเซฟ พริสต์ลีย์ (Joseph Priestley) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษกล่าวว่า
นําเสนอขอมูลตามสลากที่กลุมตนเองไดรับ “การหายใจ การเน่าเปอย และการตายของสัตว์ ทําให้เกิดอากาศเสีย แต่พืชจะทําให้อากาศเสีย
โดยอาจนําเสนอในรูปของผังมโนทัศน แผนพับ นั้นบริสุทธิ์ขึ้นและมีประโยชน์ต่อการดํารงชีวิต” โดยโจเซฟได้ทําการทดลอง 2 การทดลอง ดังนี้
รายงาน หรือแสดงขอมูลบนแผนฟวเจอรบอรด
2. ใหนกั เรียนเลือกการทดลองของนักวิทยาศาสตร การทดลองที่1
ในอดีตที่เกี่ยวของกับกระบวนการสังเคราะห จุดเทียนไขไว้ในครอบแก้ว พบว่าเมื่อเวลาผ่านไปสักครู่หนึ่งเทียนไขดับลง และเมื่อนํา
ดวยแสงที่ตนเองสนใจ แลวเขียนคําถามลงใน หนูที่มีชีวิตไปไว้ในครอบแก้วที่เทียนไขดับแล้ว ปรากฏว่าหนูตายเกือบทันที
สมุดบันทึกของตนเอง อยางนอย 2 คําถาม
โดยการทดลองที่นักเรียนสนใจอาจมีมากกวา
2 การทดลอง สักครู่

ภาพที่2.2 การทดลองของพริสต์ลีย์ที่เริ่มจากการเผาไหม้ของเทียนไข
ที่มา : คลังภาพ อจท.

เมื่อนําหนูที่มีชีวิตเข้าไปในครอบแก้วที่เทียนไขดับ สักครู่หนูก็ตายลง และเมื่อทดลอง


จุดเทียนไขแล้วนําไปใส่ไว้ในครอบแก้วที่มีหนูตายอยู่แล้ว ปรากฏว่าเทียนไขดับเกือบทันทีเช่นกัน

สักครู่ สักครู่

ภาพที่2.3 การทดลองของพริสต์ลีย์ที่เริ่มจากกระบวนการหายใจของหนูทดลอง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

พริสต์ลีย์ สรุปการทดลองนี้ว่า “การลุกไหม้ของเทียนไขและการหายใจของหนูทําให้เกิด


อากาศเสีย ดังนั้น จึงทําให้เทียนไขดับและทําให้หนูตาย”

62

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับอากาศเสียใหนักเรียนฟงวา สาเหตุที่ทําให การทดลองของโจเซฟ พริสตลยี  สรุปไดวา อากาศเสียสามารถ
เกิดอากาศเสียไมใชมีเพียงแคแกสคารบอนไดออกไซดเทานั้น แตอาจเกิดจาก เปลี่ยนเปนอากาศดีไดตองมีสวนประกอบสําคัญในขอใด
ฝุนละออง ลมพายุ ภูเขาไฟระเบิด แผนดินไหว ไฟไหมปา แกสธรรมชาติ หรือ 1. นํ้า
อาจเกิดจากการกระทําของมนุษย เชน ขยะมูลฝอยและของเสีย 2. แสง
3. พืชสีเขียว
4. ออกซิเจน
5. หนูทดลอง
(วิเคราะหคําตอบ โจเซฟ พริสตลีย ทําการทดลองจุดเทียนไขไว
ในครอบแกวและนําพืชใสไวดวย พบวา หนูยังคงมีชีวิตอยูไดเปน
เวลานาน จึงสรุปไววา พืชสามารถเปลีย่ นอากาศเสียใหเปนอากาศ
ดีได ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T72
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
การทดลองที่2 3. ครูสุมเรียกตัวแทนนักเรียนประมาณ 10 คน
เพื่ อ ระบุ ว  า ตนเองสนใจการทดลองของนั ก
นําพืชสีเขียวใส่ในครอบแก้วที่เคยจุดเทียนไขเอาไว้ก่อนแล้ว จากนั้นทิ้งไว้เป็นเวลา 10 วัน
เมื่อจุดเทียนไขในครอบแก้วนั้นใหม่ พบว่าเทียนไขลุกไหม้อยู่ได้ระยะหนึ่งโดยไม่ดับทันที วิทยาศาสตรทา นใด จากนัน้ อานคําถามในสมุด
บันทึกของตนเอง
4. ครู สุ  ม เรี ย กสมาชิ ก ภายในกลุ  ม ที่ ศึ ก ษาการ
10 วันต่อมา ทดลองทีต่ วั แทนนักเรียนสนใจตอบคําถามและ
อธิบายคําตอบใหเพื่อนฟง
5. ครูพิจารณาและเพิ่มเติมคําตอบของนักเรียน
ภาพที่2.4 การนําพืชเข้ามาทดลองของพริสต์ลีย์ ใหสมบูรณขึ้น
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เมือ่ ทําการทดลองอีกครัง้ โดยนําพืชสีเขียวใส่ในครอบแก้วทีเ่ คยจุดเทียนไขไว้และดับไปแล้ว
จากนั้นทิ้งไว้เป็นเวลา 10 วัน จึงนําเทียนไขออกและใส่หนูเข้าไปในครอบแก้วที่มีพืชอยู่ พบว่า
หนูยังคงมีชีวิตอยู่ได้เป็นเวลานาน

10 วันต่อมา

ภาพที่2.5 การทดลองของพริ
การทดลองของพริสต์ลีย์ที่แสดงให้เห็นว่า พืชช่วยให้หนูมีชีวิตอยู่ในครอบแก้วนานขึ้น
ที่มา : คลังภาพ อจท.
หลังจากนั้นพริสต์ลีย์ทําการทดลองเพิ่มเติม โดยแบ่งอากาศภายในครอบแก้วที่เทียนไขดับ
แล้วออกเป็น 2 ส่วน ส่วนหนึง่ นําพืชไปใส่ไว้ และอีกส่วนหนึง่ ใส่เพียงแก้วทีบ่ รรจุนาํ้ ไว้เท่านัน้ แล้ว
ตัง้ ทิง้ ไว้ระยะเวลาหนึง่ จากนัน้ จึงจุดเทียนไขในอากาศทัง้ 2 ส่วน พบว่า เทียนไขในอากาศส่วนทีม่ ี
พืชอยู่เท่านั้นที่มีการลุกไหม้ 1และลุกไหม้เพียงระยะหนึ่งเท่านั้น จากการทดลองดังกล่าว พริสต์ลีย์
สรุปว่า “พืชสามารถเปลี่ยนอากาศเสียให้กลับมาเป็นอากาศดีได้”

อากาศเสีย อากาศดี

ภาพที่2.6 พืชเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็นอากาศดี
ที่มา : คลังภาพ อจท. การสังเคราะห์ 63
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


หากทดลองใสตนไมและหนูภายในครอบแกวที่ปดสนิท ซึ่งมี 1 การลุกไหม เปนสวนหนึง่ ทีท่ าํ ใหเกิดการเผาไหม ซึง่ การลุกไหมจะเกิดขึน้
แสง อุณหภูมิ ธาตุอาหาร และนํ้าเปนเวลา 10 วัน ทั้งตนไมและ หลังจากการรวมตัวของเชือ้ เพลิงกับออกซิเจน ซึง่ หลังเกิดการเผาไหมจะเกิดสาร
หนูไมตาย จากการทดลองนี้ ขอใดสรุปถูกตองที่สุด ตัวใหมขึ้น ไดแก แกสคารบอนไดออกไซด นํ้าหรือไอนํ้า และควัน
1. หนูไดรับออกซิเจนจากตนไม
2. ตนไมใชออกซิเจนนอยจึงไมแยงหนู
3. ตนไมไดรับคารบอนไดออกไซดจากหนู สื่อ Digital
4. ในครอบแกวมีออกซิเจนมากกวาคารบอนไดออกไซด ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
5. ขอ 1. และ 3. ถูกตอง การทดลองการสังเคราะหดวยแสงของพืช
(วิเคราะหคําตอบ ตนไมสังเคราะหดวยแสงโดยมีแสง อุณหภูมิ ของนักวิทยาศาสตรในอดีตจาก Youtube
และธาตุอาหารที่เพียงพอ ไดแกสออกซิเจนเปนผลิตภัณฑ หนูนํา เรื่อง Photosynthesis (https://www.you-
แกสออกซิเจนที่ไดจากพืชไปใชในกระบวนการหายใจ แลวปลอย tube.com/watch?v=gHUPGMilX2o)
แก ส คาร บ อนไดออกไซด ซึ่ ง เป น สารตั้ ง ต น ในกระบวนการ
สังเคราะหดวยแสง ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T73
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
6. ใหนกั เรียนกลุม ทีจ่ บั ไดหมายเลข 5-8 นําเสนอ ในปี พ.ศ. 2322 แจน อินเก็น ฮูซ (Jan Ingen Housz) ได้พิสูจน์ให้เห็นว่า การทดลองของ
ขอมูลในรูปแบบผังมโนทัศน แผนพับ รายงาน พริสต์ลีย์จะได้ผลก็ต่อเมื่อพืชได้รับแสงสว่างเท่านั้น พืชจึงจะสามารถเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็น
หรือแสดงขอมูลบนแผนฟวเจอรบอรด อยางใด อากาศดีได้
อยางหนึ่ง ฮูซออกแบบการทดลองโดยใช้ครอบแก้วไว้ 2 ชุด โดยชุดแรกนําไปไว้ในที่มืด ส่วนชุดที่ 2
7. ใหนักเรียนคนอื่นๆ เลือกการทดลองที่ตนเอง นําไปไว้ในบริเวณทีไ่ ด้รบั แสงได้ด ี ทิง้ ไว้เป็นเวลา 7 วัน แล้วจุดเทียนไขในครอบแก้วทัง้ 2 ชุด พบว่า
สนใจ แลวเขียนคําถามลงในสมุดบันทึกของ เทียนไขในครอบแก้วที่ได้รับแสงเท่านั้นที่สามารถลุกไหม้ได้ ดังภาพ
ตนเอง อยางนอย 2 คําถาม โดยการทดลองที่ ชุดที่1
นักเรียนสนใจอาจมีมากกวา 2 การทดลอง
8. ครูสุมตัวแทนนักเรียนโดยจับสลากเรียกเลขที่ 7 วันต่อมา
ของนักเรียนประมาณ 10 คน

ชุดที่2 แสง

7 วันต่อมา

ภาพที่2.7 การทดลองของฮูซ ชุดที่ 1 นําไปไว้ในที่มืด และชุดที่ 2 นําไปไว้ในที่ที่มีแสง


ที่มา : คลังภาพ อจท.
ในขณะที่พริสต์ลีย์และฮูซทําการทดลองนั้น ความรู้ทางวิชาเคมีก็พัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วใน
ระยะที่ใกล้เคียงกัน ในปี พ.ศ. 2325 ฌอง ซีนีบิเยร์ (Jean Senebier) พบว่า แก๊สที่เกิดจากการ
ลุกไหม้ และแก๊สที่เกิดจากการหายใจของสัตว์ คือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ส่วนแก๊สที่
ช่วยในการลุกไหม้ และแก๊สที่ใช้ในการหายใจของสัตว์ คือ แก๊สออกซิเจน (O2) แสดงว่าเมื่อพืชได้
รับแสง พืชจะนําแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไป และปล่อยแก๊สออกซิเจนออกมา
แสง

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สออกซิเจน
(CO2) (O2)

ภาพที่2.8 แสงเป็นปัจจัยสําคัญที่ทําให้พืชเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็นอากาศดีได้
ที่มา : คลังภาพ อจท.
64

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง กระบวนการเผาไหม ซึ่งแบงออก ขอใดสรุปผลการทดลองของอินเก็น ฮูซ ไดถูกตองที่สุด
ไดเปน 2 ประเภท คือ การเผาไหมสมบูรณและการเผาไหมไมสมบูรณ ซึ่ง 1. พืชหายใจโดยใชแกสออกซิเจน
การเผาไหมทั้งสองลักษณะแตกตางกันที่การเผาไหมสมบูรณเกิดขึ้นเมื่อมี 2. พืชหายใจโดยใชแกสคารบอนมอนอกไซด
ปริมาณออกซิเจนคงทีแ่ ละเพียงพอ ทําใหไดแกสคารบอนไดออกไซดและนํา้ เปน 3. นํ้าหนักที่เพิ่มขึ้นของพืชมาจากแกสคารบอนไดออกไซด
ผลิตภัณฑ สวนการเผาไหมทไี่ มสมบูรณเกิดขึน้ เมือ่ มีปริมาณออกซิเจนไมเพียงพอ เทานั้น
ทําใหไดแกสคารบอนมอนอกไซดเปนผลิตภัณฑ 4. พืชสามารถเปลี่ยนอากาศเสียใหเปนอากาศดีไดจําเปน
ตองมีแสง
5. แกสที่มีสมบัติทําใหเกิดการลุกไหม คือ แกสคารบอน-
ไดออกไซด
(วิเคราะหคําตอบ แจน อินเก็น ฮูซ ทําการทดลองคลายกับ
พริสตลีย และพิสูจนใหเห็นวาการทดลองของพริสตลีย จะไดผล
ก็ตอเมื่อมีแสง ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T74
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1 9. ใหตัวแทนนักเรียนระบุวา ตนเองสนใจการ
ในปี พ.ศ. 2329 ฮูซ ยังค้นพบอีกว่า พืชเก็บธาตุคาร์บอนไว้ในรูปของสารอินทรีย์
แสง ทดลองของนักวิทยาศาสตรทานใด จากนั้น
อานคําถามในสมุดบันทึกของตนเอง
แก๊สออกซิเจน
10. ครูสุมเรียกสมาชิกภายในกลุมที่ศึกษาการ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
สารอินทรีย์ ทดลองที่ตัวแทนนักเรียนสนใจตอบคําถาม
และอธิบายคําตอบใหเพื่อนฟง
ภาพที่2.9 พืชเก็บธาตุคาร์บอนไว้ในรูปของสารอินทรีย์
11. ครูพิจารณาและเพิ่มเติมคําตอบของนักเรียน
ที่มา : คลังภาพ อจท. ใหสมบูรณขึ้น
ในปี พ.ศ. 2339 ฮูซเสนอข้อมูลจากการทดลองว่า “พืชเก็บธาตุคาร์บอน ซึ่งได้มาจากแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ไว้ในรูปของสารอินทรีย ์ และปลดปล่อยแก๊สออกซิเจนออกมา” โดยฮูซได้ทาํ การ
ทดลองคล้ายกับพริสต์ลีย์ แต่ใช้ส่วนประกอบของพืชที่มีสีเขียว เช่น ลําต้น ใบ กิ่ง ใส่ไว้ในที่ครอบ
แก้วไว้ 2 ชุด โดยชุดที่ 1 ทิ้งไว้ในที่มืด ส่วนชุดที่ 2 ไว้ในที่สว่างเป็นระยะเวลาหนึ่ง หลังจากนั้น
จึงจุดเทียนไขในครอบแก้ว ดังภาพ
ชุดที่1

ใบ กิ่ง ลําต้น
ชุดที่2
แสง แสง แสง

ใบ กิ่ง ลําต้น
ภาพที่2.10 การทดลองของฮูซ ชุดที่ 1 ในที่มืด และชุดที่ 2 ในที่สว่าง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
จากการทดลอง พบว่า เทียนไขในครอบแก้วชุดที ่ 1 ไม่ตดิ ไฟ ส่วนเทียนไขในชุดที ่ 2 ซึง่ วางไว้
ที่บริเวณที่มีแสงสามารถจุดเทียนไขให้ติดไฟได้
การสังเคราะห์ 65
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดคือสารอินทรียที่พืชสรางขึ้น 1 สารอินทรีย เปนสารทีม่ ธี าตุคารบอนและไนโตรเจนเปนองคประกอบหลัก
1. ไขมัน นอกจากนี้ สารอินทรียอาจมีธาตุอื่นๆ เชน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
2. โปรตีน กํามะถัน เปนองคประกอบอยูดวย สารอินทรียสวนใหญเปนสารชีวโมเลกุล เชน
3. วิตามิน คารโบไฮเดรต โปรตีน ลิพิด กรดนิวคลีอิก
4. กรดนิวคลีอิก
5. คารโบไฮเดรต
(วิเคราะหคําตอบ จูเลียส ซาซ พบวา สารอินทรียที่พืชสราง
บริเวณใบพืช คือ นํ้าตาล ซึ่งเปนสารประเภทคารโบไฮเดรต
ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T75
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม ออกเป น 4 กลุ  ม ทํ า จากการทดลองของฮูซ จะเห็นได้วา่ การเจริญเติบโตของพืชส่งผลให้นาํ้ หนักของพืชเพิม่ ขึน้
กิจกรรม ตรวจสอบแปงในใบพืช ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการสังเคราะห์สารอินทรีย์ โดยนํ้าหนักของพืชที่เพิ่มขึ้นมาจาก
2. ครู เ ตรี ย มอุ ป กรณ ใ ห นั ก เรี ย นอย า งละกลุ  ม แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่พืชนําเข้าไป และพืชยังปล่อยแก๊สออกซิเจนออกสู่บรรยากาศในช่วงที่
ดังนี้ บีกเกอรขนาด 250 cm3 หลอดทดลอง พืชได้รับแสง
ขนาดใหญ ตะเกียงแอลกอฮอล และที่กั้นลม ในปี พ.ศ. 2347 นิโคลาส ทีโอดอร์ เดอ โซซูร์ (Nicolas Theodore de Soussure) ทําการ
พรอมตะแกรง หลอดหยด ปากคีบ ใบไม ทดลองพบว่า พืชมีการดูดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
นํ้าเปลา กระจกนาฬกา สารละลายไอโอดีน ซึง่ สอดคล้องกับการทดลองของฮูซ นอกจากนี ้ เดอ โซซูร ์ ยังทดลองให้เห็นว่า นํา้ หนักของพืชทีเ่ พิม่ ขึน้
เอทิลแอลกอฮอล มากกว่านํา้ หนักของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ทพี่ ชื ได้รบั จึงสันนิษฐานว่านํา้ หนักทีเ่ พิม่ ขึน้ บางส่วน
3. ครูอธิบายขัน้ ตอนการทํากิจกรรมทีละขอ แลว เป็นนํ้าหนักของนํ้าที่พืชได้รับ
ใหนักเรียนแตละกลุมลงมือปฏิบัติตาม ในปี พ.ศ. 2405 จูเลียส ซาซ (Julius Sachs) ได้ทําการทดลองโดยใช้โคมไฟฉายแสงให้กับ
1) ตมนํา้ ในบีกเกอรปริมาตร 100 cm3 ใหเดือด พืชสีเขียวหลายชนิด และพบว่าใบพืชสามารถสังเคราะห์แป้งขึน้ มาได้ และเมือ่ ปิดไฟเป็นเวลานาน
นําใบไมใสลงในบีกเกอร ตมประมาณ 2 แป้งก็จะสลายไป ซึง่ ปริมาณของแป้งสามารถตรวจสอบด้วยสารละลายไอโอดีน ดังนัน้ การทดลองนี้
นาที จึงแสดงให้เห็นว่า สารอินทรีย์ที่พืชสังเคราะห์ขึ้นมา คือ แป้ง ซึ่งเป็นสารประเภทคาร์โบไฮเดรต
2) ใชปากคีบ คีบใบพืชทีต่ ม ในนํา้ เดือด มาตม แสง
ในหลอดทดลองที่ มี แ อลกอฮอล ป ริ ม าณ
20 cm3 ซึ่งวางอยูในบีกเกอรที่มีนํ้าเดือด
ตมจนกระทั่งสังเกตเห็นใบพืชมีสีซีด แลว แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ คาร์โบไฮเดรต
จึงใชปากคีบ คีบใบพืชออก
นํ้า แก๊สออกซิเจน
3) นําใบพืชทีต่ ม ซีดไปลางในนํา้ เย็นและคีบใส
กระจกนาฬกา
4) หยดสารละลายไอโอดีน 2-3 หยด ลงบน ภาพที่2.11 ผลิตภัณฑ์ที่พืชได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ แก๊สออกซิเจนและแป้ง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ใบพืช ทิง้ ไว 3 นาที สังเกตการเปลีย่ นแปลง
ต่อมานักวิทยาศาสตร์เรียกกระบวนการสร้างอาหารของพืชที่อาศัยแสงนี้ว่า กระบวนการ
อธิบายความรู้ สังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis)
1. ครูสุมเรียกตัวแทนกลุมนําเสนอผลกิจกรรม ในปี พ.ศ. 2438 เองเกลมัน (T.W. Engelmann) ทดลองโดยใช้แบคทีเรียที่เจริญโดยใช้
2. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น สรุ ป ว า เมื่ อ หยด แก๊สออกซิเจนเป็นตัวทดสอบวัดปริมาณแก๊สออกซิเจนที่เกิดจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
สารละลายไอโอดีนลงในใบพืช พบวา สีของ ของสาหร่ายสไปโรไจรา (Spirogyra sp.) ซึ2 ่งเป็นสาหร่ายสีเขียวชนิดหนึ่ง โดยใช้ปริซึมแยกแสง
1
สารละลายไอโอดีนเปลี่ยนเปนสีดําแสดงให ออกเป็นสเปกตรัมให้แก่สาหร่ายสไปโรไจรา ที่เจริญอยู่ในนํ้าร่วมกับแบคทีเรียที่ใช้แก๊สออกซิเจน
เห็นวา พืชสะสมอาหารประเภทแปงในใบพืช ในการเจริญอยู่ด้วย
66

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 สเปกตรัม คือ แสงที่เปนเสนหรือแถบที่แสดงออกมาเปนสีโดยการแผรังสี นักวิทยาศาสตรทานใดที่คนพบวา สารอินทรียที่พืชสังเคราะห
เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาผานปริซึม แผนเกรตติง หรือสเปกโตรสโคปจึงเห็นเปน ไดจากกระบวนการสังเคราะหดวยแสง คือ นํ้าตาล
7 สี ซึ่งไมมีความตอเนื่องกัน มีการเวนชวงความถี่และมีความยาวคลื่นแตกตาง 1. แวน นีล
กันจนเกิดเปนแถบๆ เรียงตอกัน 2. โรบิน ฮิลล
2 สาหรายสไปโรไจรา เปนสาหรายสีเขียวคลายเสนดายสกุลหนึ่งในอันดับ 3. เองเกลมัน
Zygnematales โดยไดชื่อจากการเรียงตัวของคลอโรพลาสตเปนเกลียว ซึ่งเปน 4. จูเลียส ซาซ
ลักษณะประจําสกุล มักพบในนํา้ จืด โดยทัว่ โลกพบสาหรายสไปโรไจราประมาณ 5. ฌอง ซีนีบิเยร
400 สปชีสทั่วโลก (วิเคราะหคําตอบ แวน นีล พบวา กระบวนการสังเคราะหดวย
แสง ทําใหโมเลกุลนํ้าแยกออกเปนออกซิเจนอิสระ โรบิน ฮิลล
พบวา โฟโตไลซิสหรือปฏิกริ ยิ าทีน่ าํ้ แตกตัวเนือ่ งจากแสง เองเกลมัน
พบวา พืชสังเคราะหดว ยแสงไดดที คี่ ลืน่ แสงสีแดงและนํา้ เงิน ฌอง
ซีนีบิเยร พบวา แสงเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหพืชเปลี่ยนอากาศเสีย
เปนอากาศดี ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T76
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
จากการทดลอง พบว่า แบคทีเรียที่ต้องการออกซิเจนในการเจริญมารวมกลุ่มกันบริเวณ ครูตั้งคําถามวา ในการทดลองของเองเกลมัน
ที่สาหร่ายได้รับแสงสีม่วง สีนํ้าเงิน สีส้ม และสีแดง เป็นจํานวนมาก แสดงว่าบริเวณนั้นมี ทําไมจึงตองใชแบคทีเรียที่ตองการออกซิเจนใน
แก๊สออกซิเจนมากกว่าบริเวณอื่น ซึ่งการทดลองนี้คล้ายกับคุณสมบัติในการดูดแสงสีต่าง ๆ ของ กระบวนการหายใจมาใชในการทดลอง และทําไม
สารสีเขียวในคลอโรพลาสต์ที่เรียกว่า คลอโรฟิลล์ (chlorophyll) แบคทีเรียเหลานี้จึงเกาะกลุมเพียงบางบริเวณ ให
เองเกลมันสรุปว่า “คลอโรฟิลล์เป็นสารสีที่สําคัญที่ทําหน้าที่ดูดซับพลังงานแสงเพื่อให้เกิด นักเรียนสืบคนขอมูล และตอบคําถามลงในสมุด
การสังเคราะห์อาหารขึ้น” บันทึกของตนเอง
แสง

ปริซึม อธิบายความรู้
1. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนแลกเปลี่ยนคําตอบ
690 660 600 530 480 ของตนเอง และอภิปรายคําตอบรวมกัน
แบคทีเรียที่ใช้
ออกซิเจนในการเจริญ 2. ครูสุมเรียกนักเรียน 2-3 คน อธิบายคําตอบ
3. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเพื่ อ ให ไ ด
นิวเคลียส สาหร่าย ขอสรุปวา ในการทดลองของเองเกลมันใช
สไปโรไจรา
คลอโรพลาสต์ แบคทีเรียที่ตองการออกซิเจนในการทดลอง
เพื่ อ ต อ งการตรวจสอบผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ด จ าก
ภาพที่ 2.12 การทดลองของเองเกลมันแสดงให้เห็นว่า บริเวณทีม่ แี บคทีเรียมาเกาะกลุม่ กระบวนการสังเคราะหดวยแสง ซึ่งเกิดขึ้น
คือ บริเวณที่มีแก๊สออกซิเจนซึ่งได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของสาหร่ายสไปโรไจรา บริเวณที่สาหรายไดรับแสงสีมวง นํ้าเงิน สม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
1 และแดง
ในปี พ.ศ. 2473 แวน นีล (Van Niel) พบว่า แบคที แบคทีเรียบางชนิดสามารถสังเคราะห์ด้วยแสง
2
แต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) แทน และผลทีไ่ ด้จากการสังเคราะห์ดว้ ยแสงแทนทีจ่ ะ
ได้โดยไม่ใช้นาํ้ แต่
ได้แก๊สออกซิเจน (O2) แต่กลับได้ซัลเฟอร์ (S) ออกมาแทน แสดงว่าซัลเฟอร์เกิดจากการสลายตัว
ของไฮโดรเจนซัลไฟด์
แสง

คาร์โบไฮเดรต
แบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้
นํ้า
แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซัลเฟอร์

ภาพที่2.13 ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสง คือ ซัลเฟอร์และแป้ง


ที่มา : คลังภาพ อจท.
การสังเคราะห์ 67
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ถาใชแหลงกําเนิดแสงสองไปที่สาหรายสีเขียวที่มีลักษณะเปน 1 แบคทีเรียบางชนิดสามารถสังเคราะหดวยแสง มี 2 ชนิด คือ พวกที่
สายยาวซึ่งมี Aerobic bacteria อาศัยอยูรอบๆ เปนเวลา 10 สังเคราะหดวยแสงแลวไมใหแกสออกซิเจน ไดแก แบคทีเรียสีมวง แบคทีเรีย
นาที เมื่อเวลาผานไปแบคทีเรียจะไปรวมตัวอยูมากที่บริเวณคลื่น สีเขียว และพวกทีส่ งั เคราะหดว ยแสงแลวใหแกสออกซิเจน เชน ไซยาโนแบคทีเรีย
แสงใด หรือสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน
1. แสงสีสม 2 ไฮโดรเจนซัลไฟด หรือแกสไขเนา เปนสารประกอบที่มีสูตรเคมีเปน H2S
2. แสงสีแดง ไมมีสี เปนแกสพิษ และเปนแกสไวไฟ มีกลิ่นเนาเหม็นคลายไขเนา สวนใหญ
3. แสงสีเขียว เกิดจากแบคทีเรียยอยสลายซัลไฟดในสารอนินทรียใ นสภาวะขาดออกซิเจน เชน
4. แสงสีเหลือง ในหนองนํ้าและทอระบายนํ้า
5. แสงสีนํ้าตาล
(วิเคราะหคําตอบ จากการทดลองของเองเกลมัน พบวา แบคทีเรีย
ทีต่ อ งการออกซิเจนมารวมกลุม กันทีบ่ ริเวณสาหรายไดรบั แสงสีแดง
และสีนํ้าเงิน เพราะทั้งสองบริเวณนี้สาหรายจะใหแกสออกซิเจน
ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T77
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน ทํา แวน นีลจึงเสนอสมมติฐานว่า การสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียน่าจะคล้ายกับ
ใบงาน เรื่อง การทดลองการสังเคราะหดวย การสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช นัน่ คือ ในการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช โมเลกุลของนํา้ จะถูกแยก
แสง สลายได้ออกซิเจนอิสระ
2. ใหนักเรียนนักเรียนจับกลุมเดิม จากนั้นให ในปี พ.ศ. 2484 สมมติฐานของแวน นีล ได้รับการสนับสนุนจากการทดลองของแซม
นักเรียนสืบคนจากแหลงการเรียนรูเพิ่มเติม รูเบน (Sam Ruben) และมาร์ติน คาเมน (Martin Kamen) ซึ่งทําการทดลองโดยใช้สาหร่าย
เกี่ยวกับปฏิกิริยารีดอกซซึ่งเกี่ยวของกับการ สีเขียวปริมาณเท่ากันใส่ลงในขวดแก้วสองใบ แล้วใส่นาํ้ และคาร์บอนไดออกไซด์ลงไปในขวดทัง้ สอง
ทดลองของแวน นีล โรบิน ฮิลล และแดเนียล แสง
อารนอน
3. ครูเขียนคําศัพทบนกระดาน แลวใหนักเรียน C16O2 18O
2
เขี ย นความหมายของคํ า ศั พ ท บ นกระดาน
ลงในสมุดบันทึก ดังนี้ สาหร่าย
H218O
สาหร่าย
- Redox
- Oxidation ก.
- Reduction
แสง

C18O2 16O
2

สาหร่าย H216O สาหร่าย

ข.
ภาพที่2.14 การทดลองของแซม รูเบน และมาร์ติน คาเมน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
จากภาพ ก. ใส่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีออกซิเจนปกติ (C16O2) แต่ใส่นํ้าที่ประกอบด้วย
ออกซิเจนหนัก คือ H218O ส่วนภาพ ข. ใส่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีออกซิเจนหนัก คือ C18O2
แต่ใส่นํ้าที่มีออกซิเจนปกติ จากนั้นนําขวดแก้วทั้งสองไปตั้งไว้ในที่มีแสง เมื่อสาหร่ายได้รับแสง
จะให้ออกซิเจนออกมาทั้งสองขวด แต่เมื่อนําออกซิเจนที่เกิดขึ้นมาทดสอบ ปรากฏว่าออกซิเจน
จากภาพ ก. เท่านั้นที่เป็น 18O2 ส่วนภาพ ข. เป็นออกซิเจนปกติ
รูเบนและคาเมนจึงสรุปว่า “ออกซิเจนทีไ่ ด้จากกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงมาจากโมเลกุล
ของนํ้าเท่านั้น”

68

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับนํ้า (H2O) ประกอบดวยไฮโดรเจน 2 สมการที่กําหนดใหตอไปนี้
อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม โดยไฮโดรเจนมีไอโซโทปที่เสถียร 2 ไอโซโทป CO2 + H2O* + พลังงาน กลูโคส + O*2 + นํ้า
ไดแก โปรเทียม (1H) 99.985% กับดิวเทอเรียม (2H) 0.015% สวนออกซิเจน CO*2 + H2O + พลังงาน กลูโคส + O2 + นํ้า
ประกอบดวยไอโซโทปเสถียร 3 ไอโซโทป ไดแก 16O (99.759%) 17O (0.037%) เปนหลักฐานที่ยืนยันสิ่งใด
และ 18O (0.204%) นํา้ สวนใหญจะอยูใ นรูป H216O (มวล=18) นํา้ บางสวนอยูใ นรูป
1. ออกซิเจนมาจากการสลายพลังงาน
H2H16O (มวล=19) H218O (มวล=20) หรือ H2H 18O (มวล=21) โดยนํ้าที่มีมวล
2. ออกซิเจนในโมเลกุลของกลูโคสไดจากนํ้า
เบากวาจะระเหยเปนไอไดดกี วา สวนนํา้ ทีม่ มี วลหนักกวาจะกลัน่ ตัวเปนนํา้ ดีกวา
3. ออกซิเจนไดมาจากนํ้าที่พืชใชสังเคราะหดวยแสง
สงผลใหแหลงนํ้าแตละแหงมีสัดสวนของไอโซโทปไฮโดรเจนกับออกซิเจน
4. ออกซิเจนไดจาก CO2 ที่พืชใชสังเคราะหดวยแสง
ไมเทากัน
5. ออกซิเจนในโมเลกุลของนํ้าที่เกิดขึ้นไดมาจาก CO2
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ ออกซิ เ จนที่ เ กิ ด ขึ้ น ได ม าจาก
โมเลกุลนํ้า ซึ่งเปนสารตั้งตนที่ใชในกระบวนการสังเคราะหดวย
แสงของพืช ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T78
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
ในปี พ.ศ. 2475 โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill) ทําการทดลองโดยสกัดคลอโรพลาสต์ออก 1. Fe 3++ e - Fe 2+ เป น ปฏิ กิ ริ ย ารี ดั ก ชั น
มาจากใบผักโขม แล้วนํามาผสมกับนํ้า จากนั้นแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ชุด ชุดแรกเติม (Reduction) และเรียก Fe3+ วา ตัวออกซิไดส
เกลือเฟอริก (Fe3+) ส่วนอีกชุดไม่เติมเกลือเฟอริก แล้วฉายแสงให้แก่หลอดทดลองทั้งสองชุด 2. NADP++ H2O NADPH+H++ O2 เรียก
พบว่า ชุดที ่ 1 เกิดเกลือเฟอรัส (Fe2+) และมีแก๊สออกซิเจนเกิดขึน้ ส่วนชุดที ่ 2 ไม่พบแก๊สออกซิเจน NADP+ วา ตัวออกซิไดส และ H2O เปนตัว
รีดิวซ
แสง แสง 3. ครู ย กตั ว อย า งปฏิ กิ ริ ย าที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การ
ทดลองการสังเคราะหดวยแสง
อธิบายความรู้
นํ้า เกลือเฟอรัส (Fe2+) ไม่เกิดแก๊ส
คลอโรพลาสต์ที่สกัด และแก๊สออกซิเจน นํ้า ออกซิเจน 1. ครูสุมตัวแทนกลุมออกมานําเสนอใบงานหนา
จากผักโขม ชั้นเรียน
คลอโรพลาสต์ที่
เกลือเฟอริก (Fe3+)
สกัดจากผักโขม 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ทําใบงาน
ภาพที่2.15 การทดลองของโรบิน ฮิลล์ ขยายความเข้าใจ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
จากการทดลอง พบว่า หลอดทดลองทีเ่ ติมเกลือเฟอริก (Fe3+) ลงไป เกลือเฟอริกจะเปลีย่ น ม.5 เลม 1
เป็นเกลือเฟอรัส (Fe2+) และมีแก๊สออกซิเจน (O2) เกิดขึน้ ส่วนหลอดทดลองทีไ่ ม่เติมเกลือเฟอริกจะ 2. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Question
ไม่มีออกซิเจนเกิดขึ้น
โดยทั่วไปเกลือเฟอริกจะเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัสได้จะต้องได้รับไฮโดรเจน ดังนั้น ปฏิกิริยา
ที่เกิดขึ้นในการทดลองนี้ไฮโดรเจนที่แตกตัวมาจากโมเลกุลนํ้าจะมีเกลือเฟอริกมารับ แล้วได้แก๊ส
ออกซิเจนเป็นผลิตภัณฑ์ ดังนั้น เกลือเฟอริกจึงทําหน้าที่เป็นตัวรับไฮโดรเจน
การทดลองของฮิลล์สามารถสรุปได้ว่า “ไฮโดรเจนที่เกลือเฟอริกได้รับและออกซิเจนที่เกิด
ขึ้นมาจากการแตกตัวของนํ้า”
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจากการทดลองนี้มีการปล่อยแก๊สออกซิเจนเช่นเดียวกับพืช แต่ฮิลล์ใช้
เพียงคลอโรพลาสต์ซึ่งเป็นออร์แกเนลล์ที่พบในเซลล์พืช จากการทดลองนี้จึงนําไปสู่แนวคิด
ทีว่ า่ ปฏิกริ ยิ าการสังเคราะห์ดว้ ยแสงน่าจะมีอย่างน้อย 2 ขัน้ ตอนใหญ่ คือ ขัน้ ทีป่ ล่อยแก๊สออกซิเจน
กับขั้นที่เกี่ยวข้องกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาฮิลล์ (Hill’s reaction)
โดยต่อมาเรียกว่า โฟโตไลซิส (photolysis) ซึ่งเป็นปฏิกิริยาที่นํ้าแตกตัวออกโดยแสงและได้
แก๊สออกซิเจนออกมา

การสังเคราะห์ 69
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


นักวิทยาศาสตรทานใดที่คนพบวา การแตกตัวของนํ้าตองมี ครูอาจใหความรูเพิ่มเติมวา เกลือเฟอริกเปลี่ยนเปนเกลือเฟอรัสไดเพราะ
ตัวรับอิเล็กตรอน จึงจะมีออกซิเจนออกมาเปนผลิตภัณฑ ไดรับอิเล็กตรอนจากนํ้า แสดงวา เกลือเฟอริกทําหนาที่เปนตัวออกซิไดส
1. แวน นีล 2. เองเกลมัน เรียกปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นวา ปฏิกิริยารีดักชัน (Reduction reaction) ซึ่งเปน
3. อินเก็น ฮูซ 4. โรบิน ฮิลล ปฏิกริ ยิ าทีม่ กี ารรับอิเล็กตรอน โดยสารทีเ่ ปนตัวรับอิเล็กตรอนจะมีเลขออกซิเดชัน
5. จูเลียส ซาซ ลดลง สามารถเขียนสมการได ดังนี้
(วิเคราะหคําตอบ แวน นีล พบวา กระบวนการสังเคราะหดวย Fe3+ + e- Fe2+
แสงทําใหโมเลกุลนํ้าแยกออกเปนออกซิเจนอิสระ เองเกลมัน
พบวา พืชสังเคราะหดวยแสงไดดีที่คลื่นแสงสีแดงและนํ้าเงิน
อินเก็น ฮูซ พบวา พืชเก็บธาตุคารบอนไวในรูปของสารอินทรีย
โรบิน ฮิลล พบวา โฟโตลิซิสหรือปฏิกิริยาที่นํ้าแตกตัวเนื่องจาก
แสง จูเลียส ซาซ พบวา สารอินทรียที่พืชสรางขึ้นบริเวณใบพืช คือ
นํ้าตาล ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T79
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครูและนักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญและเสนอ ในปี พ.ศ. 2494 แดเนียล อาร์นอน (Daniel Arnon) และคณะแห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่
ความคิดเห็นวา ผลการทดลองของนักวิทยาศาสตร เบิรก์ ลีย ์ ได้ศกึ ษารายละเอียดและทดลองต่อจากการทดลองของฮิลล์ โดยใส่นาํ้ และคลอโรพลาสต์
1 2 ลง
ในอดีตที่เกี่ยวของกับกระบวนการสังเคราะหดวย +
ในหลอดทดลอง ก. จากนัน้ เติม NADP และ ADP + Pi แล้วให้แสง ปรากฏว่าเกิด NADPH+H และ +
+
และ
แสง มีสวนสนับสนุนขอเท็จจริงของกระบวนการ ATP และแก๊สออกซิเจนขึ้น ในขณะที่หลอดทดลอง ข. เติมเพียง ADP + Pi โดยไม่เติม NADP+
สังเคราะหดวยแสงในปจจุบันอยางไร แลวให แล้วให้แสง ปรากฏว่าไม่มีแก๊สออกซิเจนเกิดขึ้น แต่เกิด ATP เพียงอย่างเดียว
นั ก เรี ย นทํ า แผ น พั บ เรื่ อ ง การทดลองของนั ก แสง แสง
วิทยาศาสตรในอดีตที่เกี่ยวของกับกระบวนการ
สังเคราะหดวยแสง
นํ้า นํ้า
NADPH+H+ + ATP + O2 ATP
คลอโรพลาสต์ที่สกัด คลอโรพลาสต์ที่สกัด
จากผักโขม จากผักโขม
NADP+ + ADP + Pi ADP + Pi
ก. ข.
ภาพที่2.16 การทดลองของอาร์นอนเมื่อให้แสงแต่ไม่ให้ CO2 (ก.) เติม NADP (ข.) ไม่เติม NADP+
+
ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากการทดลองทําให้ทราบว่า ถ้ามีตวั รับอิเล็กตรอน (NADP+) พืชจะสามารถใช้พลังงานจาก


แสงในการทําให้นํ้าแตกตัว ได้แก๊สออกซิเจน ATP และ NADPH+H+ แต่ถ้าไม่มีตัวรับอิเล็กตรอน
พืชจะยังสามารถสร้าง ATP ได้ โดยไม่เกิดแก๊สออกซิเจน
ต่อมาอาร์กอนศึกษาเพิ่มเติม โดยเติม CO2 NADPH+H+ และ ATP ลงในหลอดทดลอง
แต่ไม่ให้แสง ผลปรากฏว่าเกิดนํ้าตาลขึ้น แสดงว่าปัจจัยในการสังเคราะห์นํ้าตาล คือ ATP และ
NADPH+H+ ไม่ใช่แสง

นํา้
นํ้าตาล + ADP + Pi + NADP+
คลอโรพลาสต์ที่สกัด
จากผักโขม
CO2 + ATP + NADPH+H+

ภาพที่2.17 การทดลองของอาร์นอนโดยไม่ให้แสง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

70

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 NADP+ หรือนิโคตินาไมดอะดีนนี ไดนิวคลีโอไทดฟอสเฟต (Nicotinamide นักวิทยาศาสตรทา นใดสรุปวา การสังเคราะหดว ยแสงประกอบ
adenine dinucleotide phosphate) เปนสารอินทรียชนิดหนึ่ง ทําหนาที่เปน ดวย 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาที่ตองใชแสงและการตรึงคารบอน-
ตัวรับไฮโดรเจนในกระบวนการสังเคราะหดวยแสง เปนโคแฟกเตอรที่ใชในการ ไดออกไซด
สังเคราะหสาร เชน การสรางไขมัน นิวคลีโอไทด กรดนิวคลีอิก 1. เองเกลมัน
2 NADPH+H+ เปนตัวใหอิเล็กตรอนแก NADP+ โดย NADPH+H+ ตางจาก 2. จูเลียส ซาซ
NADH ตรงที่มีหมูฟอสเฟตเพิ่มที่คารบอนตําแหนงที่ 2 ของนํ้าตาลไรโบสซึ่งจับ 3. ฌอง ซีนีบิเยร
กับเบสอะดีนีน 4. แวน เฮลมองท
5. แดเนียล อารนอน
(วิเคราะหคําตอบ เองเกลมัน พบวา พืชสังเคราะหดวยแสงได
ดีที่คลื่นแสงสีแดงและนํ้าเงิน จูเลียส ซาซ พบวา สารอินทรียที่พืช
สรางขึ้นบริเวณใบพืช คือ นํ้าตาล ฌอง ซีนีบิเยร พบวา แสงทําให
พืชเปลี่ยนอากาศเสียเปนอากาศดี แวน เฮลมองท พบวา นํ้าหนัก
ของตนหลิวที่เพิ่มขึ้นมาจากนํ้าเทานั้น ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T80
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
การศึกษาค้นคว้าของนักวิทยาศาสตร์และนักชีววิทยาใน Biology 1. ตรวจแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรียนรู
อดีตทําให้เราสามารถสรุปได้ว่า ในระบบนิเวศ พืชเป็นผู้ผลิตที่ in real life ที่ 2
ในปัจจุบันมีการนําพืชนํ้ามา 2. ตรวจแบบฝกหัดในหนังสือแบบฝกหัดชีววิทยา
สามารถผลิตอาหารเองได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ใช้บําบัดนํ้าเสียในชุมชน อาศัย
โดยมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และนํา้ เป็นวัตถุดบิ และผลผลิตที่ หลั ก การสั ง เคราะห์ ด ้ ว ยแสง ม.5 เลม 1
ได้ คือ นํา้ ตาล ซึง่ เก็บสะสมอยูใ่ นรูปของแป้งตามส่วนต่าง ๆ ของ ของพื ช มาช่ ว ยเพิ่ ม ปริ ม าณ 3. ตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question
พืช และแก๊สออกซิเจนปล่อยออกสูบ่ รรยากาศให้กบั สิง่ มีชวี ติ นํา ออกซิ เ จนให้ กั บ นํ้ า โดยการ 4. ตรวจใบงาน เรื่อง การทดลองการสังเคราะห
ปล่อยให้นาํ้ เสียขังในแปลงพืชนํา้
ไปใช้ในกระบวนการหายใจ นอกจากนีแ้ สงและสารคลอโรฟิลล์มี ที่ระดับความสูง 30 เซนติเมตร ดวยแสง
บทบาทสําคัญที่ทําให้พืชสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้อีกด้วย จากพื้นแปลง เป็นเวลาอย่าง 5. ประเมินชิ้นงาน เชน แผนพับ รายงาน ผังสรุป
น้อย 1 วัน โดยใชแบบประเมินชิ้นงาน
6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช
Topic แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
Question 7. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ
ค�าชี้แจง:ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้ สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
1. จากการทดลองของฌอง แบบติสท์ ทําไมต้องปิดฝาถังตลอดเวลาและเปิดฝาเฉพาะเวลารดนํ้า 8. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ
2. การทดลองของนักวิทยาศาสตร์คนใดสามารถระบุได้ว่า แก๊สที่ทําให้เทียนไขดับส่งผลให้หนูตาย และ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
แก๊สที่ทําให้หนูตายส่งผลให้เทียนไขดับ คือแก๊สชนิดเดียวกันหรือไม่ และเป็นแก๊สอะไร
3. สารอินทรียท์ สี่ ะสมในส่วนต่าง ๆ ของพืชมาจากไหน และเป็นสารชนิดใด สามารถตรวจสอบได้อย่างไร
4. จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์หลายท่านสามารถสรุปได้หรือไม่ว่า แสงเป็นปัจจัยสําคัญต่อ
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
5. แก๊สออกซิเจนที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นมาจากสารตั้งต้นชนิดใด เพราะเหตุใด
6. จากการทดลองของเองเกลมันได้ข้อสรุปว่าอย่างไร
7. ในการทดลองของโรบิน ฮิลล์ เกลือเฟอริกเปลี่ยนไปเป็นเกลือเฟอรัสได้อย่างไร
8. จากการทดลองของแดเนียล สาร NADP+ ที่เติมลงไปมีผลต่อการสร้าง ATP และ O2หรือไม่ อย่างไร
9. ในการทดลองของแดเนียล อาร์นอน ถ้าเปลีย่ นสารตัง้ ต้นจากแก๊สคาร์บอนได้ออกไซด์เป็นแก๊สออกซิเจน
ผลการทดลองจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
10. จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีต ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

การสังเคราะห์ 71
ด้วยแสง

แนวตอบ Topic Question แนวทางการวัดและประเมินผล


1. เพื่อควบคุมปริมาณดินไมใหสูญหาย หรือปองกันไมใหสิ่งอื่นปะปน
ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การคนควาทีเ่ กีย่ วของกับ
ลงไปในดิน
กระบวนการสังเคราะหดว ยแสง ไดจากการสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดย
2. แกสชนิดเดียวกัน คือ แกสคารบอนไดออกไซด
ศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมที่
3. มาจากแกสคารบอนไดออกไซด ตรวจสอบจากสารละลายไอโอดีน
อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 2
4. ไดจากการทดลองของแจน อินเก็น ฮูซ
5. นํ้า เพราะออกซิเจนอะตอมของแกสออกซิเจนเปนอะตอมเดียวกับ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ

ออกซิเจนอะตอมของนํ้า ลาดับ
ที่
คะแนน

ชื่อ–สกุล
ของนักเรียน
การแสดง
ความคิดเห็น
การยอมรับฟัง
คนอื่น
การทางาน
ตามที่ได้รับ
มอบหมาย
ความมีน้าใจ
การมี
ส่วนร่วมในการ
ปรับปรุง
รวม
15

6. บริเวณที่มีแบคทีเรียมารวมกลุม คือ บริเวณที่มีการสังเคราะหดวยแสง


ผลงานกลุ่ม คะแนน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

7. ไดรับไฮโดรเจนอะตอมที่แตกตัวออกมาจากโมเลกุลของนํ้า
8. มีผลตอการสราง O2 แตไมมีผลตอการสังเคราะห ATP
9. เปลี่ยนแปลง คือ จะไมไดนํ้าตาลเปนผลิตภัณฑ
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................/.............../...............

เกณฑ์การให้คะแนน

10. แสง นํ้า แกสคารบอนไดออกไซด NADP+ และ ADP + P+


ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-15 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง

T81
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
1. ครูถามคําถาม Prior Knowledge กลไกการสั ง เคราะห ด  ว ย 2. กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
2. ครูเปดสื่อวีดิทัศน https://www.youtube. แสงของพืชเปนอยางไร พืชต้องการแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และนํ้าเป็นวัตถุดิบ
com/watch?v=tzKEnpCJlcU ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงโดยมีคลอโรพลาสต์เป็น
3. หลังจากดูวีดิทัศน ใหนักเรียนเขียนคําถาม ออร์แกเนลล์สําคัญพบในทุกเซลล์ของอวัยวะพืชที่มีสีเขียว
ที่ ต นเองสงสั ย 1 คํ า ถาม และลงชื่ อ ที่ มุ ม กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาแสง
กระดาษ แลวพับกระดาษใหเปนสลาก และ (light reaction) และการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (carbondioxide fixation)
รวบรวมสงมาใหครูเพื่อทํากิจกรรม ดังนี้
- ครู สุ  ม หยิ บ สลากขึ้ น มา 1 คํ า ถาม แล ว 2.1 โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
ใหเจาของคําถามออกมาเขียนคําถามบน คลอโรพลาสต์ส่วนใหญ่มีรูปร่างกลมรี มีความยาวประมาณ 5 ไมโครเมตร กว้าง 2
กระดาน ไมโครเมตร หนา 1-2 ไมโครเมตร พบมากในเซลล์ของใบ ซึ่งแต่ละเซลล์ของพืชจะมีจํานวน
- ครูสุมเรียกนักเรียนอีกหนึ่งคน ตอบคําถาม คลอโรพลาสต์แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์และชนิดของพืช
บนกระดาน
- ครูสมุ หยิบสลากคําถามตอไป แตใหเจาของ โครงสร้างของคลอโรพลาสต
คําถามคนกอนหนาเปนฝายตอบคําถาม 1 เยื่อหุ้มชั้นนอก (outer membrane) : มี
1
- ครูสมุ หยิบสลากตอไปอีกประมาณ 10 สลาก ลักษณะเรียบ ประกอบด้วยฟอสโฟลิพิด 2
4. ใหนักเรียนบันทึกคําถามลงในสมุดบันทึกและ และโปรตีน ทําหน้าที่ควบคุมการผ่านของ
สารในไซโทพลาซึมกับในคลอโรพลาสต์
คําตอบของเพื่อนลงในสมุดบันทึก
2 เยือ่ หุม้ ชัน้ ใน (inner membrane) : เยือ่ หุม้
ชั้นถัดเข้ามาจากเยื่อหุ้มชั้นนอก
3
3 ไทลาคอยด์ (thylakoid) : เนือ้ เยือ่ ส่วนทีพ่ บั 4
เหมือนเป็นถุงที่มีลักษณะแบนซ้อนทับกัน
5
เป็นชั้น ภายในมีช่องที่เรียกว่า ลูเมน
(lumen) ซึ่งมีของเหลวและรงควัตถุต่าง ๆ
บรรจุอยู่ 6

4 กรานุม (granum) : ส่วนของไทลาคอยด์


ทีม่ ลี กั ษณะคล้ายเหรียญซ้อนทับกันเป็นชัน้ ๆ ภาพที่2.18 โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
ที่มา : คลังภาพ อจท.
5 สโตรมา (stroma) : ของเหลวภายใน
แนวตอบ Prior Knowledge คลอโรพลาสต์ ประกอบด้วยเอนไซม์ตา่ ง ๆ 6 สโตรมาลาเมลลา (stroma lamella) : เนื้อเยื่อของ
กลไกการสังเคราะหดวยแสงของพืช แบงออก ที่จําเป็นสําหรับการสังเคราะห์ด้วยแสง ไทลาคอยด์ส่วนที่ไม่ได้ซ้อนทับกันซึ่งอยู่ระหว่าง
กรานุม
ไดเปน 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาแสงเพื่อเปลี่ยน
พลังงานแสงใหเปนพลังงานเคมี และกระบวนการ โครงสรางของคลอโรพลาสต
72
ตรึงแกสคารบอนไดออกไซดจากบรรยากาศ จะใช https://www.aksorn.com/interactive3D/RNB22
พลังงานเคมีเปลี่ยนสารตั้งตนใหเปนผลิตภัณฑ

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


กอนเริม่ เขาสูเ รียนในหัวขอนี้ ครูอาจทบความรูเ ดิมของนักเรียนเกีย่ วกับสารสี เมมเบรนที่ซอนเปนชั้นๆ ในคลอโรพลาสตเรียกวาอะไร
คลอโรฟลลและหนาทีส่ าํ คัญของคลอโรพลาสต จากนัน้ ครูนาํ ภาพโครงสรางของใบ 1. ลูเมน
ซึง่ ประกอบดวยเซลลทมี่ คี ลอโรพลาสต และภาพโครงสรางของคลอโรพลาสตมา 2. กรานุม
ใชประกอบการสอน และรวมกันอภิปรายวา สวนประกอบของคลอโรพลาสต ซึง่ 3. สโตรมา
ประกอบดวยเยือ่ หุม ไทลาคอยดลเู มน สโตรมา ไทลาคอยด กรานุม ซึง่ แตละสวน 4. ไทลาคอยด
มีบทบาทและหนาทีท่ แี่ ตกตางกันและสอดคลองกับกระบวนการสังเคราะหดว ยแสง 5. แผนคลอโรฟลล
(วิเคราะหคาํ ตอบ คลอโรพลาสตเปนออรแกแนลลทมี่ เี ยือ่ หุม 2 ชัน้
สื่อ Digital ภายในมีของเหลวที่เรียกวา สโตรมา ซึ่งภายในมีชั้นที่พับไปมา
เรียกวา กรานุม บริเวณผิวของกรานุม เรียกวา ไทลาคอยด
ครูใหนกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับโครงสรางของคลอโรพลาสต จาก QR ซึ่งเปนที่อยูของสารสีสําหรับการสังเคราะหดวยแสง ระหวาง
code 3D เรื่อง โครงสรางของคลอโรพลาสต กรานุมมีเยือ่ ทีเ่ ชือ่ มโยงแตละกรานุมไว เรียกวา สโตรมาลาเมลลา
ดังนัน้ ตอบขอ 2.)
โครงสรางของคลอโรพลาสต
T82 www.aksorn.com/interactive3D/RKB22
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
ไทลาคอยด์ประกอบด้วยเยือ่ หุม้ 2 ชัน้ ซึง่ มีคลอโรฟิลล์และสารสีอนื่ ๆ ติดอยูบ่ นแผ่นไทลาคอยด์ 1. ใหนักเรียนศึกษาโครงสรางของคลอโรพลาสต
และกรานุมจํานวนมากซึ่งมีขนาดแตกต่างกัน โดยภายในกรานุมที่มีขนาดใหญ่จะมีกลุ่มของ ในหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1
สารสีระบบแสง I และสารสีระบบแสง II ซึ่งกรานุมจะทําหน้าที่รับพลังงานแสงทําให้อิเล็กตรอนมี 2. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 4-5 คน ทําใบงาน
พลังงานสูงขึน้ ส่วนกรานุมทีม่ ขี นาดเล็กจะเป็นทีอ่ ยูข่ องเอนไซม์ตา่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับกระบวนการ เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของคลอโรพลาสต
ถ่ายทอดอิเล็กตรอนในปฏิ 1 กิริยาใช้
2 แสง ส่วนในสโตรมาจะมีเอนไซม์ที่จําเป็นสําหรับการสังเคราะห์ ตอนที่ 1
ด้วยแสง รวมทั้งมี DNA RNA และไรโบโซม ทําให้คลอโรพลาสต์สามารถจําลองตัวเอง และผลิต
โปรตีนที่เป็นเอนไซม์ที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ อธิบายความรู้
1. ใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนกลุมออกมา
2.2 สารสี ใ นปฏิกิริยาแสง
นําเสนอใบงาน ตอนที่ 1
จากการทดลองสกัดคลอโรฟิลล์และแคโรทีนอยด์จากใบของพืชชนิดหนึง่ แล้วผ่านแสงแต่ละ
2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา
สีเข้าไปในสารละลายของคลอโรฟิลล์และแคโรทีนอยด์ จากนั้นวัดปริมาณแสงที่คลอโรฟิลล์และ
ใบงาน โดยใชคําถาม ดังนี้
แคโรทีนอยด์ดูดกลืนไว้แล้วนํามาเขียนกราฟได้ ดังภาพ
ï• คลอโรพลาสตมีเยื่อหุมกี่ชั้น
80 (แนวตอบ มี 2 ชั้น คือ เยื่อหุมชั้นในและเยื่อ
คลอโรฟิลล์เอ หุมชั้นนอก)
การดูดกลืนแสง (%)

แคโรทีนอยด์ ï• สวนใหญคลอโรพลาสตพบมากทีส่ ว นประกอบ


60
คลอโรฟิลล์บี
ใดของพืช
40 (แนวตอบ ใบ)
ï• ปฏิกิริยาแสงเกิดขึ้นที่บริเวณใดของคลอ-
20 โรพลาสต
(แนวตอบ เยื่อหุมไทลาคอยด)
400 500 600 700 ï• การตรึงคารบอนไดออกไซดเกิดขึน้ ทีบ่ ริเวณ
ความยาวคลื่น (nm) ใดของคลอโรพลาสต
ภาพที่2.19 กราฟเปรียบเทียบการดูดกลืนแสงของคลอโรฟิลล์เอ คลอโรฟิลล์บี และแคโรทีนอยด์ จากใบพืชชนิดหนึ่ง (แนวตอบ สโตรมา)
ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากกราฟจะเห็นว่า คลอโรฟิลล์เอ คลอโรฟิลล์บี และแคโรทีนอยด์ที่พบอยู่ในใบของพืช


สามารถดูดกลืนแสงในช่วงความยาวคลืน่ ที่แตกต่างกัน โดยคลอโรฟิลล์เอ สามารถดูดกลืนแสงได้
มากในช่วงความยาวคลื่น 2 ช่วง คือ ช่วงความยาวคลื่น 450 และ 680 นาโนเมตร แต่ไม่ดูดกลืน
แสงในช่วงความยาวคลื่น 500 - 600 นาโนเมตร ส่วนคลอโรฟิลล์บี และแคโรทีนอยด์ สามารถดูด
กลืนแสงได้ในช่วงความยาวคลื่นที่ต่างกัน
การสังเคราะห์ 73
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


เมื่อสองไฟตรงไปยังสารละลายคลอโรฟลล แถบคลื่นแสงที่ 1 DNA สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ (deoxyribonucleic acid; DNA) เปน
สะทอนออกมาจากสารละลายนั้นมากที่สุดคือคลื่นแสงใด กรดนิวคลีอิก (nucleic acid) ทําหนาที่เก็บขอมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
1. สม สวนใหญอยูในรูปโครโมโซม (chromosome) ดีเอ็นเอมีหนาที่สําคัญ 2 ประการ
2. แดง คือ การจําลองตัวเอง และการถายทอดขอมูลผานอารเอ็นเอ
3. เขียว 2 RNA ประกอบดวยสายยาวของไรโบนิวคลีโอไทดที่ไมแตกกิ่งกาน ซึ่ง
4. นํ้าเงิน สั้นกวาโมเลกุลของ DNA แตมีปริมาณในเซลลมากกวา RNA มีทั้งหมด 3 ชนิด
5. นํ้าตาล คือ เมสเซนเจอรอารเอ็นเอ ทรานสเฟอรอารเอ็นเอ และไรโบโซมอลอารเอ็นเอ
(วิเคราะหคําตอบ คลอโรฟลลเปนรงควัตถุท่ีมีมากในพืชทั่วไป
ซึ่งเปนสารสีที่ไมดูดกลืนแสงสีเขียวจึงสะทอนกลับเขาสูตา ทําให
มองเห็นพืชเปนสีเขียว ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T83
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนศึกษากราฟการดูดกลืนแสงของ จากการศึกษาอัตราการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืชในช่วงความยาวคลืน่ ทีแ่ ตกต่างกัน พบว่า
ใบพืชตัวอยาง ในหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นมากในช่วงที่สารสีต่าง ๆ ดูดกลืนแสงได้มาก แสดงให้เห็นว่า
เลม 1 ความสามารถในการดูดกลืนแสงของสารสีต่าง ๆ มีผลโดยตรงต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
2. ครูเขียนคําถามบนกระดาน แลวใหนักเรียน ของพืช ดังภาพ
สืบคนขอมูลและตอบคําถามลงในสมุดบันทึก
ï• สารสีที่สกัดไดจากใบพืช ไดแกอะไรบาง
( แนวตอบ คลอโรฟ ล ล เ อ คลอโรฟ ล ล บี

อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
แคโรทีนอยด)
ï• อัตราการสังเคราะหดวยแสงเกิดขึ้นในชวง
ความยาวคลื่นเทาใด
(แนวตอบ ประมาณชวง 400-500 และชวง
600-700 นาโนเมตร)
400 500 600 700
ï• พื ช แต ล ะชนิ ด มี ส ารสี ที่ เ หมื อ นกั น หรื อ ไม
ความยาวคลื่น (nm)
เพราะเหตุใด
(แนวตอบ ไมเหมือนกัน สังเกตไดจากเรามอง ภาพที่2.20 กราฟแสดงอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ
เห็นพืชมีสีที่แตกตางกัน) ที่มา : คลังภาพ อจท.
3. ให นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ กลุ  ม สารสี
ที่เกี่ยวของกับปฏิกิริยาแสงทั้งในพืชและสิ่งมี จากกราฟจะเห็นว่า ในช่วงความยาวคลื่น 500 - 600 นาโนเมตร ซึ่งสารสีทั้ง 3 ชนิดไม่มี
ชีวติ อืน่ จากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1 การดูดกลืนแสงนั้น แต่ยังพบอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงอยู่ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า นอกจากสารสีทั้ง
3 ชนิดแล้ว ในพืชอาจมีสารสีชนิดอื่นที่สามารถดูดกลืนแสงและเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงได้

B iology
Focus แอนโทไซยานิน
แอนโทไซยานินเป็นรงควัตถุ หรือสารสีในกลุม่ ฟลาโวนอยด์ มักพบในพืชทัง้ ในดอกและในผล
ให้สีแดง สีนํ้าเงินม่วง ละลายนํ้าได้ดี แอนโทไซยานินจะดูดกลืนแสงในช่วงความยาวคลื่น 490-550
นาโนเมตร แอนโทไซยานินมีบทบาทต่อการป้องการเกิดโรคเรือ้ รังต่าง ๆ เช่น โรคเกีย่ วกับหลอดเลือด
หัวใจ (cardiovascular disease) โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน

74

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจสรุปและเพิม่ เติมขอมูลเกีย่ วกับการดูดกลืนแสงของสารสีชนิดตาง ๆ พลังงานแสงจากดวงอาทิตยที่คลอโรฟลลดูดกลืนไว จะถูกนํา
เชน คลอโรฟลลเอ ดูดกลืนพลังงานแสงทีค่ วามยาวคลืน่ 400-500 และ 650-700 ไปใชในกิจกรรมใด
นาโนเมตร คลอโรฟลลบี ดูดกลืนพลังงานแสงไดดีที่ความยาวคลื่น 450-500 1. แยกนํ้า
และ 630-670 นาโนเมตร แคโรทีนอยด ดูดกลืนพลังงานแสงไดที่ความยาวคลื่น 2. สังเคราะหแปง
660-700 นาโนเมตรขึ้นไป 3. สังเคราะห ATP
4. สังเคราะหโปรตีน
5. ตรึงคารบอนไดออกไซด
(วิเคราะหคําตอบ กระบวนการสังเคราะหดวยแสง คือ การดูด
กลืนพลังงานแสงจากดวงอาทิตยอาศัยคลอโรฟลลชวยในการ
ดูดกลืนแสง แลวเปลี่ยนใหเปนพลังงานเคมี นั่นคือ พลังงาน ATP
เพื่อนําพลังงานไปใชในการผลิตสารอินทรีย หรือนํ้าตาล ดังนั้น
ตอบขอ 3.)

T84
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับสาร
สิ่งมีชีวิตที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้มีทั้งสิ่งมีชีวิตพวกยูคาริโอต เช่น พืชและสาหร่าย
ต่าง ๆ จะพบสารสีอยู่ในคลอโรพลาสต์ และสิ่งมีชีวิตพวกโพรคาริโอต จะพบสารสีต่าง ๆ อยู่ใน สีในสิ่งมีชีวิตตางๆ จากตารางที่ 2.1 เพื่อใหได
เยื่อหุ้มเซลล์หรือองค์ประกอบอื่น ๆ ที่เปลี่ยนแปลงมาจากเยื่อหุ้มเซลล์ ขอสรุปวา สิ่งมีชีวิตประเภทยูคาริโอตและโพร-
คาริโอตบางชนิดลวนมีแคโรทีนอยดเปนองค-
ตารางที่ 2.1 : สารสีที่พบในสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ประกอบ สวนคลอโรฟลลดี และไฟโคบิลินจะพบ
คลอโรฟิลล์ แบคเทอริโอคลอโรฟิลล์ ในสาหรายสีแดงและไซยาโนแบคทีเรีย ทําให
ชนิดของสิ่งมีชีวิต แคโรทีนอยด์ ไฟโคบิลิน
เอ บี ซี ดี เอ บี ซี ดี จําแนกสาหรายสีแดงและไซยาโนแบคทีเรียออก
ยูคาริโอต จากสิ่งมีชีวตอื่นได
มอส + + - - + - - - - -
เฟิร์น + + - - + - - - - -
พืชดอก + + - - + - - - - -
สาหร่ายสีเขียว + + - - + - - - - -
ไดอะตอม + - + - + - - - - -
สาหร่ายสีนํ้าตาล + - + - + - - - - -
สาหร่ายสีแดง + - - + + + - - - -
โพรคาริโอต
ไซยาโนแบคทีเรีย + - - + + + - - - -
โปรคลอโรไฟต์ + + - - + - - - - -
แบคทีเรียสีเขียว - - - - + - + - +/- +/-
(เครื่องหมาย + หมายถึง มี และ - หมายถึง ไม่มี)

จากตารางดังกล่าวจะเห็นว่า แคโรทีนอยด์สามารถพบได้ Biology


in real life
ในสิง่ มีชวี ติ ทุกชนิดทีส่ ามารถสังเคราะห์ดว้ ยแสงได้ คลอโรฟิลล์เอ
ในปัจจุบนั นิยมนําผักใบเขียว
พบในพืชและสาหร่ายทุกชนิด คลอโรฟิลล์บี พบในพืช1และ มาสกัดสารทํายาบํารุงร่างกาย
สาหร่ายสีเขียวเท่านัน้ ส่วนคลอโรฟิลล์ซ ี พบได้ในไดอะตอมและ เนือ่ งจากผักใบเขียวประกอบไป
สาหร่ายสีนํ้าตาล คลอโรฟิลล์ดี พบในสาหร่ายสีแดง นอกจากนี้ ด้วยคลอโรฟิลล์ บีตาแคโรทีน
ในสาหร่ายสีแดงและไซยาโนแบคทีเรียยังพบไฟโคบิลิน และ และวิตามินอี ซึ่งมีสารช่วยต่อ
ต้านเซลล์มะเร็ง บํารุงหัวใจและ
แบคทีเรียสีเขียวยังพบแบคเทอริโอคลอโรฟิลล์อีกด้วย หลอดเลือด

การสังเคราะห์ 75
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


รงควัตถุชนิดใดที่ชวยในการสังเคราะหดวยแสงทางออม และ 1 ไดอะตอม เปนสาหรายเซลลเดียว จัดอยูในอาณาจักรโครมาลวีโอลาตา
มีอยูในสาหรายและแบคทีเรียที่สังเคราะหดวยแสงได สามารถพบไดในแหลงนํ้าทั่วไป ทั้งนํ้าจืดและนํ้าเค็ม โครงสรางของไดอะตอม
1. ไฟโคบิลิน 2. แคโรทีนอยด ประกอบด ว ยซิ ลิ ก าห อ หุ  ม ไซโทพลาซึ ม ซึ่ ง เป น ที่ เ ก็ บ ออร แ กเนลล ทั้ ง หมด
3. คลอโรฟลลเอ 4. คลอโรฟลลบี ไดอะตอมมีประมาณ 10,000 ชนิด แตละชนิดจะมีรูปรางที่แตกตางกัน เชน
5. แอนโทไซยานิน ทรงกลมคลายไข เรือ หรือจาน
(วิเคราะหคําตอบ แคโรที น อยด มี อ ยู  ใ นสิ่ ง มี ชี วิ ต ทุ ก ชนิ ด ที่
สังเคราะหดวยแสงได เชน พืช สาหราย แบคทีเรียที่สังเคราะห
ดวยแสงได สวนไฟโคบิลินพบเฉพาะสาหรายสีแดงและสาหรายสี
เขียวแกมนํ้าเงิน สวนคลอโรฟลลเอและบี ไมพบในแบคทีเรีย สวน
แอนโทไซยานินเปนกลุม ของเม็ดสีทเี่ กิดขึน้ ตามธรรมชาติ ทําใหพชื
มีสีเฉพาะ ไมเกี่ยวของกับกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ดังนั้น
ตอบขอ 2.)

T85
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ให นั ก เรี ย นเลื อ กสารสี ที่ ต นเองสนใจ ตาม ในสิ่งมีชีวิตบางชนิดสามารถพบสารสีมากกว่า 1 ชนิด และปริมาณของสารสีแต่ละชนิด
คําตอบของตัวแทนนักเรียน ดังนี้ จะแตกต่างกัน ดังนั้นการที่สิ่งมีชีวิตมีสีแตกต่างกันนั้น จึงน่าจะเกี่ยวข้องกับปริมาณของสารสี
- กลุมที่ 1 คลอโรฟลล ที่แตกต่างกัน
- กลุมที่ 2 แคโรทีนอยด
- กลุมที่ 3 ไฟโคบิลิน
- กลุมที่ 4 แบคเทอริโอคลอโรฟลล
2. ใหทงั้ 4 กลุม ตัง้ คําถามอยางนอย 5 คําถาม
- กลุมที่ 1 ตั้งคําถามเกี่ยวกับสารสีแคโรที-
นอยด แลวใหกลุม ที่ 2 รวมกันระดมความคิด
อธิบายคําตอบ โกสน
- กลุมที่ 2 ตัง้ คําถามเกีย่ วกับสารสีไฟโคบิลนิ
ภาพที่2.21 พืชที่มีสารสีที่แตกต่างกันทําให้พืชมีสีที่แตกต่างกัน
แล ว ให ก ลุ  ม ที่ 3 ร ว มกั น ระดมความคิ ด ที่มา : คลังภาพ อจท.
อธิบายคําตอบ 1.คลอโรฟิลล์ (chlorophyll) เป็นสารสีเขียว พบในพืช สาหร่าย และไซยาโนแบคทีเรีย
- กลุมที่ 3 ตัง้ คําถามเกีย่ วกับสารสีแบคเทอริ- เป็นสารสีสําคัญที่ทําให้พืชสามารถนําพลังงานจากแสงมาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงได้
โอคลอโรฟลล แลวใหกลุม ที่ 4 รวมกันระดม และดูดกลืนคลื่นแสงสีนํ้าเงินและแสงสีแดงได้ดี ซึ่งคลอโรฟิลล์มี 4 ชนิด ดังนี้
ความคิด อธิบายคําตอบ 1) คลอโรฟิลล์เอ(chlorophyll a) มีสีเขียวแกมนํ้าเงิน พบในพืชและสาหร่ายทุกชนิด
- กลุมที่ 4 ตั้งคําถามเกี่ยวกับสารสีคลอโร- ดูดกลืนคลื่นแสงได้ดีในช่วงความยาวคลื่น 450 และ 680 นาโนเมตร นั่นคือ ดูดกลืนแสงสีม่วง
ฟลล แลวใหกลุม ที่ 1 รวมกันระดมความคิด และสีนํ้าเงินได้ดีที่สุด รองลงมา คือ แสงสีแดง และดูดกลืนแสงสีเขียวได้น้อยที่สุด
อธิบายคําตอบ 2) คลอโรฟิลล์บี (chlorophyll b)
มีสีเขียวแกมเหลือง พบในพืช สาหร่ายทุก
ชนิด และยูกลีนา ดูดกลืนคลื่นแสงได้ดีในช่วง
ความยาวคลืน่ 460 และ 647 นาโนเมตร นัน่ คือ
ดูดกลืนแสงสีนํ้าเงินได้ดีที่สุด รองลงมา คือ
แสงสีสม้ และดูดกลืนแสงสีเขียวได้นอ้ ยทีส่ ดุ โดย
มักพบคลอโรฟิลล์บรี วมอยูก่ บั คลอโรฟิลล์เอ
1 3) คลอโรฟิลล์ซี (chlorophyll c)
ภาพที่ 2.22 คลอโรฟิลล์ซี พบในสาหร่ายเคลป์ ซึ่งเป็น
สาหร่ายสีนํ้าตาล มีสีเขียว พบในสาหร่ายสีนํ้าตาล ไดอะตอม
ที่มา : คลังภาพ อจท. และไดโนแฟลเจลเลต
4) คลอโรฟิลล์ดี(chlorophyll d) มีสีเขียว พบในสาหร่ายสีแดงและแบคทีเรียสีเขียว
76

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 สาหรายเคลป คือ สาหรายสีนํ้าตาล มีความยาวตั้งแต 10 เซนติเมตร ถึง แบคทีเรียที่สังเคราะหดวยแสงไดมีรงควัตถุตามขอใด
100 เมตร พบในทะเลนํ้าลึกซึ่งเปนแหลงที่อุดมไปดวยแรธาตุตางๆ และ 1. แคโรทีนอยดและแซนโทฟลล
เปนเขตที่สะอาดปราศจากสารพิษที่ปนเปอนมาจากพื้นดิน ตางจากสาหราย 2. แคโรทีนอยดและคลอโรฟลลเอและซี
สไปรูลินา ซึ่งเปนเพียงสาหรายเซลลเดียวขนาดเล็กที่ไมไดอยูในทะเลนํ้าลึก 3. แคโรทีนอยดไฟโคบิลิน และแซนโทฟลล
4. แคโรทีนอยดและแบคเทอริโอคลอโรฟลลบี
5. แคโรทีนอยดและแบคเทอริโอคลอโรฟลลเอ ซี และดี
(วิเคราะหคําตอบ แบคที เ รี ย ที่ ส ามารถสั ง เคราะห ด  ว ยแสงได
จะพบรงควัตถุแคโรทีนอยด แบคเทอริโอคลอโรฟลลเอ ซี และดี
แตจะไมพบแบคเทอริโอคลอโรฟลลบี ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T86
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2.แคโรทีนอยด์ (carotenoid) เป็นสารประกอบจําพวกไขมัน 3. ครูเฉลยคําตอบทีถ่ กู ตอง แลวใหแตละกลุม นับ
พบได้ ใ นสิ่ ง มี ชี วิ ต ทุ ก ชนิ ด ที่ สั ง เคราะห์ ด ้ ว ยแสงได้ เช่ น พื ช คะแนนของตนเอง
สาหร่าย แบคทีเรียที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้ แคโรทีนอยด์พบอยู่ 4. เรียงลําดับคะแนนจากมากที่สุดไปนอยสุด
ในคลอโรพลาสต์ตามส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น ดอกไม้ ผลไม้สกุ เพื่อจัดทําผังมโนทัศน แผนพับ รายงาน และ
หรือใบไม้ที่แก่ ซึ่งแคโรทีนอยด์ประกอบด้วยสารสี 2 ชนิด ปายนิเทศ ตามลําดับคะแนนจากมากที่สุดไป
ดังนี้ นอยที่สุด แลวสงตัวแทนออกมานําเสนอหนา
1) แคโรทีน (carotene) เป็นสารสีแดงหรือสีส้ม ชั้นเรียน
พบได้ในพืชและสาหร่ายทุกชนิด ซึง่ แคโรทีนสามารถ 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับสารสี
ถูกสังเคราะห์ต่อไปเป็นวิตามินเอในร่างกายของ ไดแก คลอโรฟลล แคโรทีนอยด ไฟโคบิลิน
สัตว์ได้ และแบคเทอริโอคลอโรฟลล
2) แซนโทฟิลล์ (xanthophyll) เป็นสาร
ภาพที่ 2.23 แคโรทีนพบมากในผักผลไม้ที่มีสีแดง
สีเหลืองหรือสีนํ้าตาล พบในพืชและสาหร่าย ส้ม เหลือง และเขียว
ทุกชนิด ที่มา : คลังภาพ อจท.
3.ไฟโคบิลนิ (phycobilin) เป็นสารสีทมี่ อี ยูเ่ ฉพาะในสาหร่ายสีแดงและไซยาโนแบคทีเรีย
ซึ่งประกอบด้วยสารสี 2 ชนิด ดังนี้
1) ไฟโคอีรที ริน(phycoerythrin) เป็นสารสีแดงแกมนํา้ ตาล พบในสาหร่ายสีแดง สามารถ
ดูดกลืนแสงสีเขียวที่มีความยาวคลื่น 495 และ 565 นาโนเมตร ได้มากที่สุด
2) ไฟโคไซยานิน (phycocyanin) เป็นสารสีเขียวแกมนํ้าเงิน พบในสาหร่ายสีเขียว
แกมนํ้าเงิน สามารถดูดกลืนแสงสีเขียวและสีแดงที่มีความยาวคลื่น 550 และ 615 นาโนเมตร
ได้มากที่สุด
4.แบคเทอริโอคลอโรฟิลล์ (bacteriochlorophyll) เป็นสารสีเขียวคล้ายคลอโรฟิลล์เอ
แต่เนื่องจากมีสารสีพวกแคโรทีนอยด์หุ้มอยู่ภายนอก จึงเห็นเป็นสีแดง สีม่วง หรือสีเหลือง
พบในแบคทีเรียชนิดเพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย (purple sulfur bacteria) และเพอเพิล-นอนซัลเฟอร์
แบคทีเรีย (purple non-sulfur bacteria) สําหรับแบคทีเรียสีเขียว (green bacteria) มีสารสีทเี่ รียกว่า
แบคทีริโอไวริดิน (bacterio-viridin) ซึ่งเป็นสารสีที่มีโครงสร้างเหมือนกับแบคทีริโอคลอโรฟิลล์
แต่ไม่มีแคโรทีนอยด์หุ้ม จึงเห็นเป็นสีเขียว
กลุ่มของสารสีเหล่านี้จะฝังตัวอยู่บนเยื่อไทลาคอยด์ในคลอโรพลาสต์ ซึ่งทําหน้าที่
รับพลังงานแสงแล้วส่งต่อไปตามลําดับจนถึงคลอโรฟิลล์เอโมเลกุลพิเศษทีเ่ ป็นศูนย์กลางปฏิกริ ยิ า
(reaction center) ของระบบแสง ซึ่งกลุ่มสารสีที่ทําหน้าที่รับและส่งพลังงานแสงเหล่านี้ เรียกว่า
1
แอนเทนนา (antenna)
การสังเคราะห์ 77
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


แบคเทอริโอคลอโรฟลลเปนสารสีที่มีสีคลายกับรงควัตถุใด 1 แอนเทนนา คือ กลุมสารสีที่อยูบริเวณที่เยื่อหุมไทลาคอยด ทําหนาที่
1. แซนโทฟลล รับสงพลังงานแสงตามลําดับขั้นจนถึงศูนยกลางของปฏิกิริยา
2. แคโรทีนอยด
3. คลอโรฟลลดี
4. คลอโรฟลลเอ สื่อ Digital
5. ไฟโคไซยานิน
(วิเคราะหคําตอบ แบคเทอริโอคลอโรฟลลเปนสารสีเขียวคลาย ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
กับคลอโรฟลลเอ แตเนื่องจากมีสารสีพวกแคโรทีนอยดหุมอยู การแยกสารสีที่สกัดไดจากใบผักโขมจาก
จึงทําใหเห็นเปนสีแดง มวง หรือเหลือง สวนมากพบในแบคทีเรีย Youtube เรื่อง Paper Chromatography
ชนิดเพอเพิลซัลเฟอรแบคทีเรีย และเพอเพิล-นอนซัลเฟอรแบคทีเรีย - MeitY OLabs (https://www.youtube.
ดังนั้น ตอบขอ 4.) com/watch?v=7q5HDMXSdtU)

T87
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1. ใหนักเรียนจับกลุม 5-6 คน ทํากิจกรรม ความ • การสังเกต
สามารถในการดู ด กลื น แสงของสารสี ช นิ ด ความสามารถในการดูดกลืนแสงของสารสีชนิดต่าง ๆ • การทดลอง
• การจัดกระทําและสื่อ
ตางๆ จิตวิทยาศาสตร์
2. ใหสมาชิกภายในกลุม แบงภาระหนาทีร่ บั ผิดชอบ จุดประสงค์ • ความสนใจใฝ่รู้
• ความรับผิดชอบ
โดยสมาชิกในกลุมมีบทบาทและหนาที่ของ 1. สกัดสารสีจากใบไม้ได้ • ความรอบคอบ

ตนเอง ดังนี้ 2. ศึกษาการดูดกลืนแสงของสารสีที่สกัดได้จากใบไม้


- สมาชิกคนที่ 1 : ทํ า ห น  า ที่ เ ต รี ย ม วั ส ดุ
อุปกรณ วัสดุอปุ กรณ์
- สมาชิกคนที่ 2 : ทํ า หน า ที่ อ  า นวิ ธี ก ารทํ า 1. ใบไม้/ผักชนิดต่าง ๆ ประมาณ 20 กรัม 9. กระดาษกรอง
กิจกรรม และนํามาอธิบายใหสมาชิกภายใน 2. แอลกอฮอล์ 95% จํานวน 50 ml 10. ขวดรูปชมพู่ ขนาด 250 ml
กลุมฟง 3. นํ้ากลั่นจํานวน 35 ml 11. บีกเกอร์ขนาด 250 ml
4. ปิโตรเลียมอีเทอร์ (หรือจะใช้เฮกเซนแทนก็ได้) 12. กระบอกตวง ขนาด 100 ml
- สมาชิกคนที่ 3 และ 4 : ทําหนาที่บันทึกผล 5. มีดสําหรับหั่นใบไม้ 13. หลอดหยดสาร
การทํากิจกรรม 6. เครื่องชั่ง 14. แท่งแก้วคนสาร
- สมาชิกคนที่ 5 และ 6 : ทํ า หน า ที่ นํ า เสนอ 7. โกร่งบดสาร 15. ชุดอุปกรณ์วัดการดูดกลืนแสง
ผลที่ไดจากการทํากิจกรรม 8. กรวยกรอง

วิธปี ฏิบตั ิ
1. สกัดสารสีจากพืช โดยมีขนั้ ตอน ดังนี้
1.1 นําใบไม้หรือพืชผักต่าง ๆ มาล้างนํ้าให้สะอาด แล้วตัดเป็นชิ้น Safety first
เล็ก ๆ นําไปบดให้ละเอียด สารละลายเฮกเซนและไอระเหย
1.2 นําใบไม้ที่บดละเอียดแล้วมาชั่งให้ได้ประมาณ 20 กรัม ใส่ใน มีความไวไฟสูง ต้องหลีกเลี่ยง
ขวดรูปชมพู่ ความร้อนและประกายไฟขณะ
1.3 เติมแอลกอฮอล์ 95% จํานวน 50 ml และปิโตรเลียมอีเทอร์ ใช้งาน
(หรือเฮกเซน) 35 ml คนให้เข้ากัน
1.4 ปิดฝา แช่ทิ้งไว้ประมาณ 15 นาที เขย่าขวดเป็นครั้งคราว
1.5 กรองสารละลายที่สกัดได้ด้วยกระดาษกรอง ใส่ในขวดแก้ว
รูปชมพู่ ควรปิดฝาขวดเพื่อป้องกันการระเหย
1.6 ตั้งทิ้งไว้ สารละลายจะแยกออกเป็น 2 ชั้น รินสารละลายแต่ละ
ชั้นใส่หลอดทดลอง แล้วนําไปส่องดูการดูดกลืนแสง

78

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


กอนเริ่มทํากิจกรรม ความสามารถในการดูดกลืนแสงของสารสีชนิดตางๆ ในการทดสอบการดูดแสงของรงควัตถุในใบพืช หากตองการ
ครูอาจแนะนํานักเรียนเกีย่ วกับการเตรียมใบไมหลากสี หรือใบไมทตี่ อ งการตรวจ สกัดคลอโรฟลลบี จะใชตัวทําละลายในขอใด
สอบสารสี โดยแนะนําใหนักเรียนเลือกใบแกมาใชทํากิจกรรม เนื่องจากการนํา 1. คีโตน
ใบแกมาสกัดสารสี จะไดสารสีที่มีความเขมขนมากกวาใบออน 2. นํ้ามัน
3. อีเทอร
4. แอซีโตน
5. แอลกอฮอล
(วิเคราะหคําตอบ คลอโรฟ ล ล บี เ ป น สารละลายมี ขั้ ว มากกว า
คลอโรฟลลเอ เนือ่ งจากมีโซขา งเปนหมูแ อลดีไฮด ดังนัน้ จึงตองใช
ตัวทําละลายที่มีขั้ว เชน นํ้า แอลกอฮอลล ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T88
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
แอลก
อฮอล
ปโิ ตร
เลยี ม
3. ในระหวางการทํากิจกรรมใหสมาชิกภายใน
ใบไม้บดละเอียด อเี ทอ
ใบไม้ ์ ร์ กลุมตั้งคําถามเกี่ยวกับขั้นตอนการทดลองที่
ตนเองสงสัย เชน เพราะเหตุใดจึงตองเติม
แอลกอฮอล แ ละป โ ตรเลี ย มอี เ ทอร แล ว ให
สมาชิกรวมกันสืบคนจากแหลงขอมูลเพือ่ ตอบ
คําถาม
4. หลังจากทํากิจกรรมแลว ใหนักเรียนศึกษา
โครงสรางของเยื่อหุมไทลาคอยดในหนังสือ
กระดาษกรอง เรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1

ภาพที่2.24 กิจกรรมความสามารถในการดูดกลืนแสงของสารสีชนิดต่าง ๆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.

2. จัดชุดอุปกรณ์
1 การดูดกลืนแสง ดังภาพที่ 2.25 เปิดสวิตช์ไฟให้แสงส่องผ่านไปที่แผ่นเกรตติง แสงที่กระทบ
แผ่นเกรตติงนี้จะทําให้เกิดแถบสีรุ้งหรือสเปกตรัมออกมา ซึ่งจะปรากฏอยู่บนฉากรับแสง
2
ฉากรับแสง เกรตติง เลนส์รวมแสง ช่องแสงผ่าน

โคมไฟ

หม้อแปลงไฟฟ้า

ภาพที่2.25 การจัดชุดอุปกรณ์การดูดกลืนแสง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

3. นําหลอดทดลองที่ใส่สารละลายที่สกัดได้ในแต่ละชั้นไปส่องดูการดูดกลืนแสง โดยการนําหลอดทดลอง
วางไว้ที่ด้านหน้าของแหล่งกําเนิดแสง จากนั้นมองดูแถบสี เปรียบเทียบกับการมองแถบสีในครั้งแรก
จะสังเกตเห็นว่า แถบสีบางแถบหายไปหรือความกว้างของแถบสีแคบลง แถบสีที่หายไปหรือแคบลงนั้น
เป็นแถบสีที่ถูกสารสีดูดกลืนไว้
การสังเคราะห์ 79
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ในกระบวนการสังเคราะหดว ยแสง พบวา...............ถูกปลอยออก 1 แผนเกรตติง คือ อุปกรณที่ใชในการตรวจสอบสเปกตรัมของแสงและ
มาจากโมเลกุลของ.................ซึง่ ทําใหเกิด กระบวนการโฟโตไลซิส หาความยาวคลื่นแสง โดยอาศัยคุณสมบัติการแทรกสอดของคลื่น แผนเกรตติง
ซึ่ง...............ถูกนําไปใชในการสรางพลังงาน ATP เพื่อสังเคราะห มีลักษณะเปนแผนวัสดุบางที่ถูกแบงออกเปนชองซึ่งอยูชิดกัน โดยทั่วไป 1
กลูโคส เรียกวา เคมีออสโมซิส (ตามลําดับ) ในชองวางคือสารใด เซนติเมตร แบงออกเปน 10,000 ชอง ซึ่งจํานวนชองของเกรตติงอาจมี 100 ถึง
1. O2, CO2, C 2. C, CO2, O2 10,000 ชองตอเซนติเมตร
+
3. O2, H2O, H 4. H2, H2O, O2 2 เลนสรวมแสง คือ เลนสที่มีลักษณะตรงกลางหนากวาสวนขอบ ทําหนาที่
5. CO, CO2, H2O รวมแสงหรือลูแสงใหเขามารวมที่จุดจุดหนึ่ง เรียกวา จุดรวมแสงหรือจุดโฟกัส
(วิเคราะหคําตอบ โมเลกุลนํ้าที่อยูภายในคลอโรพลาสตจะถูก เมือ่ มีแสง เลนสจะทําใหรงั สีของแสงพุง เขาหากัน และไปตัดกันจริงทีจ่ ดุ โฟกัส
กระตุนดวยปฏิกิริยาแสง ทําใหโมเลกุลนํ้าแตกตัวเปนออกซิเจน
และไฮโดรเจนไอออน (โปรตอน) สงผลใหภายในลูเมนมีโปรตอน
จํานวนมาก ดังนั้น พืชจึงมีกลไลที่เรียกวา เคมีออสโมซิส ซึ่งเปน
กลไกทีเ่ กิดขึน้ ควบคูไ ปกับการสรางพลังงาน ATP กับการลดความ
แตกตางของระดับโปรตอน ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T89
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ให ตั ว แทนของแต ล ะกลุ  ม ออกมานํ า เสนอ ค�าถามท้ายกิจกรรม
?
ผลจากการทํากิจกรรม และอธิบายขอสงสัย
1. เพราะเหตุใดจึงต้องสกัดสารสีจากใบไม้และผักต่าง ๆ ออกมาก่อนที่จะนําไปทดสอบการดูดกลืนแสง
ที่สมาชิกภายในกลุมตั้งคําถาม และนําเสนอ
2. ใบไม้และผักต่าง ๆ มีสารสีเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
ผลจากการสืบคนคําตอบ
2. ครูถามคําถามทายกิจกรรม อภิปรายผลกิจกรรม
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ
ทํากิจกรรม จากกิจกรรม พบว่า สารละลายแยกออกเป็น 2 ชั้น โดยชั้นบนจะเป็นชั้นของปิโตรเลียมอีเทอร์ซึ่งมีสารสี
4. ใหนักเรียนศึกษา เรื่อง โครงสรางสารคลอโร- เขียวละลายอยู ่ ส่วนชัน้ ล่างเป็นชัน้ ของเอทานอลซึง่ มีสารสีอนื่ ละลายอยู ่ เมือ่ นําสารสีทสี่ กัดได้ไปทดสอบความ
ฟลล ในกรอบ Biology Focus เพือ่ ใหนกั เรียน สามารถในการดูดกลืนแสง จะพบว่าสารสีแต่ละชนิดดูดกลืนแสงในช่วงความยาวคลืน่ ต่างกัน โดยหากแสงสีใด
หายไป หรือความกว้างของแถบลดลง แสดงว่าสารสีดูดกลืนแสงที่ช่วงความยาวคลื่นนั้นไว้ เช่น สารสีเขียว
เขาใจถึงหลักการการสกัดสารสีคลอโรฟลล
สามารถดูดกลืนแสงสีนํ้าเงิน (ความยาวคลื่นประมาณ 450-500 nm) และแสงสีแดง (ความยาวคลื่นประมาณ
มากขึ้น
700-750 nm)

B iology
Focus โครงสร้างคลอโรฟลล
คลอโรฟิลล์ทพี่ บในธรรมชาติมอี ยูด่ ว้ ยกันหลายชนิด ซึง่ แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างหลักทีเ่ หมือนกัน
คือ ประกอบด้วยวงแหวนไพรอล (pyrrole ring) จํานวน 4 วง และ โซ่ข้าง (side chain)
โซ่ข้าง ถ้าโซ่ข้างเป็นหมู่เมทิล (-CH3) จะเป็น
โมเลกุลของคลอโรฟิลล์เอ

ถ้าโซ่ข้างเป็นหมู่แอลดีไฮด์ (-CHO) จะ
เป็นโมเลกุลของคลอโรฟิลล์บี
ภาพที่2.26 โครงสร้างคลอโรฟิลล์
ที่มา : de.gowikipedia.org
จากโครงสร้างคลอโรฟิลล์ที่มีโซ่ข้างต่างกัน ส่งผลให้คลอโรฟิลล์ต่างมีสมบัติที่แตกต่างกัน โดย
คลอโรฟิลล์บมี ขี วั้ มากกว่าคลอโรฟิลล์เอเล็กน้อย และคลอโรฟิลล์เอละลายในตัวทําละลายอินทรียแ์ ต่ไม่
ละลายในนํ้า
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
1. เพื่อใหสารสีอยูในสภาพสารละลาย
80
2. มีสารสีเหมือนกัน แตแตกตางกันทีป่ ริมาณ ซึง่
มีมากหรือนอยขึ้นอยูกับพืชแตละชนิด

บันทึก กิจกรรม ขอสอบเนน การคิด


สารคลอโรฟลลจะถูกสกัดออกมาอยูใ นชัน้ เอทานอล เมือ่ นําไปทดสอบความ
ถานําใบไมที่มีสีเขียวไปตมในนํ้าแลวนําไปแชในเอทิลแอล-
สามารถในการดูดกลืนแสง พบวา สารคลอโรฟลลหรือสารสีเขียวสามารถดูดกลืน
กอฮอล 95% หลังจากนั้นนําไปลางและแชในสารละลายไอโอดีน
แสงสีนํ้าเงิน (450-500 นาโนเมตร) และแสงสีแดง (700-750 นาโนเมตร) ได
เจือจาง จงเรียงลําดับเหตุการณที่เกิดขึ้น
ก. ใบซีดขาว ข. เกิดสีนํ้าเงินที่ใบ
ค. เซลลตาย ง. คลอโรฟลลถูกสกัดออกมา
1. ก. ข. ค. ง.
2. ข. ก. ง. ค.
3. ง. ข. ค. ก.
4. ง. ค. ข. ก.
5. ค. ง. ก. ข.
(วิเคราะหคําตอบ คําตอบเปนไปตามตัวเลือก ดังนัน้ ตอบขอ 5.)

T90
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2.3 โครงสรางของเยื่อหุมไทลาคอยด 5. ครูถามคําถามทบทวนความรู เรือ่ ง โครงสราง
เยื่อหุมไทลาคอยดเปนสวนที่ก้ันระหวางสโตรมาที่อยูภายนอกไทลาคอยดกับลูเมนที่อยู ของเยือ่ หุม ไทลาคอยดกอ นเริม่ เขาสูห วั ขอถัดไป
ภายในไทลาคอยด ซึ่งการจัดเรียงตัวบนเยื่อหุมไทลาคอยด คือ ระบบแสง II (photosystem; PSII) ดังนี้
ระบบไซโทโครม (cytochrome system) และระบบแสง I (photosystem; PSI) ï• เยือ่ หุม ไทลาคอยดเปนสวนทีก่ นั ระหวางสวน
ประกอบใดของคลอโรพลาสต
โครงสร้างของเยื่อหุ้มไทลาคอยด์ (แนวตอบ สโตรมากับลูเมน)
1 2 3
ï• กลุม โปรตีนทีจ่ ดั เรียงอยูบ นเยือ่ หุม ไทลาคอยด
ไดแกอะไรบาง
P680 P700 (แนวตอบ ระบบแสง I ระบบแสง II และ
ไซโทโครมคอมเพล็กซ)
ï• ระบบแสง I รับพลังงานแสงขัน้ ตํา่ ทีส่ ดุ เทาใด
ระบบแสง II ไซโทโครมคอมเพล็กซ ระบบแสง I ATP synthase (แนวตอบ 700 นาโนเมตร)
ï• ระบบแสง II รับพลังงานแสงขั้นตํ่าที่สุด
ภาพที่ 2.27 โครงสรางของเยื่อหุมไทลาคอยด
ที่มา : คลังภาพ อจท. เทาใด
1 ระบบแสง II : มีคลอโรฟลลเอเปนศูนยกลาง 2 ไซโทโครมคอมเพล็กซ : ทําหนาที่สงผาน (แนวตอบ 680 นาโนเมตร)
ปฏิ กิ ริ ย า รั บ พลั ง งานแสงขั้ น ตํ่ า ที่ สุ ด ที่ อิ เ ล็ ก ตรอน ซึ่ ง พลั ง งานจากการเคลื่ อ นที่ ï• ไซโทโครมคอมเพล็กซ ทําหนาที่อะไร
ความยาวคลื่น 680 นาโนเมตร เรียกศูนยกลาง ของอิเล็กตรอนจะทําใหโปรตอนเคลื่อนที่จาก (แนวตอบ สงผานอิเล็กตรอน)
ปฏิกิริยาแสง II นี้วา P680 ซึ่งทําหนาที่รับ ภายนอกไทลาคอยดหรือสโตรมาเขามาภายใน
พลั ง งานแสงจากศู น ย เ กิ ด ปฏิ กิ ริ ย าและส ง ไทลาคอยด หรือลูเมน ขยายความเข้าใจ
อิเล็กตรอนไปสูไ ซโทโครมตาง ๆ และระบบแสง I
1. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
3 ระบบแสง I : เปนระบบแสงที่มีคลอโรฟลลเอเปนศูนยกลางปฏิกิริยา รับพลังงานแสงขั้นตํ่าที่สุดที่
ความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร เรียกศูนยกลางปฏิกิริยาแสง I นี้วา P700 ซึ่งระบบแสง I ถูกกระตุนโดย ม.5 เลม 1
อิเล็กตรอนทีถ่ กู สงผานมาจากระบบไซโทโครมและสงตอไปเพือ่ ทําให NADP+ เปลีย่ นเปน NADPH+H+ 2. ใหนักเรียนตอบคําถาม H.O.T.S. ในหนังสือ
เรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1 หนา 82
2.4 ปฏิกิริยาแสง
ปฏิกิริยาแสง (light reaction) เปนปฏิกิริยาที่เปลี่ยนพลังงานแสงใหเปนพลังงานเคมี โดย
แสงจะออกซิไดซโมเลกุลสารนี้ที่ไทลาคอยดของคลอโรพลาสต ทําใหเกิดการถายทอดอิเล็กตรอน
ไดผลิตภัณฑเปน ATP กับ NADPH+H+ ซึง่ พืชนําสารทัง้ สองไปใชได ปฏิกริ ยิ าจะเกิดขึน้ ทีเ่ ยือ่ หุม
ไทลาคอยด โดยแอนเทนนาซึ่งประกอบดวยสารสีตาง ๆ ประมาณ 350 โมเลกุล จะถายทอด
พลังงานแสงทีส่ ารสีดดู กลืนไวไปยังคลอโรฟลลเอชนิดพิเศษทีเ่ ปนศูนยกลางปฏิกริ ยิ าทีฝ่ ง ตัวอยูใ น
กลุมของโปรตีน ซึ่งทําหนาที่เปนตัวรับและถายทอดอิเล็กตรอนตอ ๆ ไปตามลําดับ โดยเรียกกลุม
ของโปรตีน สารสี และตัวรับอิเล็กตรอนนี้วา ระบบแสง (photosystem; PS) การสังเคราะห์ 81
ด้วยแสง

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน สืบคนขอมูลจากแหลง ครูอาจยกตัวอยางเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานอิเล็กตรอนที่นํา
การเรียนรู เชน หนังสือ สื่ออินเทอรเน็ต วารสาร เกี่ยวกับการ มาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เชน แสงจากหลอดไฟเกิดจากธาตุปรอทไดรับ
เปลีย่ นแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอน แลวสรุปลงในกระดาษ พลังงาน ทําใหอิเล็กตรอนของปรอทขึ้นไปอยูที่สภาวะกระตุน (excited state)
A4 และสงตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน จากนั้นอิเล็กตรอนจะกลับสูสภาวะพื้น (ground state) โดยปลอยพลังงานออก
มาซึ่งมีความยาวคลื่นอยูในชวงที่ตาเรามองเห็นเปนแสงสีเขียวแกมฟา
กิจกรรม ทาทาย
ใหนักเรียนวาดภาพโครงสรางคลอโรพลาสตเชื่อมโยงกับ
ปฏิกิริยาแสงและการถายทอดอิเล็กตรอนทั้งแบบเปนวัฏจักรและ
ไมเปนวัฏจักร โดยระบุองคประกอบของคลอโรพลาสตใหครบถวน
และอธิบายขัน้ ตอนการถายทอดอิเล็กตรอนทัง้ แบบเปนวัฏจักรและ
ไมเปนวัฏจักร ลงในกระดาษ A4 ตกแตงใหสวยงาม พรอมนําเสนอ
หนาชัน้ เรียน

T91
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายโครงสรางและ แสง
แสง สโตรมา แสง
หนาทีข่ องคลอโรพลาสต และใหนกั เรียนทําใบงาน
เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของคลอโรพลาสต ใน

พลังงานลดลง
ตอนที่ 2 แอนเทนนา

ขัน้ ประเมิน เยื่อไทลาคอยด์


โมเลกุลสารสี
ตรวจสอบผล
ศูนย์กลางปฏิกิริยาของระบบแสง ศูนย์กลางปฏิกิริยาของระบบแสง
1. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5 ภาพที่ 2.28 การส่งต่อพลังงานแสงไปยังศูนย์กลางปฏิกริ ยิ า ภาพที่2.29 สารสีที่ฝังอยู่ในเยื่อไทลาคอยด์
เลม 1 ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
2. ตรวจใบงาน เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของ สารสีทอี่ ยูบ่ นเยือ่ หุม้ ไทลาคอยด์มโี ครงสร้างโมเลกุลทีป่ ระกอบด้วยอะตอมทีม่ อี เิ ล็กตรอนจํานวน
คลอโรพลาสต หนึง่ เคลือ่ นทีอ่ ยูร่ อบ ๆ นิวเคลียส โดยการเคลือ่ นทีข่ องอิเล็กตรอนเหล่านีจ้ ะมีอยูห่ ลายระดับพลังงาน
3. ประเมินชิ้นงาน เชน ผังมโนทัศน แผนพับ ซึง่ สามารถเปลีย่ นระดับพลังงานได้เมือ่ ได้รบั พลังงานทีเ่ หมาะสม อิเล็กตรอนทีเ่ คลือ่ นทีอ่ ยูใ่ นระดับ
รายงาน ปายนิเทศ โดยใชแบบประเมินชิน้ งาน พลังงานปกติจะเป็นอิเล็กตรอนที่อยู่ในสถานะปกติหรือสถานะพื้น (ground state) แต่เมื่อโมเลกุล
4. สังเกตการปฏิบัติการจากการทํากิจกรรม โดย ของสารสีดูดกลืนพลังงานแสง อิเล็กตรอนจะถูกกระตุ้นให้มี
ใชแบบประเมินการปฏิบัติการ พลังงานสูงขึ้นจนเกิดการเคลื่อนที่สู่ระดับพลังงานสูงขึ้น เรียก H. O. T. S.
5. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช อิเล็กตรอนในสถานะดังกล่าวว่า อิเล็กตรอนในสถานะถูกกระตุน้ คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
(excited state) แต่อย่างไรก็ตาม อิเล็กตรอนที่อยู่ในสถานะถูก สารสี มี บ ทบาท
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล เซลล์เยือ่ บุขา้ งแก้ม
ในกระบวนการ
6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ กระตุ้นจะมีสภาพไม่คงตัว จึงปล่อยพลังงานออกเพื่อกลับเข้า
สั ง เคราะห์ ด ้ ว ย
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม สู่สภาวะปกติ ซึ่งพลังงานที่ถูกปล่อยออกมาจะถ่ายทอดจาก แสงอย่ า งไร หากไม่ มี ส ารสี
โมเลกุลของสารสีหนึ่งไปยังสารสีโมเลกุลอื่นต่อไป และจะถูก จะส่ ง ผลกระทบอย่ า งไรต่ อ
7. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ
ส่งต่อไปเรื่อย ๆ จนเข้าสู่คลอโรฟิลล์เอโมเลกุลพิเศษที่เป็น กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
ศูนย์กลางปฏิกิริยา
แสง อิเล็กตรอน พลังงาน
นิวเคลียส

แนวตอบ H.O.T.S.
ชวยในการดูดกลืนแสงทําใหเกิดการถายทอด
อิ เ ล็ ก ตรอนเป น ลํ า ดั บ ซึ่ ง การเคลื่ อ นที่ ข อง สถานะพื้น สถานะถูกกระตุ้น สถานะพื้น
อิเล็กตรอนกอใหเกิดพลังงานเคมี หากไมมีสารสี ภาพที่2.30 การเปลี่ยนแปลงระดับของอิเล็กตรอนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
พืชจะไมสามารถดูดกลืนแสงและผลิตพลังงานเคมี ที่มา :คลังภาพ อจท.
82
เพือ่ ใชในกระบวนการสังเคราะหดว ยแสง หรือผลิต
อาหารได

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง กระบวนการสังเคราะห พื ช จะนํ า พลั ง งานแสงจากดวงอาทิ ต ย ที่ ดู ด กลื น ไปใช ใ น
ดวยแสง ไดจากการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติการจากการทํากิจกรรม ความ กระบวนการสังเคราะหดวยแสงประมาณรอยละเทาใด
สามารถในการดูดกลืนแสงของสารสีชนิดตางๆ โดยศึกษาเกณฑการวัดและ 1. 5
ประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบตั กิ ารทีอ่ ยูใ นแผนการจัดการเรียนรูป ระจํา 2. 8
หนวยการเรียนรูที่ 2 3. 19
แบบประเมินการปฏิบัติการ
4. 20
5. 40
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบตั ิการจากการทากิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การออกแบบการทดลอง

(วิเคราะหคําตอบ แสงที่ตกกระทบผิวโลก พืชสามารถดูดกลืน


2 การดาเนินการทดลอง
3 การนาเสนอ
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

ไวไดเพียงรอยละ 40 ในรอยละ 40 นี้ จะเกิดการสะทอนและสอง


................./................/................

ผานไปรอยละ 8 และสูญเสียไปในรูปความรอนรอยละ 8 มีเพียง


รอยละ 5 เทานั้นที่พืชนําไปใชในกระบวนการสังเคราะหดวยแสง
สวนอีกรอยละ 19 นั้น สูญเสียไปในกระบวนการเมแทบอลิซึมของ
พืช ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T92
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ

ระบบแสง I ระบบไซโทโครม และระบบแสง II ทําหน้าที่ถ่ายทอดอิเล็กตรอน เพื่อเปลี่ยน 1. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 4 กลุม โดยให


พลังงานแสงให้อยู่ในรูปของพลังงานเคมี ได้แก่ ATP และ NADPH+H+ โดยมีเอนไซม์ NADP นักเรียนนับเลข 1-4 เรียงตอกัน โดยนักเรียน
reductase และเอนไซม์ ATP synthase เป็นตัวสร้างพลังงานดังกล่าว ซึ่งการถ่ายทอดพลังงาน ที่นับไดหมายเลข 1 2 3 และ 4 คือ กลุมที่ 1
เกิดขึ้นได้ 2 ระบบ ลักษณะ คือ การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักรและการถ่ายทอด 2 3 และ 4 ตามลําดับ
อิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร 2. ใหนักเรียนรวมกลุมของตนเอง และรวมกัน
1. การถายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเปนวัฏจักร (non-cyclic electron transfer) สืบคนขอมูลเกี่ยวกับปฏิกิริยาแสง เพื่อตอบ
อาศัยระบบแสงทั้ง 2 ระบบ คือ ระบบแสง I (PSI) และระบบแสง II (PSII) โดยพลังงานแสงที่ คําถาม ดังนี้
สารสีรับไว้จะถูกส่งไปยังศูนย์กลางปฏิกิริยาของระบบแสง และทําให้คลอโรฟิลล์เอที่ระบบแสงทั้ง - ใหกลุมที่ 1 ตอบคําถาม : แอนเทนนา คือ
2 ระบบถูกกระตุ้นจนปล่อยอิเล็กตรอนให้แก่ตัวรับอิเล็กตรอนต่อไป อะไร มีหนาที่สําคัญอยางไร
H+ ATP - ใหกลุมที่ 2 ตอบคําถาม : จงอธิบายการ
สโตรมา (ความเข้มข้น

ADP + P
ส ง ต อ อิ เ ล็ ก ตรอนของโมเลกุ ล สารสี ไ ปยั ง
ของ H+ ตํ่า)

แสง แสง NADP+ NADPH+H+


+ H+ โมเลกุลพิเศษ
H+ H+
- ใหกลุมที่ 3 ตอบคํ า ถาม : สารสี มี บ ทใน
กระบวนการสังเคราะหดวยแสงอยางไร
เยื่อหุ้มไทลาคอยด์

P680 P700
- ใหกลุมที่ 4 ตอบคําถาม : หากไมมีสารสี
จะสงผลตอกระบวนการสังเคราะหดว ยแสง
อยางไร
ลูเมน (ความเข้มข้น

H2 O
ของ H+ สูง)

1 O2 + 2 H+ H+ H+ H+ H+ H+ H+
2

การถ่ายทอด
H+ H+ H+ H+ H+ ขัน้ สอน
ระบบแสง II อิเล็กตรอน ระบบแสง I H+ H+ ATP synthase สํารวจค้นหา
ภาพที่2.31 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักรบนเยื่อไทลาคอยด์ 1. ใหนกั เรียนศึกษาขอมูลเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
B iology ระดับของอิเล็กตรอนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
Focus สารประกอบโปรตีนเชิงซ้อนที่ทําหน้าที่รับส่งอิเล็กตรอน พลังงาน
นอกจากระบบแสง I ระบบแสง II และระบบไซโทโครมแล้ว ยังมีสารประกอบโปรตีนเชิงซ้อน 2. ครูแจกใบงาน เรื่อง ปฏิกิริยาแสง ใหนักเรียน
ที่ทําหน้าที่รับส่งอิเล็กตรอน เช่น พลาสโทควิโนน (plastoquinone : Pq) เป็นโปรตีนที่ฝังอยู่ในเยื่อ แตละกลุมลงมือทําใบงาน โดยใหแตละกลุม
ไทลาคอยด์ ทําหน้าทีร่ บั และส่งอิเล็กตรอนในระยะสัน้ พลาสโทไซยานิน (plastocyanin : Pc) เป็นโปรตีน ศึกษาหัวขอ ดังนี้
ทีม่ ธี าตุทองแดงเป็นองค์ประกอบ ฝังอยูท่ เี่ ยือ่ ด้านในของไทลาคอยด์ สามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้เล็กน้อย และ - ใหกลุม ที่ 1 และ 2 ศึกษา เรือ่ ง การถายทอด
เฟอริดอกซิน (ferredoxin : Fd) เป็นโปรตีนที่มีธาตุเหล็กและกํามะถันเป็นองค์ประกอบ ฝังอยู่ในเยื่อ
ไทลาคอยด์ ทําหน้าที่รับและส่งอิเล็กตรอนไปยัง NADP+ ซึ่งอยู่ในสโตรมา อิเล็กตรอนแบบไมเปนวัฏจักร
- ใหกลุม ที่ 3 และ 4 ศึกษา เรือ่ ง การถายทอด
การสังเคราะห์ 83 อิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักร
ด้วยแสง
3. ครู ว าดภาพโปรตี น ที่ เ รี ย งตั ว อยู  บ นเยื่ อ หุ  ม
ไทลาคอยดบนกระดาน

ขอสอบเนน การคิด
ขอใดคือลําดับการถายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเปนวัฏจักรในกระบวนการสังเคราะหดวยแสง
1. ตัวนําอิเล็กตรอน P680 P700 NADPH+H+ H2O
2. H2O P680 ตัวนําอิเล็กตรอน P700 NADPH+H+
3. H2O P700 ตัวนําอิเล็กตรอน P680 NADPH+H+
4. H2O ตัวนําอิเล็กตรอน P680 P700 NADPH+H+
5. H2O P680 P700 ตัวนําอิเล็กตรอน NADPH+H+
(วิเคราะหคําตอบ เมื่อรงควัตถุระบบแสงที่ 1 และรงควัตถุระบบแสงที่ 2 ถูกกระตุนดวยแสงพรอม
กัน อิเล็กตรอนของรงควัตถุระบบแสงที่ 1 จะถูกสงตอไปเปนทอดๆ ทําใหรงควัตถุระบบแสงที่ 1 ขาด
อิเล็กตรอน โมเลกุลของนํ้าจึงแตกตัวเพื่อใหอิเล็กตรอนและถูกสงไปยังรงควัตถุระบบแสงที่ 2 และสง
ตอไปยังพลาสโทควิโนน ไซโทโครมคอมเพล็กซ พลาสโทไซยานิน รงควัตถุระบบแสงที่ 1 และเฟอริ-
ดอกซิน ตามลําดับ จากนั้น NADP+ จะมารับอิเล็กตรอนเปนตัวสุดทายได NADPH+H+ ดังนั้น ตอบ
ขอ 2.)

T93
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูสุมตัวแทนนักเรียน 6 คน ตอบคําถาม การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เปนวัฏจักร
ชื่อโปรตีนหมายเลข 1-6 ซึ่งจัดเรียงตัวอยูบน
เยื่อหุมไทลาคอยด
ตั ว รั บ อิ เ ล็ ก ตรอน
2. หลังจากตอบคําถามบนกระดาน ครูใหตวั แทน ตัวรับอิเล็กตรอน ลําดับแรก
การ Fd 6
กลุมออกมานําเสนอใบงาน ลําดับแรก ถ่าย 2e- NADP+
Pq ทอด 3 +
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ 1 2e- อิเล NADP รีดักเทส 2H+
ไซโทโครม ็กตรอน 2e- NADPH
ทํากิจกรรมและการทําใบงานภายในหองเรียน

ระดับพลังงาน
คอมเพล็กซ์ +
5 H+
4. ครู สุ  ม เรี ย กนั ก เรี ย น 3-4 คน ออกมาสรุ ป 2H+
2 H2O Pc
+ 2e- แสง
ขั้นตอนการถายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเปน 1 O
2 2
4
P700
วัฏจักร แสง P680

5. ครู สุ  ม เรี ย กนั ก เรี ย น 3-4 คน ออกมาสรุ ป พลังงานในการ PSI


สังเคราะห์
ขั้ น ตอนการถ า ยทอดอิ เ ล็ ก ตรอนแบบเป น PSII
ATP
วัฏจักร
ภาพที่2.32 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร
6. ครู ถ ามคํ า ถามเพื่ อ ทดสอบความเข า ใจของ ที่มา : คลังภาพ อจท.
นักเรียน ดังนี้ 1 พลังงานแสงกระตุ้นโมเลกุลของคลอโรฟิลล์เอในระบบแสง II (PSII) ทําให้มีการปล่
1 อยอิเล็กตรอนให้กับ
ï• ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ด จ ากขั้ น ตอนการถ า ยทอด โฟโตออกซิเดชัน (photo-oxidation)
โมเลกุลของสารที่เป็นตัวรับอิเล็กตรอน ซึ่งเรียกปฏิกิริยานี้ว่า โฟโตออกซิ
อิเล็กตรอนแบบไมเปนวัฏจักรคืออะไร 2 โมเลกุลของนํ้าภายในคลอโรพลาสต์จะถูกพลังงานกระตุ้นให้เกิดการแตกตัว ดังสมการ
(แนวตอบ NADPH+H+ และ ATP) H2O แสง
2H+ + 2e- + 12 O2
ï• ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ด จ ากขั้ น ตอนการถ า ยทอด ซึ่ง 2e- จะถูกนําไปทดแทนอิเล็กตรอนที่เสียไปใน PSII และถ่ายทอดต่อไปเรื่อย ๆ ส่วน 12 O2 จะถูก
อิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักรคืออะไร ปล่อยสู่บรรยากาศทางปากใบ และ 2H+ จะรองรับอิเล็กตรอนเมื่อสิ้นสุดการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบ
ไม่เป็นวัฏจักร
(แนวตอบ ATP)
•ï โปรตี น ตั ว รั บ อิ เ ล็ ก ตรอนชนิ ด ใดมี ผ ลต อ 3 อิเล็กตรอนถูกปล่อยออกมาจาก PSII จะเกิดการถ่ายทอดไปตามตัวรับอิเล็กตรอนต่าง ๆ รวมทั้ง
รูปแบบการถายทอดอิเล็กตรอนในปฏิกิริยา ไซโทโครมคอมเพล็กซ์ไปยัง PSI
แสง 2
4 เกิดการสังเคราะห์ ATP ด้วยปฏิกริ ยิ าออกซิเดทีฟโฟโตฟอสโฟรีเลชัน (oxidative photophosphorylation)
(แนวตอบ เฟอริดอกซิน)
ï• โปรตีนตัวรับอิเล็กตรอนชนิดใดทําหนาที่ 5 อิเล็กตรอนที่ถูกถ่ายทอดไปยัง PSI จะไปกระตุ้นโมเลกุลของคลอโรฟิลล์เอใน PSI จึงมีการปล่อย
สังเคราะหพลังงาน ATP อิเล็กตรอนออกมา ซึ่งอิเล็กตรอนนี้จะถ่ายทอดไปยังตัวรับอิเล็กตรอนหลายชนิดจนถึงเฟอริดอกซิน
(แนวตอบ ไซโทโครมคอมเพล็กซ) 6 เฟอริดอกซินจะส่งอิเล็กตรอนไปยังตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย คือ NADP+ + 2H+ กลายเป็น NADPH
+ H+ เพือ่ นําไปใช้ในปฏิกริ ยิ าไม่ใช้แสง (dark reaction) และจะไม่มกี ารนําอิเล็กตรอนนีก้ ลับเข้าสูว่ ฏั จักรอีก
84

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 โฟโตออกซิเดชัน ปฏิกิริยาที่เริ่มตนจากแสงเปนตัวกระตุนโมเลกุลหรือ ขอใดเขียนสมการของปฏิกิริยาโฟโตลิซิสไดถูกตอง
อะตอมมีการสูญเสียอิเล็กตรอนใหกับโมเลกุลที่เปนตัวรับอิเล็กตรอน โดยตัวให 1. H2O H+ + OH-
อิเล็กตรอน เรียกวา ตัวรีดิวซ (reducing agent) และเรียกตัวรับอิเล็กตรอนวา 2. H2O H+ + OH- + 2e-
ตัวออกซิไดส (oxidizing agent) 3. 2H2O 4H+ + 4e- + O2
2 โฟโตฟอสโฟรีเลชัน เปนการขนสงอิเล็กตรอนไปตามตัวรับอิเล็กตรอน 4. 2H2O 2H2 + 2e- + O2
ตางๆ โดยเริ่มจากตัวใหอิเล็กตรอนตัวแรก คือ นํ้า สงตอกันไปเรื่อยๆ จนถึง 5. 2H2O 4H2 + 2e- + 2O2
NADP++2H+ ซึ่งเปนตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดทาย ทั้งนี้ การขนสงอิเล็กตรอน (วิเคราะหคําตอบ โมเลกุลของนํา้ ภายในคลอโรพลาสตจะถูกแสง
จะเกิดขึ้นไดเมื่อมีแสงเทานั้น ในพืชชั้นสูงปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นที่คลอโรพลาสต กระตุนใหเกิดการแตกตัว ดังสมการ
H2O 2H+ + 2e- + 12 O2 หรือ 2H2O 4H+ + 4e- + O2
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T94
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
โมเลกุลของนํ้าที่เกิดการแตกตัวจะเกิดขึ้นภายในลูเมนของไทลาคอยด์ ทําให้ภายใน 7. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 4 กลุม จากนั้น
ลู เ มนมี โ ปรตอนจํ า นวนมาก นอกจากนี้ ข ณะที่ อิ เ ล็ ก ตรอนถู ก ส่ ง ผ่ า นพลาสโทควิ โ นนและ ให นั ก เรี ย นแต ล ะที ม ร ว มกั น แข ง ขั น ตอบ
ไซโทโครมคอมเพล็กซ์จะเกิดการเคลือ่ นทีข่ องโปรตอนจากสโตรมาเข้าสูล่ เู มน ทําให้โปรตอนภายใน คําถาม ซึ่งครูจะอานคําถามเพียงครั้งเดียว
ลูเมนมีความเข้มข้นสูงกว่าในสโตรมามาก จึงจําเป็นต้องส่งโปรตอนออกจากลูเมน มี 8 ขอ ตัวอยางคําถาม มีดังนี้
การส่งโปรตอนจากลูเมนออกไปยังสโตรมาจะทําให้เกิดการสังเคราะห์ ATP ขึ้นภายใน - โฟโตเรสไพเรชันเกิดขึ้นเมื่อใด
สโตรมาโดยอาศัยการทํางานของเอนไซม์ ATP synthase ซึง่ เป็นโปรตีนอยูท่ เ่ี ยือ่ ไทลาคอยด์ ซึง่ กลไก - โฟโตออกซิเดชันคืออะไร
ที่มีการสร้าง ATP จะเกิดควบคู่กับการลดความแตกต่างของระดับโปรตอนเรียกว่า เคมิออสโมซิส - ตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดทายของกระบวนการ
(chemiosmosis) ส่วนออกซิเจนที่เกิดจากการแตกตัวของโมเลกุลนํ้าจะกลายเป็นแก๊สออกซิเจน ถายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเปนวัฏจักรคือ
เข้าสู่บรรยากาศต่อไป อะไร
2. การถายทอดอิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักร(cyclic electron transfer) เป็นการถ่ายทอด - ถาในคลอโรพลาสตมีนํ้า 20 โมเลกุล จะ
อิเล็กตรอนทีเ่ กิดขึน้ ในระบบแสง I เท่านัน้ เนือ่ งจากระบบแสง II ไม่ทาํ งาน หรือขาดประสิทธิภาพ แตกตัวใหโปรตอนและอิเล็กตรอนกี่ตัว
เพราะถูกยับยัง้ ด้วยสารเคมีบางชนิด หรือได้รบั แสงทีม่ คี วามยาวคลืน่ มากกว่า 680 นาโนเมตร ซึง่ - ตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดทายของกระบวนการ
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักรจะอยู่ในบางช่วงของการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็น ถายทอดอิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักรคืออะไร
วัฏจักร - หากวัดคา pH ของสโตรมาในขณะทีเ่ กิดการ
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักร
ถายทอดอิเล็กตรอนจะเปนอยางไร
- ในปฏิกริ ยิ าแสงพลังงาน ATP ถูกสรางขึน้ ใน
ตัวรับอิเล็กตรอน
ลําดับแรก
กระบวนการใดบาง
ตัวรับอิเล็กตรอน Fd - เอนไซมชนิดใดทําหนาทีส่ งั เคราะห ATP ใน
ลําดับแรก
Pq 1
ปฏิกิริยาแสง
ไซโทโครม
คอมเพล็กซ์
Pc
2
พลังงานในการ
สังเคราะห์ PSI
ATP
PSII
ภาพที่2.33 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร
ที่มา : คลังภาพ อจท.
1 เมื่อโมเลกุลของคลอโรฟิลล์เอใน PSI ถูกกระตุ้น 2 เกิดการสังเคราะห์ ATP ด้ ว ยปฏิ กิ ริ ย า
จากพลังงานแสง จะปล่อยอิเล็กตรอนออกมา ออซิ เ ดที ฟ โฟโตฟอสโฟรี เ ลชั น โดยไม่ มี
ซึ่งจะถูกถ่ายทอดไปถึงเฟอริดอกซิน จากนั้นจะ NADPH+H+ และออกซิเจนเกิดขึ้น
ถ่ายทอดไปยังไซโทโครมคอมเพล็กซ์ แล้วส่งกลับ
ไปยัง PSI ซึ่งวนเป็นวัฏจักรต่อไป
การสังเคราะห์ 85
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ระหวางเกิดกระบวนการปฏิกริ ยิ าแสงสวนใดของคลอโรพลาสต ครูอาจสรุปการถายทอดอิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักรและไมเปนวัฏจักร
มีคา pH ลดตํ่าลง ในรูปแบบตาราง เพื่อใหนักเรียนสามารถเปรียบเทียบความแตกตางและเขาใจ
1. ลูเมน ไดงาย
2. กรานา
3. สโตรมา กระบวนการ กระบวนการ
4. ไซโทพลาซึม สิ่งที่เปรียบเทียบ ถายทอดอิเล็กตรอนแบบ ถายทอดอิเล็กตรอนแบบ
ไมเปนวัฏจักร เปนวัฏจักร
5. สโตรมาลาเมลลา
ที่มาของอิเล็กตรอน H2O ระบบแสง I
(วิเคราะหคําตอบ เมื่ อ พื ช ได รั บ แสงจะเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย า ซึ่ ง มี โฟโตลิซิส เกิด และได O2 ไมเกิด
กระบวนการถายทอดอิเล็กตรอนบนไทลาคอยดไดโปรตอนอยู
สารพลังงานสูง ATP และ NADPH+H+ ATP
ภายในชองวางของถุงไทลาคอยด เรียกวา ลูเมน ซึ่งบริเวณนี้จะมี ตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดทาย NADP+ ไมมี
คา pH ตํ่าลง ดังนั้น ตอบขอ 1.)
ระบบแสงที่ใช I, II I

T95
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายปฏิกิริยาแสง ในขณะที่เกิดการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้น พลังงานที่ H. O. T. S.
และใหนักเรียนทําผังสรุป เรื่อง ปฏิกิริยาแสง แลว อิเล็กตรอนถ่ายทอดออกมาจะนําไปสร้างพลังงานในรูป ATP คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
นําเสนอในรูปแบบที่สวยงาม และยังทําให้โปรตอนเคลื่อนย้ายจากสโตรมาเข้าสู่ลูเมน ทําให้ หากระบบแสง
เซลล์
ได้รับเยืแสงที
อ่ บุขา้ งแก้
่มี ม
เกิดความแตกต่างของความเข้มข้นของโปรตอนระหว่างสโตรมา
และลูเมน แต่การเคลือ่ นย้ายโปรตอนจากลูเมนออกสูส่ โตรมาใน ความยาวคลื่น
550 682 และ 701 นาโนเมตร
ตอนนี้จะเกิดการสังเคราะห์ ATP ขึ้นเท่านั้น ไม่มี NADPH+H+ ตามลําดับ จะเกิดกาถ่ายทอด
และออกซิเจนเกิดขึ้นเช่นเดียวกับการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบ อิเล็กตรอนเหมือนกันหรือไม่
ไม่เป็นวัฏจักร อย่างไร

2.5 การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 fixation) เกิดขึ้นในสโตรมาหลังจากเกิดปฏิกิริยาแสง
และเกิดขึ้นได้โดยไม่ต้องใช้แสง โดยใช้ RuBP และเอนไซม์รูบิสโกนําคาร์บอนไดออกไซด์จาก
สิ่งแวดล้อมมาสร้างสารประกอบประเภทคาร์โบไฮเดรต ซึ่งอาศัยพลังงาน ATP และ NADPH+H+
ที่ได้จากปฏิกิริยาแสงและเกิดขึ้นเป็นวัฏจักร
ในปี พ.ศ. 2493 เมลวิน คัลวิน (Melvin Calvin) แอนดรู Biology
เอ เบนสัน (Andrew A. Benson) และคณะวิจยั แห่งมหาวิทยาลัย in real life
แคลิฟอร์เนียพยายามศึกษาว่าพืชนําผลิตภัณฑ์จากปฏิกริ ยิ าแสง ในปั จ จุ บั น นิ ย มปลู ก ต้ น ไม้
1
ไปใช้ได้อย่างไร จึงทําการทดลองโดยใช้สาหร่ายคลอเรลลา ซึ่ง บริ เ วณเกาะกลางถนน หรื อ
2
แนวตอบ H.O.T.S.
เป็นสาหร่ายสีเขียวเซลล์เดียว ใส่ในขวดแก้วชนิดพิเศษที่มีนํ้า ริปริมมถนนเป็
นจํานวนมาก เพือ่ ลด
าณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
บรรจุอยู่ จากนั้นเติมคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นสารกัมมันตรังสี จากท่อไอเสียรถยนต์ เนื่องจาก
ไม เ หมื อ นกั น หากระบบแสงได รั บ แสงที่ มี (14C) ซึ่งอยู่ในรูปของไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน (HCO3-) ลง ต้นไม้ใหญ่หนึ่งต้นสามารถดูด
ความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร จะไมเกิดการ ไปในขวด ซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้
ถายทอดอิเล็กตรอน เนื่องจาก ระบบแสง I และ II เมื่อให้แสงอย่างเพียงพอจะมีกระบวนการสังเคราะห์ด้วย เฉลี่ยปีละ 9-15 กิโลกรัม
ตองไดการกระตุนจากพลังงานแสงประมาณ 680 แสงเกิดขึน้ หลังจากเกิดการสังเคราะห์ดว้ ยแสงเป็นเวลา 1 นาที
และ 700 นาโนเมตร ตามลําดับ ถาแสงมีเพียง เมือ่ นําสาหร่ายและนํา้ ไปวิเคราะห์และตรวจหา 14C พบว่า 14C มี
ความยาวคลื่น 682 นาโนเมตร จะมีเพียงระบบ อยู่ในสารประกอบหลายชนิด แต่เมื่อให้การสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นเป็นเวลา 7 วินาที พบว่า
14C อยู่ในสารประกอบที่มีคาร์บอน 3 อะตอม คือ ฟอสโฟกลีเซอเรต (phosphoglycerate) หรือ
แสงที่ II ทีไ่ ดรบั การกระตุน จึงไมเกิดกระบวนการ
ถายทอดอิเล็กตรอน แตถาแสงที่ความยาวคลื่น กรดฟอสโฟกลีเซอริก (phosphoglyceric acid; PGA)
701 นาโนเมตร จะกระตุ  น เพี ย งระบบแสง I
ทําใหเกิดกระบวนการถายทอดอิเล็กตรอนแบบ
เปนวัฏจักรได แตกตางจากระบวนการถายทอด 86
อิเล็กตรอนแบบไมเปนวัฏจักรซึ่งจําเปนตองถูก
กระตุนพรอมกันทั้งระบบแสง I และ II

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 สาหรายคลอเรลลา เปนสาหรายในกลุม สาหรายสีเขียว มีขนาดเล็กมากเมือ่ จงเรียงลําดับเหตุการณที่เกิดขึ้นในระบบแสง II
สองดูดวยกลองจุลทรรศน จะพบวา เปนสาหรายเซลลเดียว ลักษณะกลม หรือ ก. คลอโรฟลลที่เปนศูนยกลางปฏิกิริยาถูกกระตุน
รี หรือรูปไขสีเขียว เพาะเลี้ยงในหลายประเทศ เชน ญี่ปุน ไตหวัน นิยมนํามา ข. การสงตออิเล็กตรอนจากศูนยกลางปฏิกิริยาไปยังตัวรับ
บริโภคในรูปแบบของอาหารเสริม หรือผลิตภัณฑอาหารเพื่อสุขภาพ ชาวญี่ปุน อิเล็กตรอน
นิยมใชเติมลงไปในชา ซุป นม นํ้าผลไม บะหมี่ คุกกี้ เคก และไอศกรีม ค. การสงตออิเล็กตรอนจากนํ้าไปยังคลอโรฟลลที่เปน
2 สาหรายสีเขียว เปนสิ่งมีชีวิตที่จัดอยูในกลุม Chlorophyceae มีทั้งอาศัย ศูนยกลางปฏิกิริยา
อยูในนํ้าจืดและนํ้าทะเล สามารถสังเคราะหดวยแสงไดเนื่องจากมีคลอโรฟลล ง. พลังงานแสงกระตุนโมเลกุลของคลอโรฟลล (ที่ทําหนาที่
จึงชวยเพิ่มออกซิเจนใหกับแหลงนํ้า สาหรายสวนใหญแบงเซลลไดอยางรวดเร็ว ถายทอดพลังงาน)
จึงทําใหมีสารไนโตรเจนที่ไมใชโปรตีนสูง เชน กรดนิวคลีอิก บางสายพันธุมีสาร 1. ข. ค. ง. ก. 2. ข. ก. ค. ง.
ไนโตรเจนที่เปนโปรตีนสูงจึงเปนอาหารของมนุษยไดดี 3. ก. ข. ค. ง. 4. ค. ง. ก. ข.
5. ง. ก. ข. ค.
(วิเคราะหคําตอบ คําตอบเปนไปตามตัวเลือก ดังนัน้ ตอบขอ 5.)

T96
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กรวยสําหรับเติมสาร 1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน สืบคน
ขอมูลการทดลองของเมลวิน คัลวิน และแอน
ดรูว เอ. เบนสัน จากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5
เลม 1
2. ใหนักเรียนแตละกลุมสรุปลงในกระดาษ A4
3. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน โดยให
หลอดติดกับเครื่อง สาหร่ายสีเขียวที่ได้รับแสง สมาชิกภายในกลุมสืบคนขอมูล ดังนี้
ควบคุมสมดุลของสาร แสง - สมาชิกคนที่ 1 ศึกษา เรื่อง ปฏิกิริยาที่เกิด
และแก๊สภายในขวดแก้ว
ขึ้นในขั้นคารบอกซิเลชัน
- สมาชิกคนที่ 2 ศึกษา เรื่อง ปฏิกิริยาที่เกิด
หลอดสําหรับเติม H14CO-3 ขึ้นในขั้นรีดักชัน
ลิ้น - สมาชิกคนที่ 3 ศึกษา เรื่อง ปฏิกิริยาที่เกิด
เครื่องควบคุม ขึ้นในขั้นรีเจเนอเรชัน
การปิด-เปิด ช่องลิ้น
4. ให นั ก เรี ย นแลกเปลี่ ย นข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากการ
หลอดเก็บตัวอย่างสาหร่
1 ายเป็นระยะ ๆ
ภายในบรรจุเมทานอลที่ร้อน สืบคน แลวใหนกั เรียนทําใบงาน เรือ่ ง กระบวน
เพื่อฆ่าสาหร่ายในทันที การสังเคราะหดวยแสง

ภาพที่2.34 ชุดทดลองเพื่อศึกษาผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

คัลวินและคณะคิดว่าจะต้องมีสารประกอบคาร์บอน 2 อะตอม ซึ่งสารนี้เมื่อรวมกับ


คาร์บอนไดออกไซด์จะเกิดเป็น PGA แต่ปรากฏว่า ไม่พบสารประกอบทีม่ คี าร์บอน 2 อะตอมอยูเ่ ลย
เมื่อทดสอบต่อไปโดยตรวจหาสารประกอบที่มารวมกับ 14CO2 เพื่อสร้าง PGA ในที่สุดพบว่าเป็น
สารประกอบจําพวกนํ้าตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม คือ ไรบูโลส1,5-บิสฟอสเฟต (ribulose 1,5-
bisphosphate; RuBP) เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา แม้ว่าปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเกิดขึ้น
เป็นเวลานานก็ตาม เมื่อ RuBP รวมตัวกับคาร์บอนไดออกไซด์จะเกิดเป็นสารประกอบตัวใหม่ที่
มีคาร์บอน 6 อะตอม เรียกกระบวนการนีว้ า่ การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 fixation) แต่สารทีม่ ี
คาร์บอน 6 อะตอมนีไ้ ม่เสถียรจึงสลายตัวเป็นสารประกอบทีม่ คี าร์บอน 3 อะตอม คือ PGA จํานวน
2 โมเลกุล นอกจากนี้ คัลวินและคณะยังพบว่า ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมีหลายขั้นตอน และเกิดต่อเนื่อง
เป็นวัฏจักร ซึ่งปัจจุบันเรียกวัฏจักรของปฏิกิริยานี้ว่า วัฏจักรคัลวิน (calvin cycle)
การสังเคราะห์ 87
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ในวัฏจักรคัลวินของกระบวนการสังเคราะหดวยแสงนั้น CO2 1 เมทานอล หรือเมทิลแอลกอฮอล (methyl alcohol) มีสูตรโครงสรางแบบ
ทําปฏิกิริยากับสารใด ยอ คือ CH3OH เปนของเหลวใส ระเหยงาย เปนพิษ นิยมใชเปนตัวทําละลาย
1. hydrogen และใชเปนเชื้อเพลิง ในธรรมชาติเมทานอลเปนผลิตภัณฑจากการสลายสาร
2. ATP synthase อาหารแบบไมใชออกซิเจนของแบคทีเรียหลายชนิด ซึ่งเมทานอลจะระเหยออก
3. ribulose bisphosphate สูอากาศภายนอก แลวสลายตัวไดคารบอนไดออกไซดและนํ้า
4. phosphoglycerric acid
5. phosphoglyceraldehyde
(วิเคราะหคําตอบ ในวัฏจักรคัลวิน CO2 ทําปฏิกิริยากับ RuBP สื่อ Digital
หรือ ribulose bisphosphate โดยมีเอนไซมรูบิสโกเปนตัวเรง ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการ
ปฏิกิริยา ดังนั้น ตอบขอ 3.) สังเคราะหดวยแสง จากภาพยนตรสารคดีสั้น
Twig เรื่อง การสังเคราะหดวยแสง (https://
www.twig-aksorn.com/fif ilm/photosynthe-
sis-8056/)
T97
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูสมุ ตัวแทนแตละกลุม ออกมานําเสนอใบงาน
วัฏจักรคัลวินเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสโตรมาของคลอโรพลาสต์ ประกอบด้วย
เรื่อง กระบวนการสังเคราะหดวยแสง ปฏิกิริยา 3 ขั้นตอน คือ คาร์บอกซิเลชัน (carboxylation) รีดักชัน (reduction) และรีเจเนอเรชัน
2. ใหนกั เรียนจดบันทึกคําศัพทและหาความหมาย (regeneration)
และความเกี่ยวของกับกระบวนการสังเคราะห
3C
ดวยแสง แลวบันทึกลงในสมุดบันทึก CO2
- Carboxylation คาร์บอกซิเลชัน

- Reduction
- Regeneration รูบิสโก
- Photorespiration 3P C C C C C P 6C C C P
3-ฟอสโฟกลีเซอเรต
ไรบูโลสบิสฟอสเฟต 6 ATP
3. ครูสุมนักเรียน 3 คน ออกมาหนาชั้นเรียน โดย (RuBP) 6ADP
3ADP+3Pi วัฏจักร
ใหนักเรียนแตละคนทําหนาที่ ดังนี้ 3 ATP
คัลวิน
6P C C C P
- คนที่ 1 วาดภาพวัฏจักรคัลวิน 1, 3-บิสฟอสโฟกลีเซอเรต 6 NADPH+H+
6NADP +
- คนที่ 2 ระบุสารตั้งตนและผลิตภัณฑของ 6 Pi
5C C C P
แตละขั้นตอน รีเจเนอเรชัน G3P 6C C C P รีดักชัน
กลีเซอรัลดีไฮด์-3-ฟอสเฟต
- คนที่ 3 สรุปวัฏจักรคัลวินใหไดใจความที่ (G3P)
เขาใจและถูกตอง
1C C C P
G3P
น�้าตาล
ภาพที่2.35 วัฏจักรคัลวิน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ปฏิกิริยาขั้นตอนที่1คาร์บอกซิเลชัน: เป็นปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ โดยเริ่มจาก


สารตั้งต้น คือ RuBP ซึ่งเป็นนํ้าตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม และหมู่ฟอสเฟส 2 หมู่ รวมตัวกับ
คาร์ บ อนไดออกไซด์ โ ดยมี เ อนไซม์ ไ รบู โ ลส 1,5-บิ ส ฟอสเฟตคาร์ บ อกซิ เ ลสออกซี จี เ นส
(ribulose 1, 5-bisphosphate carboxilase oxygenase) หรือเรียกย่อว่า รูบิสโก (rubisco) เป็นตัว
เร่งปฏิกริ ยิ า ได้เป็นสารประกอบใหม่ทมี่ คี าร์บอน 6 อะตอม แต่เป็นสารทีไ่ ม่เสถียรและจะสลายตัวเป็น
ฟอสโฟกลีเซอเรต (PGA) 2 โมเลกุล ซึง่ PGA 1 โมเลกุล มีคาร์บอน 3 อะตอม และหมูฟ่ อสเฟต 1 หมู่
ดังนัน้ ถ้าตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 3 โมเลกุลจะรวมตัวกับ RuBP 3 โมเลกุล ได้เป็น PGA 6 โมเลกุล

88

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจสรุปขั้นตอนการตรึงคารบอนไดออกไซด ซึ่งมี 3 ขั้นตอน โดยแสดง ในการทดลองโดยใชสาหรายสีเขียวใสในนํ้าที่ผานแสงและให
สมการแตละขั้นใหนักเรียนเขาใจมากขึ้น ดังนี้ คารบอนกัมมันตรังสี เพื่อใหเกิดการสังเคราะหดวยแสง แลวจึง
ขัน้ ที่ 1 คารบอกซิเลชัน : เริม่ ตนจาก RuBP จับกับคารบอนไดออกไซด แลว หยุดปฏิกิริยาของการสังเคราะหดวยแสงเปนระยะๆ เมื่อตรวจดู
ไดผลิตภัณฑเปน PGA จะพบสารประกอบในขอใด
สมการ คือ 3CO2 + 3RuBP + 3H2O 6PGA 1. เกิด G3P กอน แลวจึงเกิด PGA
ขั้นที่ 2 รีดักชัน : PGA เปลี่ยนแปลงเปน PGAL เนื่องจากไดรับอิเล็กตรอน 2. เกิดนํ้าตาลกลูโคสขึ้นกอนออกซิเจน
จาก NADPH+H+ 3. เกิด PGA กอน แลวจึงเกิดนํ้าตาลกลูโคส
สมการ คือ 6PGA + 6NADPH+H+ + 6ATP 6PGAL + 6NADP+ 4. เกิดสารประกอบที่มีคารบอน 2 อะตอมขึ้น
+ 6H2O + 6ADP + 6Pi 5. เกิดมาเลตกอนแลวจึงเปลี่ยนเปนนํ้าตาลกลูโคส
ขั้นที่ 3 รีเจเนอเรชัน : เปนขั้นตอนที่สราง RuBP กลับขึ้นมาใหมสมการ (วิเคราะหคําตอบ กระบวนการสังเคราะหดวยแสง สารเสถียร
คือ 5PGAL + 3ATP 3RuBP + 3ADP + 2Pi ตัวแรกที่เกิดขึ้น คือ ฟอสโฟกลีเซอเรต (PGA) จากนั้นจึงเปลี่ยน
เปน PGAL G3P แลวจึงไดนํ้าตาลกลูโคส ตามลําดับ ดังนั้น
ตอบขอ 3.)

T98
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ปฏิกิริยาขั้นตอนที่ 2 รีดักชัน : เปนการเปลี่ยนแปลง PGA ทั้ง 6 โมเลกุล โดยแตละโมเลกุล 4. ใหนกั เรียนแบงกลุม ออกเปน 4 กลุม แตละกลุม
ของ PGA จะรับหมูฟอสเฟตเพิ่มอีก 1 หมูจาก ATP กลายเปน 1,3-บิสฟอสโฟกลีเซอเรต เขียนคําถามลงในสลากคําถาม 5 ขอ และมี
(1, 3-bisphosphoglycerate) จากนั้นจะถูกรีดิวซโดยรับอิเล็กตรอนจาก NADPH+H+ กลายเปน สลากคําถามจากครูอีก 4 ขอ
นํ้าตาลที่มีคารบอน 3 อะตอม เรียกวา กลีเซอรอลดีไฮด 3-ฟอสเฟต (glyceraldehyde 3-phos- 5. ใหตัวแทนกลุมจับสลากเลือกชุดคําถามและ
phate; G3P) หรือฟอสโฟกลีเซอรัลดีไฮด (phosphoglyceraldehyde; PGAL) ดังนัน้ หลังจากสิน้ สุด จับสลากคําถามจากครูอกี 1 ขอ โดยชุดคําถาม
ขั้นตอนนี้จะเกิด G3P ขึ้น 6 โมเลกุล ซึ่งนํ้าตาลที่มีคารบอน 3 อะตอมนี้ถือเปนนํ้าตาลชนิดแรก ตองไมซํ้ากับกลุมของตนเอง
ที่เกิดขึ้นในวัฏจักรคัลวิน 6. ใหเจาของชุดคําถามเปนฝายอานคําถามและ
ปฏิกิริยาขั้นตอนที่ 3 รีเจเนอเรชัน : เปนขั้นตอนที่จะสราง RuBP ขึ้นมาใหม เพื่อกลับไปรับ เฉลยคําตอบ จากนั้นนับคะแนนที่ตอบถูก
CO2 เขาสูวัฏจักรคัลวินใหม โดย G3P ที่เกิดขึ้น 5 โมเลกุล จะถูกนําไปสราง RuBP ได 3 โมเลกุล 7. ครูอานสลากคําถามของครู และเฉลยคําตอบ
ซึ่งจะตองอาศัย ATP ที่ไดจากปฏิกิริยาแสง โดยมีแนวคําถาม ดังนี้
นํ้าตาล G3P ที่เหลืออีก 1 โมเลกุลจะถูกนําไปสรางนํ้าตาลกลูโคสและนํ้าตาลไดแซ็กคาไรด - คําถามหมายเลข 1 : หากในบรรยากาศ
เชน ซูโครส เพื่อลําเลียงไปยังสวนตาง ๆ ของพืช หรืออาจสะสมไวในรูปของเม็ดแปงภายใน จํ า ลองที่ ห นึ่ ง มี ค าร บ อนไดออกไซด 38
คลอโรพลาสต หรือนําไปสรางสารประกอบอินทรียอื่น ๆ เชน กรดไขมัน กรดอะมิโน
โมเลกุล พืช A จะผลิตนํ้าตาลไดกี่โมเลกุล
ในอดีตการตรึงคารบอนไดออกไซดเรียกวา ปฏิกิริยาไมใชแสง (dark reaction) เพราะ
- คําถามหมายเลข 2 : ในการผลิตนํ้าตาล 3
คิ ด ว า เป น กระบวนการที่ ไ ม ต  อ งใช แ สง แต ป  จ จุ บั น พบว า แสงมี บ ทบาทสํ า คั ญ ต อ การตรึ ง
คารบอนไดออกไซด เนือ่ งจากแสงจะกระตุน การทํางานของเอนไซมหลายชนิดในวัฏจักรคัลวินและ โมเลกุล ของพืชชนิดหนึง่ จะตองใชพลังงาน
ยังมีอทิ ธิพลตอการลําเลียง G3P ออกจากคลอโรพลาสต และการเคลือ่ นทีข่ องไอออนตาง ๆ กี่ ATP
- คําถามหมายเลข 3 : RuBP และ RuBisCo
คืออะไร และแตกตางกันอยางไร
H2O CO2

NADP+
ADP+Pi

ปฏิกริ ยิ า วัฏจักรคัลวิน
แสง
ATP
NADPH+H+

O2 นํา้ ตาลกลูโคส
ภาพที่ 2.36 สรุปกระบวนการสังเคราะหดวยแสง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การสังเคราะหดวยแสงของพืช 89
https://www.aksorn.com/interactive3D/RNB21

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


สารประกอบในขอใดคือสารทีเ่ สถียรตัวแรกของการสังเคราะห ครูอาจทบทวนและกําชับวา วัฏจักรคัลวินเพียง 1 รอบ จะได PGAL หรือ
ดวยแสงของพืชทั่วไป สารที่มีคารบอน 3 อะตอม เพียง 1 โมเลกุล ซึ่งจําเปนตองใชพลังงาน 9 ATP
1. G3P และ 6 NADPH+H+ ดังนั้น หากพืชตองการผลิตนํ้าตาลกลูโคสที่มีคารบอน 6
2. PGA อะตอม จะตองเกิดวัฏจักรคัลวิน 2 รอบ จึงสรุปไดวา ในการผลิตนํ้าตาลกลูโคส
3. PGAL 1 โมเลกุล จะตองใชพลังงาน 18 ATP และ 12 NADPH+H+
4. กลูโคส
5. ATP และ NADPH+H+
(วิเคราะหคําตอบ กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืชทั่วไป สื่อ Digital
สารเสถียรตัวแรกทีเ่ กิดขึน้ คือ ฟอสโฟกลีเซอเรต (PGA) จากนัน้ จึง ครูใหนกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับการสังเคราะหดว ยแสงจาก QR code
เปลีย่ นเปน PGAL G3P แลวจึงไดนาํ้ ตาลกลูโคส ตามลําดับ ดังนัน้ 3D เรื่อง การสังเคราะหดวยแสงของพืช
ตอบขอ 2.)

การสังเคราะหดวยแสงของพืช
T99
www.aksorn.com/interactive3D/RKB21
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครู เ กริ่ น นํ า เกี่ ย วกั บ เอนไซม รู บิ ส โกว า เป น จะเห็นว่า แก๊สออกซิเจนที่เกิดขึ้นจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ส่วนหนึ่งจะถูกนําไป
เอนไซมที่สามารถจับกับออกซิเจนและแกส ใช้ในการสลายสารอาหารระดับเซลล์ซึ่งเกิดขึ้นในไมโทคอนเดรียเช่นเดียวกับเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
คารบอนไดออกไซดได ครูถามนักเรียนวา หาก อืน่ ๆ และออกซิเจนอีกส่วนหนึง่ จะแข่งขันกับคาร์บอนไดออกไซด์ในการเข้าจับกับเอนไซม์รบู สิ โก
ออกซิเจนจับกับเอนไซมรบู สิ โก จะเปนอยางไร เรียกกระบวนการนีว้ า่ โฟโตเรสไพเรชัน (photorespiration) เป็นกระบวนการทีเ่ กิดขึน้ จากการตรึง
2. ใหนักเรียนสืบคนกระบวนการเกิดโฟโตเรส- ออกซิเจนของเอนไซม์รูบิสโก (rubisco) เช่นเดียวกับการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในวัฏจักร
ไพเรชัน แลวสรุปลงในสมุดบันทึกของตนเอง คัลวิน (calvin cycle) ทัง้ ออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์เมือ่ เข้าทําปฏิกริ ยิ าจะเข้าจับกับเอนไซม์
3. ใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นแลกเปลีย่ นขอมูล แลว รูบิสโกได้ในตําแหน่งเดียวกัน เนื่องจากโมเลกุลทั้งสองชนิดมีขนาดใกล้เคียงกัน ดังนั้นโมเลกุล
ทําผังสรุป เรือ่ ง โฟโตเรสไพเรชัน พรอมนําเสนอ ทั้งสองชนิดจึงเหมือนกับต้องแข่งขันกันเพื่อเข้าจับกับเอนไซม์รูบิสโกเพื่อทําปฏิกิริยากับไรบูโลส
ในรูปแบบทีส่ วยงาม 1, 5-บิสฟอสเฟต (RuBP) ซึ่งเป็นสารตั้งต้น แม้ว่าเอนไซม์รูบิสโกจะสามารถเร่งปฏิกิริยาทั้งสอง
ชนิดได้ แต่เอนไซม์รบู สิ โกมีความสามารถในการจับกับคาร์บอนไดออกไซด์สงู กว่าออกซิเจน ดังนัน้
กระบวนการสร้างสารอินทรียจ์ ากวัฏจักรคัลวินจึงเกิดขึน้ อย่างเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช
ATP CO2 O2 ATP
RuBP RuBP

PGA วัฏจักรคัลวิน รูบิสโก โฟโตเรสไพเรชัน PGA

นํ้าตาล CO2

ATP 2 PGA PG + PGA ATP


NADPH+H+ NADPH+H+
ภาพที่2.37 การเข้าแย่งจับกับเอนไซม์รูบิสโกของออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์
ที่มา : คลังภาพ อจท.

B iology
Focus เอนไซมรูบิสโก
เอนไซม์รูบิสโก (rubisco) เป็นเอนไซม์ที่สําคัญของวัฏจักรคัลวิน ประกอบด้วยโปรตีนที่ละลาย
นํ้าได้ และเป็นโปรตีนที่พบมากที่สุดในพืชประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ และ 30 เปอร์เซ็นต์ของโปรตีน
ทั้งหมดที่มีในใบพืช C3 และพืช C4 ตามลําดับ จึงเป็นโปรตีนที่พบมากที่สุดในโลก เนื่องจาก พบใน
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้ เช่น พืช สาหร่ายสีเขียว ไซยาโนแบคทีเรีย เป็นต้น

90

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิม่ เติมวา หลังจากเกิดโฟโตเรสไพเรชันจะไดฟอสโฟกลีเซอเรต ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการเกิดโฟโตเรสไพเรชัน
เขาสูวัฏจักรคัลวินและไดฟอสโฟไกลโคเลตเปนผลิตภัณฑ ซึ่งฟอสโฟไกลโคเลต 1. ได PGA และไดฟอสโฟไกลโคเลตเปนผลิตภัณฑ
จะถูกเปลี่ยนเปนไกลโคเลต แลวถูกสงไปยังเพอรอกซิโซม ซึ่งไกลโคเลตจะ 2. มีสาเหตุมาจาก O2 เขาไปแยงจับกับเอนไซมรูบิสโก
ถูกเปลี่ยนไปเปนไกลออกซิเลตและไฮโดรเจนเปอรออกไซดซึ่งเปนพิษตอเซลล 3. มีสาเหตุมาจาก CO เขาไปแยงจับกับเอนไซมรูบิสโก
จึงถูกสลายในเพอรอกซิโซม สวนไกลออกซิเลตนําไปใชสรางกรดอะมิโนไกลซีน 4. มักเกิดขึ้นในวันที่มีแสงแดดจัด อากาศรอน และแหงแลง
แลวเขาสูไมโทคอนเดรีย เพื่อปลอยหมูอะมิโนใหกับสารอินทรียอื่นๆ และได 5. ชวยลดอันตรายใหกับพืชเนื่องจากสารพลังงานสูงเหลือใช
กรดอะมิโนเซอรีนกลับเขาสูเพอรอกซิโซมแลวจึงเปลี่ยนกลับเปนกลีเซอเรต จากปฏิกิริยาแสง
สงกลับเขาคลอโรพลาสตเพื่อเขาสูวัฏจักรคัลวินตอไป (วิเคราะหคําตอบ โฟโตเรสไพเรชันมักเกิดขึน้ ในวันทีแ่ สงแดดจัด
อากาศรอน และแหงแลง มีสาเหตุมาจาก O2 เขาไปแยงจับกับ
เอนไซมรูบิสโกได PGA และไดฟอสโฟไกลโคเลตเปนผลิตภัณฑ
ซึง่ ขอดีของโฟโตเรสไพเรชัน คือ ชวยลดอันตรายใหกบั พืชเนือ่ งจาก
สารพลังงานสูงเหลือใชจากปฏิกิริยาแสง ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T100
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
การตรึงออกซิเจนด้วย RuBP ท�าให้ RuBP สลายเป็น PGA 1 โมเลกุล และสารประกอบ 1. ครูสุมตัวแทนออกมา 4-5 คู ออกมานําเสนอ
ไดฟอสโฟไกลโคเลต ซึ่งมีคาร์บอน 2 อะตอม อีก 1 โมเลกุล ผังสรุป
2. ครูเพิ่มเติมขอมูลที่นักเรียนออกมานําเสนอ
H 3. ครู อ าจนํ า ภาพมาให นั ก เรี ย นเปรี ย บเที ย บ
H H C O PO2-3 ผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นจากการจับแกสออกซิเจน
H C O PO2-3 C O และแกสคารบอนไดออกไซด ตัวอยางภาพ
C
C O -O O-
O2 CO2
ออกซิเจน + H C OH ไตรฟอสโฟกลีเซอเรต (PGA)
รูบิสโก + การหายใจแสง การสังเคราะห
H C OH
O O ดวยแสง
H C O PO2-3 C
H H C O PO2-3
ของเสีย พลังงาน
H
ไรบูโลส 1, 5- บิสฟอสเฟต ไดฟอสโฟไกลโคเลต
4. ครู ถ ามคํ า ถามแล ว ให นั ก เรี ย นยกมื อ ตอบ
คําถาม ตอไปนี้
ภาพที่ 2.38 การตรึงออกซิเจนด้วยไรบูโลส 1, 5-บิสฟอสเฟต - เมื่อออกซิเจนและคารบอนไดออกไซดจับ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
RuBP จะให PGA กี่โมเลกุล ตามลําดับ
พืชน�าไตรฟอสโฟกลีเซอเรต (PGA) ไปใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ส่วนคาร์บอน 2 อะตอม - นักเรียนคิดวา โฟโตเรสไพเรชันมีประโยชน
จะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็น RuBP อีกครั้ง โดยคาร์บอน 2 อะตอม หรือไดฟอสโฟกลีโคเลสจ�านวน กับพืชอยางไร
3 โมเลกุลจะเปลี่ยนเป็น RuBP ซึ่งมีคาร์บอน 5 อะตอม 1 โมเลกุล ส่วนคาร์บอนที่เหลืออีก 1 - สารอิ น ทรี ย  ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากกระบวนการ
อะตอมจะถูกปลดปล่อยในรูปของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โฟโตเรสไพเรชันจะถูกเปลีย่ นเปนคารบอน-
ปัจจุบนั มีการทดลองทีแ่ สดงให้เห็นว่าโฟโตเรสไพเรชันช่วยป้องกันความเสียหายให้แก่ระบบ ไดออกไซด โดยผานออรแกเนลลใดบาง
ร่างกายของพืช โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในวันที่มีแสงแดดจัด อากาศร้อนและแห้งแล้ง พืชจะลดการ
สูญเสียน�้าด้วยการปิดปากใบ ท�าให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศผ่านเข้ามาทางปากใบได้
น้อยมาก รวมทัง้ ออกซิเจนทีเ่ กิดจากปฏิกริ ยิ าแสงไม่สามารถปล่อยออกสูบ่ รรยากาศได้ ก็จะสะสม ขยายความเข้าใจ
อยู่ในคลอโรพลาสต์มากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้นได้น้อย พืชจะเกิดการ ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
หายใจแสง หรือโฟโตเรสไพเรชันเพื่อตรึงออกซิเจนที่สะสมคั่งค้างอยู่เแทนสารอิ
1 นทรีย์ที่เกิดขึ้นจะ ม.5 เลม 1
ถูกขนส่งออกจากคลอโรพลาสต์และถูกน�าออกไปสลายโดยเพอรอกซิโซม (peroxisome) และไมโท-
คอนเดรีย ซึ่งจะท�าให้ได้คาร์บอนไดออกไซด์ออกมา และจะถูกน�าไปใช้ในการสร้างน�้าตาลต่อไป
การสังเคราะห์ 91
ด้วยแสง

กิจกรรม สรางเสริม นักเรียนควรรู


ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 3-4 คน สืบคนกระบวนการสลาย 1 เพอรอกซิโซม เปนออรแกเนลลขนาดเล็กที่มีเยื่อหุมชั้นเดียว รูปรางคลาย
ฟอสโฟกลีโคเลสที่เพอรอกซิโซมและไมโทคอนเดรีย จากนั้นสรุป ไลโซโซม สามารถแบงตัวไดเอง ในพืชเพอรอกซิโซมมีบทบาทสําคัญ คือ เปลีย่ น
ลงในกระดาษ A4 แลววิเคราะหวา กระบวนการฟอสโฟไกลโคเลต กรดไขมันทีส่ ะสมอยูใ นเมล็ดพืชใหเปนคารโบไฮเดรต สําหรับใชเปนแหลงพลังงาน
มีขอดี-ขอเสียตอพืชอยางไร ในการงอกของเมล็ดโดยผานวัฏจักรไกลออกซิเลต (Glyoxylate cycle)

กิจกรรม ทาทาย
สื่อ Digital
ใหนกั เรียนเขียนแผนผังวัฏจักรคัลวิน โดยระบุชอื่ เอนไซม สาร
ตัง้ ตน และพลังงานทีใ่ ชในการผลิตนํา้ ตาลกลูโคส 1 โมเลกุล ลงใน ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
สมุดบันทึกของนักเรียน การหายใจแสง จาก Youtube เรือ่ ง กระบวน
การเกิดโฟโตเรสไพเรชัน (https://www.
youtube.com/watch?v=hHGnhuWvsTA)

T101
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกีย่ วกับโฟโต-
เรสไพเรชัน แลวใหนักเรียนสรุปความรูที่ไดลงใน คลอโรพลาสต์ เพอรอกซิโซม ไมโทคอนเดรีย
H2C OPO32-
กระดาษ A4 พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน O2 COO-
2-Phosphoglycolate
O2
rubisco
H2C OPO32-
ขัน้ ประเมิน O C
-O
C O CO2
ตรวจสอบผล HC OH HC OH
HC OH H2C OPO32-
1. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกชีววิทยา ม.5 เลม 1 H2C OPO32- 3-Phosphoglycerate
Ribulose-1, 5-
2. ตรวจใบงาน เรื่อง ปฏิกิริยาแสง bisphosphate

3. ตรวจใบงาน เรือ่ ง กระบวนการสังเคราะหดว ย ภาพที่ 2.39 การสลายฟอสโฟไกลโคเลตทีเ่ พอรอกซิโซมและไมโทคอนเดรีย


แสง ที่มา : คลังภาพ อจท.
4. ประเมินผังสรุป เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ าแสง โดยใชแบบ อย่างไรก็ตาม การสร้างอาหารจะเกิดขึ้นน้อยลงกว่าปกติเนื่องจากสารอินทรีย์ในวัฏจักร
ประเมินชิ้นงาน คัลวินบางส่วนได้ถกู นําไปใช้ในการตรึงออกซิเจน แต่การเกิดโฟโตเรสไพเรชันก็เป็นประโยชน์กบั พืช
5. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช คือ ช่วยลดอันตรายจากสารพลังงานสูงเหลือใช้จากปฏิกิริยาแสง
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ
Topic
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม Question
7. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ ค�าชี้แจง:ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ปฏิกิริยาแสงคืออะไรและเกิดขึ้นที่ใด
2. จงอธิบายการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักรและไม่เป็นวัฏจักรว่าแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
3. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมีกี่ขั้นตอน แต่ละขั้นตอนเกิดขึ้นที่ใด
4. เอนไซม์ชนิดใดมีผลต่อการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ
5. ในวัฏจักรคัลวินสารประกอบคาร์บอนที่เสถียรตัวแรกคืออะไร เกิดขึ้นในขั้นตอนใด
6. โฟโตเรสไพเรชันคือออะไร
7. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแตกต่างกับโฟโตเรสไพเรชันอย่างไร
8. สารอินทรีย์ที่เกิดขึ้นจะถูกลําเลียงผ่านไปยังออร์แกเนลล์ใดบ้าง
9. สารอินทรีย์ที่เกิดขึ้นจะถูกลําเลียงไปสลายที่ออร์แกเนลล์ใดบ้าง
10. โฟโตเรสไพเรชันเป็นประโยชน์กับพืชอย่างไร

92

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. ปฏิกิริยาที่เปลี่ยนพลังงานแสงใหเปนพลังงานเคมี
ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง การสังเคราะหดวยแสง
2. แตกตางกัน การถายทอดอิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักรใหเพียงพลังงาน
ไดจากการทําผังสรุป เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ าแสง โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผล
ATP แตแบบไมเปนวัฏจักรใหพลังงาน ATP และ NADPH+H+
จากแบบประเมินชิน้ งานทีอ่ ยูใ นแผนการจัดการเรียนรูป ระจําหนวยการเรียนรูท ี่ 2
3. 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาแสงเกิดขึ้นที่เยื่อหุมไทลาคอยดและการตรึง
แบบประเมินชิ้นงาน
แกสคารบอนไดออกไซดเกิดขึ้นที่สโตรมา
4. เอนไซมรูบิสโก
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินรายงาน ตามรายการที่กาหนดแล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1

5. ฟอสโฟกลีเซอเรต
1 การจัดรูปแบบรายงาน
2 ความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา
3 ภาพประกอบ/ตาราง
รวม

เกณฑ์การประเมิน
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................/................
6. กระบวนการที่ออกซิเจนจับกับเอนไซมรูบิสโก
รายการประเมิน

1. การจัดรูปแบบ
4
รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
3
ระดับคะแนน

รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
2
รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
1
รู ปเล่ มรายงานมี
7. แตกตางกันที่สารตั้งตนที่จับกับเอนไซมรูบิสโก
8. เพอรอกซิโซมและไมโทคอนเดรีย
และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่
ครบถ้วน ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ครบถ้วนเพียงบางส่วน ครบถ้วน
2. ความถูกต้องและ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้ อหาในรายงานไม่
คุณภาพ ของ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง และไม่ ครบ

9. เพอรอกซิโซม
เนื้อหา และมีภาษาที่สละสลวย เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน ตามที่กาหนด
เข้าใจง่าย
3. ภาพประกอบ/ ภาพมี ความสอดคล้ อง ภาพมี ความสอดคล้ อง ภ า พส อด ค ล้ องกั บ ภาพไม่ สอดคล้ องกั บ
ตาราง กับเนื้อหา มีภาพมีความ กับเนื้อหา ภาพไม่คมชัด เนื้ อหาบางส่ ว น ภาพ เนื้อหา ภาพไม่คมชัด
คมชัด สวยงาม ตารางที่ ตารางที่นาเสนอมีความ คมชัด ตารางที่นาเสนอ ตารางที่ น าเสนอไม่

10. ชวยลดอันตรายจากสารพลังงานสูงเหลือใชจากปฏิกิริยาแสง
นาเสนอมีความถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T102
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
พืชนําแกส 3. กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ 1. ครูถามคําถาม Prior Knowledge
คารบอนไดออกไซดใน แกสคาร์บอนไดออกไซด์ ในพืช C4 2. ครู แ จกบั ต รคํ า ชื่ อ พื ช ประเภทต า งๆ ให กั บ
อากาศมาใชได นักเรียน
อยางไร พืชแต่ละชนิดมีประสิทธิภาพในการตรึง CO2 ไม่เท่ากัน 3. ครูเขียนคําวา พืช C3 พืช C4 และพืช CAM
พืชที่มีการตรึง CO2 ในวัฏจักรคัลวิน แล้วได้สารประกอบ
บนกระดาน จากนั้นครูพูดชื่อประเภทของพืช
คาร์บอนที่เสถียรชนิดแรกเป็นสารที่มีคาร์บอน 3 อะตอม เรียกว่า พืช C3 ต่อมามีการศึกษา
แลวใหนักเรียนพิจารณาชื่อพืชตามบัตรคําที่
พบว่าพืชบางชนิดสามารถสร้างสารประกอบคาร์บอนทีเ่ สถียรชนิดแรกเป็นสารทีม่ คี าร์บอน 4 อะตอม
ด้วยกลไกที่นอกเหนือไปจากวัฏจักรคัลวิน เรียกพืชกลุ่มนี้ว่า พืชC4 ตนเองไดรับ แลวออกมาเขียนชื่อพืชใหตรง
ตามประเภทบนกระดาน โดยครูใหนักเรียน
3.1 โครงสร้างของใบพืช C3 และใบพืช C4 ศึกษาเนื้อหาในบทเรียนกอนจะเฉลยคําตอบ
พืชส่วนใหญ่เป็นพืช C3 เช่น ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ถั่ว พืชทั่ว ๆ ไป ส่วนพืช C4 ที่ถูกตอง
มักพบในเขตร้อนหรือกึ่งร้อนซึ่งมีประมาณ 1,500 ชนิด เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่าง หญ้าแพรก บาน
ไม่รู้โรย อ้อย ผักโขมจีน ขัน้ สอน
คิวทิเคิล สํารวจค้นหา
เอพิเดอร์มสิ ด้านบน 1. ใหนักเรียนจับกลุมประเภทของพืชที่นักเรียน
แพลิเซดมีโซฟิลล์ บันเดิลชีท ออกมาเขียนชื่อพืชบนกระดาน โดยแบงกลุม
ท่อลําเลียง
ท่อลําเลียง ออกเปน 3 กลุม โดยกลุมที่ 1 2 และ 3 คือ
บันเดิลชีท
สปันจีมีโซฟิลล์ กลุมที่นักเรียนเขียนชื่อพืชในกลุมพืช C3 C4
และ CAM ตามลําดับ
2. ใหนกั เรียนแตละกลุม ศึกษาลักษณะ โครงสราง
เอพิเดอร์มิสด้านล่าง ภายในของใบ และตัวอยางพืชตามชนิดของ
พืช C3 พืช C4
ภาพที่2.40 ใบพืชตัดตามขวางเปรียบเทียบระหว่างพืช C3 และพืช C4 พืชที่ไดรับมอบหมาย แลวสรุปลงในกระดาษ
ที่มา : คลังภาพ อจท. A4 พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน
ใบพืช C3 และใบพืช C4 มีโครงสร้างภายในที่แตกต่างกัน โดยโครงสร้างของใบพืช C3 จะ 3. ใหนักเรียนแบงกลุมเดิม เพื่อสืบคนกลไกการ
มีเซลล์ในชั้นมีโซฟิลล์ 2 ชนิด คือ แพลิเซดมีโซฟิลล์ (palisade mesophyll) และสปันจีมีโซฟิลล์ ตรึงแกสคารบอนไดออกไซดของพืชตามชนิด
(spongy mesophyll) และจะพบคลอโรพลาสต์ภายในมีโซฟิลล์ทงั้ 2 ชนิดอย่างชัดเจน และบันเดิลชีท ที่ไดรับมอบหมาย แลวสรุปลงในกระดาษ A4
(bundle sheath) อาจมีหรือไม่มกี ไ็ ด้ ซึง่ หากมีบนั เดิลชีทมักไม่พบคลอโรพลาสต์ในบันเดิลชีท ส่วน พรอมนําเสนอในรูปแบบที่นาสนใจ
โครงสร้างของใบพืช C4 พบว่า มีเซลล์มีโซฟิลล์อยู่ติดกับบันเดิลชีท มีพลาสโมเดสมาตา (plas-
modesmata) เชื่อมระหว่างเซลล์ทั้งสองชนิด นอกจากนี้ยังพบคลอโรพลาสต์ในเซลล์มีโซฟิลล์และ
บันเดิลชีทอย่างชัดเจน
แนวตอบ Prior Knowledge
โครงสรางของใบพืช C3 93
https://www.aksorn.com/interactive3D/RNB12 พืช C3 จะใช RuBP สวนพืช C4 และ CAM
จะใช PEP ตรึงคารบอนไดออกไซดในอากาศ

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เมือ่ ตัดใบหูกวางตามขวาง สองดูดว ยกลองจุลทรรศน เราสามารถ ครูอาจนําภาพสไลดใบพืช C3 และ C4 ตัดตามขวาง หรือภาพจากในหนังสือ
แยกไดวา ดานใดเปนดานบนของใบ โดยดูจากกลุม เซลลใด มาใหนกั เรียนศึกษาและเปรียบเทียบโครงสรางภายในประกอบดวยเซลลชนิดใด
1. เซลลคุม มีลักษณะการจัดเรียงที่เหมือนหรือแตกตางกัน อยางไร จากนั้นครูและนักเรียน
2. บัลเดิลชีท รวมกันอภิปรายวา พืช C3 ในชั้นมีโซฟลลมีเซลล 2 ชนิด คือ แพลิเซดมีโซฟลล
3. เซลลสปนจี ซึง่ มีรปู รางเปนทรงกระบอก และสปนจีมโี ซฟลลจะมีรปู รางคอนขางกลม เรียงตัว
4. เอพิเดอรมิส กันอยางหลวมๆ สวนพืช C4 ชั้นมีโซฟลลจะแบงไมชัดเจน แตมีลักษณะพิเศษ
5. เซลลแพลิเซด กวาพืช C3 คือ มีพาเรงคิมามาลอมรอบกลุมทอลําเลียง เรียกวา บันเดิลชีท
(วิเคราะหคําตอบ เนื่องจากใบดานบนมีสีเขียวเขมกวาดานลาง
ซึ่งเปนบริเวณที่ติดกับเซลลแพลิเซด ซึ่งมีคลอโรพลาสตเปนองค- สื่อ Digital
ประกอบอยูอยางหนาแนน ดังนั้น ตอบขอ 5.)
ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสรางใบพืช C3 จาก QR code
3D เรื่อง โครงสรางของใบพืช C3

โครงสรางของใบพืช C3
www.aksorn.com/interactive3D/RKB12 T103
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูสรุปโครงสรางและกลไกการตรึงแกสคาร- 3.2 วัฏจักรคาร์บอนของพืช C4
บอนไดออกไซดของพืชแตละประเภทเปนภาพ จากการศึกษาพบว่า ปฏิกริ ยิ าแสงทีพ่ บในพืชทัว่ ไปทัง้ ในพืช C3 และพืช C4 จะไม่แตกต่างกัน
หรือตารางเพื่อใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติม ในขณะที่การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ของพืชทั้ง 2 ชนิดจะแตกต่างกัน กล่าวคือ สารเสถียรชนิด
2. ครูเขียนคําถามบนกระดาน แลวใหนักเรียน แรกที่เกิดจากการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C3 และพืช C4 เป็นคนละชนิดกัน
จดคําถามและตอบคําถามลงในสมุด จากนั้น เซลล์ที่ทําหน้าที่ในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C4 มี 2 ชนิด คือ เซลล์บันเดิลชีท
ใหนักเรียนจับคูแลกเปลี่ยนคําตอบของตนเอง และเซลล์มีโซฟิลล์ ซึ่งเซลล์บันเดิลชีทจะเรียงตัวกันหนาแน่นรอบเส้นใบและถัดออกมาจะเป็น
ตัวอยางคําถาม มีดังนี้ เซลล์มีโซฟิลล์
ï• จงยกตัวอยางพืช C3 มาอยางนอย 4 ชนิด วัฏจักรคาร์บอนของพืช C4 เกิดขึ้นในเซลล์บันเดิลชีท คาร์บอนไดออกไซด์ที่จะเข้าสู่
(แนวตอบ ขึน้ อยูก บั ดุลยพินจิ ของครู ตัวอยาง วัฏจักรนั้นได้มาจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงโมเลกุลของสารอินทรีย์ในเซลล์มีโซฟิลล์ ดังนั้น
เชน มะมวง ขาว ขาวสาลี ถั่ว ขาวบารเลย) จึงกล่าวได้ว่า ในพืช C4 มีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 2 ครั้ง คือ ครั้งแรกในเซลล์มีโซฟิลล์ และ
ï• จงยกตัวอยางพืช C4 มาอยางนอย 4 ชนิด ครั้งที่สองในเซลล์บันเดิลชีท
(แนวตอบ ขึน้ อยูก บั ดุลยพินจิ ของครู ตัวอยาง
เชน ขาวโพด ออย บานไมรูโรย ขาวฟาง)
ï• จงยกตัวอยางพืช CAM มาอยางนอย 4 ชนิด เซลล์มีโซฟิลล์
CO2
ในอากาศ
(แนวตอบ ขึน้ อยูก บั ดุลยพินจิ ของครู ตัวอยาง PEP
carboxylase
เชน สับปะรด กระบองเพชร วานหางจระเข OAA(4C) PEP(3C)
ศรนารายณ)
มาเลต(4C) ATP
ขยายความเข้าใจ ไพรูเวต(3C)
เซลล์
บันเดิลชีท CO2
1. ใหนักเรียนตรวจสอบความถูกตองจากการ
แบ ง ประเภทของบั ต รคํ า ที่ นั ก เรี ย นได รั บ ว า วัฏจักร
คัลวิน
จําแนกประเภทของพืชถูกตองหรือไม จากการ
ทํากิจกรรมตนชั่วโมง นํ้าตาล
2. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
ม.5 เลม 1 เซลล์โฟลเอ็ม

ภาพที่2.41 แผนภาพวัฏจักรคาร์บอนของพืช C4
ที่มา : คลังภาพ อจท.

94

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจใหนักเรียนลองเปรียบเทียบอัตราการเกิดโฟโตเรสไพเรชันระหวาง พืช C4 มีประสิทธิภาพในการสังเคราะหดวยแสงสูงกวาพืช C3
พืช C3 กับพืช C4 โดยครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายใหไดวา พืช C3 มีอัตรา ดวยเหตุผลในขอใด
การเกิดโฟโตเรสไพเรชันมากกวาพืช C4 เนื่องจากพืช C4 มีกลไกการตรึง 1. พืช C4 มีปากใบมากกวา
คารบอนไดออกไซดในบรรยากาศครั้งแรกที่เซลลมีโซฟลล โดยใชเอนไซม PEP 2. พืช C4 ตรึง CO2 ไดดกี วา
carboxylase ซึ่งมีประสิทธิภาพในการจับกับแกสคารบอนไดออกไซดไดดีกวา 3. พืช C4 มีคิวทิเคิลมากกวา
เอนไซม Rubisco เรียกวิถีนี้วา Hatch-Slack pathway ทําใหพืช C4 มีอัตรา 4. พืช C4 มีคลอโรพลาสตหนาแนนมาก
การเกิดโฟโตเรสไพเรชันนอยมากหรือไมเกิดขึ้นเลย 5. กระบวนการโฟโตเรสไพเรชันในพืช C4 เกิดขึ้นไดยาก
(วิเคราะหคําตอบ เนื่องจากพืช C4 มีกลไกการตรึงคารบอน
ไดออกไซด จ ากบรรยากาศครั้ ง แรกที่ เ ซลล มี โ ซฟ ล ล โดย
ใชเอนไซม PEP carboxylase ซึ่งมีประสิทธิภาพในการจับกับ
แกสคารบอนไดออกไซดไดดีกวาพืช C3 ทําใหพืช C4 มีอัตราการ
เกิดโฟโตเรสไพเรชันนอยมาก ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T104
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครั้งแรก เกิดขึ้นในเซลล์มีโซฟิลล์ เริ่มจากคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศรวมตัวกับ ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปกลไกการ
ฟอสโฟอีนอลไพรูเวต (phosphoenolpyruvate) หรือกรดฟอสโฟอีนอลไพรูวกิ (phosphoenolpyruvic เพิ่มความเขมขนของแกสคารบอนไดออกไซดใน
acid; PEP) ซึ่งเป็นสารที่มีคาร์บอน 3 อะตอมในเซลล์มีโซฟิลล์ โดยอาศัยเอนไซม์ฟอสโฟอีนอล- พืช จากนัน้ ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน
ไพรูเวตคาร์บอกซิเลส (phosphoenolpyruvate carboxylase) เกิดเป็นสารประกอบที่มีคาร์บอน 4 สรางแบบจําลองโครงสรางของใบพืช C3 และ C4
อะตอม ที่เรียกว่า ออกซาโลแอซีเทต (oxaloacetate) หรือกรดออกซาโลแอซีติก (oxaloacetic โดยใชวัสดุที่เหมาะสม พรอมเขียนกลไกการตรึง
acid; OAA) ซึ่งเป็นสารเสถียรชนิดแรกที่ได้จากการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ จากนั้น OAA จะ แกสคารบอนไดออกไซดลงในกระดาษ A4 พรอม
ถูกเปลี่ยนเป็นมาเลต (malate) หรือกรดมาลิก (malic acid) แล้วถูกส่งออกจากเซลล์มีโซฟิลล์ไป นําเสนอหนาชัน้ เรียน
ยังเซลล์บันเดิลชีทผ่านทางพลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata)
ครั้งที่สอง เกิดขึ้นในเซลล์ H. O. T. S.
1 บันเดิลชีท โมเลกุลของมาเลต คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
จะถูกสลายได้เป็นไพรูเวตและคาร์บอนไดออกไซด์ จากนั้น
โครงสร้างภาย
คาร์บอนไดออกไซด์จะถูกตรึงโดยการรวมตัวกับไรบูโลส 1,5 เซลล์เยือ่ บุขา้ งแก้
ในใบของพื ช ม
บิสฟอสเฟตแล้วเข้าสู่วัฏจักรคัลวินภายในคลอโรพลาสต์ของ C3 และ พืช
เซลล์บนั เดิลชีทต่อไป ส่วนไพรูเวตจะถูกส่งผ่านพลาสโมเดสมาตา C4 แตกต่างกันหรือไม่เพราะ
กลับไปยังเซลล์มีโซฟิลล์ตามเดิมเพือ่ เปลีย่ นเป็น PEP โดยอาศัย เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
พลังงานจาก ATP
จะเห็นว่า วัฏจักรคาร์บอนของพืช C4 จะทําให้พชื ซึง่ ได้รบั คาร์บอนไดออกไซด์จากบรรยากาศ
ในปริมาณน้อย สามารถเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ภายในบันเดิลชีทได้มากขึ้น
ทําให้เกิดการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากขึ้นเมื่อเทียบกับการตรึงออกซิเจน ทําให้พืช C4
มีการสูญเสียคาร์บอนอะตอมจากกระบวนการโฟโตเรสไพเรชันน้อยมาก

Topic
Question แนวตอบ H.O.T.S.
ค�าชี้แจง:ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้ เนือ่ งจากพืช C4 เปนพืชเขตรอนทีพ่ บกระจาย
1. เพราะเหตุใดพืช C4 จึงมีกลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แตกต่างจากพืช C3 ตัวตามเขตศูนยสูตร เชน ขาวโพด ออย ซึ่งได
2. พืช C4 มีกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์อย่างไร รับคารบอนไดออกไซดจากบรรยากาศตํ่า ดังนั้น
3. สารประกอบคาร์บอนที่เสถียรชนิดแรกของพืช C3 และ C4 คืออะไร โครงสรางของพืช C4 จึงมีความแตกตางจากพืช
4. พืช C3 และ C4 มีเอนไซม์ที่ใช้ตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร C3 คือ มีเนื้อเยื่อบันเดิลชีทที่หนาลอมรอบทอ
5. คาร์บอนไดออกไซด์ที่เข้าสู่วัฏจักรคัลวินในพืช C3 และ C4 แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ลําเลียงและไมแบงชัน้ มีโซฟลล ซึง่ โครงสรางของ
พืช C4 ลักษณะนี้ ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพในการตรึง
การสังเคราะห์ 95
คารบอนไดออกไซดทบี่ นั เดิลชีทไดมากขึน้ และลด
ด้วยแสง
การสูญเสียคารบอนอะตอมจากกระบวนการโฟโต-
เรสไพเรชัน

แนวตอบ Topic Question นักเรียนควรรู


1. เพราะโครงสรางของใบพืช C3 และพืช C4 แตกตางกัน
1 ไพรูเวต เปนผลิตภัณฑทเี่ กิดขึน้ จากกระบวนการเมแทบอลิซมึ ของกลูโคส
2. มีการตรึงคารบอนไดออกไซด 2 ครัง้ โดยครัง้ แรกเกิดขึน้ ทีเ่ ซลลมโี ซฟลล
หรือไกลโคไลซิสในสัตว หรืออาจเกิดขึ้นจากการสลายตัวของกรดมาลิกเพื่อให
โดยใชเอนไซม PEP carboxylase ไดสารอินทรียตัวแรกที่มีคารบอน 4
ไดคารบอนไดออกไซดแกรบู สิ โกในพืชบางชนิด นอกจากนี้ ไพรูเวตเปนตัวเชือ่ ม
อะตอม ซึ่งสารตัวนี้จะสลายตัวปลอยคารบอนไดออกไซดใหกับรูบิสโก
สําคัญในวิถีเมแทบอลิซึม สามารถถูกเปลี่ยนเปนสารอื่นไดหลายชนิด แตพืช
โดยตรงที่เซลลบันเดิลชีท
สวนใหญมักเปลี่ยนไพรูเวตเปนออกซาโลแอซีเตต เพื่อเขาสูกระบวนการสราง
3. PGA และ OAA ตามลําดับ
นํา้ ตาลกลูโคส (gluconeogenesis) เพือ่ ใหไดคารโบไฮเดรตเก็บสะสมไวสว นตางๆ
4. แตกตางกัน พืช C3 ใชเอนไซมรบู สิ โก สวนพืช C4 ใช PEP carboxylase
ของพืช
5. แตกตางกัน พืช C4 จะเกิดวัฏจักรคัลวินที่บันเดิลชีท แตพืช C3 เกิดขึ้น
ที่ตําแหนงใดก็ไดที่มีคลอโรพลาสต

T105
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
Prior Knowledge
1. ใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเกีย่ วกับสภาพแวดลอม พืชในทะเลทรายมีกลไก 4. กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ
ของพืช CAM แกสคาร์บอนไดออกไซดในพื
2. ครูแจกใบงาน เรือ่ ง กลไกการตรึงแกสคารบอน-
การสังเคราะหดว ยแสง
เหมือนหรือตางจากพืช
์ ช CAM
ไดออกไซดของพืช CAM ทัว่ ไปอยางไร พื ช บางชนิ ด สามารถเจริ ญ เติ บ โตได้ ใ นสภาวะที่ มี แ สง
แดดจัดและแห้งแล้ง เช่น ในทะเลทราย พืชจะสูญเสียนํ้าได้ง่าย
3. ใหนักเรียนนําขอมูลที่ไดจากการสืบคนขอมูล
ในเวลากลางวันเนือ่ งจากเป็นช่วงทีม่ อี ณ
ุ หภูมสิ งู และความชืน้ ตํา่ พืชจึงมีววิ ฒ
ั นาการในการลดการ
ทําใบงาน เรื่อง กลไกการตรึงแกสคารบอน-
สูญเสียนํ้า เช่น การลดรูปของใบให้มีขนาดเล็กลงเพื่อลดพื้นที่ในการคายนํ้า หรือมีลําต้นและใบ
ไดออกไซดของพืช CAM อวบนํ้าเพื่อรักษานํ้าไว้ใช้ในกระบวนการต่าง ๆ
พืชCAM (crassulacean acid metabolism plant) ส่วนใหญ่เป็นพืชที่อยู่ในที่แห้งแล้ง
อธิบายความรู้
ซึ่งมีการปรับตัวเพื่อลดอัตราการสูญเสียนํ้า แต่การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญที่สุด คือ กระบวนการ
1. ครูสุมตัวแทนนักเรียนออกมานําเสนอใบงาน สังเคราะห์ด้วยแสงที่ต่างไปจากพืช C3 และ C4 กล่าวคือ พืชในกลุ่มนี้จะเปิดปากใบเฉพาะในเวลา
2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ในเวลา กลางคืนเพื่อตรึงคาร์บอนไดออกไซด์พืชและสะสมสารประกอบคาร์บอนไว้ในแวคิวโอลในรูป
กลางคืน พืชตรึงคารบอนไดออกไซดไดแตไม ของกรดอินทรีย์ และปิดปากใบในเวลากลางวันเพื่อลดการสู 1 ญเสียนํ้า โดยกระบวนการสังเคราะห์
สามารถสรางนํ้าได เพราะขาด NADPH+H+ ด้วยแสงจะได้รับคาร์บอนไดออกไซด์จากกรดอินทรีย์ที่สะสมไว้ ซึ่งกรดอินทรีย์ดังกล่าวจะเกิดการ
และ ATP พื ช CAM จึ ง ต อ งมี ก ารตรึ ง เปลี่ยนแปลงและปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่คลอโรพลาสต์เพื่อเข้าสู่วัฏจักรคัลวินต่อไป
แกสคารบอนไดออกไซดไวในรูปสารทีป่ ระกอบ กลไกการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชในกลุ่มนี้จะมีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 2 ครั้ง ซึ่ง
ดวยคารบอน 4 อะตอม เพื่อเก็บสะสมไวกอน คล้ายกับพืช C4 แต่เกิดขึ้นต่างเวลากัน
เมื่อพืชไดรับแสงในเวลากลางวัน จึงสามารถ
กลางคืน กลางวัน
สราง NADPH+H+ และ ATP มาใชในวัฏจักร
คัลวินเพื่อสรางนํ้าตาลได OAA
C C C C
มาเลต
C C C C
มาเลต วัฏจักรคัลวิน
C C C C C CO2
CO2 C

แวคิวโอล

C C C C C C
แป้ง ไพรูเวต เซลล์มีโซฟิลล์

ภาพที่2.42 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงในพืช CAM


ที่มา : คลังภาพ อจท.

96 กลไกการตรึงแกสคารบอนไดออกไซดของพืช CAM

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 กรดอินทรีย เปนตนกําเนิดของกรดอะมิโนชนิดตางๆ และทําหนาทีส่ าํ คัญ กระบวนการใดเกิดขึ้นทั้งในพืช C3 พืช C4 และ CAM
ในกระบวนการสังเคราะหดวยแสง เนื้อเยื่อบางชนิดของพืชพบกรดอินทรียใน 1. ปฏิกิริยาแสง
ปริมาณสูง เปนแหลงอาหารและแหลงพลังงาน ซึ่งกรดอินทรียที่เปนอาหาร เชน 2. วัฏจักรคัลวิน
มาเลต มักถูกเก็บสะสมไวในแวคิวโอลประมาณรอยละ 70 และอีกประมาณรอยละ 3. โฟโตเรสไพเรชัน
30 อยูในไมโทคอนเดรียสําหรับกระบวนการเมแทบอลิซึม ในเซลลพืชบางชนิด 4. ขอ 1. และ 2. ถูก
กรดอินทรียจะอยูในรูปของเกลือที่ไมละลาย ตัวอยางเชน แคลเซียมออกซาเลต 5. ขอ 1. และ 3. ถูก
(วิเคราะหคําตอบ โฟโตเรสไพเรชันไมเกิดขึน้ ในพืช C4 และ CAM
สื่อ Digital ดังนั้น ตอบขอ 4.)
ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
การตรึงคารบอนไดออกไซดของพืช CAM
จาก QR code เรื่อง กลไกการตรึงแกส
คารบอนไดออกไซดของพืช CAM

T106
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ครั้ ง แรก เกิ ด ขึ้ น ในเวลากลางคื น เนื่ อ งจากอากาศมี 3. ครูอธิบายเพิม่ เติมวา พืชทีม่ กี ารตรึงคารบอน-
อุณหภูมิตํ่าและความชื้นสูง ปากใบของพืช CAM จะเปด แกส ไดออกไซดลักษณะเชนนี้วา Crussulacean
คารบอนไดออกไซดจะเขาทางรูปากใบในรูปของไฮโดรเจน Acid Metabolism Plant เรี ย กย อ ๆ ว า
คารบอเนตไอออน (HCO3-) ไปยังเซลลมีโซฟลล สารประกอบ พืช CAM เนื่องจากการคนพบกระบวนการ
PEP จะตรึงคารบอนไดออกไซดไวโดยเอนไซมเพปคารบอกซิเลส ตรึงคารบอนไดออกไซดแบบนี้ในพืชพวกวงศ
(PEP carboxylase) ไดออกซาโลแอซีเตต (OAA) ซึ่งเปนสาร Crussulace เปนพืชอวบนํ้า ขยายพันธุไดงาย
ตัวกลางที่ไมเสถียรมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเปนสารประกอบ โดยใชสว นประกอบตางๆ ของพืช เชน กุหลาบ
ที่มีคารบอน 4 อะตอม คือ มาเลตหรือกรดมาลิก โดยอาศัย หิ น ควํ่ า ตายหงายเป น ต อ มาในภายหลั ง
เอนไซมมาเลตดีไฮโดรจีเนส (malate dehydrogenase) เรง พบวา พืชที่ขึ้นในที่แลง เชน กระบองเพชร
ปฏิกิริยา และจะลําเลียงมาสะสมไวในแวคิวโอล สับปะรด
กลวยไม สับปะรด
ครั้งที่สอง เกิดขึ้นในเวลากลางวัน เมื่อเริ่มมีแสงปากใบ
จะปดเพือ่ ลดการสูญเสียนํา้ กรดมาลิกจะแพรออกจากแวคิวโอล ขยายความเข้าใจ
และเปลี่ยนเปนไพรูเวตและแกสคารบอนไดออกไซด จากนั้น 1. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
แก ส คาร บ อนไดออกไซด จ ะถู ก ลํ า เลี ย งไปยั ง คลอโรพลาสต ม.5 เลม 1
เพื่อเขาสูวัฏจักรคัลวินตอไป แตเนื่องจากการปดปากใบทําให 2. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Question
คารบอนไดออกไซดแพรออกนอกใบไดยาก ความเขมขนของ
คารบอนไดออกไซดในเซลลจงึ สูง ทําใหอตั ราโฟโตเรสไพเรชันลด
ลงมาก สวนไพรูเวตจะเปลี่ยนกลับไปเปน PEP โดยใชพลังงาน
ATP จากปฏิกริ ยิ าแสงเพือ่ ไปทําหนาทีต่ รึงไฮโดรเจนคารบอเนต กระบองเพชร
ไอออนตอไป
กระบวนการตรึงคารบอนไดออกไซดในพืชดังกลาว ถูก
คนพบครั้งแรกในพืชตระกูลแครสซูลาซี (crassulaceae) และ
เรียกการปรับตัวใหเขากับสภาวะแสงแดดจัดและแหงแลงโดยใช
กระบวนการสังเคราะหดว ยแสงดังกลาววา เมแทบอลิซมึ ของกรด-
อินทรียใ นพืชแครสซูลาซี (crassulaceae acid metabolism; CAM)
ตอมายังพบวามีพชื อืน่ ๆ ทีม่ กี ารปรับตัวแบบเดียวกับพืชแครสซู-
ลาซีดวย จึงเรียกพืชเหลานั้นรวม ๆ วา พืชซีเอเอ็ม (CAM) เชน
กระบองเพชร กลวยไม สับปะรด ศรนารายณ ศรนารายณ
ภาพที่ 2.43 ตัวอยางพืช CAM
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การสังเคราะห์ 97
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการตรึง CO2 ของพืช C3 C4 และ CAM
1. พืช C3 และ C4 ไดผลิตภัณฑตัวแรกที่เสถียร คือ OAA และ PGA ตามลําดับ
2. พืช C4 และ CAM มีเอนไซมที่ใชในการตรึง CO2 จากบรรยากาศเหมือนกัน คือ รูบิสโก
3. พืช C4 และ CAM มีจํานวนครั้งของการตรึง CO2 ตางกัน คือ 2 ครั้งและ 1 ครั้ง ตามลําดับ
4. พืช C3 และ CAM มีวัฏจักรคัลวินเกิดขึ้นในเวลาตางกัน คือ กลางวันและกลางคืน ตามลําดับ
5. พืช C4 และ CAM มีวัฏจักรคัลวินเกิดขึ้นที่ตําแหนงของเซลลตางกัน คือ เซลลบันเดิลชีท และ
เซลลมีโซฟลล ตามลําดับ
(วิเคราะหคําตอบ พืช C3 และ C4 ไดผลิตภัณฑตัวแรกที่เสถียร คือ PGA และ OAA ตามลําดับ
พืช C4 และ CAM มีเอนไซมที่ใชในการตรึง CO2 จากบรรยากาศเหมือนกัน คือ PEP carboxylase
พืช C4 และ CAM มีจํานวนครั้งของการตรึง CO2 สองครั้ง และพืช C3 และ CAM มีวัฏจักรคัลวิน
เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน คือ กลางวัน ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T107
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครูเขียนตารางเปรียบเทียบกลไกการตรึงแกส จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่า พืช C3 C4 หรือ CAM เป็นพืชเจริญเติบโตได้ดีในบริเวณที่
คารบอนไดออกไซดของพืช C3 C4 และ CAM แตกต่างกัน ดังนั้น พืชแต่ละชนิดจึงมีกลไกการเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ที่เหมือนและแตกต่างกัน
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันสรุปและเปรียบ- ซึ่งสามารถสรุปได้ ดังตารางที่ 2.2
เทียบเปนตารางสรุปลงในกระดาษ A4 ตารางที่ 2.2 : เปรียบเทียบกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ของพืชC3C4และCAM
ข้อเปรียบเทียบ พืชC3 พืชC4 CAM
ขัน้ ประเมิน ตัวอย่างพืช พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชกลุ่ม crussulacean
ตรวจสอบผล และใบเลี้ยงคู่ทั่วไป เขตร้อน เช่น ข้าวโพด เช่น กระบองเพชร
เช่น ต้นมะม่วง สับปะรด
1. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5
เลม 1 ตําแหน่งของแพลิเซด- เรียงเป็นชั้นในแนวตั้ง ล้อมรอบมัดท่อลําเลียง -
มีโซฟิลล์ ฉากกับเอพิเดอร์มิส
2. ตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question ด้านบน
3. ตรวจใบงาน เรือ่ ง กลไกการตรึงแกสคารบอน- ลักษณะบันเดิลชีท ไม่มีคลอโรพลาสต์ มีคลอโรพลาสต์ ไม่มีบันเดิลชีท
ไดออกไซดของพืช CAM จํานวนครั้งในการตรึง 1 ครั้ง 2 ครั้ง 2 ครั้ง
4. ประเมินแผนพับ โดยใชแบบประเมินชิ้นงาน CO2
5. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช ตําแหน่งที่มีการตรึง มีโซฟิลล์ ครั้งที่ 1 มีโซฟิลล์ ครั้งที่ 1 มีโซฟิลล์
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล CO2 ครั้งที่ 2 บันเดิลชีท ครั้งที่ 2 มีโซฟิลล์
6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ สารที่ใช้ตรึง CO2 RuBP ครั้งที่ 1 PEP ครั้งที่ 1 PEP
ครั้งที่ 2 RuBP ครั้งที่ 2 RuBP
ประเมินสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
7. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ สารโมเลกุลแรกที่ได้ PGA (3C) OAA (4C) OAA (4C)
หลังการตรึง CO2
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
การเกิดวัฏจักรคัลวิน เกิดในทุกเซลล์ที่มี เกิดในเซลล์บันเดิลชีท เกิดในทุกเซลล์ที่มี
คลอโรพลาสต์ คลอโรพลาสต์
Topic
Question
ค�าชี้แจง:ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้
1. พืช C4 และพืช CAM มีกลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศแตกต่างกันอย่างไร
2. เพราะเหตุใดพืช CAM จึงจําเป็นต้องตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในเวลากลางคืน
3. สารประกอบคาร์บอนที่เสถียรชนิดแรกของพืช CAM คืออะไร
4. พืช CAM สังเคราะห์กรดมาลิกแล้วลําเลียงไปสะสมที่ใด ซึ่งแตกต่างกับพืช C4 หรือไม่ อย่างไร
5. หากเปรียบเทียบระหว่างพืช C3 กับพืช CAM พืชชนิดใดมีอัตราการเกิดโฟโตเรสไพเรชัน
ที่มากกว่า เพราะเหตุใด
98

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. แตกตางกันที่ เวลาในการตรึงคารบอนไดออกไซดของพืช C4 เกิดขึ้น
ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง กลไกการเพิม่ ความเขมขน
ในเวลากลางวัน แตพืช CAM เกิดขึ้นในเวลากลางคืน
ของแกสคารบอนไดออกไซดในพืช CAM ไดจากการสังเกตพฤติกรรมการ
2. เพราะสภาพแวดลอมของพืช CAM เปนบริเวณที่รอนจัด
ทํางานกลุม โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรม
3. ออกซาโลแอซีเตต หรือ OAA
การทํางานกลุมที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 2
4. แวคิวโอล แตกตางกันซึ่งพืช C4 จะไมสะสมกรดมาลิกไวในแวคิวโอล
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ


5. พืช C3 เพราะคารบอนไดออกไซดทเี่ ขาสูว ฏั จักรคัลวินมาจากบรรยากาศ
ลาดับ
ที่
คะแนน

ชื่อ–สกุล
ของนักเรียน
การแสดง
ความคิดเห็น
การยอมรับฟัง
คนอื่น
การทางาน
ตามที่ได้รับ
มอบหมาย
ความมีน้าใจ
การมี
ส่วนร่วมในการ
ปรับปรุง
ผลงานกลุ่ม
รวม
15
โดยตรง ซึง่ แตกตางกับคารบอนไดออกไซดทเี่ ขาสูว ฏั จักรคัลวินของพืช
CAM ซึ่งไดมาจากการสลายตัวของกรดมาลิก
คะแนน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................/.............../...............

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-15 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง

T108
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
ปจจัยใดบางทีม่ ผี ลตอ 5. ปจ จัยบางประการทีม่ ผี ลตออัตรา 1. ครูถามคําถาม Prior Knowledge
การสังเคราะหดว ยแสง การสังเคราะห์ดว้ ยแสง 2. ครูถามคําถามทบทวนความรูเ ดิมของนักเรียน
ของพืช แลวใหนกั เรียนเขียนสมการสังเคราะหดว ยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชมีความสําคัญอย่างมาก 3. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน แลวให
เพราะไม่เพียงแต่ผลิตอาหารให้แก่ผู้บริโภค แต่ยังเป็นการลด
แตละกลุมรวมกันวิเคราะหวา ปจจัยใดที่มีผล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และเพิม่ แก๊สออกซิเจนให้แก่ระบบนิเวศอีกด้วย ดังนัน้ การศึกษาเกีย่ วกับ
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการสังเคราะห์ดว้ ยแสงจึงมีความสําคัญ จากการศึกษา พบว่า อัตราการสังเคราะห์ ตอการสังเคราะหดวยแสงบาง
ด้วยแสงขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ 4. ครูเปดเพลงแลวใหแตละกลุมสงลูกบอลไป
เรื่อยๆ จนกวาครูจะปดเพลง ลูกบอลอยูที่
5.1 แสงและความเข้มของแสง กลุมใด ใหกลุมนั้นตอบคําถาม
แสงที่ส่องมายังโลกมีปริมาณแตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับตําแหน่งบนพื้นโลกและฤดูกาล 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ปจจัยที่
แสงบางส่วนจะถูกดูดและสะท้อนโดยบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก แสงที่สามารถผ่านบรรยากาศมา มีผลตอการสังเคราะหดวยแสง ไดแก แสง
กระทบผิวใบนัน้ พืชสามารถดูดกลืนไว้ได้เพียงร้อยละ 40 และยังมีบางส่วนทีเ่ กิดการสะท้อนกลับ ซึง่ และความเข ม ของแสง ความเข ม ของแก ส
พืชแต่ละชนิดต้องการแสงทีม่ คี วามเข้มทีแ่ ตกต่างกัน บางชนิดเจริญได้ดใี นทีร่ ม่ บางชนิดเจริญได้ดี คารบอนไดออกไซด อุณหภูมิ อายุใบ ปริมาณนํา้
ในที่โล่งแจ้ง และธาตุอาหาร
B iology
Focus พืชในร่มและพืชกลางแจ้ง
พืชในร่ม (indoor plants) เป็นพืชที่
ต้องการความเข้มของแสงตํ่า นิยมปลูกในที่ร่ม
บริเวณที่มีแสงรําไร ซึ่งเป็นบริเวณที่ส่งผลให้
พืชมีการสังเคราะห์ด้วยแสงดี อย่าให้ถูกแดดจัด
เพราะจะทําให้ใบไหม้และตายได้ เช่น เฟิรน์ ต่าง ๆ
สาวน้อยประแป้ง บอนสี ภาพที่2.44 สาวน้อยประแป้ง
พืชกลางแจ้ง (outdoor plants) เป็น ที่มา : คลังภาพ อจท.
พืชที่ต้องการความเข้มของแสงสูง เช่น บริเวณ
กลางแจ้ง หรือบริเวณที่มีแสงแดดจัด เนื่องจาก
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชจะเกิด
ขึ้ น ได้ ดี เช่ น กุ ห ลาบ เข็ ม ยี่ โ ถ ดาวเรื อ ง
ดาวกระจาย ชวนชม เฟองฟ้า
ภาพที่2.45 ดาวกระจาย
ที่มา : คลังภาพ อจท.

แนวตอบ Prior Knowledge


การสังเคราะห์ 99
ด้วยแสง
แสง คารบอนไดออกไซด อุณหภูมิ อายุใบ
ปริมาณนํ้าที่พืชไดรับ ธาตุอาหาร

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เพราะเหตุใดพืชบางชนิดจึงสามารถเจริญเติบโตไดในที่รม กอนเขาสูบ ทเรียนใหครูยกตัวอยางสถานการณจริงทีน่ กั เรียนพบเห็นในชีวติ
1. เพราะเปนพืชที่ไมมีกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ประจําวันเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตออัตราการสังเคราะหดวยแสง แลวใหนักเรียน
2. เพราะเปนพืชที่สามารถสังเคราะหดวยแสงไดแมไมมีแสง วิเคราะหและอภิปรายวา สภาพแวดลอมของพืชมีผลตอการสังเคราะหดวยแสง
3. เพราะเปนพืชพวกที่สังเคราะหดวยแสงในที่ที่มีความเขม ของพืชหรือไม อยางไร และนักเรียนคิดวามีปจ จัยใดบางทีม่ ผี ลตอการสังเคราะห
แสงนอยไดดี ดวยแสงของพืช
4. เพราะเปนพืชที่ผลิตอาหารไดในที่มืด โดยใชธาตุอาหารที่
อยูภายในดิน
5. เพราะเมื่ อ อยู  ใ นที่ ร  ม ไม จํ า เป น ที่ จ ะต อ งใช แ สงในการ
สังเคราะหดวยแสง
(วิเคราะหคําตอบ พืชในทีร่ ม มีอตั ราการหายใจตํา่ กวาพืชกลางแจง
ดังนั้น พืชในที่รมจึงมีไลตคอมเพนเซชันพอยตตํ่ากวาพืชที่อยู
กลางแจง กลาวคือ ในที่ที่มีความเขมแสงนอย พืชในที่รมสามารถ
สังเคราะหแสงไดดี ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T109
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1. ใหนกั เรียนศึกษาหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1 • การตีความหมายข้อมูลและ
เกีย่ วกับแสงและความเขมของแสงมีผลอยางไร ความเข้มของแสง ลงข้อสรุป
จิตวิทยาศาสตร์
ตอกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช • ความสนใจใฝ่รู้

2. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 4 คน ทํากิจกรรม จุดประสงค์ • การทํางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง


สร้างสรรค์
เรือ่ ง ความเขมของแสง โดยใหสมาชิกภายใน 1. ส บื ค้นข้อมูลความเข้มของแสงทีม่ ผี ลต่ออัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สทุ ธิของต้นอ้อย ข้าว และมะม่วง
กลุม แบงหนาทีก่ นั ดังนี้ 2. ว เิ คราะห์และเปรียบเทียบความเข้มของแสงทีม่ ผี ลต่อกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของต้นอ้อย ข้าว และ
- สมาชิกคนที่ 1 : สืบคนขอมูล มะม่วง
- สมาชิกคนที่ 2 และ 3 : วิเคราะหและบันทึก
ผลการทํากิจกรรม วัสดุอปุ กรณ์
- สมาชิกคนที่ 4 : นําเสนอผลการทํากิจกรรม
1. สมุดบันทึก
2. กระดาษกราฟ
3. อุปกรณ์เครื่องเขียน เช่น ดินสอ ปากกา ยางลบ ไม้บรรทัด

วิธปี ฏิบตั ิ
1. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความเข้มของแสงที่มีผลต่ออัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิของต้นอ้อย ข้าว
และมะม่วงในช่วง 0-2,000 μmol m-2 s-1
2. บันทึกข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นเป็นกราฟโดยให้แกนนอน คือ ความเข้มของแสง (μmol m-2 s-1) และ
แกนตั้ง คือ อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิ (μmol m-2 s-1)
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม 3. วิเคราะห์ข้อมูลจากกราฟและอภิปรายผลกิจกรรม
1. ความเขมของแสงที่เพิ่มขึ้น สงผลใหอัตราการ
สังเคราะหดวยแสงเพิ่มขึ้น ?
ค�าถามท้ายกิจกรรม
2. อั ต ราการตรึ ง คาร บ อนไดออกไซด สุ ท ธิ เ ป น 1. ความเข้มของแสงมีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชอย่างไร
ลบ เนื่องจากกระบวนการหายใจมีมากกวา 2. ในที่ไม่มีแสง อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ของพืชทั้ง 3 ชนิดเป็นอย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
อั ต ราการตรึ ง คาร บ อนไดออกไซด เ พื่ อ ใช 3. ไลต์คอมเพนเซชันพอยต์คืออะไร
ในการสังเคราะหดวยแสง 4. จากกราฟไลต์คอมเพนเซชันพอยต์ของต้นอ้อย ข้าว และมะม่วงมีค่าเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
3. จุดความเขมแสงทีท่ าํ ใหอตั ราการตรึงคารบอน- 5. จุดอิ่มตัวคืออะไร
ไดออกไซดสุทธิเปนศูนย เนื่องจากอัตราการ 6. จากกราฟจุดอิ่มตัวของแสงของต้นอ้อย ข้าว และมะม่วงมีค่าเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
ปล อ ยคาร บ อนไดออกไซด จ ากกระบวนการ
หายใจเทากับอัตราการตรึงคารบอนไดออกไซด 100
จากกระบวนการสังเคราะหดวยแสง

บันทึก กิจกรรม ขอสอบเนน การคิด


ขึน้ อยูก บั ขอมูลทีส่ บื คนไดจากแหลงการเรียนรู โดยอัตราการสังเคราะหดว ย อัตราการสังเคราะหดวยแสงของพืชไรทั่วไปเปนอยางไร
แสงของพืชขึน้ อยูก บั ความเขมแสงในแตละวัน โดยความเขมแสงเพิม่ ขึน้ อัตราการ 1. ไมคงที่ ขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ
สังเคราะหดวยแสงของพืชแตละชนิดจะสูงขึ้น จนกระทั่งถึงจุดที่ความเขมแสง 2. ไมคงที่ ขึน้ อยูก บั ปริมาณนํา้ ทีพ่ ชื ไดรบั
หนึ่งที่แมวาความเขมแสงจะเพิ่มขึ้น แตอัตราการสังเคราะหดวยแสงจะคงที่ 3. คงที่ เนื่องจากไดรับความเขมแสงเทากันตลอดวัน
ดังนั้น กราฟที่ไดจะมีลักษณะสูงชันในชวงแรกและคงที่ในชวงหลัง 4. คงที่ เนื่องจากความเขมแสงที่ไดรับถึงจุดอิ่มตัวตลอดวัน
5. สูงสุดในเวลาเชาและลดลงในเวลาบาย เนื่องจากพืช
ตรึงคารบอนไดออกไซดไวมากเพียงพอแลว
(วิเคราะหคําตอบ อัตราการสังเคราะหดวยแสงของพืชไรทั่วไป
แปรปรวนไมคงที่ ขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ไดแก ความเขม
แสงและคารบอนไดออกไซดในแตละวัน อุณหภูมิ ปริมาณนํา้ ทีพ่ ชื
ไดรับ ธาตุอาหารภายในดิน ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T110
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ใหแตละกลุม สงตัวแทนกลุม ออกมานําเสนอผล
ที่ไดจากการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
อภิปรายผลกิจกรรม 2. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
จากการสืบค้นข้อมูลสามารถเขียนกราฟได้ ดังนี้ 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ
35 อ้อย ทํากิจกรรม
30
อัตราการตรึง CO2 สุทธิ (μmol m-2 s-1)

25
20 ข้าว
15
10
มะม่วง
5
0
-5 500 1,000 1,500 2,000
ความเข้มของแสง (μmol ของโฟตอน m-2 s-1)
ภาพที่2.46 ผลของความเข้มข้นของแสงต่ออัตราการตรึง CO2 ของต้นอ้อย ข้าว และมะม่วง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
จากกราฟ พบว่า พืชทั้ง 3 ชนิดมีอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิต่างกัน แม้ว่าความเข้มแสง
จะเท่ากัน เมื่อความเข้มแสงสูง พืชจะมีอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิสูงเช่นกัน นอกจากนี้ยังพบว่า 4. ไลตคอมเพนเซชันพอยตของตนออยและขาว
ในบริเวณที่ที่ไม่มีแสงอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิจะเป็นลบ เนื่องจากคาร์บอนไดออกไซด์ถูกปล่อย มีประมาณเทากัน คือ 30 ไมโครโมลโฟตอน
ออกมาจากกระบวนการหายใจมีมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ทใี่ ช้ในการตรึง โดยไลต์คอมเพนเซชันพอยต์ (light ตอเมตรวินาที สวนไลตคอมเพนเซชันพอยต
compensation point) คือ จุดตัดของเส้นกราฟบนแกนนอน เมื่อความเข้มของแสงเพิ่มขึ้นจนกระทั่งอัตรา ของมะมวงประมาณ 100 ไมโครโมลโฟตอน
การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากกระบวนการหายใจเท่ากับอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์เพื่อใช้ใน ตอเมตรวินาที
กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง เรียกค่าความเข้มของแสงนีว้ า่ ไลต์คอมเพนเซชันพอยต์ (light compensation 5. จุดที่เมื่อเพิ่มความเขมของแสงแลวอัตราการ
point) ซึ่งเป็นจุดตัดของเส้นกราฟบนแกนนอน จะเห็นว่าพืชทั้ง 3 ชนิดมีค่านี้แตกต่างกัน โดยมะม่วงซึ่งเป็น
พืช C3 จะมีค่าไลต์คอมเพนเซชันพอยต์มากกว่าอ้อยซึ่งเป็นพืช C4 ตรึงคารบอนไดออกไซดสทุ ธิจะไมเพิม่ ขึน้
เมือ่ ให้ความเข้มของแสงเพิม่ ขึน้ อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สทุ ธิจะเพิม่ ขึน้ และเมือ่ เพิม่ ความเข้ม 6. จากกราฟ ออยมีจุดอิ่มตัวของแสงประมาณ
ของแสงมากขึ้นเรื่อย ๆ จนถึงจุดหนึ่งอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิจะไม่เพิ่มขึ้น เรียกค่าความเข้ม 1,500 ไมโครโมลโฟตอนตอเมตรวินาที ขาวมี
ของแสง ณ จุดนี้ว่า จุดอิ่มตัวของแสง (light saturation point) ซึ่งพืชส่วนใหญ่จะมีจุดอิ่มตัวของแสงในช่วง จุดอิม่ ตัวของแสงมากกวา 2,000 ไมโครโมลโฟ-
แสงประมาณ 300-1,000 ของโฟตอน (m-2 s-1) และจากกราฟจะเห็นว่า พืช C4 มีจุดอิ่มตัวของแสงมากกว่า ตอน แตการทดลองนีข้ า วมีความเขมแสงเพียง
พืช C3 2,000 ไมโครโมลโฟตอนตอเมตรวินาที สวน
มะมวงนาจะมีจดุ อิม่ ตัวของแสงประมาณ 1,500
ไมโครโมลโฟตอนตอเมตรวินาที เนือ่ งจากอัตรา
การสังเคราะห์ 101 การสังเคราะหดว ยแสงของพืชเปลีย่ นแปลงไป
ด้วยแสง
ตามความเขมของแสงในแตละวัน

ขอสอบเนน การคิด
ขอใดเปนขอสรุปที่ไดจากกราฟ 35 อ้อย
1. ไลตคอมเพนเซชันพอยตของออยมีคา สูงกวามะมวง 30
อัตราการตรึง CO2 สุทธิ

25
(μmolm-2 s-1)

2. ออยมีจุดอิ่มตัวของแสงประมาณ 33 ไมโครโมล 20 ข้าว


ตอเมตรวินาที 15
10
3. มะมวงมีจุดอิ่มตัวของแสงประมาณ 1,500 ไมโคร- 5 มะม่วง
0
โมลตอเมตรวินาที -5 500 1,000 1,500 2,000
-2 s-1)
4. ความเขมแสงที่มากกวา 1,000 ไมโครโมลตอเมตร ความเข้ ม ของแสง (μmol ของโฟตอน m
วินาที จะไมมีผลตอการเพิ่มอัตราการตรึงคารบอนไดออกไซดสุทธิของออย
5. ความเขมแสงทีต่ าํ่ กวา 250 ไมโครโมลตอเมตรวินาที จะไมมผี ลตอการเพิม่ อัตราการตรึงคารบอนไดออกไซด
สุทธิของมะมวง
(วิเคราะหคําตอบ จากกราฟสรุปไดวา ไลตคอมเพนเซชันพอยตของออยตํ่ากวามะมวง แตออยมีจุดอิ่มตัว
แสงมากกวามะมวง จากกราฟจะเห็นวา จุดอิ่มตัวของแสงของมะมวงประมาณ 1,500 ไมโครโมลตอเมตรวินาที
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T111
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม 4 คน ทํ า กิ จ กรรม • การสังเกต
การวัดอัตราการสังเคราะหด้วยแสงของพืชที่ความ
การวัดอัตราการสังเคราะหดวยแสงของพืชที่ เข้มของแสงต่าง ๆ
• การทดลอง
• การคํานวณ
ความเขมของแสงตางๆ โดยสมาชิกในกลุมมี จิตวิทยาศาสตร์
บทบาทและหนาที่ของตนเอง ดังนี้ จุดประสงค์ • ความรอบคอบ

- สมาชิกคนที่ 1 : ทําหนาทีเ่ ตรียมวัสดุอปุ กรณ 1. วัดอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชที่ความเข้มของแสงต่าง ๆ


- สมาชิกคนที่ 2 : ทํ า หน า ที่ อ  า นวิ ธี ก ารทํ า 2. วิเคราะห์ผลความเข้มของแสงมีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
กิจกรรม และนํามาอธิบายใหสมาชิกภายใน
กลุมฟง วัสดุอปุ กรณ์
- สมาชิกคนที่ 3 : ทําหนาที่บันทึกผลการทํา 1. สาหร่ายหางกระรอก 5. เทอร์มอมิเตอร์
1
กิจกรรม 2. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 6. บีกเกอร์ขนาด 2,000 cm3
- สมาชิกคนที่ 4 : ทําหนาทีน่ าํ เสนอผลการทํา 3. หลอดทดลอง 7. โคมไฟที่มีหลอดไฟขนาด 100 W
กิจกรรม 4. สายวัด
2. ในระหวางการทํากิจกรรมใหสมาชิกภายใน วิธปี ฏิบตั ิ
กลุ  ม ตั้ ง คํ า ถามขั้ น ตอนการทดลองที่ ต นเอง
สงสัย เชน เพราะเหตุใดการทดลองนี้จึงตอง 1. ใส่โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 0.4 กรัม ลงใน
บีกเกอร์ขนาดใหญ่ที่มีนํ้าอยู่ Safety first
ใชสารโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต แลวให
โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตไม่จัดว่าเป็นสาร
สมาชิ ก ร ว มกั น สื บ ค น จากแหล ง ข อ มู ล เพื่ อ ผสมอันตราย แต่สามารถเกิดปฏิกิริยารุนแรงกับ
หาคําตอบ 2
โลหะแอลคาไล หรือสารที่มีสมบัติเป็นกรดได้ และ
สามารถสร้างแก๊สหรือไอที่มีความอันตรายเมื่อทํา
ปฏิกิริยากับสารจําพวกแอมโมเนียม ซึ่งถ้าหาก
สัมผัสหรือสูดดมสารเข้าไปในปริมาณมาก จะส่งผล
ให้เกิดอาการระคายเคือง คลื่นไส้ และอาเจียน
2. ใส่สาหร่ายหางกระรอกลงในกรวยแก้ว แล้วควํ่า ทั้งแบบเฉียบพลัน และเกิดในภายหลังได้ ดังนั้น
กรวยแก้วลงในบีกเกอร์จากข้อ 1. จึงควรใช้สารอย่างระมัดระวัง ควรสวมชุดป้องกัน
และถุงมือที่มีความทนทานต่อสาร

102

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต หรือผงฟู มีลักษณะเปนของแข็งสีขาว ความเขมของแสงและอัตราการสังเคราะหดวยแสงมีความ
มีโครงสรางเปนผลึก แตปรากฏในรูปผงละเอียด มีคุณสมบัติเปนเบส เมื่อไดรับ สัมพันธกันหรือไม
ความรอนที่อุณหภูมิมากกวา 70 °๐C จะคอยๆ สลายตัวเปนโซเดียมคารบอเนต 1. มี เมือ่ ความเขมของแสงเพิม่ อัตราการสังเคราะหดว ยแสงลด
(Na2CO3) นํ้า และคารบอนไดออกไซด (CO2) ซึ่งจะเกิดขึ้นไดเร็วที่อุณหภูมิ 2. มี เมือ่ ความเขมของแสงลด อัตราการสังเคราะหดว ยแสงเพิม่
250 °๐C 3. มี เมือ่ ความเขมของแสงเพิม่ อัตราการสังเคราะหดว ยแสงเพิม่
2 โลหะแอลคาไล เปนธาตุโลหะที่มีอิเล็กตรอนวงนอกเทากับ 1 เปนธาตุ 4. ไมมี เนือ่ งจากอัตราการสังเคราะหดว ยแสงแปรปรวนตลอด
ที่วองไวตอการเกิดปฏิกิริยา ไมพบธาตุกลุมนี้ในรูปอิสระตามธรรมชาติ ทํา เวลา
ปฏิกิริยากับนํ้ารุนแรงมากไดแกส H2 เมื่อเปนไอออนจะมีประจุ +1 หากอยูใน 5. ไมมี อัตราการสังเคราะหดวยแสงคงที่เสมอ
รูปสารประกอบเกลือจะละลายนํ้าไดดี นอกจากนี้ ยังเปนตัวนําความรอนและ (วิเคราะหคําตอบ ความเขมของแสงและอัตราการสังเคราะห
นําไฟฟาไดดี ดวยแสงมีความสัมพันธกัน เมื่อเพิ่มความเขมของแสง อัตราการ
สังเคราะหดวยแสงจะเพิ่มตาม โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อความเขม
ของคารบอนไดออกไซดมีปริมาณสูง ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T112
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
3. ใส่นาํ้ จนเต็มหลอดทดลอง แล้วควํา่ หลอดทดลอง 4. วางให้โคมไฟให้อยู่ห่างจากสาหร่ายหางกระรอก 1. ใหแตละกลุม สงตัวแทนกลุม ออกมานําเสนอผล
ให้ครอบก้านกรวยแก้ว (ระวังอย่าให้เกิดฟอง 100 เซนติเมตร เปิดไฟตั้งทิ้งไว้ 3-10 นาที การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
อากาศขึ้นในหลอดทดลอง) นับจํานวนฟองอากาศที่เกิดขึ้นจากการทดลอง 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา
ในเวลา 1 นาที และบันทึกลงในสมุดบันทึก กิจกรรม
3. ครูถามคําถามทายกิจกรรม

100 cm
5. ปฏิบตั เิ หมือนข้อ 4.- 5. แต่เลือ่ นโคมไฟให้อยูห่ า่ ง 6. เขียนกราฟ โดยให้ความเข้มแสงเป็นแกนนอน
จากสาหร่ายหางกระรอกในระยะ 50 25 และ 12.5 และจํานวนฟองอากาศเป็นแกนตั้ง
เซนติเมตร ตามลําดับ

ภาพที่2.47 การวัดอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ที่ความเข้มแสงต่าง ๆ กัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

?
ค�าถามท้ายกิจกรรม
1. การเลือ่ นโคมไฟให้อยูใ่ นตําแหน่งทีแ่ ตกต่างกันมีผลต่อความเข้มของแสงทีส่ าหร่ายหางกระรอกได้รบั อย่างไร
2. ความเข้มของแสงมีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงหรือไม่ อย่างไร
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
อภิปรายผลกิจกรรม
1. ระยะหางโคมไฟมาก ความเขมแสงจะนอย
จากกิจกรรม พบว่า เมื่อวางหลอดไฟห่างจากสาหร่ายหางกระรอกในระยะ 100 เซนติเมตร (ความเข้ม ในทางกลับกันระยะหางโคมไฟนอย ความเขม
ของแสงน้อย) จะนับฟองอากาศในหลอดทดลองได้นอ้ ยทีส่ ดุ แต่เมือ่ ขยับหลอดไฟเข้าใกล้สาหร่ายหางกระรอก
เพิม่ มากขึน้ (ความเข้มของแสงเพิม่ ขึน้ ) จะนับฟองอากาศได้มากขึน้ ดังนัน้ ความเข้มของแสงจึงมีผลต่ออัตรา ของแสงจะเพิม่ ขึน้
การสังเคราะห์ด้วยของพืช 2. มีผล เนือ่ งจากถาเพิม่ ความเขมของแสงมากขึน้
อัตราการสังเคราะหดว ยแสงจะเพิม่ ขึน้ แตจะ
การสังเคราะห์ 103 เพิม่ ขึน้ ไดระดับหนึง่ เมือ่ เพิม่ ความเขมของแสง
ด้วยแสง
อัตราการสังเคราะหดว ยแสงจะไมเพิม่ ขึน้ แตจะ
มีคา คงที่

ขอสอบเนน การคิด บันทึก กิจกรรม

เมื่อวางโคมไฟอยูหางจากพืชนํ้าในระยะตางๆ มีผลตอความ กราฟที่ไดควรมีความชันเปนบวก เนื่องจากยิ่งเลื่อนโคมไฟเขาใกลสาหราย


เขมของแสงที่พืชไดรับอยางไร หางกระรอก ความเขมของแสงยิง่ เพิม่ ขึน้ อัตราการสังเคราะหดว ยแสงจะเพิม่ ขึน้
1. ยิ่งเลื่อนโคมไฟเขาใกล ความเขมของแสงยิ่งลดลง จํานวนฟองอากาศที่เกิดขึ้นจึงมีจํานวนเพิ่มขึ้นดวย
2. ยิ่งเลื่อนโคมไฟเขาใกล ความเขมของแสงยิ่งเพิ่มขึ้น ตัวอยางกราฟ
3. การเลื่อนโคมไฟใกลหรือไกลมีผลตออุณหภูมิของนํ้า จํานวนฟองอากาศ
4. การเลือ่ นโคมไฟใกลหรือไกลมีผลเฉพาะตอนํา้ และขวดแกว
แตไมมีผลตอพืช
5. การเลื่อนโคมไฟใกลหรือไกล ไมมีผลตอความเขมของแสง
เพราะนํ้าในบีกเกอรเปนตัวปรับแสงใหคงที่อยูเสมอ
(วิเคราะหคําตอบ หากเลื่อนโคมไฟออกหางจากพืช ความเขม ความเขมแสง
แสงจะลดลง ในทางกลับกันหากเลือ่ นโคมไฟเขาใกลพชื ความเขม
แสงจะเพิ่มขึ้น ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T113
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูเกริน่ นําวา ความเขมของคารบอนไดออกไซด 5.2 ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์
ในอากาศเป น อี ก ป จ จั ย หนึ่ ง ที่ มี ผ ลต อ การ คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
สังเคราะหดวยแสง กล่าวคือ ถ้าความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ตาํ่ มาก พืชจะสังเคราะห์ดว้ ยแสงได้นอ้ ย แต่หาก
2. ใหนักเรียนบันทึกกราฟความเขมของแสงตอ ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเพิ่มขึ้น พืชจะสามารถตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ได้
อัตราการตรึงคารบอนไดออกไซดของตนขาว มากขึ้นการสังเคราะห์ด้วยแสงก็จะเกิดมากขึ้นด้วย
ขาวโพด และออย ถ้าอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงน้อยกว่าอัตรา
3. ครูมอบหมายใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับ การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการหายใจ อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิ
ความเขมขนของคารบอนไดออกไซดในอากาศ จะเป็นลบ แต่เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ไปถึงระดับหนึ่งที่ทําให้อัตราการตรึง
มีผลตอการตรึงคารบอนไดออกไซดของตน คาร์บอนไดออกไซด์ดว้ ยกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงเท่ากับอัตราการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์
ขาว ขาวโพด และออยอยางไร ใหนักเรียน จากกระบวนการหายใจ เรียกความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ ณ จุดนีว้ า่ คาร์บอนไดออกไซด์-
บันทึกผลลงในกระดาษกราฟ คอมเพนเซชันพอยต์ (carbondioxide compensation point) โดยเป็นจุดตัดของเส้นกราฟ
4. ครูใหนักเรียนเปรียบเทียบระหวางกราฟความ บนแกนนอน ซึ่งเป็นจุดที่พืชมีอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเท่ากับศูนย์
เขมของแสงกับความเขมขนของคารบอน- เมื่อความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเพิ่มมากขึ้นถึงจุดหนึ่ง อัตราการตรึง
ไดออกไซดที่มีผลตออัตราการตรึง CO2 สุทธิ คาร์บอนไดออกไซด์สุทธิจะไม่เพิ่มขึ้น เรียกค่าความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ ณ จุดนี้ว่า
ของตนขาว ขาวโพด และออย
จุดอิ่มตัวของคาร์บอนไดออกไซด์ (carbondioxide saturation point)

45
ข้าว
ข้าวโพด
อัตราการตรึง CO2 สุทธิ (μmol m-2 s-1)

35
อ้อย
25

15

-5 200 400 600 800 1,000


ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ (ppm)

ภาพที่2.48 ผลของความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 3 ชนิด


ที่มา : คลังภาพ อจท.

104

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมใหกับนักเรียนวา พืช C3 นาจะสามารถอยูรอดได CO2 ที่พืชคายออกมาจากกระบวนการหายใจ และมีอัตรา
ดีกวาพืช C4 เนื่องจากพืช C3 มีจุดอิ่มตัวของคารบอนไดออกไซดสูงกวาพืช เทากับการตรึง CO2 ที่พืชนําไปใชในกระบวนการสังเคราะหดวย
C4 เมื่อความเขมขนของคารบอนไดออกไซดในอากาศสูงขึ้นถึงจุดอิ่มตัวของ แสง เรียกจุดนี้วาอะไร
คารบอนไดออกไซด อัตราการตรึง CO2 สุทธิของพืช C3 จะสูงกวาพืช C4 ดังนัน้ 1. จุดอิ่มตัวของแสง
พืช C3 จึงไดเปรียบกวาพืช C4 ในสภาวะทีม่ คี วามเขมขนของคารบอนไดออกไซด 2. ไลตคอมเพนเซชันพอยต
ในอากาศสูง 3. ออกซิเจนคอมเพนเซชันพอยต
4. จุดอิ่มตัวของคารบอนไดออกไซด
5. คารบอนไดออกไซดคอมเพนเซชันพอยต
(วิเคราะหคําตอบ คําตอบเปนไปตามตัวเลือก ดังนัน้ ตอบขอ 5.)

T114
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
จากภาพ ข้าวโพดและอ้อยซึ่งเป็นพืช C4 จะมีคาร์บอนไดออกไซด์คอมเพนเซชันพอยต์ที่ 1. ครูสมุ เรียกนักเรียน 2-3 คน โดยครูใหนกั เรียน
ระดับตํา่ กว่าข้าวซึง่ เป็นพืช C3 เนือ่ งจากพืช C4 มีกลไกเพิม่ ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ใน โยนลูกบอลยางตอไป จนกระทั่งครูนับเลข
เซลล์บนั เดิลชีท ทําให้การสูญเสียคาร์บอนไดออกไซด์โดยกระบวนการโฟโตเรสไพเรชันมีนอ้ ยมาก 1-10 หากบอลยางอยู  ที่ นั ก เรี ย นคนใดให
อย่างไรก็ตาม ในสภาพที่มีออกซิเจนน้อย โฟโตเรสไพเรชันในพืช C3 เกิดขึ้นได้น้อย ทําให้ค่าของ นักเรียนคนนั้นลุกขึ้นตอบคําถาม
คาร์บอนไดออกไซด์คอมเพนเซชันพอยต์ระหว่างพืช C3 และพืช C4 มีความแตกต่างกันน้อยมาก ตัวอยางคําถาม มีดังนี้
นอกจากนี้ อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิในพืช C4 (ข้าวโพดและอ้อย) จะเข้าสู่ ï• คารบอนไดออกไซดคอมเพนเซชันพอยต
ช่วงระยะอิ่มตัวที่ระดับตํ่ากว่าพืช C3 (ข้าว) เนื่องจากที่ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ใน ของพืชแตละชนิดเปนอยางไร
บรรยากาศระดับปกติ (ความเข้มข้นประมาณ 350 ppm) พืช C4 H. O. T. S. (แนวตอบ ขาวโพดและออยซึ่งเปนพืช C4 มี
จะมีกลไกเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในเซลล์ คําถามทาทายการคิดขั้นสูง คารบอนไดออกไซดคอมเพนเซชันพอยตที่
บันเดิลชีทได้ดีจนเอนไซม์รูบิสโกทํางานได้ดี จึงทําให้อัตราการ เพราะเหตุใด ตํ่ากวาขาวซึ่งเปนพืช C3)
ตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเข้าสู่ระยะอิ่มตัวทําให้กราฟเริ่มจะ พืเซลล์
ช เCยือ่ 3บุ จึขา้ งงแก้
มี ม ï• จุดอิ่มตัวของคารบอนไดออกไซดของพืช
คงที่ ในขณะที่เอนไซม์รูบิสโกของพืช C3 ต้องการความเข้มข้น จุดอิ่มตัวของ
แตละชนิดเปนอยางไร
ของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศสูงถึง 850 ppm จึงจะ คาร์บอนไดออกไซด์สูงกว่า
(แนวตอบ จุดอิ่มตัวของคารบอนไดออกไซด
ทําให้อตั ราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สทุ ธิเข้าสูช่ ว่ งระยะอิม่ ตัว พืช C4
ของข า วโพดสู ง กว า อ อ ยและข า ว ตาม
5.3 อุณหภูมิ ลํ า ดั บ ดั ง นั้ น พื ช C 4 มี จุ ด อิ่ ม ตั ว ของ
โดยทัว่ ไปอัตราการสังเคราะห์ดว้ ยแสงจะเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ และจะมากทีส่ ดุ เมือ่ ถึงอุณหภูมหิ นึง่ คารบอนไดออกไซดตํ่ากวาพืช C3)
ซึ่งถ้าอุณหภูมิสูงขึ้นกว่านี้ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดตํ่าลงตามอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายกราฟความ
เพราะเอนไซม์ทาํ งานได้ดใี นช่วงอุณหภูมทิ เี่ หมาะสม หากอุณหภูมสิ งู เกินไปเอนไซม์จะเสือ่ มสภาพ เขมขนของคารบอนไดออกไซดในอากาศที่มี
ทําให้ประสิทธิภาพในการทํางานของเอนไซม์ลดลง ผลตอการตรึงคารบอนไดออกไซดสุทธิของ
เมื่ออุณหภูมิสูงถึงระดับหนึ่งจะมีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง ดังนี้ ตนขาว ขาวโพด และออย
1. อัตราการสังเคราะห์ดว้ ยแสงลดลง เนือ่ งจากอัตราการหายใจ และอัตราโฟโตเรสไพเรชัน
เพิ่มขึ้น ทําให้อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
1
ลดลง
2. เมือ่ อุณหภูมสิ งู จะทําให้เอนไซม์ทเี่ กีย่ วข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงเสียสภาพ แนวตอบ H.O.T.S.
ไป อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจึงลดลง พื ช C 4 มี ก ลไกเพิ่ ม ความเข ม ข น ของ
3. เมือ่ อุณหภูมสิ งู หรือตํ2า่ กว่าอุณหภูมทิ เี่ หมาะสมต่อการสังเคราะห์ดว้ ยแสงมาก ๆ จะส่งผล คารบอนไดออกไซดในเซลลบันเดิลชีท ทําให
ให้สมบัติการเป็นเยื่อเลือกผ่านของเยื่อหุ้มออร์แกเนลล์ต่าง ๆ ที่จําเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์
เอนไซมรูบิสโกของพืช C4 ทํางานไดดีกวา สงผล
ด้วยแสงสูญเสียความสามารถในการทํางาน ทําให้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงลดลง
ใหอัตราการตรึงคารบอนไดออกไซดสุทธิเขาสู
ระยะอิม่ ตัว ประมาณ 350 ppm ในขณะทีเ่ อนไซม
รู บิ ส โกของพื ช C 3 ต อ งการความเข ม ข น ของ
การสังเคราะห์ 105
คารบอนไดออกไซดในบรรยากาศสูงถึง 650 ppm
ด้วยแสง
จึงจะทําใหอตั ราการตรึงคารบอนไดออกไซดสทุ ธิ
เขาสูชวงระยะอิ่มตัว

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดคืออุณหภูมิที่เหมาะสมที่สงผลใหอัตราการสังเคราะห 1 เอนไซม คือ สารอินทรียท มี่ โี ครงสรางซับซอน ทําหนาทีเ่ ปนตัวเรงปฏิกริ ยิ า
ดวยแสงของพืชดีที่สุด เคมีของปฏิกริ ยิ าตางๆ เชน การยอยอาหาร การหมัก เอนไซมแตละชนิดทํางาน
1. 10-20 องศาเซลเซียส ไดดีที่อุณหภูมิจําเพาะเทานั้น เอนไซมสวนใหญเปนโปรตีน บางชนิดมีสาร
2. 20-30 องศาเซลเซียส ไมใชโปรตีนรวมอยูดวย เรียกวา prosthetic groups
3. 30-40 องศาเซลเซียส 2 เยื่อเลือกผาน เซลลทุกชนิดลวนมีเยื่อหุมเซลล เปนเยื่อหุมที่อยูชิดกับผนัง
4. 30-40 องศาเซลเซียส เซลลซงึ่ เปนตัวแสดงขอบเขตของเซลล มีสมบัตยิ อมใหโมเลกุลหรือประจุบางชนิด
5. 50-60 องศาเซลเซียส ผานไปไดดวยกระบวนการแพร เยื่อเลือกผานอาจมีลักษณะเรียบหรือพับไปมา
(วิเคราะหคําตอบ อุ ณ หภู มิ ป ระมาณ 25 องศาเซลเซี ย สเป น
อุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดของการสังเคราะหดวยแสงของพืช และ
เปนอุณหภูมใิ นชวงทีเ่ อนไซมตา งๆ ทีใ่ ชในกระบวนการสังเคราะห
ดวยแสงทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T115
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูถามคําถามทบทวนความรูเ ดิมวา ปจจัยทีม่ ี เมื่อศึกษาเปรียบเทียบถึงผลของอุณหภูมิตออัตราการ Biology
ผลตอกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช สังเคราะหดวยแสงในพืช C3 และพืช C4 พบวา พืช C3 สามารถ in real life
ไดแกอะไรบาง สังเคราะหดวยแสงไดในชวงอุณหภูมิ 1 - 45 Cํ และสังเคราะห ปจจุบันโลกมีสภาพแวดลอม
ที่แปรปรวนอยูตลอดเวลา ซึ่ง
(แนวตอบ แสงและความเขมของแสง ความ ดวยแสงไดดีที่สุดที่อุณหภูมิประมาณ 25 ํC สวนพืช C4 สามารถ ส ง ผลกระทบต อ กระบวนการ
เขมขนของคารบอนไดออกไซด อุณหภูมิ อายุใบ สังเคราะหดวยแสงไดในชวงอุณหภูมิ 8-58 Cํ และสังเคราะห สั ง เคราะห ด  ว ยแสงของพื ช
ปริมาณนํ้าที่พืชไดรับ ธาตุอาหาร) ดวยแสงไดดีที่สุดที่อุณหภูมิประมาณ 35 Cํ จากคาชวงอุณหภูมิ ดั ง นั้ น เรื อ นเพาะชํ า จึ ง เป น
สถานที่ ที่ ม นุ ษ ย ส ร า งขึ้ น เพื่ อ
2. ใหนักเรียนศึกษาและสืบคนขอมูลในหนังสือ ที่สังเคราะหดวยแสงได และชวงอุณหภูมิที่เหมาะสมของพืช
ควบคุมสภาพแวดลอมเหลานี้
เรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1 C4 จะสูงกวาพืช C3 นั่นคือ พืช C3 สามารถเจริญเติบโตไดดีใน เชน เรือนเพาะชําแบบ cold-
3. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 4 กลุม โดยให เขตหนาว เขตอบอุนและเขตรอน สวนพืช C4 สามารถเจริญ frame หรื อ sunframe ที่
เติบโตไดดใี นเขตอบอุน เขตรอน และเขตรอนจัด เชน ทะเลทราย สามารถควบคุมอุณหภูมภิ ายใน
ตัวแทนกลุมออกมาจับสลากหมายเลข 1-4 โรงเรือนใหเหมาะสมกับพืช
โดยแตละหมายเลขใหแตละกลุมศึกษาหัวขอ
ตอไปนี้
- หมายเลข 1 ศึกษา อุณหภูมิ
- หมายเลข 2 ศึกษา อายุใบ อัตราการสังเคราะหดวยแสง
- หมายเลข 3 ศึกษา ปริมาณนํ้าที่พืชไดรับ
- หมายเลข 4 ศึกษา ธาตุอาหาร พืช C4

พืช C3

20 40 60
อุณหภูมิ (oC)
ภาพที่ 2.49 ผลของอุณหภูมิตอการสังเคราะหดวยแสงของพืช C3 และ C4
ที่มา : คลังภาพ อจท.
1
นอกจากนีย้ งั พบวาพืชเศรษฐกิจอายุสนั้ เชน ขาวโพด ฝาย H. O. T. S.
คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
ถั่วเหลือง เปนตน ซึ่งเจริญไดดีในภูมิอากาศเขตรอน ตองการ
อุณหภูมิที่เหมาะสมตอการสังเคราะหดวยแสงสูงกวาพืชที่เจริญ หากนําสตรอว-
เซลลเยืรอ่ ีไบุปปลู
เบอร ขา งแกกมที่
แนวตอบ H.O.T.S. เติบโตในเขตหนาว เชน มันฝรั่ง ขาวสาลี ประเทศอี ยิ ป ต
สตรอวเบอรรีไมเจริญเติบโตและตายลงในที่สุด จะเปนอยางไร
เนื่องจากอุณหภูมิไมเหมาะสมตอการทํางานของ
เอนไซม ซึ่ ง เกี่ ย วข อ งกั บ การสั ง เคราะห ด  ว ยแสง
สงผลใหสตรอวเบอรรีไมสามารถสรางอาหารและ 106
เจริญเติบโตได โดยอุณหภูมิเฉลี่ยที่เหมาะสมควร
อยูในชวงประมาณ 17-20 องศาเซลเซียส

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 พืชเศรษฐกิจ พืชที่มีความสําคัญตอการดํารงชีวิตมีลักษณะเดนในดาน จากกราฟ ยางพาราสังเคราะหดว ยแสงไดดที สี่ ดุ ชวงอุณหภูมใิ ด
การคาสามารถนําไปบริโภคได เปนแหลงพลังงานของมนุษยและสัตว สามารถ
50
สรางรายไดใหแกครอบครัว สามารถนําไปประกอบอาชีพได ชวยลดอัตราการ 1. ตํ่ากวา 20 ๐º C
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง

วางงาน เปนแหลงวัตถุดิบใหแกอุตสาหกรรมเพื่อนําไปแปรรูปได ชวยสงเสริม 40 2. 20-22 ๐º C


(μmolm-2 s-1)

ภาคธุรกิจและการบริการดานการเกษตร โดยผลผลิตทางการเกษตรจะเพิ่มราย 3. 22-25 ๐º C


ไดใหกับประเทศ และชวยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศใหกาวหนา ตัวอยาง 30 4. 25-29 ๐º C
พืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทย เชน ขาว มันสําปะหลัง ขาวโพด ออย 0 5. มากกวา 30 ๐º C
ยางพารา 20 25 30
อุณหภูมิ (๐C)

(วิเคราะหคําตอบ จากกราฟจะเห็นวา ใบของยางพาราสังเคราะห


ดวยแสงไดดีที่สุดในชวงอุณหภูมิมากกวา 25 ๐º C แตไมเกิน 30 ๐º C
ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T116
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
5.4 อายุใบ 1. ใหนักเรียนแตละกลุมสรุปเนื้อหาตามหัวขอที่
ใบพืชทีเ่ จริญเติบโตเต็มทีจ่ ะมีความสามารถในการสังเคราะห์ดว้ ยแสงสูงกว่าใบพืชทีแ่ ก่หรือ กลุมตนเองไดรับมอบหมายลงในสมุดบันทึก
อ่อนจนเกินไป เพราะใบที่แก่เกินไปจะมีการสลายตัวของกรานุมและคลอโรฟิลล์ และใบที่อ่อน ของตนเอง
เกินไป การพัฒนาการของคลอโรฟิลล์ยังเจริญไม่เต็มที่ ทําให้การสังเคราะห์ด้วยแสงลดลง 2. ใหแตละกลุมสงตัวแทนกลุมออกมานําเสนอ
หัวขอที่ตนเองไดรับหนาชั้นเรียน
5.5 ปริมาณน�้าที่พืชได้รับ 3. นักเรียนบันทึกขอมูลและสรุปใจความสําคัญ
ปริมาณนํ้าในดินและความชื้นในอากาศยังมีผลต่อการปิดเปิดปากใบของพืช ซึ่งการปิดเปิด จากการนําเสนอของเพื่อนกลุมอื่น
ปากใบจะมีผลต่อกระบวนการแพร่ของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สออกซิเจนทีแ่ พร่เข้าออก
ผ่านปากใบ ดังนั้นปริมาณนํ้าที่พืชได้รับจึงมีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช อธิบายความรู้
ในกรณีทพี่ ชื ขาดนํา้ อัตราการสังเคราะห์ดว้ ยแสงจะลดลง เนือ่ งจากปากใบของพืชจะปิดเพือ่ 1. ครูสุมตัวแทนนักเรียน 3-4 คน สรุปปจจัยที่มี
ลดการสูญเสียนํ้า ซึ่งทําให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แพร่ผ่านปากใบเข้าสู่เซลล์พืชได้ยากขึ้น และ ผลตอการสังเคราะหดวยแสง
ในพืชบกทั่วไป ถ้าอยู่ในสภาพนํ้าท่วมหรือดินชุ่มไปด้วยนํ้า รากพืชขาดแก๊สออกซิเจนที่ใช้ใน 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ
การหายใจ ทําให้การสร้างพลังงาน ATP ลดลง กระบวนการต่าง ๆ ที่ใช้พลังงาน ATP จะลดระดับ ศึกษาปจจัยที่มีผลตอการสังเคราะหดวยแสง
การทํางานลง มีผลทําให้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงลดลงด้วย
เพื่อใหไดขอสรุปวา พืชจําเปนตองการแสง
5.6 ธาตุอาหาร ความเขมขนของคารบอนไดออกไซด อุณหภูมิ
คลอโรฟิลล์เป็นสารสีสาํ คัญทีใ่ ช้ในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ซึง่ พืชนําธาตุอาหารมาใช้ ที่พอเหมาะ นอกจากนี้ อายุของใบ ปริมาณ
ในกระบวนการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ เอนไซม์ รวมทั้งสารเร่งปฏิกิริยาต่าง ๆ ดังนั้น พืชจึงจําเป็น นํ้าและธาตุอาหารที่พืชไดรับ ลวนสงผลตอ
ต้องได้รับธาตุอาหารในดินที่อยู่ในรูปของสารละลายอย่างเพียงพอ กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช

สโตรมา
Fe2+

P680
ลูเมน

ภาพที่2.50สารประกอบคลอโรฟิลล์มีธาตุแมกนีเซียม ภ าพที่  2.51 ธาตุ เ หล็ ก เป็ น องค์ ป ระกอบสํ า คั ญ ใน


เป็นองค์ประกอบสําคัญ ระบบแสง II
ที่มา : www.lafsozluk.com ทีม่ า : https://en.wikipedia.org/wiki/Plastoquinone

การสังเคราะห์ 107
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ปจจัยทีม่ ผี ลตอการสังเคราะหดว ยแสงของพืชคือปจจัยในขอใด ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสําคัญของคลอโรฟลลวา เปนปจจัย
ก. อายุใบ ข. ธาตุอาหาร สําคัญอยางหนึ่งในกระบวนการสังเคราะหดวยแสง โดยคลอโรฟลลที่อยูในใบ
ค. ปริมาณนํ้า ง. ความเขมขนของออกซิเจน สามารถวัดคาได มี 2 วิธี คือ การวัดแบบทําลายใบแลวนําไปวัดการดูดกลืนแสง
จ. ความเขมขนของคารบอนไดออกไซด ดวยเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอรในหองปฏิบัติการ และการวัดแบบไมทําลายใบ
1. ก. ข. และ ค. แตจะใชเครื่องวัดคลอโรฟลลแบบหนีบบริเวณกลางใบ
2. ก. ข. และ ง.
3. ข. ค. และ ง.
4. ค. ง. และ จ.
5. ก. ข. และ จ.
(วิเคราะหคําตอบ ปจจัยทีม่ ผี ลตอการสังเคราะหดว ยแสงของพืช
คือ อายุใบทีไ่ มแกหรือออนไป ธาตุอาหารและปริมาณนํา้ ทีเ่ พียงพอ
ความเขมของแสงและความเขมขนของคารบอนไดออกไซด รวมทัง้
มีอุณหภูมิที่เหมาะสม ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T117
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
3. ครูทบทวนความเขาใจของนักเรียน โดยถาม ธาตุ แ มกนี เ ซี ย มและธาตุ ไ นโตรเจนมี
คําถามตอไปนี้ ความสําคัญต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
ï• อุณหภูมมิ ผี ลตอการสังเคราะหดว ยแสงของ ของพืช เพราะธาตุดงั กล่าวเป็นองค์ประกอบอยู ่
พืชอยางไร ในโมเลกุลของคลอโรฟิลล์ ดังนั้นถ้าในดินขาด
(แนวตอบ อุณหภูมทิ เี่ หมาะสมจะสงผลใหพชื ธาตุทงั้ สองจะส่งผลกระทบต่อกระบวนการสร้าง
มีอัตราการสังเคราะหดวยแสงไดดี ซึ่งพืช สารคลอโรฟิลล์ ทําให้พชื สังเคราะห์ดว้ ยแสงลด
แตละชนิดมีอัตราการสังเคราะหดวยแสงที่ ลง นอกจากนี้ยังทําให้พืชเกิดอาการใบเหลือง
ตางกัน พืช C3 สามารถสังเคราะหดวยแสง ซีด ที่เรียกว่า คลอโรซิส (chlorosis)
ไดดีในชวงอุณหภูมิ 1-45 องศาเซลเซียส ธาตุเหล็กจําเป็นต่อการสร้างคลอโรฟิลล์
สวนพืช C4 สามารถสังเคราะหแสงไดดีใน และเป็ น องค์ ป ระกอบสํ า คั ญ ของไซโทโครม
ชวงอุณหภูมิ 8-58 องศาเซลเซียส เนือ่ งจาก คอมเพล็กซ์ ซึ่งเป็นตัวถ่ายทอดอิเล็กตรอน
อุ ณ หภู มิ ที่ เ หมาะสมมี ผ ลต อ การทํ า งาน ถ้าในดินมีธาตุเหล็กไม่เพียงพอ การสังเคราะห์
ภาพที่2.52คลอโรซิส คลอโรฟิ ล ล์ จ ะเกิ ด ขึ้ น ไม่ ไ ด้ และมี ผ ลต่ อ
ของเอนไซม ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ กระบวนการ ที่มา : คลังภาพ อจท.
สังเคราะหดวยแสง) กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ï• อายุของใบมีผลตอการสังเคราะหดวยแสง ธาตุแมงกานีสและธาตุคลอรีนจําเป็นต่อกระบวนการแตกตัวของนํ้าในปฏิกิริยาโฟโตไลซิส
ของพืชอยางไร ซึ่งมีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเช่นกัน นอกจากนี้ธาตุแมงกานีสยังเป็นตัวเร่ง
(แนวตอบ ใบทีเ่ จริญเต็มทีจ่ ะมีความสามารถ การทํางานของเอนไซม์หลายชนิดที่มีบทบาทในการสังเคราะห์ด้วยแสงด้วย
ในการสังเคราะหดวยแสงสูงกวาใบพืชที่แก Topic
หรือออนเกินไป เนื่องจากออรแกเนลลที่อยู Question
ภายในใบที่แกจะเริ่มเสื่อมลง สวนใบที่ออน ค�าชี้แจง:ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้
เกินไป การพัฒนาของเซลลและสารบางชนิด 1. ความเข้มของแสงมีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชอย่างไร
ยังไมสมบูรณ) 2. จงเปรียบเทียบไลต์คอมเพนเซชันพอยต์ และคาร์บอนไดออกไซด์คอมเพนเซชันพอยต์ของพืช C3 และ
C4
ขยายความเขาใจ 3. จงเปรียบเทียบจุดอิ่มตัวของแสงและคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C3 และ C4
1. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา 4. อุณหภูมิมีผลต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชอย่างไร
ม.5 เลม 1 5. จงยกตัวอย่างผลกระทบจากกรณีที่พืชได้รับนํ้าไม่เพียงพอมาอย่างน้อย 2 ตัวอย่าง
2. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Question 6. ธาตุอาหารใดบ้างที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
7. คลอโรซิสที่เกิดขึ้นกับพืชเป็นอย่างไร และเกิดขึ้นจากสาเหตุใด

108

สื่อ Digital แนวตอบ Topic Question


1. ความเขมของแสงมากขึน้ อัตราการสังเคราะหดว ยแสงจะเพิม่ ขึน้ แตจะ
ครูใหนกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับปจจัยทีม่ ผี ลตอการสังเคราะหดว ยแสง เพิม่ ขึน้ ไดระดับหนึง่ เมือ่ เพิม่ ความเขมของแสงอัตราการสังเคราะหแสง
จากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ปจจัยในการเจริญของพืช (https://www. จะไมเพิม่ ขึน้
twig-aksorn.com/fif ilm/what-plants-need-to-grow-8072/) 2. ไลต ค อมเพนเซชั น พอยต ข องพื ช C 3 ตํ่ า กว า พื ช C 4 แต พื ช C 3
คารบอนไดออกไซดคอมเพนเซชันพอยตสูงกวาพืช C4
3. พืช C4 มีจุดอิ่มตัวของแสงสูงกวาพืช C3 และพืช C4 มีจุดอิ่มตัวของ
คารบอนไดออกไซดตํ่ากวาพืช C3
4. มีผลตอการทํางานของเอนไซมซงึ่ อุณหภูมทิ เี่ หมาะสม เอนไซมจะทํางาน
ไดดี
5. ปากใบพืชปด อัตราการสังเคราะหดวยแสงของพืชลดลง
6. ธาตุแมกนีเซียม ธาตุเหล็ก และธาตุไนโตรเจน
7. ใบเหลืองซีด เกิดจากพืชขาดธาตุแมกนีเซียมและไนโตรเจน

T118
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
Biology 3. ใหนักเรียนศึกษา Biology in real life เรื่อง
in real life ปรากฏการณขี้ปลาวาฬ ปรากฏการณขี้ปลาวาฬ แลวใหนักเรียนทํา
ทะเลเป็นแหล่งท่องเทีย่ วและเป็นสถานที่ใช้ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ปัจจุบนั พบว่า ผังสรุปวาปรากฏการณนี้มีความเกี่ยวของกับ
ในแต่ละปีทะเลมีปริมาณขยะเพิ่มสูงขึ้นเนื่องมาจากการกระทําของมนุษย์ เช่น การปล่อยสิ่งปฏิกูล
การทิ้งเศษอาหาร สิ่งเหล่านี้เป็นการเพิ่มปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ ให้กับนํ้า ซึ่งเป็นสารตัง้ ต้น
กระบวนการสังเคราะหดวยแสงอยางไร
ในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช ส่งผลให้เกิดมลภาวะและปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ตามมา 4. ใหนกั เรียนทํา Self Check เพือ่ ตรวจสอบความ
ปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ (red tide) หรือ เขาใจของตนเอง
ปรากฏการณ์สาหร่ายสะพรั่ง (algal bloom) 5. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด ประจํ า หน ว ยการ
เป็ น ปรากฏการณ์ ที่ มี ส าเหตุ ม าจากปริ ม าณ เรียนรูที่ 2
คาร์บอนไดออกไซด์ ในนํ้าที่เพิ่มสูงขึ้น ทําให้ 6. ใหนกั เรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนหนวยการ
จุลินทรีย์หรือแพลงก์ตอนพืชในทะเลมารวม
เรียนรูที่ 2
กลุ่มกันเป็นจํานวนมาก ซึ่งแพลงก์ตอนพืชเป็น
สิ่ ง มี ชี วิ ต เซลล์ เ ดี ย วที่ มี ลั ก ษณะคล้ า ยพื ช
สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ เนื่องจากมีสารสี ขัน้ สรุป
หรือรงควัตถุชนิดต่าง ๆ เช่น คลอโรฟิลล์เอและ ภาพที่2.53นํ้าทะเลสีแดง ตรวจสอบผล
ซี มักมีสีเหลือง เขียว นํ1้าตาลหรือแดง ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายการสังเคราะห
ไดโนแฟลเจลเลตเป็นแพลงก์ตอนพืชเมื่อเจริญมากขึ้นจะทําให้นํ้าทะเลเปลี่ยนเป็นสีแดง
และสร้างสารพิษทีส่ ง่ ผลกระทบต่อระบบประสาท นอกจากนี้ในระหว่างการเพิม่ จํานวนของแพลงก์ตอน
ดวยแสง แลวใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ
พืช ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในนํา้ จะไม่เพียงพอ ทําให้เกิดกระบวนการโฟโตเรสไพเรชันมากกว่า 5-6 คน ทํารายงาน เรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการ
กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง เสมือนเป็นการแย่งออกซิเจนจากสัตว์นาํ้ ทําให้สตั ว์นาํ้ ตายเป็นจํานวน สังเคราะหดวยแสงของพืช แลวนําเสนอใน
มาก แต่ในทางกลับกันอัตราการเจริญเติบโตของแพลงก์ตอนพืชจะเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นเพื่อไม่ให้เกิด รูปแบบที่สวยงาม
ปรากฏการณ์นี้ จึงไม่ควรทิ้งขยะ เศษอาหาร หรือสิ่งปฏิกูลลงในนํ้า รวมไปถึงการทํากิจกรรมใด ๆ
ที่ส่งผลให้ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในนํ้าสูงขึ้น

ภาพที่2.54ปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ
ที่มา : http://saintpetersblog.com
การสังเคราะห์ 109
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


การสังเคราะหดวยแสงของแบคทีเรียบางชนิดแตกตางจากพืช 1 ไดโนแฟลเจลเลต เปนสาหรายเซลลเดียวชนิดหนึ่ง มีผนังเซลลเปน
ทั่วไปอยางไร เซลลูโลส สังเคราะหดวยแสงไดมีคลอโรฟลลเอและซี มักมีสีเหลืองเขียว
1. แบคทีเรียไมใชคลอโรฟลล นํ้าตาลหรือแดง เปนทั้งแพลงกตอนพืชในนํ้าจืดและนํ้าทะเล ตัวอยางเชน
2. แบคทีเรียไมไดใชนํ้าเปนวัตถุดิบ ไดโนแฟลเจลเลต เชน Gonyaulax เมือ่ เจริญมากขึน้ จะทําใหนาํ้ ทะเลเปนสีแดง
3. แบคทีเรียใชออกซิเจนเปนวัตถุดิบ เรียกปรากฏการณนี้วา ปรากฏการณขี้ปลาวาฬ (Red tides) ซึ่งจะผลิตสารพิษ
4. แบคทีเรียไมตองอาศัยพลังงานแสง ที่เปนพิษตอระบบประสาท ทําใหปลาตายเปนจํานวนมาก และทําใหนํ้าเนาเสีย
5. แบคทีเรียไมตองใชแกสคารบอนไดออกไซด
(วิเคราะหคําตอบ พื ช ใช นํ้ า และคาร บ อนไดออกไซด เ ป น สาร
ตั้งตนในกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ซึ่งแบคทีเรียที่สามารถ
สังเคราะหดวยแสงไดบางชนิด เชน เพอเพิลซัลเฟอรแบคทีเรีย มี
กระบวนการสังเคราะหดว ยแสงคลายกับพืช แตตา งกันทีแ่ บคทีเรีย
จะใชคารบอนไดออกไซดกับแกสไฮโดรเจนซัลไฟด ดังนั้น ตอบ
ขอ 2.)

T119
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
2. ครูถามคําถามนักเรียน แลวใหนักเรียนตอบ
Summary
คําถามลงในสมุดบันทึก ดังนี้ การสังเคราะห์ดว้ ยแสง
ï• นํ้ามีผลตอการสังเคราะหดวยแสงของพืช
อยางไร การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะหด้วยแสง
(แนวตอบ นํ้ามีผลตอการเปด-ปดของปากใบ พ.ศ. 2100
หากพืชขาดนํา้ อัตราการสังเคราะหดว ยแสง
จะลดลง เนื่องจากปากใบพืชจะปด เพื่อ พ.ศ. 2191 ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์: ทดลองปลูกต้นหลิวและพบว่านํ้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้น
มาจากนํ้า
รักษาสมดุลนํ้าในรางกายพืช) พ.ศ. 2200
ï• ธาตุอาหารชนิดใดมีผลตอการสังเคราะห
ดวยแสงของพืช จงยกตัวอยาง พ.ศ. 2300 พ.ศ. 2315 โจเซฟพริสต์ลีย์ : พืชสามารถเปลี่ยนอากาศเสียให้กลับมาเป็นอากาศดีได้
(แนวตอบ ธาตุแมกนีเซียมเปนองคประกอบ พ.ศ. 2322 แจนอินเก็นฮูซ: พิสูจน์ให้เห็นว่าคํากล่าวของพริสต์ลีย์จะได้ผลก็ต่อเมื่อพืชได้รับแสงสว่าง
สําคัญในสารประกอบคลอโรฟลล ธาตุเหล็ก พ.ศ. 2347
เท่านั้น
นิโคลาสทีโอดอร์เดอโซซูร์: พืชมีการดูด CO2 ไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และ
เปนองคประกอบสําคัญของระบบแสง II) นํ้าหนักของพืชที่เพิ่มขึ้นบางส่วนเป็นนํ้าหนักของนํ้าที่พืชได้รับ

พ.ศ. 2400 พ.ศ. 2405 จูเลียส ซาซ : สารอินทรีย์ที่พืชสังเคราะห์ขึ้นมา คือ แป้ง ซึ่งต่อมาเรียกกระบวนการสร้าง
อาหารของพืชที่อาศัยแสงนี้ว่า กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
พ.ศ. 2473 แวนนีล : การสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียน่าจะคล้ายกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
พ.ศ. 2475 ซึ่งสอดคล้องกับการทดลองของแซม รูเบน และมาร์ติน คาเมน
โรบิน ฮิลล์ : ปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสงมี 2 ขั้นตอนใหญ่ คือ ขั้นที่ปล่อย O2 กับ
ขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับ CO2
พ.ศ. 2494 แดเนียลอาร์นอน : เกิดแนวคิดว่าขั้นตอนการสังเคราะห์ด้วยแสงแบ่งออกเป็น ปฏิกิริยาที่ต้อง
พ.ศ. 2500 ใช้แสงและปฏิกิริยาที่ไม่ใช้แสง

กระบวนการสังเคราะหด้วยแสง
 โครงสร้างของคลอโรพลาสต์  สารสีในปฏิกิริยาแสง
เยื่อหุ้มชั้นนอก เยื่อหุ้มชั้นใน • คลอโรฟิลล์ เป็นสารสีเขียว พบในพืชและ
ลูเมน สาหร่าย คลอโรฟิลล์มี 4 ชนิด คือ คลอโร-
ฟิลล์เอ บี ซี และดี
• แคโรทีนอยด์ พบได้ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่
สังเคราะห์ดว้ ยแสงได้ ประกอบด้วยแคโรทีน
ไทลาคอยด์
กรานุม และแซนโทฟิลล์
สโตรมา • ไฟโคบิ
1 ลนิ เป็
เป็นสารสีทมี่ อี ยูเ่ ฉพาะในสาหร่าย
สีแดง และไซยาโนแบคทีเรีย ประกอบด้วย
สโตรมาลาเมลลา ไฟโคไซยานิน และไฟโคอีรที ริน
• แ บคเทอริ โ อคลอโรฟิ ล ล์  สารสี เ ขี ย วที่ มี
ภาพที่2.55 โครงสร้างของคลอโรพลาสต์ แคโรทีนอยด์หุ้มอยู่ 
ที่มา : คลังภาพ อจท.
110

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 สาหรายสีแดง มีวิวัฒนาการแตกตางจากสาหรายชนิดอื่นๆ เนื่องจาก ทดลองให 14CO2 แกพชื แลวตรวจหา 14C ทีม่ ี PGA
ความเขมขน

ไมมีระยะที่มีแฟลเจลลาในวัฏจักรของชีวิต มีเม็ดสี phycoerythrin ซึ่งเปนสาร อยูใ น PGA และ RuBP พบวา ปริมาณของ PGA RuBP
ในกลุมเดียวกับสาหรายสีนํ้าเงินแกมเขียว โดยสาหรายสีแดงจะพบตามชายฝง เพิม่ ขึน้ สวน RuBP ลดลง แตเมือ่ ดูด 14CO2 ออก มีแสง ไมมีแสง
ดูด CO2 ณ ที่จุดนี้
ทะเลเขตรอน แตบางชนิดอยูในนํ้าจืด รูปรางของสาหรายสีแดงสวนมากจะเปน ไป ไดผลดังภาพ ขอใดสรุปถูกตองทีส่ ดุ
เสนยาวๆ แบบ ffii ilaments ทีแ่ ตกกิง่ กานสาขา สวนฐานจะยึดเกาะกับวัตถุได ซึง่ 1. PGA เปลี่ยนเปนสารอื่น
เซลลสืบพันธุของสาหรายสีแดงจะไมมีแฟลเจลลาอาศัยกระแสนํ้าเปนตัวพาไป 2. RuBP เปลี่ยนเปนสารอื่น
ใหเกิดการปฏิสนธิ 3. RuBP ไมตอ งมี CO2 ก็เปลีย่ นเปนสารอืน่ ได
4. PGA ไดรับ CO2 เทานั้น จึงเปลี่ยนเปนสารอื่น
5. RuBP จะเปลี่ยนเปนสารอื่นไดจะตองไดรับ CO2
(วิเคราะหคําตอบ RuBP จับกับแกส CO2 แลวเปลี่ยนเปน PGA
เมือ่ ดูด CO2 ออก และอยูใ นทีท่ ไี่ มมแี สง ปริมาณ RuBP มีมากกวา
PGA แสดงวา RuBP เปลี่ยนเปน PGA ไดก็ตอเมื่อมี CO2 ดังนั้น
ตอบขอ 5.)

T120
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
 ปฏิกิริยาแสง 1. ตรวจแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5 เลม 1
• เป็นกระบวนการเปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานเคมี ได้แก่ ATP และ NADPH+H+ โดยการถ่ายทอดอิเล็กตรอน 2. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หนวยการเรียนรู
ซึ่งเกิดขึ้น 2 แบบ คือ การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักรและการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร ที่ 2
• กระบวนการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 3
C
CO2 3. ตรวจ Self Check หากนักเรียนพิจารณา
คาร์บอกซิเลชัน ขอความไมถูกตอง ใหกลับไปทบทวนเนื้อหา
รูบิสโก
ตามที่หัวขอกําหนดให
4. ตรวจแบบฝกหัดประจําหนวยการเรียนรูที่ 2
3P C C C C C P 6C C C P
ไรบูโลสบิสฟอสเฟต 3-ฟอสโฟกลีเซอเรต 6 ATP
(RuBP) 6ADP
3ADP วัฏจักร
คัลวิน
3 ATP 6P C C C P
1,3-บิสฟอสโฟกลีเซอเรต 6 NADPH+H+
6NADP+
6 Pi
5C C C P
รีเจเนอเรชัน G3P 6C C C P รีดักชัน
กลีเซอรัลดีไฮด์-3-ฟอสเฟต
(G3P)

1C C C P
G3P
น�้าตาล
ภาพที่2.56 วัฏจักรคัลวิน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
• การเกิดโฟโตเรสไพเรชัน
การตรึงออกซิเจนด้วย RuBP แล้วปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา เกิดขึ้นเมื่อพืชได้รับแสงและมีคาร์บอนไดออกไซด์
ในอากาศน้อย
ATP CO2 O2 ATP
RuBP RuBP

PGA วัฏจักรคัลวิน รูบิสโก โฟโตเรสไพเรชัน PGA

นํ้าตาล CO2

ATP 2 PGA PG + PGA ATP


NADPH+H+ NADPH+H+
ภาพที่2.57 การเข้าแย่งจับกับเอนไซม์รูบิสโกของออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์
ที่มา : คลังภาพ อจท.
การสังเคราะห์ 111
ด้วยแสง

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ให นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล จากแหล ง การเรี ย นรู  จ ากหนั ง สื อ ครูอาจเพิม่ เติมความรูใ หกบั นักเรียนวา นอกจากแสงและความเขมของแสง
วารสาร อินเทอรเน็ต วาพืชมีการปรับตัวเพื่อรับแสงอยางไร ความเขมขนของคารบอนไดออกไซด อุณหภูมิ อายุใบ ปริมาณนํ้า และ
ยกตัวอยางการปรับตัวของพืชมาอยางนอย 3 ตัวอยาง พรอม ธาตุอาหาร ยังมีปจจัยอื่นอีกที่มีผลตอการสังเคราะหดวยแสง ตัวอยางเชน
อธิบายลงในสมุดบันทึก ปรากฏการณเรือนกระจก เนื่องจากแกสเรือนกระจกมีหลายชนิดในบรรยากาศ
เชน แกสมีเทน คารบอนไดออกไซด ซึ่งแกสเหลานี้จะชวยกัดรังสีคลื่นสั้นไมให
สะทอนออกไปนอกโลก จึงทําใหโลกมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ จึงไมเหมาะแกการสังเคราะห
กิจกรรม ทาทาย ดวยแสงของพืชบางชนิด เพราะเอนไซมที่เกี่ยวของกับการสังเคราะหดวยแสงมี
ใหนักเรียนเปรียบเทียบการปรับตัวของใบพืชในที่รมและพืช ประสิทธิภาพในการทํางานลดลง
กลางแจง วามีลกั ษณะเหมือนกันหรือไม และพืชแตละชนิดมีการ
ปรับตัวอยางไร แลวสรุปลงในกระดาษ A4 พรอมยกตัวอยางพืช
แตละชนิดมาอยางนอย 5 ตัวอยาง

T121
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
5. ครูประเมินรายงาน เรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการ กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคารบอนไดออกไซดในพืช C4
สังเคราะหดว ยแสง โดยใชแบบประเมินชิน้ งาน  โครงสร้างของใบพืชC3และพืชC4
6. สังเกตการปฏิบัติการจากการทํากิจกรรม โดย คิวติเคิล
ใชแบบประเมินการปฏิบัติการ เอพิเดอร์มสิ ด้านบน
7. สังเกตพฤติกรรมการทํางานของนักเรียน โดย แพลิเซดมีโซฟิลล์ บันเดิลชีท
ท่อลําเลียง
ใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล ท่อลําเลียง
บันเดิลชีท
8. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ สปันจีมีโซฟิลล์

สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
9. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ พืช C3
เอพิเดอร์มิสด้านล่าง
พืช C4
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ภาพที่2.58 ใบพืชตัดตามขวางเปรียบเทียบระหว่างพืช C3 และพืช C4
ที่มา : คลังภาพ อจท.
 วัฏจักรคาร์บอนของพืชC4 กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของแกสคาร์บอนไดออกไซด์ของพืชCAM
CO2
เซลล์มีโซฟิลล์ ในอากาศ
PEP
กลางคืน กลางวัน
carboxylase
OAA(4C) PEP(3C)
OAA มาเลต
มาเลต(4C) ATP CC C C CC C C
ไพรูเวต(3C) มาเลต วัฏจักรคัลวิน
เซลล์ CO2 CC C C C CO
2
บันเดิลชีท CO2 C
วั ฏ จั ก ร
คัลวิน
แวคิวโอล
น�้าตาล CC C CC C
แป้ง ไพรูเวต เซลล์มีโซฟิลล์
เซลล์โฟลเอ็ม

ภาพที่2.59 กลไกการตรึง ภาพที่2.60 กลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM


คาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4 ที่มา : คลังภาพ อจท.
ที่มา : คลังภาพ อจท.
พืช C4 มีการตรึงสารประกอบ ในพืช CAM มีการตรึงสารประกอบคาร์บอน 2 ครั้ง
คาร์บอน 2 ครัง้ คือ ครั้งแรก เกิดในเวลากลางคืน คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศจะถูกตรึง
ครั้งแรก ในเซลล์มีโซฟิลล์ ได้ ได้มาเลต แล้วลําเลียงไปเก็บไว้ในแวคิวโอล
มาเลตที่มีคาร์บอน 4 อะตอม แล้ว ครัง้ ทีส่ อง เกิดในเวลากลางวัน มาเลตจะแพร่ออกจากแวคิวโอล และ
ส่งไปยังเซลล์บันเดิลชีท สลายได้คาร์บอนไดออกไซด์
ครั้งที่สอง ในเซลล์บันเดิลชีท
มาเลตถูกสลายได้คาร์บอนไดออก-
ไซด์
112

แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม 21st Century Skills


ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการ ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน สรุปปจจัยที่มีผลตอการ
สังเคราะหดวยแสง ไดจากการทํารายงาน เรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการสังเคราะห สังเคราะหดวยแสงเปนภาพวาด พรอมระบุวาแตละปจจัยมีผลตอ
ดวยแสง โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งานทีอ่ ยูใ น การสังเคราะหดวยแสงของพืชอยางไร ลงในกระดาษ A4 พรอม
แผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 2 ตกแตงใหสวยงาม และสงตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
แบบประเมินชิ้นงาน

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินรายงาน ตามรายการที่กาหนดแล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การจัดรูปแบบรายงาน
2 ความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา
3 ภาพประกอบ/ตาราง
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................./................/................

เกณฑ์การประเมิน
ระดับคะแนน
รายการประเมิน
4 3 2 1
1. การจัดรูปแบบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รู ปเล่ มรายงานมี
และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่
ครบถ้วน ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ครบถ้วนเพียงบางส่วน ครบถ้วน
2. ความถูกต้องและ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้ อหาในรายงานไม่
คุณภาพ ของ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง และไม่ ครบ
เนื้อหา และมีภาษาที่สละสลวย เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน ตามที่กาหนด
เข้าใจง่าย
3. ภาพประกอบ/ ภาพมี ความสอดคล้ อง ภาพมี ความสอดคล้ อง ภ า พส อด ค ล้ องกั บ ภาพไม่ สอดคล้ องกั บ
ตาราง กับเนื้อหา มีภาพมีความ กับเนื้อหา ภาพไม่คมชัด เนื้ อหาบางส่ ว น ภาพ เนื้อหา ภาพไม่คมชัด
คมชัด สวยงาม ตารางที่ ตารางที่นาเสนอมีความ คมชัด ตารางที่นาเสนอ ตารางที่ น าเสนอไม่
นาเสนอมีความถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้

T122
0-3 ปรับปรุง
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ผิด 2. ผิด 3. ผิด
ปจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะหด้วยแสง 4. ผิด 5. ถูก
• ความเข้มของแสง เมื่อความเข้มของแสงสูง พืชจะมีอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิสูง ทําให้พืช
มีอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสูงขึ้น
• ความเข้มของคาร์บอนไดออกไซด์ เมือ่ ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศตํา่ พืชจะสังเคราะห์
ด้วยแสงได้น้อย แต่ถ้าความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเพิ่มขึ้น การสังเคราะห์ด้วยแสง
ก็จะเกิดขึ้นได้มากขึ้นด้วย
• อณุ หภูม ิ อัตราการสังเคราะห์ดว้ ยแสงจะเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ และจะมากทีส่ ดุ เมือ่ ถึงอุณหภูมหิ นึง่ ซึง่ เป็นอุณหภูมิ
ที่เหมาะสมต่อการทํางานของเอนไซม์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ถ้าอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าจุดนี้
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชจะลดตํ่าลง
• อายุใบ การสังเคราะห์ด้วยแสงจะเกิดขึ้นได้ดีในใบที่ไม่อ่อนหรือแก่เกินไป
• ปริมาณน�้าที่พืชได้รับ ปริมาณนํ้ามีผลต่อการปิด-เปิดของปากใบ ซึ่งส่งผลต่อกระบวนการแพร่ของแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจน ดังนั้นปริมาณนํ้าที่พืชได้รับจึงมีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืชด้วย
• ธาตุอาหาร มีความสําคัญต่อกระบวนการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ เอนไซม์ และตัวเร่งปฏิกิริยาต่าง ๆ เช่น
แมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบสําคัญในสารคลอโรฟิลล์

Self Check
ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความวาถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
หากพิจารณาข้อความไมถูกต้องให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามที่หัวข้อก�าหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. แก๊สออกซิเจนและนํ้าเป็นวัตถุดิบในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง 1.

2. พืชทุกชนิดตรึงคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศด้วยเอนไซม์รูบิสโก 2.4
ุด

3. พ ืชส่วนใหญ่มีแนวโน้มอัตราการเกิดโฟโตเรสไพเรชันในตอนกลางคืน 3.

ส ม
ใ น

มากกว่าเวลาเช้า

ล ง
ท ึ ก

บ ั น

4. พืช C4 มีกลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ 2 ครั้ง 4.2

5. กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช CAM เกิดขึน้ ทีเ่ ซลล์บนั เดิลชีท 5.

6. ข้าวฟ่างมีค่าอิ่มตัวแสงตํ่ากว่าข้าวสาลี 6.1

การสังเคราะห์ 113
ด้วยแสง

ขอสอบเนน การคิด
ในปฏิกิริยาแสง การถายทอดอิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักรแตกตางกับการถายทอดอิเล็กตรอน
แบบไมเปนวัฏจักรอยางไร
1. แบบแรกให ATP สวนแบบหลังให NADPH+H+
2. แบบแรกใหเฉพาะ ATP สวนแบบหลังให NADPH+H+ และ ATP
3. แบบแรกให NADPH+H+ และ ATP สวนแบบหลังใหเฉพาะ ATP
4. แบบแรกให NADPH+H+ และ ATP สวนแบบหลังใหเฉพาะ NADPH+H+
5. แบบแรกใหเฉพาะ NADPH+H+ สวนแบบหลังให NADPH+H+ และ ATP
(วิเคราะหคําตอบ การถายทอดอิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักรจะใหพลังงาน ATP สวนการถายทอด
อิ เ ล็ ก ตรอนแบบไม เ ป น วั ฏ จั ก รนอกจากจะได พ ลั ง งาน ATP แล ว จะได NADPH+H+ ดั ง นั้ น
ตอบขอ 2.)

T123
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Question


1. 1.1 นํา้ เพียงอยางเดียว
1.2 กระบวนการสังเคราะหดว ยแสง U nit
คําชี้แจง :
Question 2
ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต อ ไปนี้
1.3 มีแนวโนมลดลง เนือ่ งจากตนหลิวไมสามารถ
สรางอาหารได สงผลใหตน หลิวไมเจริญและ  1. จากภาพการทดลองของฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ จงตอบคําถามต่อไปนี้
ตายในทีส่ ดุ ดิน ต้นหลิว
200 200
2. 2.1 โจเซฟ พริสตลยี 

นํา้ หนัก (ปอนด์)

นํา้ หนัก (ปอนด์)


2.2 แสง 150 150

100 100
5 ปี ต่อมา
50 50

0 0
เริ่มทดลอง หลังทดลอง เริ่ม หลัง เริ่ม หลัง
ก. ข.
ภาพที่2.61 การทดลองของฌอง แบบติสท์
ที่มา : คลังภาพ อจท.
 1.1 จากภาพการทดลอง ผู้ทดลองสรุปว่านํ้าหนักต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นนั้นมาจากอะไร
1.2 ในปัจจุบนั ความรูท้ างวิทยาศาสตร์กา้ วหน้ามากขึน้ ดังนัน้ จึงสามารถบอกได้วา่ นํา้ หนักของ
ต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นมาจากอะไร
1.3 หากทําการทดลองดังภาพในห้องมืด นักเรียนคิดว่า นํ้าหนักของต้นหลิวจะเป็นอย่างไร
เพราะเหตุใด
 2. นักวิทยาศาสตร์ท่านหนึ่งได้ทําการทดลอง ดังภาพ จงตอบคําถามต่อไปนี้

O2
CO2

A B C
ภาพที่2.62 การทดลองความสําคัญของพืชต่อสิ่งมีชีวิต
ที่มา : คลังภาพ อจท.

 2.1 ชุดการทดลอง A B และ C เป็นไปตามข้อสรุปของนักวิทยาศาสตร์ท่านใด


 2.2 ชุดการทดลอง C จะเกิดขึ้นได้เมื่อมีปัจจัยใดมาเกี่ยวข้อง

114

T124
นํา สอน สรุป ประเมิน

3. เพราะบริ เ วณที่ แ บคที เ รี ย มาเกาะกลุ  ม คื อ


บริเวณที่มีออกซิเจนซึ่งเปนผลิตภัณฑที่ไดจาก
 3. ก ารทดลองใช้ปริซมึ เพือ่ แยกแสงออกเป็นสเปกตรัมให้แก่สาหร่ายสไปโรไจราโดยการใช้แบคทีเรีย กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของสาหราย
ที่ใช้ออกซิเจนในการหายใจเป็นตัวทดสอบ พบว่า แบคทีเรียจะมารวมกลุ่มกัน ดังภาพ สไปโรไจรา
เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนี้ 4. โมเลกุลนํา้
690 660 600 530 480 5. ออกซิเจน
6. แตกตางกัน หลอดทดลองที่เติมเกลือเฟอริกจะ
มี ฟ องแก ส ออกซิ เ จนเกิ ด ขึ้ น เนื่ อ งจากเกลื อ
เฟอริกทําหนาที่เปนตัวรับไฮโดรเจนที่แตกตัว
มาจากโมเลกุลนํ้า สวนหลอดทดลองที่ไมเติม
เกลือเฟอริกจะไมมฟี องแกสออกซิเจนเกิดขึน้
7. หลอด A เติม ADP + Pi
หลอด B เติม NADP+
ภาพที่2.63 การทดลองของเองเกลมัน หลอด C เติม NADP+ และ ADP + Pi
ที่มา : คลังภาพ อจท. หลอด D เติ ม CO 2 และให แ สงที่ ค วามเข ม
เหมาะสม
 4. จ ากการทดลองของรูเบนและมาร์ติน ออกซิเจนที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมาจาก
โมเลกุลของสารใด
 5. สารใดที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง แต่ไม่ถูกนําไปใช้ในปฏิกิริยาที่ไม่ต้องใช้แสง
 6. จ ากการทดลองของโรบิน ฮิลล์ การเติมหรือไม่เติมเกลือเฟอริกจะให้ผลที่แตกต่างกันหรือไม่
เพราะเหตุใด
 7. เมื่อนําหลอดทดลอง A B C และ D ทั้ง 4 หลอดที่มีนํ้าและคลอโรพลาสต์ผสมอยู่มาทดสอบ
ในห้องปฏิบัติการ นักเรียนจะเติมสารตั้งต้นชนิดใดบ้าง เพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ขึ้น ดังภาพ
ตามลําดับ

NADPH+H+ ATP
ATP นํ้าตาล
O2 NADPH+H+
O2
A B C D
ภาพที่ 2.64 สารสกัดคลอโรพลาสต์จากใบพืชชนิดหนึง่
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การสังเคราะห์ 115
ด้วยแสง

T125
นํา สอน สรุป ประเมิน

8. 1. ไทลาคอยด
2. สโตรมาลาเมลลา
3. กรานุม  8. จงระบุโครงสร้างของคลอโรพลาสต์ พร้อมทัง้ บอกหน้าทีแ่ ละลักษณะของโครงสร้างนัน้ 
4. เยือ่ หุม ไทลาคอยด
5. สโตรมา
9. ได เพราะกะหลํ่าปลีสีมวงใชสารคลอโรฟลล 4
แคโรทีนอยด และแอนโทไซยานิน 2
1
10. อาศัยการดูดกลืนแสงของรงควัตถุที่ความยาว 3
คลื่ น ต า งๆ มาใช ใ นปฏิ กิ ริ ย าแสงเพื่ อ ผลิ ต 5
พลังงานเคมีมาใชในกระบวนการสังเคราะห
ภภาพที
าพที่2.65 โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
ดวยแสงเพื่อผลิตนํ้าตาล ที่มา : คลังภาพ อจท.
11. 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาแสงและการตรึงแกส
คารบอนไดออกไซด  9. ใบกะหลํ่าปลีสีม่วงสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้หรือไม่ อย่างไร
12. เกิดขึ้นบนเยื่อหุมไทลาคอยด โดยปฏิกิริยา 10. พืชนําพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์มาใช้ได้อย่างไร
แสงเปนปฏิกิริยาที่เปลี่ยนพลังงานแสงใหเปน 11. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง
พลังงานเคมี เพื่อนําไปใชในกระบวนการผลิต 12. ปฏิกิริยาแสงเกิดขึ้นบริเวณใด และจําเป็นกับพืชอย่างไร
นํ้าตาล 13. จากภาพ องค์ประกอบ A C และ D คืออะไร และมีความสําคัญอย่างไร
13. A คือ PSII
B คือ ไซโทโครม A B C H+ ATP
ADP + Pi
C คือ PSI
D คือ ATP synthase แสง แสง NADP+ NADPH+H+
+ +
H H D

P680 P700

H2 O
1 O2 + 2 H+ H+ H+ H+ H+ H+ H+
2
+ + + + +
H H H H H
H+ H+

ภาพที่2.66 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ที่มา : คลังภาพ อจท.

116

T126
นํา สอน สรุป ประเมิน

14. กระบวนการตรึงคารบอนไดออกไซด เกิดขึ้น


ภายในคลอโรพลาสตบริเวณสโตรมา
14. จากภาพเปนกระบวนการอะไร เกิดขึ้นที่ใด และระบุขั้นตอนลงในหมายเลขและชื่อสารลงใน ขั้นตอนหมายเลข 1 คือ คารบอกซิเลชัน
ตัวอักษรที่กําหนดให CO2 ขั้นตอนหมายเลข 2 คือ รีดักชัน
ขั้นตอนหมายเลข 3 คือ รีเจเนอเรชัน
รูบิสโก A คือ RuBP
A 1 B B คือ PGA
6 ATP
3 ADP+3Pi C คือ G3P
6 ADP + Pi D คือ PGAL
ATP 3 วัฏจักรคัลวิน 2
6 NADPH+H+ E คือ นํ้าตาลกลูโคส
6 NADP+ 15. 1 คือ ออกซิเจน
C D
2 คือ ATP
3 คือ NADPH+H+
E
4 คือ นํ้าตาลกลูโคส
17. กระบวนการแตกตั ว ของนํ้ า เนื่ อ งจากแสง
ภาพที่ 2.67 วัฏจักรทีเ่ กีย่ วของกับกระบวนการสังเคราะหดว ยแสง สามารถเขียนสมการได ดังนี้
ที่มา : https://quizlet.com 1 O + 2H+ + 2e-
H2O 2 2
18. กระบวนการที่ พ ลั ง งานแสงไปกระตุ  น ให
15. จากภาพ จงระบุสารตั้งตนและผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นลงในหมายเลขที่กําหนดให
โมเลกุลสารเกิดการถายทอดอิเล็กตรอนไปยัง
H2O CO2 ตัวรับอิเล็กตรอน
19. Chemiosmosis คือ กระบวนการลดความแตก
NADP+ ตางของระดับโปรตอน ซึง่ กระบวนการนีส้ ง ผล
แสง ADP+Pi ใหเกิดการสรางพลังงาน ATP สวน Oxidative
ปฏิกิริยาใชแสง phosphorylation คื อ กระบวนการสร า ง
(ระบบแสง I วัฏจักรคัลวิน พลั ง งาน ATP โดยอาศั ย พลั ง งานแสงช ว ย
และระบบแสง
II) 2 กระตุนใหอิเล็กตรอนที่อยูในภายในโมเลกุล
3 เกิดการถายทอดอิเล็กตรอนเปนลําดับ
20. โฟโตเรสไพเรชัน คือ กระบวนการที่ออกซิเจน
1 4 จั บ กั บ เอนไซม รู บิ ส โก มั ก เกิ ด ขึ้ น ในวั น ที่ มี
แสงแดดจัด อากาศรอน และบริเวณทีม่ สี ภาวะ
ภาพที่ 2.68 กิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในคลอโรพลาสต
ที่มา : คลังภาพ อจท. แหงแลง
21. แตกต า งกั น ผลิ ต ภั ณ ฑ ตั ว แรกที่ เ กิ ด จาก
การสังเคราะห์
ด้วยแสง
117 กระบวนการสังเคราะหดวยแสง คือ ฟอสโฟ
กลีเซอเรต สวนผลิตภัณฑตวั แรกทีเ่ กิดจากกระ
บวนการโฟโตเรสไพเรชัน คือ ไดฟอสโฟไกล
โคเลตและฟอสโฟกลีเซอเรต

16.
แผนผังการถายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเปนวัฏจักร แผนผังการถายทอดอิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักร

แสง
แสง

PSII PSI
PSI

T127
นํา สอน สรุป ประเมิน

22. พืช C4 มีกระบวนการตรึงสารประกอบอินทรีย


ของคารบอน 2 ครั้ง โดยครั้งแรกเกิดขึ้นใน
เซลลมโี ซฟลล เปนการตรึงคารบอนไดออกไซด 16. จงเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักรกับอิเล็กตรอนแบบ
เพื่อเปลี่ยนเปนกรดมาลิกและสงไปยังเซลล ไม่เป็นวัฏจักร
บันเดิลชีทและเกิดการตรึงคารบอนไดออกไซด
17. โฟโตไลซิส (photolysis) คืออะไร อธิบายพร้อมเขียนสมการที่เกิดขึ้น
ครัง้ ทีส่ องเกิดขึน้ ในเซลลบนั เดิลชีท กรดมาลิก
จะถูกเปลี่ยนเปนแกสคารบอนไดออกไซดเพื่อ 18. โฟโตออกซิเดชันคืออะไร
เขาสูวัฏจักรคัลวินตอไป กระบวนการดังกลาว
19. chemiosmosis คืออะไร และแตกต่างกับ oxidative photophosphorylation หรือไม่ อย่างไร
ทําใหพืชไดรับแกสคารบอนไดออกไซดจาก
บรรยากาศนอยแตสามารถเพิ่มความเขมขน 20. โฟโตเรสไพเรชันคืออะไร และจะเกิดขึ้นเมื่อใด
ของคารบอนไดออกไซดในเซลลบันเดิลชีทได
21. ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากวัฏจักรคัลวินและโฟโตเรสไพเรชันแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
มากขึ้นและลดการเกิดโฟโตเรสไพเรชัน
23. ในสภาวะที่ อ ากาศร อ นและมี ค วามชื้ น ใน 22. พืช C4 มีกลไกในการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์อย่างไร
อากาศนอย พืช CAM จะปรับตัวเพื่อลดการ 23. พืช CAM มีการปรับตัวอย่างไรในสภาพแวดล้อมที่ร้อนและมีความชื้นในอากาศน้อย
สูญเสียนํ้า โดยการลดรูปของใบใหมีขนาด
เล็กลงและปดรูปากใบในเวลากลางวัน หรือ 24. เปรียบเทียบกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C3 C4 และ CAM
มี ลํ า ต น และใบอวบนํ้ า เพื่ อ สงวนนํ้ า ไว ใ ช ใ น ตามหัวข้อต่อไปนี้
กระบวนการตางๆ ในเวลากลางคืนรูปากใบ  24.1 จํานวนครั้งในการตรึง CO2
ของพืช CAM จะเปด ซึ่งกรดมาลิกที่เกิดขึ้น  24.2 สารที่ใช้ตรึง CO2 และตําแหน่งที่เกิดการตรึง CO2
 24.3 เวลาที่เกิดการตรึง CO2 ด้วย PEP และ RuBP
ขณะที่ปากใบปด จะถูกเปลี่ยนเปนคารบอน-  24.4 ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากการตรึง CO2
ไดออกไซดเพือ่ นําเขาสูว ฏั จักรคัลวิน
25. แสงและความเขมของแสง ความเขมขนของ 25. ปัจจัยใดที่มีผลต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
คารบอนไดออกไซด อุณหภูมิ อายุใบ ปริมาณ 26. กําหนดให้ข้อมูลกราฟความเข้มแสงต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช A และ B
นํ้าที่พืชไดรับ ธาตุอาหาร
A
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิ

26. 26.1 A มีแนวโนมเปนพืช C 4 สวน B มี 4  26.1 พืชชนิด A และ B มีแนวโน้มเป็นพืชชนิด


แนวโนมเปนพืช C3 3  26.2 ไลต์คอมเพนเซชันพอยต์คืออะไร
(μmol m-2 s-1)

26.2 จุดที่ความเขมแสงทําใหอัตราการตรึง 2 B  26.3 จ ดุ อิม่ ตัวของแสง (light saturation point)


1
คารบอนไดออกไซดสุทธิเปนศูนย ความเข้มของแสง คืออะไร เพราะเหตุใดพืช A จึงมีค่านี้สูง
0
26.3 จุดทีเ่ มือ่ เพิม่ ความเขมของแสงแลวอัตรา 500 1,000 1,500 2,000 (μmol m-2 s-1)
-1
การตรึงคารบอนไดออกไซดสุทธิจะไม
เพิ่มขึ้น เนื่องจากที่ความเขมแสง 1,000 ภาพที่2.69กราฟความเข้มของแสงต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 2 ชนิด
ไมโครโมลโฟตอนตอเมตรวินาที พืชชนิด ที่มา : คลังภาพ อจท.
A อัตราสังเคราะหดวยแสงสูงกวาพืช
118
ชนิด B เพราะเอนไซมรูบิสโกในพืชชนิด
A จับกับคารบอนไดออกไซดไดดี
24.
ขอ หัวขอเปรียบเทียบ พืช C3 พืช C4 พืช CAM
24.1 จํานวนครั้งที่มีการตรึง CO2 1 2 2
สารที่ใชตรึง CO2 RuBP PEP PEP
24.2 ครั้งที่ 1 มีโซฟลล
ตําแหนงที่มีการตรีง CO2 มีโซฟลล -
ครั้งที่ 2 บันเดิลชีท
24.3 ชวงเวลาในการตรึง CO2 กลางวัน กลางวัน กลางคืน
24.4 ผลิตภัณฑตัวแรกที่เกิดจากการตรึง CO2 PGA OAA OAA

T128
นํา สอน สรุป ประเมิน

27. 27.1 A คือ คารบอนไดออกไซดคอมเพนเซ-


ชันพอยต
27. ก ําหนดข้อมูลกราฟความเข้มของคาร์บอนไดออกไซด์ต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 27.2 B คือ จุดอิม่ ตัวของคารบอนไดออกไซด
สองชนิด ดังนี้ 27.3 C มีแนวโนมเปนพืช C4 สวน D มี
แนวโนมเปนพืช C3 เพราะ พืช C3
50
D คาร บ อนไดออกไซด ค อมเพนเซชั น -
40 C
พอยตสูงกวาพืช C4
อัตราการตรึง CO2 สุทธิ (μmol m-2 s-1)

30 28. พืชแตละชนิดมีอัตราการสังเคราะหดวยแสงที่
B ตางกัน พืช C3 สามารถสังเคราะหดว ยแสงไดดี
20 ในชวงอุณหภูมิ 1-45 องศาเซลเซียส สวนพืช C4
10 A สามารถสังเคราะหดว ยแสงไดดใี นชวงอุณหภูมิ
0
8-58 องศาเซลเซียส
29. นํ้ามีผลตอการเปด-ปดของปากใบ หากพืช
-10
ขาดนํ้าอัตราการสังเคราะหดวยแสงจะลดลง
0 20 40 60 80 100 เนื่องจากปากใบพืชจะปด เพื่อรักษาสมดุลนํ้า
ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซต์ในอากาศ (ppm) ในรางกายพืช
ภาพที่2.70กราฟความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชสองชนิด 30. ธาตุแมกนีเซียมและไนโตรเจน เปนธาตุอาหาร
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่สําคัญในกระบวนการสังเคราะหสารคลอโร-
ฟลล ถาขาดธาตุเหลานีพ้ ชื จะสรางคลอโรฟลล
 27.1 จุด A คืออะไร ไมได ใบจะเหลืองซีดเรียกอาการนีว้ า คลอโรซิส
 27.2 จุด B คืออะไร ทํ า ให ก ารสั ง เคราะห ด  ว ยแสงของพื ช ลดลง
 27.3 จ ากข้อมูลในจุด A และ B พืช C และ D มีแนวโน้มจะเป็นพืชชนิดใด เพราะเหตุใด
เนื่องจากใบขาดคลอโรฟลล
28. ร ะดับอุณหภูมิมีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชอย่างไร
29. น ํ้ามีความสําคัญกับพืชอย่างไร
30. จ งอธิบายว่า ธาตุแมกนีเซียมและไนโตรเจนมีความสําคัญต่อกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของ
พืชอย่างไร

การสังเคราะห์ 119
ด้วยแสง

T129
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. สืบค้นข้อมูลและอธิบาย แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
วัฏจักรชีวิตของ - ห นังสือเรียนชีววิทยา วัฏจักรชีวิตของพืชดอก หาความรู้ ก่อนเรียน - ทกั ษะการจัดกลุม่ - ใฝ่เรียนรู้
พืชดอก ม.5 เล่ม 1 ได้ (K) (5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการเปรียบ - มุ่งมั่นใน
- แบบฝึกหัดชีววิทยา 2. วิเคราะห์และสรุปเกี่ยว Instruction - ตรวจแบบฝึกหัดจาก เทียบ การท�ำงาน
1 ม.5 เล่ม 1 กับวัฏจักรชีวิตของพืช Model) Topic Question - ทกั ษะการจ�ำแนก
- ใบงาน ดอกได้ (P) - ตรวจใบงาน เรื่อง ประเภท
ชั่วโมง
- อุปกรณ์การทดลอง 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่และ วัฏจักรชีวิตของพืชดอก - ทกั ษะการส�ำรวจ
- ภาพประกอบการสอน งานที่ได้รับมอบหมาย - ตรวจชิ้นงาน เรื่อง
- QR Code (A) วัฏจักรชีวิตของพืช
- PowerPoint ประกอบ ชนิดอื่น
การสอน - สังเกตการปฏิบัติการ
จากการทำ�กิจกรรม
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายกระบวนการ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
การสร้างเซลล์ ม.5 เล่ม 1 สร้างเซลล์สืบพันธุ์และ หาความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - ทกั ษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
สืบพันธุ์ของ - แบบฝึกหัดชีววิทยา การปฏิสนธิของพืชดอก (5Es Topic Question - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
พืชดอก ม.5 เล่ม 1 ได้ (K) Instruction - ตรวจใบงาน เรื่อง เปรียบเทียบ การท�ำงาน
- ใบงาน เรื่อง ประเภท 2. เปรียบเทียบกระบวนการ Model) ประเภทของดอก - ทกั ษะการจ�ำแนก
4 ของดอก สร้างเซลล์สบื พันธุเ์ พศผู้ - ตรวจใบงาน เรื่อง ประเภท
ชั่วโมง
- ใบงาน และเพศเมียของพืชดอก การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ - ทกั ษะการทดลอง
- อุปกรณ์การทดลอง ได้ (P) ของพืชดอก
- QR Code 3. รบั ผิดชอบต่อหน้าทีแ่ ละ - ตรวจใบงาน เรื่อง
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น งานที่ได้รับมอบหมาย การปฏิสนธิของพืชดอก
Twig (A) - ตรวจผังมโนทัศน์
- ภาพประกอบการสอน เรื่อง การถ่ายเรณู
- PowerPoint ประกอบ - สังเกตพฤติกรรม
การสอน การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T130
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายการเกิดเมล็ดและ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
การปฏิสนธิของ ม.5 เล่ม 1 ผลของพืชดอกได้ (K) หาความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - ทกั ษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
พืชดอก - แบบฝึกหัดชีววิทยา 2. สร้างแบบจ�ำลองโครงสร้าง (5Es Topic Question - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
ม.5 เล่ม 1 ของผลได้ (P) Instruction - ตรวจใบงาน เรื่อง เปรียบเทียบ การท�ำงาน
3 - ใบงาน 3. ประยุกต์โครงสร้างต่าง ๆ ของ Model) โครงสร้างของเมล็ดพืช - ทกั ษะการจ�ำแนก
- อุปกรณ์การทดลอง เมล็ดและผลไปใช้ประโยชน์ - ประเมินชิ้นงาน เรื่อง ประเภท
ชั่วโมง
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ได้ (P) ประเภทของผล - ทกั ษะการทดลอง
Twig 4. รับผิดชอบต่อหน้าที่และ - ประเมินรายงาน เรื่อง
- ภาพประกอบการสอน งานที่ได้รับมอบหมาย (A) โครงสร้างเมล็ด
- QR Code - ประเมินชิ้นงาน
- PowerPoint ประกอบ เรื่อง โครงสร้างของ
การสอน ผลและเมล็ด
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
การงอกของ - หนังสือเรียนชีววิทยา ทีม่ ีผลต่อการงอกของเมล็ด หาความรู้ หลังเรียน - ทกั ษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
เมล็ดพืช ม.5 เล่ม 1 และสภาพพักตัวของเมล็ด (5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
- แบบฝึกหัดชีววิทยา ได้ (K) Instruction - ตรวจแบบฝึกหัดจาก เปรียบเทียบ การท�ำงาน
5 ม.5 เล่ม 1 2. บอกแนวทางในการแก้สภาพ Model) Topic Question - ทกั ษะการจ�ำแนก
- อุปกรณ์การทดลอง พักตัวของเมล็ดได้ (P) - ตรวจแบบฝึกหัด ประเภท
ชั่วโมง
- QR Code 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่และ ประจำ�หน่วย - ทกั ษะการทดลอง
- PowerPoint ประกอบ งานที่ได้รับมอบหมาย (A) การเรียนรู้ที่ 3
การสอน - ตรวจรายงาน
เรื่อง โครงสร้างและ
ปัจจัยที่มีผลต่อการ
งอกของเมล็ด
- ตรวจผังมโนทัศน์
เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อ
การงอกของเมล็ด
- สังเกตการปฏิบัติการ
จากการทำ�กิจกรรม
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T131
Chapter Concept Overview
วัฏจักรชีวิตของพืชดอก
พืชดอกมีวัฏจักรชีวิตแบบสลับ คือ ระยะสปอโรไฟต์ (sporophyte) สลับกับระยะแกมีโทไฟต์ (gametophyte)

ไมโทซิส สปอโรไฟต์ • ระยะสปอโรไฟต : เปนระยะที่พืชสร้างสปอร์ ซึ่งสปอร์ของพืชดอก


ไซโกต มี 2 ชนิด คือ ไมโครสปอร์ (เรณู) และเมกะสปอร์ (ถุงเอ็มบริโอ)
การปฏิสนธิ ไมโอซิส เซลล์จะอยู่ในสภาพดิพลอยด์ หรือมีจำานวนโครโมโซม 2 ชุด (2n)
• ระยะแกมีโทไฟต : เปนระยะที่พืชสร้างเซลล์สืบพันธุ์ คือ สเปร์ม
เซลล์ไข่ สเปร์ม แกมีโทไฟต์เพศผู้ ไมโครสปอร์ (เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้) และเซลล์ไข่ (เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย) เซลล์
เมกะสปอร์ จะอยู่ในสภาพแฮพลอยด์ หรือมีจำานวนโครโมโซม 1 ชุด (1n)
ไมโทซิส ไมโทซิส

ดิพลอยด์
แฮพลอยด์
แกมีโทไฟต์เพศเมีย

การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
• โครงสรางและประเภทของดอก พืชดอกประกอบด้วย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย เรียกว่า ดอกครบส่วน แต่
พืชดอกบางชนิดอาจมีองค์ประกอบไม่ครบทั้ง 4 ส่วน เรียกว่า ดอกไม่ครบส่วน ซึ่งส่วนที่เกี่ยวข้องกับสืบพันธุ์ของพืชดอกโดยตรง คือ
เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย หากดอกของพืชชนิดใดมีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย เรียกว่า ดอกสมบูรณ์เพศ แต่ถ้าขาดอย่างใด
อย่างหนึ่งจะเรียกว่า ดอกไม่สมบูรณ์เพศ
• การสรางสปอรและเซลลสืบพันธุของพืชดอก พืชดอกมีการสร้างสปอร์ 2 ชนิด คือ ไมโครสปอร์ซึ่งจะเจริญเปนเรณูเพื่อสร้างเซลล์
สืบพันธุ์เพศผู้ และเมกะสปอร์ซึ่งจะเจริญเปนถุงเอ็มบริโอเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
• การถายเรณู การถ่ายเรณูเปนกระบวนการที่เรณูไปตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย โดยอาศัยตัวกลาง เช่น ลม นำ้า แมลง
• การปฏิสนธิของพืชดอก เมือ่ เรณูตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย เรณูจะแบ่งเซลล์เพือ่ งอกหลอดเรณูแทงเข้าไปยังรังไข่ทางรูไมโครไพล์ และ
เซลล์เจเนอเรทีฟจะแบ่งเซลล์ ได้สเปร์มจำานวน 2 เซลล์ โดยสเปร์มตัวหนึ่งจะไปผสมกับเซลล์ไข่ และสเปร์มอีกตัวหนึ่งจะไปผสมกับ
โพลาร์นิวคลีไอ ไมโครปอร์ เรณู
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ การถ่ายเรณู
กลีบดอก ไมโอซิส ไมโทซิส
เพศผู้
ยอดเกสร
เพศเมีย เซลล์กำาเนิด เซลล์ทิวบ์
ก้านชูเกสร ไมโครสปอร์ เซลล์เจเนอเรทีฟ
เพศเมีย
เกสร อับเรณู หลอดเรณู
เพศเมีย
เกสรเพศผู้
รังไข่
ออวุล ก้านชูอับเรณู
กลีบเลี้ยง
เมกะสปอร์ แอนติโพแดล

ไมโอซิส
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ทิวบ์นิวเคลียส สเปร์ม
เพศเมีย
โพลาร์นิวคลีไอ

เซลล์ไข่
เซลล์กำาเนิดเมกะสปอร์ เมกะสปอร์
ซินเนอร์จิด

T132
หนวยการเรียนรูที่ 3
โครงสร้างของผลและเมล็ด
• ผนังผล ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ได้แก่
ผนังชั้นนอก ผนังชั้นกลาง ผนังชั้นใน

เรียกว่า เปลือก มีลักษณะต่าง ๆ เช่น ผลบางชนิดมีผนังชัน้ กลางหนา บางชนิด ประกอบด้วยเนือ้ เยือ่ ชัน้ เดียวหรือหลายชัน้
ผิวเรียบ ผิวมัน ผิวขรุขระ บางชนิดมี บางมาก บางชนิดเนือ้ อ่อนนุม่ รับประทาน จนมีลักษณะหนา และบางชนิดมีเนื้อ
หนาม ได้ เช่น ผลมะพร้าว อ่อนนุ่ม รับประทานได้

• ผล แบ่งออกได้เปน 3 ประเภท ได้แก่


ผลเดี่ยว ผลกลุม ผลรวม

ผลที่เกิดจากรังไข่อันเดียวในดอกเดียว ผลที่เจริญมาจากรังไข่ของดอก 1 ดอก ผลที่ เ จริ ญ มาจากรั ง ไข่ ข องดอกย่ อ ย


ดอกอาจเปนดอกเดี่ยวหรือดอกช่อก็ได้ ที่มีเกสรเพศเมียมากกว่า 1 อัน โดย ในดอกช่อ ขณะที่เจริญเปนผล รังไข่ของ
รังไข่แต่ละอันเจริญเปนผลย่อย ซึ่งแต่ละ ดอกย่อยแต่ละดอกอาจเชื่อมเปนเนื้อ
ผลย่อยอยู่บนฐานดอกเดียวกัน เดียวกัน

• เมล็ด ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ เปลือกเมล็ด เอ็มบริโอ และเอนโดสเปร์ม

เปลือก เอนโดสเปร์ม
พลูมูล
เอ็มบริโอ
แรดิเคิล เอนโดสเปร์ม ใบเลี้ยง
เอ็มบริโอ พลูมูล เอ็มบริโอ
รูไมโครไพล์ ใบเลี้ยง
แรดิเคิล
เมล็ดถั่ว เมล็ดขาวโพด

• การงอกของเมล็ด แบ่งออกเปน 2 แบบ ดังนี้


1. การงอกเหนือดินหรือการงอกโดยที่ใบเลี้ยงอยูเหนือดิน เช่น 2. การงอกใตดนิ หรือการงอกโดยทีใ่ บเลีย้ งอยูใ ตดนิ เช่น ข้าวโพด
พริก ถั่วเขียว มะขาม ถั่วลันเตา
ใบแท้

ใบเลี้ยง เอพิคอทิล
ใบเลี้ยง โคลีออพไทล์ ใบแท้
ไฮโพคอทิล
ไฮโพคอทิล ใบเลี้ยง ไฮโพคอทิล

แรดิเคิล
เปลือกเมล็ด
แรดิเคิล

T133
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูแจงผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ หนวยการเรียนรูที่ การสืบพันธุข องพืชดอก
2. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวย
การเรียนรูท ี่ 3
3. ครูใหนักเรียนตอบคําถาม Big Question
4. ใหนักเรียนจับคู แลวแลกเปลี่ยนคําตอบและ
อภิปรายคําตอบกับคูของตนเองใหไดคําตอบ
3 และการเจริญเติบโต
ดอกไมแตละชนิดมีสี รูปร่าง ขนาด และโครงสร้างของดอกแตกต่างกัน บางชนิดมีกลีบดอกซ้อน
กันหลายชัน้ บางชนิดมีกลีบดอกชัน้ เดียว บางชนิดมีกลิน่ หอม บางชนิดมีกลิน่ ฉุน หรืออาจไม่มกี ลิน่
ที่สมบูรณ แต่อย่างไรก็ตาม ดอกไม้ทุกชนิดมีหน้าที่เหมือนกัน คือ เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ของพืช
5. ครูสุมเรียกนักเรียน 5-6 คู ออกมานําเสนอ
คําตอบ
6. ใหนักเรียนแตละคนบันทึกคําถาม Under- • ´Í¡ÁÕ¤ÇÒÁÊÓ¤ÑޡѺ¾×ªÍ‹ҧäÃ
standing Check ลงในสมุดบันทึกของตนเอง • ¡Ãкǹ¡ÒÃÊÌҧà«ÅŏÊ׺¾Ñ¹¸Øà¾È¼ÙŒáÅÐ
à¾ÈàÁÕÂᵡµ‹Ò§¡Ñ¹ Í‹ҧäÃ
แลวพิจารณาขอความตามความเขาใจของ • ¡Òû¯Ôʹ¸Ô¢Í§¾×ª´Í¡ÁÕ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸
นักเรียนวาถูกหรือผิด Í‹ Ò §äÃ¡Ñ º ¡ÒÃà¨ÃÔ Þ áÅÐ¾Ñ ² ¹Ò¢Í§
àÍçÁºÃÔ âÍ


U n de r s t a n d i ng
Che�
ให้นกั เรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิดแล้วบันทึกลงในสมุด
พืชทุกชนิดมีดอกเป็นอวัยวะเพื่อใช้ในการสืบพันธุ์
เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ของพืชดอก คือ เรณู และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย คือ เซลล์ ไข่
การปฏิสนธิของพืชเกิดขึ้นภายในรังไข่
ภายหลังการปฏิสนธิจะมีเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียที่พัฒนาไปเป็นเมล็ดและผล
แสงเป็นปัจจัยส�าคัญในการงอกของเมล็ดพืชบางชนิด
แนวตอบ Understanding Check
1. ผิด 2. ผิด 3. ถูก
4. ผิด 5. ถูก

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


• พืชดอกมีดอกเปนอวัยวะทีใ่ ชสรางเซลลสบื พันธุ พืชบางชนิดอาจมีดอก
ครูอาจนําภาพวัฏจักรชีวติ ของพืชทีม่ ดี อกหรือไรดอกมาใหนกั เรียนศึกษา และ
ทีส่ มบูรณเพศ คือ มีเกสรเพศผูแ ละเกสรเพศเมียอยูภ ายในดอกเดียวกัน
อภิปรายรวมกันวา วัฏจักรชีวติ ของพืชดอกมี 2 ระยะสลับกัน คือ ระยะสปอโรไฟต
แตบางชนิดอาจมีดอกไมสมบูรณเพศ คือ ภายใน 1 ดอก มีเพียง
ซึ่ ง เป น ระยะที่ พื ช สร า งสปอร เ พื่ อ เจริ ญ เป น ต น สปอร โ รไฟต ส ลั บ กั บ ระยะ
เกสรเพศผูหรือเกสรเพศเมีย หลังจากดอกไมไดรับการผสมเกสรจะ
แกมีโทไฟตเพือ่ สรางเซลลสบื พันธุ ดังนัน้ พืชทุกชนิดลวนมีสมบัตใิ นการสืบพันธุ
พัฒนากลายเปนผล โดยรังไขจะเจริญเปนเนื้อผลหอหุมเมล็ด
ถึงแมวาจะมีดอกหรือไมมีดอกเปนอวัยวะที่ใชในการสรางเซลลสืบพันธุก็ตาม
• แตกตางกัน สปอรมาเทอรเซลลที่อยูภายในอับเรณูของเกสรเพศผูจะ
แบงเซลลแบบไมโอซิสได 4 ไมโครสปอร แตละสปอรจะแบงเซลลแบบ
ไมโทซิสเจริญเปนเรณูซึ่งเปนแกมีโทไฟตเพศผู สวนสปอรมาเทอรเซลล
ที่อยูภายในรังไขของเกสรเพศเมีย จะแบงเซลลแบบไมโอซิสได 4 เมกะ
สปอร แตจะเหลือเพียง 1 เซลลที่แบงเซลลแบบไมโทซิสไดจํานวน 7
เซลล 8 นิวเคลียส รวมเรียกวา ถุงเอ็มบริโอซึ่งเปนแกมีโทไฟตเพศเมีย
• การปฏิสนธิของพืชดอกเปนการปฏิสนธิซอน เนื่องจากสเปรมตัวหนึ่ง
ไปผสมกับเซลลไข แลวเจริญเปนไซโกต และพัฒนาตอไปเปนเอ็มบริโอ
ส ว นสเป ร  ม อี ก ตั ว หนึ่ ง ไปผสมกั บ โพลาร นิ ว คลี ไ อ แล ว เจริ ญ เป น
T134 เอนโดสเปรม ซึ่งเปนสวนประกอบที่อยูภายในเมล็ด
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
Prior Knowledge
ดอกไม มี ค วามสํ า คั ญ กั บ 1. วัฏจักรชีวติ ของพืชดอก 1. ครูใหนักเรียนตอบคําถาม Prior Knowledge
วงจรชีวิตของพืช 2. ครูเขียนคําศัพทบนกระดาน แลวใหนักเรียน
พืชแต่ละต้นไม่ว่าจะเป็นพืชดอกหรือพืชไร้ดอก จะมีช่วง
อยางไร
ระยะทีแ่ ตกต่างกัน 2 ระยะสลับกัน คือ ระยะทีส่ ร้างสปอร์ เรียกว่า สืบคนขอมูลจากแหลงการเรียนรู เพือ่ หาความ
ระยะสปอโรไฟต์ (sporophyte) และระยะที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ เรียกว่า ระยะแกมีโทไฟต์ หมายของคําศัพท ตัวอยางเชน
(gametophyte) ï• sporophyte
พืชดอกเป็นพืชที่มีวิวัฒนาการสูงที่สุดในอาณาจักรพืช มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยมี (แนวตอบ ระยะที่พืชมีการสรางสปอร)
1 วเจริญเป็นแกมีโทไฟต์ท2ี่ท�าหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์
ดอกเป็นอวัยวะที่ท�าหน้าที่สร้างสปอร์ แล้ ï• gametophyte
ดังนั้นวัฏจักรชีวิตของพืชดอกจึงเป็น วัฏจักรชีวิตแบบสลับ (alternation of generation) ดังภาพ (แนวตอบ ระยะทีพ่ ชื มีการสรางเซลลสบื พันธุ)
3. ครูแจกใบงาน เรื่อง วัฏจักรชีวิตของพืชดอก
สปอโรไฟต์
ใหนักเรียนศึกษาคําชี้แจงและลงมือทําใบงาน
= ดิพลอยด์ (2n)
= แฮพลอยด์ (n) อธิบายความรู้
อับเรณู
เมล็ด 1. ครูสุมเรียกนักเรียนออกมานําเสนอคําตอบใน
ใบงานหนาชั้นเรียน
(เซลล์ก�าเนิดไมโครสปอร์) 2. ครูสุมเรียกนักเรียน 2 คน ชวยกันสรุปวัฏจักร
รังไข่
เอนโดสเปิร์ม ชีวิตของพืชดอก
ออวุล
ไซโกต (เซลล์ก�าเนิดเมกะสปอร์) 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา
ใบงาน
ระยะสปอโรไฟต์
การปฏิสนธิ ไมโอซิส ขยายความเข้าใจ
ระยะแกมีโทไฟต์
1. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
เรณู
(แกมีโทไฟต์เพศผู้) ม.5 เลม 1
ไมโครสปอร์ เมกะสปอร์ 2. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Question

ถุงเอ็มบริโอ แนวตอบ Prior Knowledge


ไข่ (n) (แกมีโทไฟต์เพศเมีย)
สเปิร์ม (n) ดอกเป น อวั ย วะที่ พื ช ใช ใ นการสร า งเซลล
ภาพที่3.1 วัฏจักรชีวิตแบบสลับของพืชดอก สืบพันธุ โดยมีสว นประกอบทีส่ าํ คัญ คือ เกสรเพศผู
ที่มา : www.macmillanhered.com และเกสรเพศเมีย สวนกลีบเลี้ยงและกลีบดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก 121
เปนอีกปจจัยทีช่ ว ยในการสืบพันธุ เชน กลีบดอกที่
และการเจริญเติบโต
มีสีสันสวยงามชวยลอแมลงมาผสมเกสร

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอความใดกลาวถูกตองเกีย่ วกับวัฏจักรชีวติ แบบสลับของพืชดอก 1 สปอร ในพืชดอกแบงไดเปน 2 ชนิด คือ ไมโครสปอร เปนสปอรขนาดเล็ก
1. สปอโรไฟตมีโครโมโซม n สรางสปอรโดยการแบงเซลล อยูใ นอับเรณูของเกสรเพศผูแ ละเมกะสปอร เปนสปอรขนาดใหญ อยูใ นรังไขของ
แบบไมโอซิส เกสรเพศเมีย ซึง่ สปอรเหลานีจ้ ะเจริญและแบงเซลลแบบไมโอซิสเพือ่ ใหไดแกมีต
2. สปอโรไฟตมีโครโมโซม 2n สรางสปอรโดยการแบงเซลล เพศผูหรือแกมีตเพศเมีย
แบบไมโทซิส 2 แกมีโทไฟต เปนระยะที่พืชสรางเซลลสืบพันธุ แบงออกเปน 2 ชนิด คือ
3. แกมีโทไฟตมีโครโมโซม n สรางเซลลสืบพันธุโดยการแบง แกมีโทไฟตเพศผู คือ เรณู และแกมีโทไฟตเพศเมีย คือ ถุงเอ็มบริโอ ซึง่ แกมีโทไฟต
เซลลแบบไมโทซิส เพศผูและแกมีโทไฟตเพศเมียจะแบงเซลลแบบไมโทซิส ไดเซลลสืบพันธุเพศผู
4. แกมีโทไฟตมีโครโมโซม 2n สรางเซลลสืบพันธุ โดยการ และเซลลสืบพันธุเพศเมีย คือ สเปรมและไข ตามลําดับ
แบงเซลลแบบไมโอซิส
5. แกมีโทไฟตตางมีโครโมโซม 3n สรางเซลลสืบพันธุ โดย
การแบงเซลลแบบไมโอซิส
(วิเคราะหคําตอบ คําตอบเปนไปตามตัวเลือก ดังนัน้ ตอบขอ 3.)

T135
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวัฏจักรชีวติ ของพืช จะเห็นว่าเมื่อพืชเข้าสู่ระยะสปอโรไฟต์ เซลล์ก�าเนิดสปอร์หรือสปอร์มาเทอร์เซลล์ (spore
ดอก จากนั้นใหนักเรียนสรุปวัฏจักรชีวิตของพืช mother cell) ทีอ่ ยูใ่ นอับเรณูของเกสรเพศผูแ้ ละอยูภ่ ายในรังไข่ของเกสรเพศเมีย จะแบ่งเซลล์แบบ
ชนิดอืน่ เชน มอส เฟน แลวใหสรุปและวาดวัฏจักร ไมโอซิสเพื่อสร้างสปอร์ที่มีโครโมโซมเพียง 1 ชุด โดยสปอร์ของพืชดอกมี 2 ชนิด คือ
ชีวิตของพืชลงในกระดาษ A4 พรอมตกแตงให ไมโครสปอร์และเมกะสปอร์ ซึ่งอาจสร้างภายในดอกเดียวกันหรือต่างต้นกัน โดยไมโครสปอร์จะ
สวยงามและนําเสนอหนาชั้นเรียน เจริญและพัฒนาเป็นแกมีโทไฟต์เพศผู้ เรียกว่า เรณู (pollen) ส่วนเมกะสปอร์จะเจริญและพัฒนา
เป็นแกมีโทไฟต์เพศเมีย เรียกว่า ถุงเอ็มบริโอ (embryo sac)
ขัน้ ประเมิน เมื่อพืชเข้าสู่ระยะแกมีโทไฟต์ เซลล์จะอยู่ในสภาพแฮพลอยด์ (haploid; n) โดยแกมีโทไฟต์
ตรวจสอบผล เพศผู้หรือเรณูจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ คือ สเปร์ม (sperm) ส่วนแกมีโทไฟต์เพศเมียหรือ
1. ครู ต รวจแบบทดสอบก อ นเรี ย น หน ว ยการ ถุงเอ็มบริโอจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย คือ ไข่ (egg) H. O. T. S.
เรียนรูที่ 3
หลังจากเกิดการปฏิสนธิระหว่างสเปิร์มกับไข่กลายเป็น คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
ไซโกต (zygote) ทีม่ จี า� นวนโครโมโซม 2 ชุด หรืออยูใ่ นสภาพดิพลอยด์
2. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5 หากพืชไม่มี
(diploid; 2n) จะแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (mitosis) เพื่อเพิ่ม เซลล์
เยือ่ บุขา้ งแก้ม
กระบวนการ
เลม 1
จ�านวนเซลล์ และพัฒนาเป็นเอ็มบริโอ (embryo) แล้วเจริญต่อ ปฏิสนธิ พืช
3. ตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question ไปเป็นต้นสปอโรไฟต์ ซึง่ เป็นต้นพืชทีอ่ ยูอ่ ย่างอิสระทีส่ งั เกตเห็น จะมีวงจรชีวิตแบบใด เพราะ
4. ครูตรวจใบงาน เรื่อง วัฏจักรชีวิตของพืชดอก อยู่ได้ทั่วไป เหตุใด
5. ประเมินชิน้ งาน เรือ่ ง วัฏจักรชีวติ ของพืชชนิดอืน่
B iology
โดยใชแบบประเมินชิ้นงาน Focus โครโมโซม
6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช โครโมโซม (chromosome) คือ สารพันธุกรรมในร่างกายของพืชและสัตว์ เป็นตัวก�าหนด
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล ลักษณะต่าง ๆ เช่น ความสูง โครโมโซมท�าหน้าที่ควบคุมการท�างานต่าง ๆ ภายในร่างกาย จึง
7. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ พบโครโมโซมอยูใ่ นทุกเซลล์ของร่างกาย โดยปกติทวั่ ไปจ�านวนโครโมโซมร่างกายจะมีจา� นวนเป็น 2 เท่า
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม ของจ�านวนโครโมโซมเพศ เช่น มะเขือเทศมีจ�านวนโครโมโซม 24 แท่ง หรือ 12 คู่ ดังนั้นเซลล์ไข่ หรือ
สเปิร์มของมะเขือเทศจะมีจ�านวนโครโมโซมเซลล์ 12 แท่ง หรือ 6 คู่
8. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
Topic
Question
ค�าชี้แจง:ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. สปอร์มาเทอร์เซลล์ (spore mother cell) ท�าหน้าที่อะไร
แนวตอบ H.O.T.S. 2. สปอร์ของพืชดอกมีกี่ชนิด อะไรบ้าง
3. แกมีโทไฟต์เพศผู้และเพศเมียของพืชดอกคืออะไร ท�าหน้าที่อะไร
พืชจะไมมรี ะยะดิพลอยดหรือระยะสปอโรไฟต 4. ระยะแกมีโทไฟต์แตกต่างกับระยะสปอโรไฟต์อย่างไร
จึงทําใหพืชไมสามารถสรางสปอรและเจริญเปน 5. กระบวนการแบ่งเซลล์แบบใดท�าให้เซลล์อยู่ในสภาพแฮพลอยด์และดิพลอยด์ ตามล�าดับ
ตนสปอโรไฟตได ทําใหพืชไมสามารถสรางเซลล 122
สืบพันธุ ไมสามารถขยายพันธุ และสูญพันธุใน
ที่สุด

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. สรางสปอร
ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง วัฏจักรชีวิตของพืชดอก
2. 2 ชนิด คือ ไมโครสปอรและเมกะสปอร
ไดจากการทําชิ้นงาน เรื่อง วัฏจักรชีวิตของพืชชนิดอื่น โดยศึกษาเกณฑการวัด
3. แกมีโทไฟตเพศผู คือ เรณู ทําหนาที่สรางสเปรม สวนแกมีโทไฟตเพศ
และประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงานที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจํา
เมีย คือ ถุงเอ็มบริโอ ทําหนาที่สรางเซลลไข
หนวยการเรียนรูที่ 3
4. ระยะแกมีโทไฟตทําหนาที่สรางเซลลสืบพันธุ ซึ่งเปนระยะที่มีจํานวน
โครโมโซมเพียงหนึ่งชุด สวนระยะสปอโรไฟตทําหนาที่สรางสปอร ซึ่ง
แบบประเมินชิ้นงาน

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินรายงาน ตามรายการที่กาหนดแล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน

เปนระยะที่มีจํานวนโครโมโซม 2 ชุด
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การจัดรูปแบบรายงาน
2 ความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา
3 ภาพประกอบ/ตาราง
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................./................/................
5. เซลลที่อยูในสภาพแฮพลอยดเกิดจากการแบงเซลลแบบไมโอซิส สวน
รายการประเมิน
4
เกณฑ์การประเมิน

3
ระดับคะแนน
2 1
เซลลที่อยูในสภาพดิพลอยดเกิดจากการรวมกันของเซลล 2 เซลล ซึ่ง
1. การจัดรูปแบบ

2. ความถูกต้องและ
รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
และมี องค์ ประกอบ
ครบถ้วน
เนื้อหาในรายงานมีความ
รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
และมี องค์ ประกอบ
ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่
เนื้อหาในรายงานมีความ
รูปเล่มรายงานมีระเบียบ
และมี องค์ ประกอบ
ครบถ้วนเพียงบางส่วน
เนื้อหาในรายงานมีความ
รู ปเล่ มรายงานมี
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่
ครบถ้วน
เนื้ อหาในรายงานไม่
แตละเซลลมีจํานวนโครโมโซม 1 ชุด
คุณภาพ ของ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง และไม่ ครบ
เนื้อหา และมีภาษาที่สละสลวย เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน ตามที่กาหนด
เข้าใจง่าย
3. ภาพประกอบ/ ภาพมี ความสอดคล้ อง ภาพมี ความสอดคล้ อง ภ า พส อด ค ล้ องกั บ ภาพไม่ สอดคล้ องกั บ
ตาราง กับเนื้อหา มีภาพมีความ กับเนื้อหา ภาพไม่คมชัด เนื้ อหาบางส่ ว น ภาพ เนื้อหา ภาพไม่คมชัด
คมชัด สวยงาม ตารางที่ ตารางที่นาเสนอมีความ คมชัด ตารางที่นาเสนอ ตารางที่ น าเสนอไม่
นาเสนอมีความถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T136
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
Prior Knowledge
พืชสืบพันธุแบบอาศัยเพศ 2. การสืบพันธุแ์ บบอาศัยเพศ 1. ครูถามคําถาม Prior Knowledge
ไดอยางไร ของพืชดอก 2. ครูกระตุนความสนใจของนักเรียน โดยครูให
นักเรียนแบงกลุมออกเปน 4 กลุม จากนั้นครู
การสืบพันธุ์เป็นกระบวนการส�าคัญที่ท�าให้พืชสามารถ แจกดอกไม 4 ประเภท ไดแก ดอกชบา ดอก
ด�ารงพันธุ์ได้ โดยพืชดอกจะมีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ซึ่งดอกไม้แต่ละชนิดจะมี
ฟกทอง ดอกเฟองฟา และดอกกุหลาบ
โครงสร้างที่แตกต่างกันไปตามชนิดของพืช
2.1 โครงสร้างและประเภทของดอก
ดอกมีโครงสร้างหลักส�าคัญ 4 ส่วนทีต่ ดิ อยูบ่ นฐานดอก (receptacle) ได้แก่ กลีบเลีย้ ง (sepal)
กลีบดอก (petal) เกสรเพศผู ้ (stamen) และเกสรเพศเมีย (pistil) ซึง่ มีเพียงบางส่วนเท่านัน้ ทีเ่ กีย่ วข้อง
กับการสืบพันธุ์โดยตรง คือ เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย
1. กลีบเลี้ยง (sepal) เป็นส่วนที่อยู่นอกสุด เจริญเปลี่ยนแปลงมาจากใบ จึงมักมีสีเขียว
ท�าหน้าทีห่ อ่ หุม้ ป้องกันอันตรายให้แก่สว่ นของดอกทีอ่ ยูภ่ ายใน กลีบเลีย้ งของพืชบางชนิดท�าหน้าที่
ช่วยล่อแมลงในการผสมเกสร นอกจากนี้ยังช่วยในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้อีกด้วย
2. กลีบดอก (petal) เป็นส่วนที่อยู่ถัดจากกลีบเลี้ยงเข้าไป มักมีสีสันสวยงาม เนื่องจากมี
สารสีชนิดต่าง ๆ อยู่ภายในเซลล์ เช่น กลีบดอกสีแดง สีน�้าเงิน สีม่วง เนื่องจากมีสารสีชนิด
แอนโทไซยานิน (1anthocyanin) หรือกลีบดอกสีเหลือง เนื่องจากมีสารสีแคโรทีนอยด์ (carotenoid)
กลีบดอกและกลีบเลีย้ งทีต่ ดิ อยูเ่ ป็นวงบนฐานดอกเรียกรวมกันว่า วงกลีบ ในพืชบางชนิดกลีบเลีย้ ง
และกลีบดอกมีลักษณะเหมือนกันจนแยกกันไม่ออกจึงเรียกชั้นนี้ว่า วงกลีบรวม (perianth)
ยอดเกสรเพศเมีย
อับเรณู
ก้านชูเกสรเพศเมีย
ก้านชูอับเรณู

รังไข่
กลีบดอก
ออวุล

ฐานดอก กลีบเลี้ยง

แนวตอบ Prior Knowledge


ภาพที่3.2 โครงสร้างดอก
ที่มา : คลังภาพ อจท. พืชใชอวัยวะที่เรียกวา ดอก ในการสืบพันธุ
การสืบพันธุ์ของพืชดอก 123
โดยมีสวนประกอบของดอกที่มีสวนสําคัญในการ
และการเจริญเติบโต
สรางเซลลสบื พันธุ คือ เกสรเพศผูแ ละเกสรเพศเมีย
ซึ่งอาจอยูภายในดอกเดียวกันหรือคนละดอก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดเปนลักษณะสําคัญของยอดเกสรเพศเมีย ครูอาจทบทวนความรูเดิมเกี่ยวกับโครงสรางของดอกที่นักเรียนไดเรียนมา
1. อยูบริเวณโคนดอกเทานั้น แลว โดยใหนกั เรียนแตละคนยกตัวอยางดอกไมทนี่ กั เรียนรูจ กั มา 1 ชนิด จากนัน้
2. อยูดานในสุด มองเห็นเดนชัด รวมอภิปรายวา ดอกไมชนิดตางๆ มีโครงสรางและองคประกอบที่เหมือนหรือ
3. เปนแผนบางๆ มีกลิ่นหอมชวยลอแมลง แตกตางกัน อยางไร ซึ่งดอกไมที่นักเรียนยกตัวอยางมาควรมีความหลากหลาย
4. เปนตุม มีรสหวาน มีสารเหนียวหรือขนชวยดักจับเรณู บางชนิดอาจมีโครงสรางครบ 4 สวน บางชนิดอาจมีโครงสรางไมครบทั้ง 4 สวน
5. เปนตุม ไมมีกลิ่น อยูบริเวณโคนดอก ทําหนาที่สรางเซลล
สืบพันธุ
(วิเคราะหคําตอบ ดอกมีสวนประกอบที่สําคัญในการสรางเซลล นักเรียนควรรู
สืบพันธุ คือ เกสรเพศผูแ ละเกสรเพศเมีย โดยเกสรเพศเมียประกอบ 1 แอนโทไซยานิน เปนรงควัตถุทพี่ บไดทงั้ ในดอกและผลทีม่ สี แี ดง นํา้ เงิน หรือ
ดวยยอดเกสรเพศเมียและรังไข ซึ่งบริเวณยอดเกสรเพศเมียมี มวง ซึง่ เปนสารทีล่ ะลายในนํา้ ได มีสมบัตเิ ปนสารตานอนุมลู อิสระ ชวยยับยัง้ การ
ลักษณะเปนตุม มีสารเหนียว หรือขนชวยดักจับเรณู ดอกบางชนิด เกิดออกซิเดชันของลิโปโปรตีนและชวยลดการตกตะกอนของเกล็ดเลือด ดังนั้น
มีกลิ่นหอม บางชนิดมีกลิ่นเหม็น ชวยลอแมลง ดังนั้น ตอบขอ 4.) แอนโทไซยานินจึงมีบทบาทสําคัญในการปองกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ

T137
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ให นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล จากหนั ง สื อ เรี ย น 3. เกสรเพศผู ้ (stamen) เป็นส่วนทีอ่ ยูถ่ ดั จากกลีบดอกเข้าไป ท�าหน้าทีส่ ร้างเซลล์สบื พันธุ์
ชีววิทยา ม.5 เลม 1 เกี่ยวกับโครงสรางและ เพศผู้ ซึ่งเกสรเพศผู้แต่ละอันประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้
ประเภทของดอก
2. ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันสํารวจและเขียน อับเรณู
(anther)
สวนประกอบของดอก โดยใหตวั แทนกลุม เขียน มีลักษณะเป็นพู จ�านวน 2 พู ภายในแบ่ง
สวนประกอบของดอกบนกระดานหนาชัน้ เรียน เป็นถุงเล็ก ๆ 4 ถุง เรียกว่า โพรงอับเรณู เรณู
3. ครู นํ า ดอกไม ข องแต ล ะกลุ  ม มาให นั ก เรี ย น (pollen sac) ซึง่ บรรจุไมโครสปอร์มาเทอร์-
เซลล์ (microspore mother cell) จ�านวน
รวมกันวิเคราะหวา ตัวแทนกลุมเขียนคําตอบ มากที่พร้อมจะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเพื่อ
โพรงอับเรณู
ถูกตองหรือไม โดยมีแนวคําตอบ ดังนี้ สร้างไมโครสปอร์ (microspore) ต่อไป
ï• ดอกชบา อับเรณู
(แนวตอบ ประกอบดวยเกสรเพศผู เกสรเพศ กานชูอับเรณู
(filament)
เมีย กลีบดอก กลีบเลี้ยง) มี ลั ก ษณะเป็ น ก้ า นหรื อ ท่ อ ท� า
ï• ดอกฟกทอง หน้าที่ชูอับเกสรเพศผู้หรืออับเรณู
(แนวตอบ ประกอบดวยเกสรเพศเมีย กลีบ ภาพที่3.3 องค์ประกอบของเกสรเพศผู้
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ดอก กลีบเลี้ยง)
ï• ดอกเฟองฟา 4. เกสรเพศเมีย (pistil) เป็นส่วนที่อยู่ในสุด เปลี่ยนแปลงมาจากใบเพื่อท�าหน้าที่สร้าง
(แนวตอบ ประกอบดวย เกสรเพศเมีย เกสร เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ซึ่งเกสรเพศเมียประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้
เพศผู กลีบเลี้ยง) ยอดเกสรเพศเมีย
(stigma)
ï• ดอกหนาวัว มีลกั ษณะเป็นตุม่ แผ่แบนเป็นแฉกหรือ
(แนวตอบ ประกอบดวยเกสรเพศผู เกสรเพศ เป็นพู และมีสารเหนียว ๆ หรือขน
เมีย) เพื่อช่วยให้เรณูมาติด กานชูเกสรเพศเมีย
(style)
ï• ดอกบานเย็น มี ลั ก ษณะเป็ น ท่ อ หรื อ ก้ า นเล็ ก ๆ
(แนวตอบ ประกอบดวยเกสรเพศผู เกสรเพศ รังไข
เชื่อมต่อจากยอดเกสรเพศเมียลงสู่
รังไข่ ซึ่งเป็นทางให้สเปิร์มนิวเคลียส
เมีย กลีบเลี้ยง) (ovary)
เข้าไปผสมกับเซลล์ไข่
มี ลั ก ษณะเป็ น กระเปาะอยู ่ ติ ด กั บ
ฐานดอก หรืออาจฝังอยู่ในฐานดอก ออวุล
ภายในมีลกั ษณะเป็นพู ซึง่ อาจมีเพียง
1 พู หรือมากกว่าก็ได้ ถ้ามีมากกว่า ไมโครไพล์
1 พู มักจะมีผนังกั้น (septum)
ภาพที่ 3.4 องค์ประกอบของเกสรเพศเมีย
ที่มา : คลังภาพ อจท.

124 โครงสรางของดอก
https://www.aksorn.com/interactive3D/RNB31

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับยอดเกสรเพศเมียวา ผิวของยอดเกสรเพศ ขอใดเปนดอกทีม่ เี กสรเพศผูแ ละเกสรเพศเมียอยูค นละดอกทัง้ หมด
เมียสวนมากเปนเนื้อเยื่อที่มีตอม สามารถขับสารละลายบางชนิดออกมาได ซึ่ง 1. กุหลาบ บัว ชบา มะเขือ
ยอดเกสรเพศเมียสามารถแบงออกไดเปน 2 ชนิด ดังนี้ 2. กุหลาบ ชบา มะมวง ชมพู
1. ยอดเกสรเพศเมียชนิดเปยก มีตอมที่ขับสารประกอบฟนอลออกมา เพื่อ 3. ขาวโพด มะมวง กุหลาบ ชบา
ละลายนํ้าตาลสําหรับการงอกของเรณู 4. ขาวโพด กุหลาบ ฟกทอง ตําลึง
2. ยอดเกสรเพศเมียชนิดแหง ไมมีการขับสารออกมา แตเรณูจะขับสารที่ 5. ขาวโพด ตําลึง ฟกทอง มะละกอ
มีนํ้าเปนองคประกอบออกมาแทน (วิเคราะหคําตอบ กุหลาบ ชบา มะเขือ มะมวง ชมพู บัว เปน
ดอกสมบูรณเพศ สวนขาวโพด ตําลึง ฟกทอง มะละกอ เปนดอก
สื่อ Digital ไมสมบูรณเพศ ดังนั้น ตอบขอ 5.)

ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับองคประกอบของพืชดอก จาก QR
Code 3D เรื่อง โครงสรางดอกไม

โครงสรางดอกไม
T138 www.aksorn.com/interactive3D/RKB31
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
เมื่อพิจารณาส่วนประกอบดอกของพืชแต่ละชนิดจะมีโครงสร้างแตกต่างกัน บางชนิดมี 4. ใหนักเรียนวาดรูปและสรุปองคประกอบของ
โครงสร้างหลักครบทัง้ 4 ส่วนเรียกว่า ดอกสมบูรณ์ (complete flower) บางชนิดอาจขาดโครงสร้างใด ดอกลงในสมุดบันทึก
โครงสร้างหนึ่ง เรียกว่า ดอกไม่สมบูรณ์ (incomplete flower) และดอกที่มีทั้งเกสรเพศผู้และ 5. ใหนกั เรียนวิเคราะหวา ดอกไมทคี่ รูนาํ มาใชใน
เกสรเพศเมียอยู่ภายในดอกเดียวกัน เรียกว่า ดอกสมบูรณ์เพศ (perfect flower) เช่น ดอกชบา การเรียนการสอนเปนดอกสมบูรณเพศหรือไม
ดอกกุหลาบ ดอกบัว ดอกพริก แต่หากมีเกสรเพศผู้หรือเกสรเพศเมียเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง จากนั้นครูเขียนคําบนกระดาน ดังนี้
เรียกว่า ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (imperfect flower) เช่น ดอกมะพร้าว ดอกฟักทอง ดอกแตงกวา ï• ดอกครบสวนคืออะไร
ดอกบวบ ดอกต�าลึง โดยดอกที่มีเฉพาะเกสรเพศผู้เรียกว่า ดอกเพศผู้ ส่วนดอกที่มีเฉพาะ (แนวตอบ ดอกที่มีสวนประกอบครบทั้ง 4
เกสรเพศเมีย เรียกว่า ดอกเพศเมีย สวน คือ เกสรเพศผู เกสรเพศเมีย กลีบเลีย้ ง
กลีบดอก)
ï• ดอกไมครบสวนคืออะไร
(แนวตอบ ดอกที่มีสวนประกอบไมครบทั้ง 4
สวน)
ï• ดอกไมสมบูรณเพศคืออะไร
(แนวตอบ ดอกที่มีเพียงเกสรเพศผูหรือเกสร
เพศเมียอยางใดอยางหนึ่ง)
ก. ดอกสมบูรณ์เพศ ï• ดอกสมบูรณเพศคืออะไร
(แนวตอบ ดอกทีม่ ที งั้ เกสรเพศผูแ ละเกสรเพศ
เมีย)

ดอกเพศเมีย ดอกเพศผู้

ข. ดอกไม่สมบูรณ์เพศ

ภาพที่3.5 ชนิดของดอก ก. ดอกสมบูรณ์เพศ ข. ดอกไม่สมบูรณ์เพศ


ที่มา : คลังภาพ อจท.

การสืบพันธุ์ของพืชดอก 125
และการเจริญเติบโต

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดเปนดอกไมสมบูรณเพศทั้งหมด ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับดอกไมสมบูรณเพศ หรือเรียกวา ดอกแยก
1. กลวยไม ขาว เพศ วาเปนดอกที่มีเกสรเพศผูหรือเกสรเพศเมียอยางใดอยางหนึ่ง โดยแบงออก
2. มะเขือ มะละกอ ไดเปน 2 ลักษณะ ดังนี้
3. ตําลึง ทานตะวัน 1. ดอกที่มีทั้งเกสรเพศผูและเกสรเพศเมียอยูในตนเดียวกัน เรียกวา ดอก
4. ฟกทอง ปตตาเวีย แยกเพศอยูรวมตน (monoecious plant) เชน ขาวโพดมีดอกเพศผูอยูบนยอด
5. หางนกยูง พุทธรักษา ของตนขาวโพด สวนดอกเพศเมียอยูดานขางของลําตน
2. ดอกที่มีเกสรเพศผูและเกสรเพศเมียอยูคนละตน เรียกวา ดอกแยกเพศ
(วิเคราะหคําตอบ ดอกสมบูรณเพศ ไดแก ขาว กลวยไม มะเขือ
อยูตางตน (dioecious plant) เชน มะพราวมีดอกเพศผูและดอกเพศเมียตาง
หางนกยูง พุทธรักษา และดอกไมสมบูรณเพศ ไดแก ตําลึง
ดอกในชอดอกเดียวกัน ตําลึง ฟกทอง และแตงมีดอกเพศผูแ ละเพศเมียแยกดอก
มะละกอ ฟกทอง ปตตาเวีย ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T139
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
6. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับดอกเดี่ยวและ เมือ่ พิจารณาจากตําแหนงของรังไขเทียบกับตําแหนงของวงกลีบ สามารถจําแนกประเภท
ดอกชอจากหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.5 เลม 1 ของดอกได ดังนี้
7. ครูแจกใบงาน เรื่อง ประเภทของดอก แลวให 1) ดอกที่มีรังไขอยูเหนือวงกลีบ (hypogynous flower) คือ ดอกที่รังไขติดอยูบนฐาน
นักเรียนศึกษาคําชี้แจงแลวลงมือทําใบงาน ดอกในตําแหนงสูงกวาวงกลีบ (superior ovary) เชน มะเขือ จําป บัว มะละกอ พริก บานบุรี ยี่หุบ
เปนตน

รังไข

วงกลีบ
ภาพที่ 3.6 ดอกทิวลิปที่มีรังไขอยูเหนือวงกลีบ
ที่มา : คลังภาพ อจท.

2) ดอกที่มีรังไขอยูใตวงกลีบ (epigynous flower) คือ ดอกที่มีรังไขติดอยูบนฐานดอก


ในตําแหนงตํ่ากวากลีบเลี้ยง (inferior ovary) โดยผนังรังไขจะเชื่อมติดเปนเนื้อเดียวกับสวนของ
ฐานรองดอกที่ลอมรอบรังไขเอาไว เชน ตําลึง ฟกทอง แตงกวา บวบ กลวย ฝรั่ง เปนตน

วงกลีบ
รังไข

ภาพที่ 3.7 ดอกฟกทองทีม่ รี งั ไขอยูใ ตวงกลีบ


ที่มา : คลังภาพ อจท.

126

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมวา นอกจากดอกที่มีรังไขอยูเหนือวงกลีบ (superior ดอกฟกทองมีรังไขอยูบริเวณใด
ovary) และดอกทีม่ รี งั ไขอยูใ ตวงกลีบ (inferior ovary) แลว ยังมีดอกทีม่ กี ลีบเลีย้ ง 1. ใตวงกลีบ
กลีบดอก และเกสรเพศผูต ดิ อยูบ นฐานรองดอก ในระดับเดียวกับรังไข เนือ่ งจาก 2. ใตฐานดอก
ฐานรองดอกเวาลงไปและมีขอบโคงเปนรูปถวยอยูรอบรังไข ตําแหนงรังไข 3. กึ่งใตวงกลีบ
ลักษณะแบบนี้เรียกวา ดอกที่มีรังไขอยูกึ่งใตวงกลีบ (half-superior หรือ 4. กึ่งใตวงกลีบ
half-inferior ovary) ตัวอยางดอกทีม่ รี งั ไขลกั ษณะนี้ เชน ดอกกุหลาบ ถัว่ ตะแบก 5. เหนือฐานดอก
อินทนิล เชอรรี (วิเคราะหคําตอบ ดอกฟกทองเปนดอกไมสมบูรณเพศ ซึ่งดอก
เพศเมียจะมีรังไขอยูใตกลีบ ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T140
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูสมุ ตัวแทนนักเรียน 4-5 คน ออกมานําเสนอ
เมื่อพิจารณาตามจ�านวนดอกที่อยู่บนก้านดอก สามารถจ�าแนกประเภทของดอกได้ ดังนี้
ใบงานหนาชั้นเรียน
1) ดอกเดี่ยว (solitary flower) คือ ดอกที่มีจ�านวนดอกบนก้านดอกเพียงดอกเดียว เช่น
ดอกมะเขือ ดอกกุหลาบ ดอกชบา ดอกจ�าป ดอกฟักทอง 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา
2) ดอกช่อ (inflorescence) คือ ดอกที่ประกอบด้วยดอกย่อยหลายดอกอยู่บนแกนช่อดอก ใบงาน เพื่อใหไดขอสรุปวา พืชดอกมีอวัยวะ
เดียวกัน ซึ่งมีหลายแบบ ตัวอย่างเช่น คือ ดอก ทําหนาทีเ่ กีย่ วของกับการสืบพันธุข อง
• ช่อกระจะ หรือ ราซีม (raceme) มีดอกย่อยแตกออกมาจากแกนกลางโดยไม่อยู่ใน พืชดอก โดยดอกมีทั้งดอกเดี่ยวและดอกชอ
ระดับเดียวกัน เช่น ราชพฤกษ์ ขี้เหล็ก ดอกบางชนิดมีรังไขอยูเหนือวงกลีบ บางชนิด
• ช่อเชิงลด หรือ สไปค์ (spike) มีลักษณะคล้ายกับราซีม แต่ดอกย่อยไม่มีก้านดอก มีรังไขอยูใตวงกลีบ ซึ่งเกสรเพศผูทําหนาที่
เช่น กระถินณรงค์ มะพร้าว สรางเซลลสืบพันธุเพศผู และเกสรเพศเมียทํา
• ช่อแยกแขนง หรือ แพนิเคิล (panicle) มีช่อดอกย่อยแตกออกมาจากช่อดอกใหญ่ หนาที่สรางเซลลสืบพันธุเพศเมีย นอกจากนี้
เช่น ไฮเดรนเยีย ยั ง มี ก ลี บ เลี้ ย งทํ า หน า ที่ ห  อ หุ  ม และป อ งกั น
• ช่อซี่ร่ม หรือ อัมเบล (umbel) มีแกนกลางสั้น ดอกย่อยจะเกือบอยู่ในระดับเดียวกัน อันตรายใหแกสวนของดอกที่อยูภายใน และ
ซึ่งมีลักษณะคล้ายร่ม เช่น ผักชี หอม กลีบดอกที่มีสีสันสวยงามทําหนาที่ลอแมลง
• ช่อกระจุกแน่น หรือ เฮด (head) มีก้านช่อดอกหดสั้นและแกนกลางขยายแผ่ออกเป็น ใหมาชวยผสมเกสร หากจําแนกองคประกอบ
วงคล้ายจาน เรียกว่า ฐานดอกร่วม (common receptacle) เช่น ทานตะวัน ดาวเรือง บานไม่รู้โรย ของดอก สามารถแบงไดเปน 4 ประเภท ไดแก
ดอกครบสวน ดอกไมครบสวน ดอกสมบูรณเพศ
และดอกไมสมบูรณเพศ

ก. ดอกชบา ข. ดอกขี้เหล็ก ค. ดอกกระถินณรงค์

ง. ดอกไฮเดรนเยีย จ. ดอกผักชี ฉ. ดอกดาวเรือง


ภาพที่3.8 ประเภทของดอกแบ่งตามจ�านวนดอกที่อยู่บนก้านดอก ก. ดอกเดี่ยว และ ข.-ฉ. ดอกช่อ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
การสืบพันธุ์ของพืชดอก 127
และการเจริญเติบโต

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ดอกชนิดใดทีม่ สี ขี องกลีบเลีย้ งเหมือนหรือคลายกับสีของกลีบดอก ครูอาจแนะนําเพิม่ เติมเกีย่ วกับองคประกอบของดอกวา นอกเหนือจากกลีบ
1. ดอนยา เลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู และเกสรเพศเมีย แลวยังมีสวนประกอบอื่นๆ ที่พบ
2. ชวนชม ไดในดอกบางชนิด ไดแก
3. เฟองฟา 1. ใบประดับคลายกลีบดอก (petaloid bract) คือ ใบที่ประดับ มีสีสัน
4. ทานตะวัน คลายกลีบดอก เชน ใบประดับของเฟองฟา
5. หวายทะนอย 2. วงใบประดับ (involucres, involucral bract, phyllary) คือ ใบประดับ
(วิเคราะหคําตอบ เฟองฟามีใบประดับที่มีสีสันคลายกลีบดอก ที่เปลี่ยนแปลงไป มีลักษณะคลายเกล็ดปลาหรือหนาม เชน ใบประดับ
สวนดอกดอนยามีวงกลีบเลีย้ งทีม่ สี สี นั คลายกลีบดอก ดังนัน้ ตอบ ของบานชื่น ดาวกระจาย ทานตะวัน
ขอ 1.) 3. วงกลีบเลี้ยงคลายกลีบดอก (petaloid calyx) คือ วงกลีบเลี้ยงที่มีสีสัน
คลายกลีบดอก เชน กลีบเลี้ยงของดอกดอนยา
4. กาบหุม ชอดอก (spathe) คือ ใบประดับขนาดใหญทรี่ องรับชอดอกและ
มีสีสันตางๆ เชน กาบหุมชอดอกของปลีกลวย หนาวัว
5. ริว้ ประดับ (epicalyx) คือ ใบประดับทีล่ ดรูปเปนริว้ เล็กๆ เชน ใบประดับ
ของชบา พูระหง
T141
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน ทํากิจกรรม • การสังเกต
เรื่อง โครงสรางของดอก โครงสรางของดอก • การจ�าแนกประเภท
จิตวิทยาศาสตร์
2. ใหสมาชิกภายในกลุมแบงภาระหนาที่รับผิด • ความสนใจใฝ่รู้

ชอบ โดยสมาชิกในกลุมมีบทบาทและหนาที่ จุดประสงค์ • ความรับผิดชอบ

ของตนเอง ดังนี้ 1. อธิบายโครงสร้างของดอกได้


- สมาชิกคนที่ 1 : ทําหนาทีเ่ ตรียมวัสดุอปุ กรณ 2. ศึกษาต�าแหน่งของรังไข่เหนือวงกลีบ หรือรังไข่ใต้วงกลีบ
- สมาชิกคนที่ 2 : ทํ า หน า ที่ อ  า นวิ ธี ก ารทํ า 3. สามารถจัดประเภทของดอกโดยใช้ต�าแหน่งของรังไข่และจ�านวนดอกที่อยู่บนก้านดอกได้
กิจกรรม และนํามาอธิบายใหสมาชิกภายใน
กลุมฟง
วัสดุอปุ กรณ์
- สมาชิกคนที่ 3 และ 4 : ทําหนาที่บันทึกผล
การทํากิจกรรม 1. ดอกไม้ชนิดต่าง ๆ ได้แก่ กล้วยไม้สกุลหวาย ราชพฤกษ์ แก้ว จ�าป กุหลาบ ฟักทอง ทานตะวัน ดาวเรือง
- สมาชิกคนที่ 5 และ 6 : ทําหนาทีน่ าํ เสนอผล มะละกอ มะลิ มะเขือ กล้วย เข็ม ต�าลึง พุทธรักษา
2. ชุดเครื่องมือผ่าตัด
ที่ไดจากการทํากิจกรรม 3. แว่นขยาย
3. ในระหวางการทํากิจกรรม ใหสมาชิกภายใน
กลุ  ม ตั้ ง คํ า ถามขั้ น ตอนการทดลองที่ ต นเอง
สงสัย แลวใหสมาชิกรวมกันสืบคนจากแหลง วิธปี ฏิบตั ิ
ขอมูลเพื่อตอบคําถาม
1. สังเกตดอกไม้ชนิดต่าง ๆ ที่น�ามาศึกษาในหัวข้อ ดังนี้
• ประเภทของดอก
• ส่วนประกอบที่เป็นโครงสร้างหลัก
• จ�านวนเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย
• ลักษณะของรังไข่
2. ออกแบบตารางบันทึกผล และบันทึกผลลงในตาราง
3. น�าดอกไม้ชนิดต่าง ๆ มาผ่าตามยาวให้ผ่านรังไข่ เพื่อศึกษาต�าแหน่ง
ของรังไข่เหนือวงกลีบ (superior ovary) หรือรังไข่ใต้วงกลีบ (inferior
ovary) และออวุลที่ติดอยู่ในรังไข่รวมทั้งจ�านวนออวุล บันทึกและ
วาดภาพต�าแหน่งของรังไข่และออวุล
4. จัดกลุ่มดอกไม้โดยใช้ต�าแหน่งของรังไข่ และจ�านวนดอกที่อยู่บน
ก้านดอกเป็นเกณฑ์ ภาพที่3.9 กิจกรรมโครงสร้างของดอก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

128

บันทึก กิจกรรม

ประเภทของดอก สวนประกอบโครงสรางหลัก จํานวนเกสร จํานวน ตําแหนงของรังไข


ชนิดของดอกไม ของดอก รังไข
(ตัวอยางดอกไม) กลีบ กลีบ เกสร เกสร เกสร เกสร ในแตละ เหนือ ใต
เดี่ยว ชอ ดอก วงกลี บ
เลี้ยง ดอก เพศผู เพศเมีย เพศผู เพศเมีย วงกลีบ
พุทธรักษา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 1 1 1 ✓
มะเขือ ✓ ✓ ✓ ✓ 5 1 1 ✓
ฟกทอง ✓ ✓ ✓
(แยกเพศ)

(แยกเพศ)
มาก 1 1 ✓

T142
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ค�าถามท้ายกิจกรรม 1. ใหตัวแทนของแตละกลุมออกมานําเสนอผล
?
จากการทํากิจกรรม และอธิบายขอสงสัยที่
1. ดอกชนิดใดเป็นดอกสมบูรณ์ และดอกชนิดใดเป็นดอกไม่สมบูรณ์
สมาชิกภายในกลุมตั้งคําถาม และนําเสนอผล
2. ดอกชนิดใดมีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย
3. ดอกชนิดใดบ้างมีเพียง 1 ดอกบนก้านดอก และดอกชนิดใดบ้างมีดอกมากกว่า 1 ดอกบนก้านดอก จากการสืบคนคําตอบ
4. ดอกชนิดใดมีรังไข่เหนือวงกลีบ และดอกชนิดใดมีรังไข่ใต้วงกลีบ 2. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
5. ดอกชนิดใดที่รังไข่มีเพียงออวุลเดียว และดอกชนิดใดที่รังไข่มีออวุลจ�านวนมาก 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา
กิจกรรม
อภิปรายผลกิจกรรม

จากกิจกรรม พบว่า นอกจากจะจ�าแนกประเภทของดอกตามโครงสร้างของดอกแล้ว ยังสามารถจ�าแนก


ประเภทของดอกโดยพิจารณาจากต�าแหน่งของรังไข่เมื่อเทียบกับต�าแหน่งของวงกลีบ และพิจารณาจาก
จ�านวนดอกที่อยู่บนก้านดอกได้อีกด้วย

2.2 การสร้างสปอร์และเซลล์สืบพันธุ์ของพืชดอก
ในระยะสปอโรไฟต์พืชจะมีกระบวนการสร้างสปอร์ (sporogenesis) ด้วยการแบ่งเซลล์
แบบไมโอซิส (meiosis) โดยพืชมีการสร้างสปอร์ 2 ชนิด คือ ไมโครสปอร์และเมกะสปอร์ ดังนี้
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
การสร้างไมโครสปอร์ เกิดขึ้นที่อับเรณูภายในมีอับไมโครสปอร์
(microsporogenesis) มีเนื้อเยื่อพิเศษที่แบ่งเซลล์ได้เนื้อเยื่อ 1. ดอกสมบูรณ ไดแก กลวยไม ทานตะวัน มะเขือ
สองชั้น ซึ่งเนื้อเยื่อชั้นหนึ่งจะพัฒนาเป็น พุทธรักษา และกุหลาบ สวนดอกไมสมบูรณ
ไมโครสปอร์ ไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์ (microspore ไดแก ฟกทอง มะละกอ และตําลึง
ไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์ mother cell) และแบ่งตัวแบบไมโอซิส
เพื่อสร้างไมโครสปอร์จ�านวน 4 กลุ่ม 2. กลวยไม ทานตะวัน มะเขือ พุทธรักษา กุหลาบ
3. ดอกที่มีเพียง 1 ดอก บนกานดอก คือ มะเขือ
เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์ เกิดขึ้นที่รังไข่ภายในมีออวุล (ovule)
ประกอบด้วยเนือ้ เยือ่ ทีเ่ รียกว่า นิวเซลลัส สวนดอกที่มีดอกมากกวา 1 ดอกบนกานดอก
เมกะสปอร์
(nucellus) ทีถ่ กู หุม้ ด้วยผนังออวุล ภายใน คือ กลวยไม ทานตะวัน พุทธรักษา
นิวเซลลัสจะพบเมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์
(megaspore mother cell) 1 เซลล์ ที่ 4. ดอกที่มีรังไขเหนือวงกลีบ ไดแก เข็ม มะเขือ
การสร้างเมกะสปอร์ มีขนาดใหญ่และแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส และมะละกอ สวนดอกทีม่ รี งั ไขใตวงกลีบ ไดแก
(megasporogenesis) เพื่ อ สร้ า งเมกะสปอร์ (megaspore)
ภาพที่3.10 การสร้างสปอร์ของพืชดอก จ�านวน 4 เซลล์ กลวย ตําลึง และพุทธรักษา
ที่มา : คลังภาพ อจท. 5. ดอกทีม่ รี งั ไขเพียงออวุลเดียว ไดแก เข็ม มะเขือ
การสืบพันธุ์ของพืชดอก 129
และการเจริญเติบโต
มะลิ และมะละกอ สวนดอกที่รังไขมีออวุล
จํานวนมาก ไดแก กลวย ตําลึง และพุทธรักษา

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดคือดอกที่มีรังไขอยูใตฐานดอก ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสรางของดอก จากภาพยนตร
1. จําป สารคดีสั้น Twig เรื่อง โครงสรางของพืช : ดอก (https://www.twig-aksorn.
2. ยี่หุบ com/fif ilm/parts-of-the-plant-flowers-8052/)
3. มะเขือ
4. แตงกวา
5. มะละกอ
(วิเคราะหคําตอบ ดอกทีม่ รี งั ไขอยูเ หนือฐานดอก ไดแก จําป ยีห่ บุ
มะเขือ และมะละกอ สวนแตงกวาจัดเปนดอกทีม่ รี งั ไขอยูใ ตฐานรอง
ดอก ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T143
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนกั เรียนแบงกลุม ออกเปน 2 กลุม โดยแตละ ในระยะแกมีโทไฟต์หรือระยะทีพ่ ชื สร้างเซลล์สบื พันธุ ์ ไมโครสปอร์และเมกะสปอร์จะเจริญเป็น
กลุมมีหนาที่ ดังนี้ แกมีโทไฟต์เพศผูแ้ ละเพศเมีย ตามล�าดับ ซึง่ แกมีโทไฟต์แต่ละต้นจะท�าหน้าทีส่ ร้างเซลล์สบื พันธุ ์ ดังนี้
- กลุ  ม ที่ 1 ศึ ก ษาการสร า งเซลล สื บ พั น ธุ 
เพศผู
การสรางเซลลสืบพันธุ
- กลุ  ม ที่ 2 ศึ ก ษาการสร า งเซลล สื บ พั น ธุ 
เพศเมีย 1 การสรางเซลลสืบ
2. ใหสมาชิกในกลุม ที่ 1 จับคูก บั สมาชิกในกลุม ที่ พันธุเพศผู
(microgametogenesis)
2 แลวใหนักเรียนแตละคูแลกเปลี่ยนขอมูล
จากนั้นทําใบงาน เรื่อง การสรางเซลลสืบพันธุ 1 ภายในอับเรณู มีกลุ่มเซลล์ เรียกว่า
ไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์ (micro-
ของพืชดอก spore mother cell) (2n)

2 ไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์แต่ละเซลล์
จะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส อับเรณู
1
3 หลังการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสจะได้
เซลล์ ใ หม่ เรี ย กว่ า ไมโครสปอร์ ไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์ (2n)
(microspore) (n) จ�านวน 4 ไมโครสปอร์ ไมโอซิส 2

4 แต่ละไมโครสปอร์จะแบ่งนิวเคลียส ไมโครสปอร์ (n) 3


แบบไมโทซิส 1 ครั้ง ได้ 2 เซลล์ คือ
เจเนอเรทีฟเซลล์ (generative cell)
ไมโทซิส
และเซลล์ทิวบ์ (tube cell)
เซลล์ทิวบ์
4
5 หลังการแบ่งเซลล์จะได้เรณู (pollen) เจเนอเรทีฟเซลล์
หรือแกมีโทไฟต์เพศผู้ (male game- 5
tophyte) ซึง่ เมือ่ เรณูแก่เต็มที ่ อับเรณู
จะแตกออกท�าให้เรณูกระจายออกไป
เรณู
เมื่อทิวบ์เซลล์จะงอกหลอดเรณู และ
เจเนอเรทีฟเซลล์จะแบ่งเซลล์แบบ
ไมโทซิสได้เซลล์สบื พันธุเ์ พศผู ้ 2 เซลล์
ภาพที่3.11 การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืชดอก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

130

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


กอนเรียน เรื่อง การสรางเซลลสืบพันธุของพืชดอก ครูอาจทบทวนความรู ขอใดคือกระบวนการแบงเซลลของสปอรมาเทอรเซลลเพือ่ สราง
เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับกระบวนการแบงเซลลแบบไมโอซิสและไมโทซิสวา เรณู
กระบวนการแบงเซลลแบบไมโอซิส (meiosis) เปนการแบงเซลลที่ทําใหจํานวน 1. ไมโทซิส
ชุดโครโมโซมลดลงจาก 2n เปน n สวนกระบวนการแบงเซลลแบบไมโทซิส 2. ไมโอซิส
(mitosis) เปนการแบงเซลลเพือ่ เพิม่ จํานวนเซลล แตจาํ นวนโครโมโซมเทาเดิม (n) 3. ไมโทซิสกอนไมโอซิส
4. ไมโอซิสกอนไมโทซิส
5. เรณูไมไดเจริญมาจากสปอรมาเทอรเซลล
(วิเคราะหคําตอบ สปอรมาเทอรเซลลทอี่ ยูภ ายในอับเรณู จะแบง
เซลลแบบไมโอซิสได 4 ไมโครสปอร ซึ่งแตละสปอรจะแบงเซลล
แบบไมโทซิสไดเรณู ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T144
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้

2 การสรางเซลลสืบพันธุเพศเมีย 1. ครูสุมนักเรียน 3-4 คู ออกมานําเสนอใบงาน


(megagametogenesis) หนาชั้นเรียน
1 ภายในรังไข่มีออวุล และภายในออวุล 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา
มีเซลล์ เรียกว่า เมกะสปอร์มาเทอร์- ใบงานใหไดใจความวา ดอกทําหนาที่เกี่ยวกับ
เซลล์ (megaspore mother cell) (2n) การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ ภายในอับเรณูซึ่ง
รังไข่
เปนสวนหนึ่งของเกสรเพศผูมีไมโครสปอรมา-
2 เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์แบ่งเซลล์แบบ เทอรเซลลทแี่ บงเซลลแบบไมโทซิสได 4 ไมโคร
เมกะสปอร์มาเทอร์- ไมโอซิสได้เมกะสปอร์ (megaspore)
1 เซลล์ (2n) (n) จ�านวน 4 เซลล์ สปอร แตละไมโครสปอรจะแบงเซลลแบบ
ไมโทซิสได 2 นิวเคลียส คือ เจเนอเรทีฟ
ไมโอซิส
3 เมกะสปอร์จะสลายไป 3 เซลล์ เหลือ นิวเคลียสกับทิวบนวิ เคลียส สวนภายในรังไขมี
2 เพียง 1 เซลล์ ออวุล ซึง่ ภายในมีเมกะสปอรมาเทอรเซลล เมือ่
เมกะสปอร์ (n)
แบงเซลลแบบไมโอซิสไดเมกะสปอรจํานวน
3 4 เมกะสปอร์ทเี่ หลือ 1 เซลล์ จะขยายขนาด 4 เซลล ซึ่งจะสลายไป 3 เซลล เหลือเพียง 1
แล้วแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส 3 ครัง้ เซลล แลวเกิดการแบงเซลลแบบไมโทซิส 3 ครัง้
ไมโทซิส ได้ 8 นิวเคลียส
ได 7 เซลล 8 นิวเคลียส ซึ่งประกอบไปดวย
4 แอนติโพแดลจํานวน 3 เซลล ซินเนอรจิด
5 ทั้ง 8 นิวเคลียส อยู่ในต�าแหน่งต่าง ๆ
ดังนี้ จํานวน 2 เซลล เอนโดสเปรมจํานวน 1 เซลล
5 แอนติโพแดล • 3 เซลล์ แต่ละเซลล์มี 1 นิวเคลียส (2 นิวเคลียส) และเซลลไข 1 เซลล
อยู่ตรงข้ามกับไมโครไพล์ เรียกว่า
โพลาร์นิวคลีไอ แอนติโพแดล (antipodal)
เซลล์ไข่ • 3 เซลล์ แต่ละเซลล์มี 1 นิวเคลียส
ซินเนอร์จิด อยู ่ ด ้ า นเดี ย วกั บ ไมโครไพล์ โ ดย
1 เซลล์ ท� า หน้ า ที่ เ ป็ น เซลล์ ไ ข่
(egg) ส่วนอีก 2 เซลล์จะอยูด่ า้ นข้าง
ของเซลล์ไข่ เรียกว่า ซินเนอร์จิด
(synergid)
• 2 นิวเคลียสทีเ่ หลืออยูต่ รงกลาง เกิด
สภาพนิวเคลียสคู ่ เรียกว่า โพลาร์นวิ -
คลีไอ (polar nuclei)
โครงสร้างทัง้ หมดนี ้ เรียกว่า ถุงเอ็มบริโอ
(embryo sac) หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย
(female gametophyte)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก 131
และการเจริญเติบโต

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับโครงสรางภายในถุงเอ็มบริโอ ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสรางเซลลสืบพันธุ จาก Youtube
1. เซลลไขอยูบริเวณตรงกลาง มี 2 นิวเคลียส เรื่อง Sexual Reproduction in Flowering Plants (https://www.youtube.
2. โพลารนิวคลีไอเปนเซลลที่อยูระหวางซินเนอรจิด com/watch?v=HP21hIVJhWI)
3. เซลลที่ขนาบขางกับเซลลไข เรียกวา แอนติโพแดล
4. บริเวณเซลลตรงกลางมี 2 นิวเคลียส เรียกวา ซินเนอรจิด
5. เซลลที่อยูตรงขามกับเซลลไขมีจํานวน 3 เซลล เรียกวา
แอนติโพแดล
(วิเคราะหคําตอบ ภายในถุงเอ็มบริโอประกอบดวย 7 เซลล 8
นิวเคลียส คือ มีโพลารนิวคลีไอ 1 เซลล (2n) อยูตรงกลาง มีเซลล
ไขจํานวน 1 เซลล ใกลรูไมโครไพล และมี 2 เซลล เรียกวา ซิน-
เนอรจิดขนาบขางกับเซลลไข และมี 3 เซลล อยูตรงขามกับเซลล
ไข เรียกวา แอนติโพแดล ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T145
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
3. หลังจากจบการอภิปราย ครูอาจใชคาํ ถามเพือ่ 2.3 การถายเรณู
นําเขาสูบทเรียนถัดไป โดยมีแนวคําถาม ดังนี้ เมื่อเรณูภายในอับเรณูแก่เต็มที่แล้ว อับเรณูจะแตกออก
ï• กระบวนการผสมเกสรของพื ช เกิ ด ขึ้ น ได ท�าให้เรณูกระจายออกไปและตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย ซึ่ง
อยางไร ในธรรมชาติอาจเกิดขึ้นโดยอาศัยตัวกลาง เช่น ลม น�้า แมลง
(แนวตอบ เกิดขึ้นจากเรณูไปตกลงบนยอด ช่วยน�าเรณูจากอับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย แต่พืชบางชนิด
เกสรเพศเมีย) อาจอาศัยลักษณะและต�าแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศ
ï• การถายเรณูของพืชดอกมีกี่แบบ อยางไร เมียภายในดอกที่เอื้อให้เรณูตกลงบนยอดเกสรเพศเมียได้เอง
(แนวตอบ 2 แบบ คือ การถายเรณูในดอก โดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง เรียกกระบวนการนี้ว่า การถ่ายเรณู
เดียวกัน และการถายเรณูขามตน) ภาพที่ 3.12 แมลงมีความส�าคัญต่อ (pollination)
การถ่ายเรณู
ï• การปฏิสนธิคืออะไร ที่มา : คลังภาพ อจท.
(แนวตอบ กระบวนการทีส่ เปรม เขาไปผสมกับ
เซลลไขที่อยูภายในรังไข) การถ่ายเรณูภายในดอกหรือต้นเดียวกัน การถ่ายเรณูข้ามต้น
4. ครู อ าจยกตั ว อย า งจากดอกไม จ ริ ง มาให (self-pollination) (cross-pollination)
เป็นการถ่ายเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมียภายใน เป็นการถ่ายเรณูจากดอกของพืชต้นหนึ่งไปยัง
นักเรียนไดศึกษาและอธิบาย ดังนี้ ดอกเดียวกันหรือคนละดอกแต่เป็นพืชต้นเดียวกัน ยอดเกสรเพศเมียของพืชอีกต้นหนึ่ง
- ดอกชบา 1 ดอก : อาจเกิดการถายเรณู
ภายในดอกเดียวกัน
- ดอกฟกทองเพศผูแ ละดอกฟกทองเพศเมีย : เรณู เรณู
เกิดการถายเรณูขา มดอกภายในตนเดียวกัน
- ตนมะละกอ ซึ่งเปนตนแยกเพศที่มีเฉพาะ
ดอกเพศผูแ ละดอกเพศเมียเทานัน้ : เกิดการ
ถายเรณูขามดอกและขามตน

ขยายความเข้าใจ ภาพที่3.13 การถ่ายเรณูภายในดอกเดียวกัน ภาพที่3.14 การถ่ายเรณูข้ามดอก


ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
ม.5 เลม 1 การงอกของหลอดเรณูในพืชแต่ละชนิดจะใช้เวลาต่างกัน ซึ่งเกิดจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น
1
อุณหภูมิ แสง สภาพอากาศ พันธุกรรม ความเป็นกรด-เบส น�้าตาล เป็นต้น
หลอดเรณู (pollen tube) จะงอกผ่านยอดเกสรเพศเมียลงไปจนถึงรังไข่และงอกยาวต่อ
ไปจนถึงออวุล เพื่อให้สเปิร์มเคลื่อนที่เข้าไปในถุงเอ็มบริโอและเกิดการปฏิสนธิ
132

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 พันธุกรรม คือ การถายทอดลักษณะตางๆ ของสิ่งมีชีวิตจากรุนหนึ่งไปสู ขอใดไมใชขอดีของการถายเรณูขามตน
อีกรุนหนึ่ง (รุนลูกรุนหลาน) โดยลักษณะที่ถูกถายทอดแบงเปน 2 ประเภท คือ 1. เกิดการปฏิสนธิไดสูงกวา
ลักษณะเชิงคุณภาพและลักษณะเชิงปริมาณ 2. ไดตนลูกที่ปรับตัวไดดีกวา
3. ไดตนลูกที่สืบพันธุไดดีกวา
4. ไดตนลูกที่แข็งแรงและทนทานกวา
สื่อ Digital 5. ไดตนลูกที่มีลักษณะหลากหลายกวา

ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ (วิเคราะหคาํ ตอบ การถายเรณูขามตนมีโอกาสเกิดความหลาก


การสื บ พั น ธุ  แ บบอาศั ย เพศของพื ช ดอก หลายทางพันธุกรรมมากกวาการถายเรณูภายในตนเดียวกัน ตนลูก
จากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง การ ทีไ่ ดจะมีความแข็งแรง สืบพันธุไ ดดกี วา แตเนือ่ งจากดอกอยูค นละ
สื บ พั น ธุ  แ บบอาศั ย เพศในพื ช (https:// ตนจึงมีโอกาสทีจ่ ะเกิดการปฏิสนธิไดตาํ่ กวาการถายเรณูภายในตน
www.twig-aksorn.com/fif ilm/sexual- เดียวกัน ดังนัน้ ตอบขอ 1.)
reproduction-in-plants-8061/)

T146
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
2.4 การปฏิสนธิของพืชดอก ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 3-4 คน ทําใบงาน
เมื่อเรณูตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย เซลล์ทิวบ์จะแบ่งเซลล์เพื่องอกหลอดเรณูไปตามก้าน เรื่อง การปฏิสนธิของพืชดอก
เกสรเพศเมียแทงเข้าไปทางไมโครไพล์เข้าสู่ออวุล และทิวบ์นิวเคลียสจะงอกหลอดไปแทงเข้าไป
อธิบายความรู
ยังรังไข่เจเนอเรทีฟเซลล์จะเคลือ่ นตัวไปตามหลอดเรณูและแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสได้สเปิรม์ จ�านวน
2 เซลล์ โดยสเปิรม์ ตัวหนึง่ จะเข้าไปผสมกับเซลล์ไข่ได้เป็นไซโกต (zygote) ซึง่ มีโครโมโซมจ�านวน ครูสมุ ตัวแทนกลุม ออกมานําเสนอใบงาน เรือ่ ง
2 ชุด แล้วพัฒนาต่อไปเป็นเอ็มบริโอ ส่วนสเปิรม์ อีกตัวหนึง่ จะเข้าไปผสมกับโพลาร์นวิ คลีไอได้เป็น การปฏิสนธิของพืชดอก
เอนโดสเปร์ม(endosperm)ซึ่งมีจ�านวนโครโมโซม 3 ชุด เรียกการปฏิสนธิแบบนี้ว่า การปฏิสนธิ
ซ้อน (double fertilization) ขัน้ สรุป
เรณู ตรวจสอบผล
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายการสืบพันธุ
สเปิร์มผสมโพลาร์นิวคลีไอ (3n)
แอนติโพแดล ทิวบ์เซลล์ แบบอาศัยเพศของพืชดอก แลวใหนักเรียนทํา
ผังสรุปกระบวนการสรางเซลลสบื พันธุข องพืชดอก
และใหนักเรียนทําผังมโนทัศน เรื่อง การถายเรณู
เจเนอเรทีฟ
เซลล์ พรอมนําเสนอในรูปแบบที่นาสนใจ
เซลล์ไข่
โพลาร์-
ขัน้ ประเมิน
นิวคลีไอ ซินเนอร์จิด ทิวบ์นิวเคลียส ตรวจสอบผล
สเปิร์ม 2 เซลล์ สเปิร์มผสมเซลล์ไข่ (2n)
ภาพที่3.15 กระบวนการปฏิสนธิซ้อนของพืชดอก
1. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
ที่มา : http://www.macmillanhighered.com ม.5 เลม 1
B IOLOGY 2. ตรวจใบงาน เรื่อง ประเภทของดอก
FOCUS ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกหลอดเรณู 3. ตรวจใบงาน เรื่อง การสรางเซลลสืบพันธุของ
ปจจัยที่มีผลตอการงอกของหลอดเรณูมีหลายปจจัย ไดแก สภาพภูมิอากาศ พันธุกรรม ความ พืชดอก
เปนกรด-เบส แสง อุณหภูมิ ความชืน้ และนํา้ ตาล แตจากผลการศึกษางานวิจยั ตาง ๆ พบวา ในธรรมชาติ 4. ตรวจใบงาน เรื่อง การปฏิสนธิของพืชดอก
ยอดเกสรเพศเมียจะขับสารจําพวกนํ้าตาลออก 5. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง การสรางเซลลสืบพันธุ
จากเซลลผิวนั่นคือ นํ้าตาลซูโครส ซึ่งเปนนํ้าตาล ของพืชดอก โดยใชแบบประเมินชิ้นงาน
ที่สามารถชักนําใหเรณูที่ตกบนยอดเกสรเพศเมีย 6. ประเมินผังมโนทัศน เรื่อง การถายเรณู โดยใช
เกิดการงอกของหลอดเรณู โดยนํ้าตาลซูโครส แบบประเมินชิ้นงาน
ทําหนาทีค่ วบคุมสมดุลของนํา้ ภายในและภายนอก
ภาพที่3.16 การงอกหลอดเรณู
ที่มา : https://commons.wikimedia.org เซลลของเรณู และยังเปนอาหารของเรณูอกี ดวย

การปฏิสนธิของพืช 133

ขอสอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล


พืชในขอใดไมมีลักษณะการงอกโดยชูใบเลี้ยงขึ้นมาเหนือดิน ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การสืบพันธุแ บบอาศัยเพศ
1. ขาว ของพืชดอก ไดจากการทําผังมโนทัศน เรื่อง การถายเรณู โดยศึกษาเกณฑ
2. พริก การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงานที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู
3. ละหุง ประจําหนวยการเรียนรูที่ 3
4. ถั่วแดง แบบประเมินชิ้นงาน

5. มะขาม คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินรายงาน ตามรายการที่กาหนดแล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ลาดับที่ รายการประเมิน
ระดับคะแนน
4 3 2 1

(วิเคราะหคําตอบ พืชที่มีลักษณะการงอกโดยชูใบเลี้ยงขึ้นเหนือ
1 การจัดรูปแบบรายงาน
2 ความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา
3 ภาพประกอบ/ตาราง
รวม

ดิน ไดแก พริก มะขาม ถั่วแดง ละหุง ดังนั้น ตอบขอ 1.) เกณฑ์การประเมิน
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................/................

ระดับคะแนน
รายการประเมิน
4 3 2 1
1. การจัดรูปแบบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รู ปเล่ มรายงานมี
และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่
ครบถ้วน ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ครบถ้วนเพียงบางส่วน ครบถ้วน
2. ความถูกต้องและ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้ อหาในรายงานไม่
คุณภาพ ของ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง และไม่ ครบ
เนื้อหา และมีภาษาที่สละสลวย เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน ตามที่กาหนด
เข้าใจง่าย
3. ภาพประกอบ/ ภาพมี ความสอดคล้ อง ภาพมี ความสอดคล้ อง ภ า พส อด ค ล้ องกั บ ภาพไม่ สอดคล้ องกั บ
ตาราง กับเนื้อหา มีภาพมีความ กับเนื้อหา ภาพไม่คมชัด เนื้ อหาบางส่ ว น ภาพ เนื้อหา ภาพไม่คมชัด
คมชัด สวยงาม ตารางที่ ตารางที่นาเสนอมีความ คมชัด ตารางที่นาเสนอ ตารางที่ น าเสนอไม่
นาเสนอมีความถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T147
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
ครูกระตุนความสนใจของนักเรียนกอนเขาสู 2.5 โครงสร้างของผลและเมล็ด
บทเรียน โดยใหนักเรียนเลนเกมแขงกันบอกชื่อ
หลังการปฏิสนธิ รังไข่จะเจริญไปเป็นผลซึ่งประกอบด้วยผนังผลและเมล็ด
ดอกไม โดยครูกําหนดจํานวนพยางค ดังนี้
1. ผนังผล (pericarp) เป็นส่วนทีเ่ ปลีย่ นแปลงมาจากผนังรังไข่ มีลกั ษณะต่าง ๆ ซึง่ ผนังผล
ï• 1 พยางค
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ดังนี้
(แนวตอบ เข็ม บัว)
ï• 2 พยางค
ผนังชั้นนอก
(แนวตอบ กุหลาบ มะลิ ชบา) (exocarp)
ï• 3 พยางค เรียกว่า เปลือก ซึ่งมีลักษณะต่างกัน
(แนวตอบ เบญจมาศ ทานตะวัน กระดุมทอง) เช่น ผิวเรียบ ผิวมัน ผิวขรุขระ หรือ
อาจมีหนาม มีขน
ï• 4 พยางค
(แนวตอบ บานไมรโู รย คุณนายตืน่ สาย) ผนังชั้นกลาง
(mesocarp)
ผลบางชนิดมีผนังชั้นกลางหนา บาง
ขัน้ สอน ชนิดบางมาก และบางชนิดเป็นเนื้อ
อ่อนนุ่มซึ่งใช้รับประทานได้
สํารวจคนหา
ผนังชั้นใน
1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน สืบคน (endocarp)
ขอมูลหรือศึกษา เรื่อง โครงสรางของผล ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นเดียว หรือ
2. ใหแตละกลุมสรางแบบจําลองโครงสรางของ ภาพที่3.17 โครงสร้างของผลและเมล็ด หลายชั้นจนมีลักษณะหนามาก และ
ผลโดยใชดินนํ้ามันที่ครูเตรียมไวให ที่มา : คลังภาพ อจท. บางชนิดเป็นเนือ้ นุม่ ซึง่ รับประทานได้

อธิบายความรู B iology
1. ครูสมุ ตัวแทนกลุม นําเสนอแบบจําลองโครงสราง Focus มะพราว

ผลของกลุมตนเอง ผลมะพร้าวประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ดังนี้


ผลชั้นนอก(exocarp)
2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ มีลักษณะเป็นสีเขียวในผลสด
สรางแบบจําลองโครงสรางผล
ผลชั้นกลาง(mesocarp)
มีลักษณะอ่อนนุ่ม มีเส้นใย

ผลชั้นใน(endocarp)
มีลักษณะแข็งเหมือนเนื้อไม้ ซึ่งเรียก
อี ก อย่ า งว่ า กะลามะพร้ า ว ภายใน
ภาพที่3.18 ส่วนประกอบของผลมะพร้าว มีเอนโดสเปิร์ม ประกอบด้วยน�้าและ
ที่มา : คลังภาพ อจท. เนื้อมะพร้าวนิยมน�ามาบริโภค

134

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสรางผลของพืชชนิดตางๆ หรือให กะลามะพราวคือสวนประกอบของผลในขอใด
นักเรียนรวบรวมขอมูลเพื่อสรุปเปนตาราง ดังนี้ 1. ผนังผลชั้นใน
2. ผนังผลชั้นนอก
ชนิดของผล ลักษณะภายในของผนังผล 3. ผนังผลชั้นกลาง
(ตัวอยาง) ผนังผลชั้นนอก ผนังผลชั้นกลาง ผนังผลชั้นใน 4. ผนังผลระหวางชั้นกลางกับชั้นใน
พุทรา มะมวง เปลือกแข็ง เนื้อหนา ออนนุม แข็งมาก 5. ผนังผลระหวางชั้นกลางกับชั้นนอก
มะละกอ เปลือกออนนุม เนื้อออนนุม เนื้อออนนุม
มะเขือเทศ (วิเคราะหคําตอบ กะลามะพราวมีลกั ษณะแข็งเหมือนเนือ้ ไม เปน
สม เปลือกมีตอมนํ้ามัน เนื้อออนนุม เยื่อบาง มีบางสวน สวนของผนังผลชั้นในที่ภายในประกอบดวยนํ้าและเนื้อมะพราว
จํานวนมาก คลายฟองนํ้า แปรรูปเปนถุงสะสม ดังนั้น ตอบขอ 1.)
สีขาว นํ้าตาลและกรด
แตงโม แตงกวา เปลือกแข็งและหนา เปลือกแข็งและหนา เนื้อหนา ออนนุม
นํ้าเตา

T148
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
พืชดอกแต่ละชนิดมีจา� นวนรังไข่ทแ่ี ตกต่างกัน ท�าให้สามารถแบ่งลักษณะการเกิดผลออกเป็น 1. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 3 กลุม โดยให
3 ประเภท ดังนี้ แต ล ะกลุ  ม ส ง ตั ว แทนกลุ  ม ออกมาจั บ สลาก
1. ผลเดี่ยว (simple fruit) คือ ผลที่เจริญมาจากรังไข่ของดอก 1 ดอก ที่มีเกสรเพศเมีย หมายเลข 1-3 โดยแตละหมายเลขมีหนาที่
เพียง 1 อัน ซึ่งดอก 1 ดอกนั้นอาจเป็นดอกเดี่ยว เช่น ตะขบ หรือดอกช่อที่รังไข่ของดอกย่อย ศึกษาเนื้อหาตอไปนี้
แต่ละดอกเจริญเป็นผลเดี่ยว และแต่ละผลเจริญแยกกันเป็นอิสระ เช่น มะม่วง ถั่วลันเตา - หมายเลข 1 คือ กลุมที่หนึ่งศึกษาผลเดี่ยว
2.ผลกลุ่ม (aggregate fruit) คือ ผลที่เจริญมาจากรังไข่ของดอก 1 ดอก ที่มีเกสรเพศเมีย - หมายเลข 2 คือ กลุมที่สองศึกษาผลกลุม
มากกว่า 1 อัน โดยรังไข่แต่ละอันเจริญเป็นผลย่อย แต่ละผลย่อยติดอยู่บนฐานดอกเดียวกัน ซึ่ง - หมายเลข 3 คือ กลุมที่สามศึกษาผลรวม
ผลย่อยแต่ละผลอาจเบียดแน่นชิดกันจนดูคล้ายเป็นผลหนึ่งผล เช่น น้อยหน่า สตรอว์เบอร์รี จ�าป 2. ใหนักเรียนแบงกลุมใหม กลุมละ 3 คน ที่มี
จ�าปา ราสเบอร์รี สมาชิกมาจากกลุมเดิม คือ กลุมที่1 2 และ 3
3.ผลรวม (multiple fruit) คือ ผลที่เจริญมาจากรังไข่ของดอกย่อยในดอกช่อ โดยขณะที่ ตามลําดับ
เจริญเป็นผลนั้นรังไข่ของดอกย่อยแต่ละดอกอาจเชื่อมเป็นเนื้อเดียวกัน หรือเบียดชิดกันมากจน 3. ให ส มาชิ ก ภายในกลุ  ม แลกเปลี่ ย นความรู 
มองดูคล้ายผลหนึ่งผล เช่น ยอ สับปะรด ขนุน หม่อน สาเก จากเรื่องที่ตนเองศึกษามาภายในกลุม แลว
ผลเดี่ยว ผลกลุ่ม ผลรวม สรุปลงในกระดาษ A4 เรื่อง ประเภทของผล
รังไข่ เกสรเพศ ดอก
เมีย ย่อย ตกแตงใหสวยงาม พรอมนําเสนอหนาชัน้ เรียน

อธิบายความรู
1. ครูสุมตัวแทนนักเรียนออกมานําเสนอชิ้นงาน
ดอกสับปะรด(ดอกช่อ)
ดอกของถั่วลันเตา ดอกราสเบอร์รี เรื่อง ประเภทของผล
เมล็ด
2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ
ผล
ศึ ก ษาประเภทของผลว า เนื่ อ งจากดอกไม
รังไข่ของ
ดอกย่อย ของพืชแตละชนิดมีจํานวนรังไขที่แตกตางกัน
ผล ทําใหผลซึ่งเจริญมารังไขแบงออกไดเปน 3
ถั่วลันเตา ราสเบอร์รี สับปะรด ประเภท คือ ผลเดี่ยวซึ่งเปนผลที่เจริญมาจาก
ดอกของถั่วลันเตา รังไข่ ดอกของราสเบอร์รีมีเกสร รังไข่ของดอกย่อยแต่ละอัน ดอกเดี่ยวเพียงหนึ่งดอกและมีเกสรเพศเมีย
แต่ มี ห ลายออวุ ล ท� า ให้ เพศเมียมากกว่า 1 อัน ซึ่ง พัฒนากลายเป็นผล หลอม
ถั่วลันเตา 1 ผล มีหลาย แต่ละอันมี 1 รังไข่ ท�าให้ รวมกันกลายเป็นสับปะรด เพียง 1 อัน ผลกลุมซึ่งเปนที่เจริญมาจากดอก
เมล็ด ราสเบอร์รีเกิดจากผลย่อย 1 ผล หนึง่ ดอกทีม่ เี กสรเพศเมียมากกวา 1 อัน สงผล
มาอัดชิดกันเป็นกลุ่ม ใหรงั ไขแตละอันเจริญเปนดอกยอยทีต่ ดิ อยูบ น
ภาพที่3.19 การเกิดผลเดี่ยว ผลกลุ่ม และผลรวม ฐานดอกเดียวกัน และผลรวมเจริญมาจากดอก
ที่มา : คลังภาพ อจท. ยอย สงผลใหรงั ไขของแตละดอกยอยเชือ่ มติด
เปนเนื้อเดียว
การสืบพันธุ์ของพืชดอก 135
และการเจริญเติบโต

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดจัดเปนผลเดี่ยว ผลกลุม ผลรวม ตามลําดับ ครูอาจใหนักเรียนนําดอกไมและผลมาศึกษาจํานวนรังไขและชนิดของผล
1. มังคุด ลําไย มะมวง จากนั้นใหนักเรียนสรุปเปนตาราง ดังนี้
2. นอยหนา ลําไย มังคุด
3. สับปะรด องุน นอยหนา ตัวอยางพืช จํานวนรังไขใน 1 จํานวนรังไขที่เจริญ ชนิดของผล
ดอก เปน 1 ผล
4. มะมวง สตรอวเบอรรี ขนุน
สม 1 รังไข 1 รังไข เจริญเปน ผลเดี่ยว
5. ราสเบอรี สตรอวเบอรรี สับปะรด 1 ผล
(วิเคราะหคําตอบ ผลเดี่ยว ไดแก มะมวง มังคุด ลําไย และองุน มะมวง 1 รังไข ใน 1 ดอก 1 รังไข เจริญเปน ผลเดี่ยว
ผลกลุม ไดแก สตรอวเบอรรี ราสเบอรรี และนอยหนา ผลรวม ยอย 1 ผล
ไดแก สับปะรด และขนุน ดังนั้น ตอบขอ 4.) สับปะรด 1 รังไข ใน 1 ดอก 1 รังไข เจริญเปน ผลรวม
ยอย 1 ผลยอย
บัวหลวง หลายรังไข 1 รังไข เจริญเปน ผลกลุม
1 ผลยอย

T149
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครู ว าดแผนผั ง เรื่ อ ง โครงสร า งเมล็ ด บน 1
2. เมล็ด (seed) พัฒนามาจากออวุล โดยพืชดอกแต่ละชนิดมีลกั ษณะและรูปร่างของเมล็ด
กระดาน หรือแจกใบงาน เรื่อง โครงสรางของ ที่แตกต่างกัน ซึ่งโครงสร้างของเมล็ดประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้
เมล็ดพืช แลวใหนักเรียนเติมคําลงในแผนผัง 1)เปลือกเมล็ด(seed coat) มีลักษณะหนา เหนียว แข็งท�าหน้าที่ป้องกันอันตรายให้
ใหสมบูรณ แก่เอ็มบริโอที่อยู่ภายในเมล็ดป้องกันการสูญเสียน�้า และในพืชบางชนิดยังช่วยป้องกันไม่ให้เมล็ด
2. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปนกลุมละ 5-6 คน งอกจนกว่าจะได้รับสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม
จากนั้นครูใหนักเรียนแตละกลุมทํารายงาน
ไฮลัม
เกี่ ย วกั บ โครงสร า งของเมล็ ด ที่ ก ลุ  ม ตนเอง (hilum)
ตองการศึกษา รอยแผลเป็นเล็ก ทีเ่ กิดจากก้านออวุล
ที่หลุดออกไป

ไมโครไพล
(micropyle)
รูเล็ก ๆ ใกล้รอยแผลเป็น ซึ่งเป็นส่วน
แรกที่เมล็ดเริ่มงอก แรดิเคิลจะงอก
ออกมาทางไมโครไพล์

ภาพที่3.20 เปลือกของเมล็ดถั่ว
ที่มา : คลังภาพ อจท.

2)เอ็มบริโอ(embryo) ต้นอ่อนภายในเมล็ด ประกอบด้วยส่วนส�าคัญ ดังนี้


• รากแรกเกิดหรือแรดิเคิล (radicle) เป็นส่วนปลายสุดของแกนเอ็มบริโอที่ติดกับ
ล�าต้นใต้ใบเลี้ยง และเป็นส่วนแรกของเอ็มบริโอที่เจริญยืดออกมาจากเมล็ดทางช่องไมโครไพล์
• ต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยงหรือไฮโพคอทิล (hypocotyl) เป็นส่วนแกนของเอ็มบริโอที่อยู่
ใต้ใบเลี้ยงลงมาจนถึงส่วนแรดิเคิล
• ต้นอ่อนเหนือใบเลี้ยงหรือเอพิคอทิล (epicotyl) เป็นส่วนของเอ็มบริโอที่อยู่เหนือ
ใบเลี้ยงขึ้นไป บริเวณปลายยอดของเอพิคอทิลจะมียอดอ่อน เรียกว่า ยอดแรกเกิดหรือพลูมูล
(plumule) ซึ่งประกอบด้วยเนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอด เมื่อเมล็ดงอกจะเจริญยืดยาวไปเป็นส่วน
ของยอดล�าต้นและสร้างใบแท้ต่อไป
• ใบเลีย้ ง (cotyledon) ท�าหน้าทีด่ ดู ซึมและล�าเลียงอาหารจากเอนโดสเปิรม์ ส่งไปเลีย้ ง
เอ็มบริโอ นอกจากนีย้ งั ท�าหน้าทีป่ อ้ งกันยอดอ่อนไม่ให้เป็นอันตราย เมือ่ ยอดอ่อนทะลุออกจากดิน
เมื่อพ้นดินจะเปลี่ยนเป็นใบแท้ ท�าหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง

136

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ออวุล คือ โครงสรางที่อยูภายในรังไข ซึ่งพืชแตละชนิดจะมีลักษณะ จาวมะพราวคือสวนประกอบใดของเมล็ด
ของออวุลที่แตกตางกัน เชน ออวุลตั้งตรงเปนออวุลที่ตั้งตรงและไมโครไพลอยู 1. รังไข
ดานบนตรงขามกานออวุล ออวุลควํ่าเปนออวุลที่มีไมโครไพลชี้ลงดานลางใกล 2. ใบเลี้ยง
กับกานออวุล ออวุลแนวนอนเปนออวุลที่มีไมโครไพลอยูในแนวตั้งฉากกับกาน 3. เอ็มบริโอ
ออวุล และออวุลตะแคงเปนออวุลที่มีไมโครไพลโคงตํ่าลงมา จนอยูดานขางใกล 4. เอนโดสเปรม
กับฐานออวุล 5. เปลือกหุมเมล็ด
(วิเคราะหคําตอบ เนื้อมะพราวและนํ้ามะพราว คือ สวนของ
เอนโดสเปรม จาวมะพราว คือ สวนของเอ็มบริโอ ดังนั้น ตอบ
ขอ 3.)

T150
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูสุมเรียกตัวแทนเฉลยแผนผังใหสมบูรณ
3)เอนโดสเปรม์ (endosperm) เป็นเนือ้ เยือ่ ทีท่ า� หน้าทีเ่ ก็บสะสมอาหารส�าหรับการเจริญ
หากคํ า ตอบยั ง ไม ถู ก ต อ ง ครู แ ละนั ก เรี ย น
เติบโตของเอ็มบริโอ ซึ่งอาหารที่สะสมไว้ส่วนใหญ่เป็นอาหารจ�าพวกแป้ง น�้าตาล โปรตีน หรือ
รวมกันอภิปรายคําตอบใหถูกตอง
ลิพดิ ขึน้ อยูก่ บั ชนิดของพืช แต่ในเมล็ดพืชใบเลีย้ งคูบ่ างชนิดไม่มเี อนโดสเปิรม์ หรือมีเอนโดสเปิรม์
ขนาดเล็ ก เช่ น ถั่ ว มะขาม ส่ ว นพื ช ใบเลี้ ย งคู ่ บ างชนิ ด เช่ น ละหุ ่ ง จะมี เ อนโดสเปิ ร ์ ม 2. ครูสุมตัวแทนกลุมออกมานําเสนอรายงาน
ที่ท�าหน้าที่สะสมอาหาร ท�าให้มองเห็นเอนโดสเปิร์มชัดกว่าใบเลี้ยง และพืชบางชนิดเอนโดสเปิร์ม เรื่อง โครงสรางของเมล็ด โดยใหนักเรียน
อาจไม่พัฒนา เช่น กล้วยไม้ แตละกลุม ออกมานําเสนอโครงสรางของเมล็ด
ที่กลุมตนเองเลือกศึกษา ผูนําเสนออาจวาด
เปลือกเมล็ด เอพิคอทิล ภาพโครงสรางเมล็ดหนากระดาน หรือทําเปน
ไฮโพคอทิล
ใบความรูเกี่ยวกับโครงสรางเมล็ดของกลุม
แรดิเคิล ตนเองมาแจกใหเพื่อนในหอง เพื่อประกอบ
ใบเลี้ยง
การอธิบายใหเขาใจและเห็นภาพชัดเจนมาก
ยิ่งขึ้น
ภาพที่ 3.21 ส่วนประกอบของเมล็ดถัว่
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เปลือกเมล็ด
เอนโดสเปิร์ม
ใบเลี้ยง

เอพิคอทิล
ไฮโพคอทิล
แรดิเคิล
ภาพที่3.22 ส่วนประกอบของเมล็ดละหุ่ง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ผนังผลและเปลือกเมล็ด
ใบเลี้ยง
1
เอนโดสเปิร์ม
โคลีออพไทล์ เอพิคอทิล
(ปลายหุ้มยอดแรกเกิด)
ไฮโพคอทิล
โคลีโอไรซา แรดิเคิล
2
ภาพที่3.23 ส่
ส่วนประกอบของเมล็ดข้าวโพด
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การสืบพันธุ์ของพืชดอก 137
และการเจริญเติบโต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอความใดอธิบายความหมายของคําวา "เมล็ด" ไดเหมาะสมทีส่ ดุ 1 เอนโดสเป ร  ม อาหารที่ ส ะสมอยู  ภ ายในเอนโดสเป ร  ม ส ว นใหญ เ ป น
1. เปนสวนที่อยูภายในเซลล คารโบไฮเดรต ซึง่ จะสะสมอยูใ นรูปของแปงหรือนํา้ ตาล พืชนําไปสรางเซลลูโลส
2. เปนที่เกิดของ reproductive tissue เพือ่ สรางผนังเซลล โปรตีน พืชแตละชนิดสะสมโปรตีนปริมาณไมเทากัน เพือ่ นํา
3. เปนสปอรที่เปลี่ยนมาเปนแกมีโทไฟต ไปสรางโพรโทพลาสซึม รวมทั้งไขมันและนํ้ามัน
4. เปนแกมีโทไฟตที่เปลี่ยนมาเปนสปอโรไฟต 2 เมล็ดขาวโพด คือ เมล็ดทีม่ เี อ็มบริโอซึง่ มีใบเลีย้ งเดีย่ วทีม่ ลี กั ษณะเปนแผน
5. เปนสวนที่หอหุมเอ็มบริโอและมีอาหารอยูลอมรอบ เรียกวา สคิวเตลลัม รอบใบเลี้ยงมีเอนโดสเปรมที่อยูติดกับเปลือกเมล็ดสีเหลือง
(วิเคราะหคําตอบ เมล็ดเจริญมาจากออวุล ซึ่งจะพัฒนาไปเปน แก ภายในเอนโดสเปรมมีโปรตีนที่สะสมอยูในรูปของผลแอลิวโรน เรียกวา
เอ็ ม บริ โ อหรื อ ต น อ อ นของพื ช โดยมี อ าหารหรื อ เอนโดสเป ร  ม ฮอนนีเอนโดสเปรม สวนทีอ่ ยูถ ดั เขามาภายในมีสอี อ นกวา มีแปงสะสมอยู เรียกวา
ลอมรอบ และมีเปลือกหุมเมล็ดทําหนาที่ปองกันอันตรายใหแก สตารชีเอนโดสเปรม นอกจากนี้ รากแรกเกิดของเอ็มบริโอจะพบเยื่อหุมยอด
เอ็มบริโอที่อยูภายในเมล็ด ดังนั้น ตอบขอ 5.) แรกเกิด เรียกวา โคลีออพไทล และเนื้อเยื่อหุมรากแรกเกิด เรียกวา โคลีโอไรซา

T151
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
3. ใหนักเรียนศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการเจริญของ หลังการปฏิสนธิ ออวุลจะเจริญและพัฒนาไปเป็นเมล็ด (seed) ส่วนรังไข่จะเจริญและพัฒนา
ไซโกต จากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1 ไปเป็นผลห่อหุม้ เมล็ด (fruit) ภายในเมล็ดมีเอ็มบริโอทีพ่ ฒ ั นามาจากไซโกต และอาจมีเอนโดสเปิรม์
4. ครูวาดภาพหรือนําภาพการเจริญและพัฒนา ที่เจริญไปพร้อม ๆ กับเอ็มบริโอ โดยเอนโดสเปิร์มจะเจริญไปเป็นอาหารของเอ็มบริโอ แต่พืชบาง
ของเอ็มบริโอภายหลังการปฏิสนธิของพืชดอก ชนิดเอนโดสเปิร์มจะหยุดการเจริญและสลายไป ดังนั้นอาหารสะสมของพืชกลุ่มนี้จะอยู่ภายใน
มาใหนักเรียนศึกษา ใบเลี้ยงของเอ็มบริโอ
5. ครูถามคําถาม เพื่อตรวจสอบความเขาใจของ การเจริญของไซโกตไปเป็นเอ็มบริโอเกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสครัง้ แรกได้จา� นวน 2
นักเรียน ดังนี้ เซลล์ คือ เซลล์ที่อยู่ด้านล่างซึ่งอยู่ติดกับรูไมโครไพล์ เรียกว่า เซลล์ฐาน (basal cell) จะแบ่ง
ï• การเจริญของไซโกตไปเปนเอ็มบริโอเกิดจาก เซลล์เพิ่มจ�านวนขึ้น เรียกว่า เซลล์สนับสนุน (suspensor) ท�าหน้าที่ยึดเอ็มบริโอ ส่วนเซลล์ที่อยู่
การแบงแบบใดและเกิดขึ้นกี่ครั้ง ด้านบน เรียกว่า เซลล์แอพิคลั (apical cell) จะแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็วและอยูท่ างด้านบนของเซลล์
(แนวตอบ แบบไมโทซิส จํานวน 2 ครั้ง) สนับสนุน โดยเซลล์แอพิคลั จะมีการเปลีย่ นแปลงไปเป็นเนือ้ เยือ่ และส่วนต่าง ๆ ของเอ็มบริโอต่อไป
ï• ไซโกตทีเ่ กิดจากการแบงเซลลแลวติดอยูก บั
รูไมโครไพลเรียกวาอะไร เอ็มบริโอ
(แนวตอบ เซลลฐาน) เซลล์เเอพิคัล เซลล์
สนับสนุน
ï• เซลลสนับสนุนทําหนาที่อะไร เซลล์ฐาน
(แนวตอบ ยึดเอ็มบริโอ) เอ็มบริโอ
ï• บริ เ วณใดของเอ็ ม บริ โ อจะเปลี่ ย นแปลง
เนื้อเยื่อและสวนตางๆ เพื่อทําหนาที่เฉพาะ ไซโกต
(แนวตอบ เซลลแอพิคัล) ใบเลี้ยง
ปลายยอด
ขยายความเข้าใจ เอนโดสเปิร์ม
เปลือกหุ้มเมล็ด
ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
ม.5 เลม 1

ภาพที่3.24 การเจริญและพัฒนาของเอ็มบริโอและเอนโดสเปิร์มภายหลังการปฏิสนธิ
ที่มา : คลังภาพ อจท.

138

เกร็ดแนะครู กิจกรรม ทาทาย


ครูอาจแนะนํานักเรียนเพิ่มเติมวา พืชบางชนิดสะสมอาหารไวที่ใบเลี้ยง ครูใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 4 คน จากนัน้ ครูแจกเมล็ดพืช
บางชนิดสะสมไวที่เอนโดสเปรม จึงสามารถแบงเมล็ดพืชใบเลี้ยงคูออกไดเปน 4 ชนิด ใหนกั เรียนแตละกลุม เพาะเมล็ดลงในกระถาง สังเกตลักษณะ
2 ประเภท ดังนี้ การงอกของพืชแตละชนิดและบันทึกพัฒนาการการงอกในแตละวัน
1. เมล็ดพืชใบเลี้ยงคูที่มีเอนโดสเปรม (albumiuous seed) คือ เมล็ดที่มี ดวยการวาดรูป หรือบันทึกภาพดวยกลองถายรูป จากนัน้ ระบุสว นที่
เอนโดสเปรมสะสมอาหาร สวนใหญพบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู งอกพนเหนือดินของพืชแตละชนิด รวบรวมและวิเคราะหขอมูล
บางชนิด เชน กาแฟ ละหุง ละมุด แลวจัดกลุม แบงประเภทของพืชแตละชนิด
2. เมล็ดพืชใบเลีย้ งคูท ไี่ มมเี อนโดสเปรม (exalbuminous seed) คือ เมล็ด
ที่มีใบเลี้ยงสามารถหลั่งเอนไซมอะไมเลสออกมายอยเอนโดสเปรม แลวดูดซึม
อาหารมาสะสมไวที่ใบเลี้ยง สวนใหญพบในพืชใบเลี้ยงคู ยกเวน กาแฟ ละหุง
ละมุด

T152
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
นอกจากเมล็ ด พื ช จะท� า หน้ า ที่ แ พร่ พั น ธุ ์ ใ ห้ กั บ พื ช โดยมี ผ ลซึ่ ง ท� า หน้ า ที่ ห ่ อ หุ ้ ม เมล็ ด ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายโครงสรางของ
แล้ว ปัจจุบันมนุษย์น�าเมล็ดและผลไปใช้ประโยชน์มากมาย ส่วนใหญ่นิยมน�าผนังผลชั้นกลาง ผลและเมล็ด แลวใหนกั เรียนยกตัวอยางประโยชน
(mesocarp) หรือเนือ้ ผลไม้ และเมล็ดพืชบางชนิด เช่น เมล็ดทานตะวัน มาบริโภคโดยตรง หรือน�า ทีไ่ ดจากโครงสรางตางๆ ของเมล็ดและผล โดยครู
ผลไม้มาท�าเป็นอาหารแปรรูป เช่น ผลไม้ดอง ผลไม้กระป๋อง นอกจากนีเ้ มล็ดพืชบางชนิดสามารถ อาจใหนักเรียนแตละคนยกตัวอยาง 1 ตัวอยาง
น�าไปแปรรูปเป็นอาหาร เช่น น�า้ เต้าหู ้ หรือน�าไปสกัดเป็นส่วนผสมในตัวยาและผลิตภัณฑ์บา� รุงผิว และใหนักเรียนนําความรู เรื่อง โครงสรางของผล
และเส้นผม เช่น น�้ามันมะกอก และเมล็ด มาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ดวย
การออกแบบหรือสรางชิ้นงานขึ้นมา 1 ชิ้น พรอม
อธิบายประโยชน หรือสรรพคุณของชิ้นงานนั้นๆ

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5
เลม 1
2. ตรวจใบงาน เรื่อง โครงสรางของเมล็ดพืช
3. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง ประเภทของผล โดยใช
ภาพที่3.25 ผลไม้แปรรูปสับปะรดกระป๋อง ภาพที่3.26 เมล็ดทานตะวันท�ามาบริโภคได้โดยตรง
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท. แบบประเมินชิ้นงาน
4. ประเมินรายงาน เรื่อง โครงสรางเมล็ด โดยใช
แบบประเมินชิ้นงาน
5. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง โครงสรางของผลและ
เมล็ด โดยใชแบบประเมินชิ้นงาน
6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
7. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
8. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ
ภาพที่3.27 น�้ามันมะกอกสกัดจากไขมันของผลมะกอก ภาพที่3.28 น�้าเต้าหู้จากเมล็ดถั่วเหลือง ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.

การสืบพันธุ์ของพืชดอก 139
และการเจริญเติบโต

ขอสอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล


ขอใดคือสวนประกอบของเมล็ดทีพ่ บไดทงั้ ในเมล็ดถัว่ และเมล็ด ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การสืบพันธุแ บบอาศัยเพศ
ขาวโพด ของพืชดอก ไดจากการทํารายงาน เรื่อง โครงสรางเมล็ด โดยศึกษาเกณฑ
1. แรดิเคิลและใบเลี้ยง การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงานที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู
2. แรดิเคิลและโคลีโอไรซา ประจําหนวยการเรียนรูที่ 3
3. แรดิเคิลและโคลีออพไทล แบบประเมินชิ้นงาน

4. เอนโดสเปรมและโคลีโอไรซา คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินรายงาน ตามรายการที่กาหนดแล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ลาดับที่ รายการประเมิน
ระดับคะแนน

5. โคลีออพไทลและโคลีโอไรซา
4 3 2 1
1 การจัดรูปแบบรายงาน
2 ความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา
3 ภาพประกอบ/ตาราง
รวม

(วิเคราะหคําตอบ เมล็ดพืชใบเลี้ยงคูบางชนิดไมมีเอนโดสเปรม ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................./................/................

หรือมีเอนโดสเปรมนอยมาก เชน ถั่ว มะขาม แรดิเคิลและใบเลี้ยง


เกณฑ์การประเมิน
ระดับคะแนน
รายการประเมิน
4 3 2 1
1. การจัดรูปแบบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รู ปเล่ มรายงานมี

เปนองคประกอบของเอ็มบริโอทีอ่ ยูภ ายในเมล็ด และโคลีออพไทล 2. ความถูกต้องและ


คุณภาพ ของ
และมี องค์ ประกอบ
ครบถ้วน
เนื้อหาในรายงานมีความ
ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ
และมี องค์ ประกอบ
ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่
เนื้อหาในรายงานมีความ
ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ
และมี องค์ ประกอบ
ครบถ้วนเพียงบางส่วน
เนื้อหาในรายงานมีความ
ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่
ครบถ้วน
เนื้ อหาในรายงานไม่
ถู กต้ อง และไม่ ครบ

คือ เยื่อหุมสวนปลายยอด พบเฉพาะขาว สวนโคลีโอไรซา คือ


เนื้อหา และมีภาษาที่สละสลวย เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน ตามที่กาหนด
เข้าใจง่าย
3. ภาพประกอบ/ ภาพมี ความสอดคล้ อง ภาพมี ความสอดคล้ อง ภ า พส อด ค ล้ องกั บ ภาพไม่ สอดคล้ องกั บ
ตาราง กับเนื้อหา มีภาพมีความ กับเนื้อหา ภาพไม่คมชัด เนื้ อหาบางส่ ว น ภาพ เนื้อหา ภาพไม่คมชัด

เยื่อหุมแรดิเคิล พบเฉพาะขาวโพด ดังนั้น ตอบขอ 1.)


คมชัด สวยงาม ตารางที่ ตารางที่นาเสนอมีความ คมชัด ตารางที่นาเสนอ ตารางที่ น าเสนอไม่
นาเสนอมีความถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T153
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
ครูกระตุนความสนใจของนักเรียน โดยนําเกม 2.6 การงอกของเมล็ด
หรื อ ความบั น เทิ ง มาให นั ก เรี ย นมี ส  ว นร ว มใน
เมื่อเมล็ดอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เอ็มบริโอจะเจริญเป็นต้นพืช ซึ่งกระบวนการที่
ชัน้ เรียน โดยครูนาํ ภาพเมล็ดพืชชนิดตางๆ มาให
เอ็มบริโอในเมล็ดเจริญเป็นต้นพืช เรียกว่า การงอก (germination)
นักเรียนทายวาเปนเมล็ดพืชชนิดใด
1. ประเภทการงอกของเมล็ด หากแบ่งการงอกของพืชสามารถแบ่งได้ 2 แบบ ได้แก่
ขัน้ สอน 1) การงอกเหนือดินหรือการงอกโดยชูใบเลีย้ งขึน้ เหนือดิน (epigeal germination) เป็นการ
สํารวจค้นหา งอกที่ไฮโพคอทิลเจริญและยืดตัวเร็วมาก จึงดึงเอาใบเลี้ยงและส่วนของเอพิคอทิลออกจากเปลือก
เมล็ดและชูตัวขึ้นมาเหนือดิน หลังจากนั้นไฮโพคอทิลจะตั้งตรง ใบเลี้ยงกางออก ท�าให้เอพิคอทิล
1. ครูถามนักเรียนวา นักเรียนทราบหรือไมวา
เมล็ดพืชแตละชนิดมีลักษณะการงอกที่แตก และพลูมูลยืดตัวขึ้นมา ซึ่งใบเลี้ยงที่กางออกจะท�าหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้างอาหารเพียง
ตางกันหรือไม อยางไร ระยะหนึง่ แล้วจะเหีย่ วแห้งไป เหลือเพียงเอพิคอทิลเจริญไปเป็นใบแท้ ซึง่ การงอกในลักษณะนีพ้ บใน
(แนวตอบ บางชนิดมีลักษณะการงอกที่เหมือน เมล็ดพืชใบเลี้ยงคู่ เช่น พริก ถั่วเขียว มะขาม
กัน เชน ถั่วเขียว ถั่วเหลือง แตบางชนิดมี ใบแท้
ลักษณะการงอกที่แตกตางกัน เชน การงอก
ของเมล็ดขาวโพดแตกตางกับเมล็ดถั่วเขียว) ใบเลี้ยง เอพิคอทิล
2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน เลือก ไฮโพคอทิล ใบเลี้ยง
พืชมา 1 ชนิด สืบคนและศึกษาวาพืชชนิดนั้น ไฮโพคอทิล ใบเลี้ยง ไฮโพคอทิล
มีลักษณะการงอกอยางไร

แรดิเคิล
เปลือกเมล็ด
ภาพที่3.29 การงอกของเมล็ดถั่วโดยชูใบเลี้ยงขึ้นเหนือดิน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

B iology
Focus การงอกของหอมหัวใหญ
หอมหัวใหญ่ เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่มีการงอกโดย
ชูใบเลี้ยงขึ้นเหนือดิน โดยใบเลี้ยงซึ่งมีอยู่ใบเดียวจะยืดยาว
มีลกั ษณะโค้งงอแล้วโผล่ขนึ้ มาเหนือดิน เพือ่ ท�าหน้าทีส่ งั เคราะห์
ด้วยแสงจนกว่าใบแท้จะเจริญขึ้นมา และสามารถสร้างอาหาร
เองได้
ภาพที่3.30 หอมหัวใหญ่
ที่มา : คลังภาพ อจท.

140

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนํานักเรียนเพิม่ เติมเกีย่ วกับประโยชนของการงอกแตละแบบวา ขอใดแสดงลําดับการงอกของเมล็ดถั่วแดงไดถูกตอง
การงอกแบบชูใบเลีย้ งขึน้ เหนือดิน ใบเลีย้ งจะชวยปกปองยอดออนกอนทีใ่ บเลีย้ ง 1. เอพิคอทิล ไฮโพคอทิล แรดิเคิล
จะโผลพนขึ้นเหนือดิน สวนการงอกแบบใบเลี้ยงอยูใตดิน ใบเลี้ยงจะชวยดูดซึม 2. ไฮโพคอทิล เอพิคอทิล แรดิเคิล
อาหารจากเอนโดสเปรมไปเลี้ยงลําตนกําลังงอก ขณะที่ใบแทยังเจริญไมเต็มที่ 3. ไฮโพคอทิล แรดิเคิล เอพิคอทิล
จนกวาใบแทจะโผลพนเหนือดิน 4. แรดิเคิล เอพิคอทิล ไฮโพคอทิล
5. แรดิเคิล ไฮโพคอทิล เอพิคอทิล
(วิเคราะหคําตอบ เมล็ดถั่วแดงงอกแบบชูใบเลี้ยงขึ้นเหนือดิน
โดยแรดิเคิลจะงอกออกจากเมล็ดกอน จากนั้นลําตนใตใบเลี้ยง
(ไฮโพคอทิล) จะเจริญดันใบเลี้ยงใหชูขึ้นเหนือดิน จากนั้นลําตน
เหนือใบเลี้ยง (เอพิคอทิล) จึงเจริญเพื่อชูใบแทขึ้น ดังนั้น ตอบ
ขอ 5.)

T154
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2) การงอกใต้ดิน หรือการงอกโดยที่ใบเลี้ยงอยู่ใต้ดิน (hypogeal germination) คือ 1. ครูสมุ ตัวแทนกลุม นําเสนอรูปแบบการงอกของ
การงอกของเมล็ดที่เมื่อพืชเจริญเติบโตเป็นต้นอ่อนแล้วใบเลี้ยงยังคงอยู่ใต้ดิน การงอกในลักษณะ เมล็ดพืช
นี้เกิดขึ้นเนื่องจากเอพิคอทิลเจริญเติบโตเร็วกว่าไฮโพคอทิล ดังนั้นเอพิคอทิลและพลูมูลจะงอก 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ
ขึ้นมาอยู่บนดินโดยมีโคลีออพไทล์หุ้มอยู่เพื่อป้องกันอันตราย ซึ่งโคลีออพไทล์จะหยุดการเจริญ สืบคนวา การงอกของเมล็ดพืชแบงออกไดเปน
เมื่อได้รับแสงและปล่อยให้เอพิคอทิลเจริญเป็นใบแท้ต่อไป ส่วนไฮโพคอทิลและใบเลี้ยงยังคง 2 แบบ คือ การงอกโดยชูใบเลีย้ งขึน้ เหนือดิน ซึง่
อยู่ในดิน การงอกในลักษณะนี้มักพบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น ข้าว ข้าวโพด แต่ก็มีพืชใบเลี้ยงคู่ ใบเลีย้ งจะโผลพน ขึน้ มาเหนือดิน และการงอก
บางชนิดด้วย เช่น ถั่วลันเตา โดยใบเลี้ยงอยูใตดิน ซึ่งใบแทของพืชเหลานี้
จะโผลพนเหนือดิน และมีใบเลี้ยงอยูใตดิน
3. ครูถามนักเรียนวา การงอกของเมล็ดถั่วเขียว
ใบแท้
โคลีออพไทล์ ตางกับเมล็ดขาวโพดอยางไร
( แนวตอบ ต า งกั น ที่ ไ ฮโพคอทิ ล ของเมล็ ด
ถั่วเขียวจะเจริญไดเร็วกวาเอพิคอทิล ทําให
ใบเลี้ยงเจริญขึ้นมาเหนือดิน สวนเมล็ดขาว-
โพดเอพิคอทิลจะเจริญเร็วกวา ไฮโพคอทิล
แรดิเคิล ทําใหใบเลี้ยงยังคงอยูใตดิน)
ภาพที่3.31 การงอกของเมล็ดข้าวโพดที่มีลักษณะการงอกที่มีใบเลี้ยงอยู่ใต้ดิน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

เอพิคอทิล
ไฮโพคอทิล

ใบเลี้ยง
ไฮโพคอทิล

ภาพที่3.32 การงอกของเมล็ดถั่วลันเตาที่มีลักษณะการงอกที่มีใบเลี้ยงอยู่ใต้ดิน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การงอกของเมล็ด 141

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


พืชในขอใดไมมีลักษณะการงอกแบบชูใบเลี้ยงขึ้นเหนือดิน ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเมล็ดพืช จาก QR Code เรื่อง
1. ขาว การงอกเมล็ด
2. พริก
3. ละหุง
4. ถั่วแดง
5. มะขาม
(วิเคราะหคําตอบ พืชที่มีลักษณะการงอกโดยชูใบเลี้ยงขึ้นเหนือ
ดิน ไดแก พริก มะขาม ถั่วแดง และละหุง ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T155
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน กลุมละ 5-6 คน • การสังเกต

ทํากิจกรรม เรื่อง การงอกของเมล็ด การงอกของเมล็ด จิตวิทยาศาสตร์


• ความสนใจใฝ่รู้
2. ใหสมาชิกภายในกลุมแบงภาระหนาที่รับผิด • ความรับผิดชอบ

ชอบ โดยสมาชิกในกลุมมีบทบาทและหนาที่ จุดประสงค์


ของตนเอง ดังนี้ สังเกตและเปรียบเทียบการงอกของเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่
- สมาชิกคนที่ 1 : ทําหนาทีเ่ ตรียมวัสดุอปุ กรณ
- สมาชิกคนที่ 2 : ทํ า หน า ที่ อ  า นวิ ธี ก ารทํ า วัสดุอปุ กรณ์
กิจกรรม และนํามาอธิบายใหสมาชิกภายใน 1. เมล็ดถั่วเขียว 3. กระบะเพาะเมล็ด
กลุมฟง 2. เมล็ดข้าวโพด 4. แว่นขยาย
- สมาชิกคนที่ 3 และ 4 : ทําหนาทีบ่ นั ทึกผล วิธปี ฏิบตั ิ เมล็ดถั่วเขียว
การทํากิจกรรม
- สมาชิกคนที่ 5 และ 6 : ทําหนาที่นําเสนอ 1. นา� เมล็ดถัว่ เขียวและเมล็ดข้าวโพดเพาะในกระบะ
เพาะเมล็ด และรดน�้าเป็นประจ�าทุกวัน
ผลที่ไดจากการทํากิจกรรม 2. ศึกษาการงอกของเมล็ดพืชทั้ง 2 ชนิด ในวันที่ 1
2 3 และ 10
3. บันทึกลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเมล็ดและ เมล็ดข้าวโพด
อธิบายความรู วาดภาพประกอบ
4. เปรียบเทียบการงอกของเมล็ดถั่วเขียวและเมล็ด
1. ใหตัวแทนของแตละกลุมออกมานําเสนอผล ข้าวโพด
จากการทํากิจกรรม ภาพที่3.33 กิจกรรมการงอกของเมล็ด
2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา ค�าถามท้ายกิจกรรม ที่มา : คลังภาพ อจท.
กิจกรรม ?

3. ครูถามคําถามทายกิจกรรม 1. ต้นอ่อนของพืชทั้ง 2 ชนิด ที่งอกออกจากเมล็ดประกอบด้วยโครงสร้างเหนือดินใดบ้าง


2. ลักษณะการงอกของพืชทั้ง 2 ชนิด แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร

อภิปรายผลกิจกรรม

แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม จากกิจกรรม พบว่า การงอกของเมล็ดพืชทั้ง 2 ชนิด มีความแตกต่างกัน โดยเมล็ดถั่วเขียวจะมีส่วน


ไฮโพคอทิลยืดตัวชูใบเลี้ยงให้โผล่ขึ้นมาเหนือระดับผิวดิน ส่วนเมล็ดข้าวโพดนั้นใบเลี้ยงจะไม่โผล่ขึ้นเหนือดิน
1. ตนออนของถั่วเขียวจะพบทั้งใบเลี้ยงและใบแท แต่จะเป็นส่วนของใบแท้ที่มีโคลีออพไทล์หุ้มโผล่ขึ้นมาเหนือดิน
แตตนออนของขาวโพดพบเพียงใบแท ส่วนของเอ็มบริโอทีง่ อกออกมาจากเปลือกเมล็ดเป็นส่วนแรก คือ แรดิเคิลหรือรากแรกเกิด โดยแทงทะลุ
2. แตกตางกัน เมล็ดถั่วเขียวจะงอกแบบชูใบเลี้ยง ผ่านรูไมโครไพล์ของเมล็ดออกมาและเจริญไปเป็นรากแก้วของพืช จากนัน้ ไฮโพคอทิลและแรดิเคิลจะยืดยาวออก
142
ขึ้ น เหนื อ ดิ น แต เ มล็ ด ข า วโพดจะงอกแบบ
ใบเลี้ยงอยูใตดิน

บันทึก กิจกรรม
ขอสอบเนน การคิด
พืชทั้งสองชนิดมีลักษณะการงอกที่แตกตางกัน แตเมล็ดทั้งสองชนิดมี พืชในขอใดมีใบเลี้ยงหนา สามารถดูดซึมอาหารจากเอนโด-
แรดิเคิลงอกออกมาลําดับแรกเหมือนกัน เมือ่ เพาะเมล็ดทัง้ สองชนิดเปนเวลา 10 สเปรมมาสะสมไวที่ใบเลี้ยงได
วัน สามารถเปรียบเทียบลักษณะการงอกของเมล็ดไดดังตาราง 1. มะขาม ละหุง
ขอเปรียบเทียบ เมล็ดขาวโพด เมล็ดถั่วเขียว 2. ถั่วเหลือง ละหุง
3. มะขาม ขาวโพด
สวนที่งอกหลังจาก โคลีออพไทลหรือ ไฮโพคอทิล
แรดิเคิลงอกออกจาก เยื่อหุมยอดแรกเกิด 4. ถั่วเหลือง มะขาม
เมล็ด 5. ขาวโพด ถั่วเหลือง
ตําแหนงของใบเลี้ยง อยูใตดิน อยูเหนือดิน (วิเคราะหคําตอบ พื ช ใบเลี้ ย งคู  ส  ว นใหญ มี ใ บเลี้ ย งที่ ส ามารถ
ดูดซึมอาหารจากใบเลี้ยงขณะที่ลําตนงอกออกจากเมล็ดได เชน
ถั่วเหลือง มะขาม ยกเวน พืชใบเลี้ยงคูบางชนิด เชน ละหุง
ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T156
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
2. ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด เมล็ดที่เอ็มบริโอไม่สมบูรณ์ หรือมีความผิดปกติ 1. ครูถามคําถามทบทวนจากการทํากิจกรรมการ
มักจะไม่งอกและไม่สามารถเจริญเป็นต้นใหม่ได้ แต่อย่างไรก็ตาม ในบางครั้งเมื่อน�าเมล็ดมาเพาะ งอกของเมล็ด ดังนี้
จะพบว่า มีทั้งเมล็ดที่งอกและเมล็ดที่ไม่งอก ทั้งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ ï• เมล็ดถัว่ เขียวและเมล็ดขาวโพดทีน่ กั เรียนนํา
1)ปัจจัยภายนอกทีม่ ผี ลต่อการงอกของเมล็ด โดยปกติเมล็ดพืชทีแ่ ก่เต็มทีจ่ ะมีความชืน้ มาเพาะ เจริญเปนตนออนทุกเมล็ดหรือไม
ต�่าประมาณร้อยละ 10-15 มีอัตราการหายใจต�่า และมีการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีภายในเมล็ด (แนวตอบ ขึ้นอยูกับผลการทํากิจกรรมของ
น้อยมาก ซึ่งการที่เมล็ดจะงอกได้นั้นจ�าเป็นต้องได้รับปัจจัยภายนอกที่เหมาะสม ดังนี้ นักเรียน)
• น�า้ หรือความชืน้ เมือ่ เมล็ดได้รบั น�า้ หรือความชืน้ ï• ในการปลูกตนถัว่ เขียวและขาวโพด นักเรียน
เปลือกหุ้มเมล็ดจะอ่อนตัวลง ท�าให้รากแทงผ่านขึ้นมาได้สะดวก คิดวา มีปจจัยใดบางที่มีสวนสําคัญในการ
มากขึ้น ขณะเดียวกันน�้าและออกซิเจนจะสามารถผ่านเข้าไป งอกของเมล็ด
ในเมล็ดได้มากขึน้ ส่งผลให้เมล็ดขยายขนาดและมีนา�้ หนักเพิม่ ขึน้ ( แนวตอบ ขึ้ น อยู  กั บ คํ า ตอบของนั ก เรี ย น
นอกจากนี ้ น�า้ ยังเป็นตัวกระตุน้ ปฏิกริ ยิ าทางชีวเคมีตา่ ง ๆ ภายใน ตัวอยางคําตอบควรมีนํ้า ความชื้น)
เมล็ด กระตุ้นการสร้างเอนไซม์เพื่อย่อยสลายสารอาหารที่สะสม 2. ใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเกีย่ วกับปจจัยทีม่ ผี ลตอ
ในเมล็ด เช่น เอนไซม์อะไมเลส (amylase) ท�าหน้าที่ย่อยแป้ง ภาพที่ 3.34 น�้ากระตุ้นให้ต้นอ่อนเจริญ การงอกเมล็ดจากแหลงการเรียนรู จากนัน้ สรุป
ให้เป็นมอลโทส เอมไซม์โปรตีเอส (protease) ท�าหน้าทีย่ อ่ ยโปรตีน งอกออกจากเมล็ดได้สะดวกขึ้น เปนผังมโนทัศน พรอมตกแตงใหสวยงาม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ให้เป็นกรดอะมิโน ซึ่งสารอาหารต่าง ๆ ที่ได้จากการย่อยจะแพร่ 3. ใหนกั เรียนจับคูแ ลกผังมโนทัศนของตนเองและ
1
เข้าไปในเอ็มบริโอเพือ่ ใช้ในกระบวนการหายใจทีม่ ผี ลท�าให้เกิดการเจริญเติบโต นอกจากนีน้ า�้ ยังเป็น รวมกันแลกเปลี่ยนความรูกับเพื่อน
ตัวท�าละลายสารอืน่ ๆ ทีส่ ะสมในเมล็ดและช่วยล�าเลียงสารไปให้เอ็มบริโอเพือ่ ใช้ในการงอกอีกด้วย
อย่างไรก็ตาม หากเมล็ดพืชบางชนิดได้รับน�้าปริมาณมากเกินไปจะท�าให้เมล็ดเข้าสู่สภาพพักตัว
หรืออาจท�าให้เมล็ดเน่าได้
• ออกซิเจน ในขณะที่เมล็ดงอกจะมีอัตราการ Biology
in real life
หายใจสูง และต้องการออกซิเจนไปใช้ในกระบวนการสลาย
2 นอกจากสภาพแวดล้อมที่เป็น
สารอาหารเพื่อให้ได้พลังงานไว้ใช้ในกระบวนการเมแทบอลิซึม ปัจจัยต่อการงอกของเมล็ดแล้ว
(metabolism) เมล็ดโดยทั่วไปจะงอกได้ดีในสภาพแวดล้อมที่มี วั ส ดุ อุ ป กรณ์ แ ละเทคนิ ค การ
แก๊สออกซิเจนประมาณร้อยละ 20 แต่พืชบางชนิด เช่น พืชน�้า หยอดเมล็ดมีผลต่อการงอกของ
สามารถงอกได้ดีในสภาวะที่มีแก๊สออกซิเจนต�่า ความชื้นสูง เมล็ดเช่นกัน โดยอุปกรณ์ควร
ขณะทีเ่ มล็ดพืชหลายชนิดจะไม่งอกเลยถ้ามีปริมาณออกซิเจนไม่ มีลักษณะแบน หน้ากว้าง มีรู
เพียงพอแม้ความชืน้ จะสูงก็ตาม เช่น เมล็ดวัชพืชหลายชนิดทีฝ่ งั ระบายน�้าออก ได้สะดวก และ
ควรหยอดเมล็ ด เป็ น แถวเพื่ อ
ลึกอยู่ในดิน จะอยู่ในสภาพพักตัวจนกว่าจะมีการไถพรวนขึ้นมา ความสะดวกต่อการย้ายต้นกล้า
จึงจะสามารถงอกได้

การสืบพันธุ์ของพืชดอก 143
และการเจริญเติบโต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


สภาวะใดไมเหมาะสมตอการงอกของเมล็ดพืชทั่วไป 1 กระบวนการหายใจ หรือกระบวนการหายใจระดับเซลล คือ กระบวนการ
1. แสงเพียงพอสําหรับใบเลี้ยง ที่มีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตจําพวกพืชและสัตว ดวยการใช
2. ออกซิเจนเพียงพอตอกระบวนการหายใจ ออกซิเจนไปเผาผลาญอาหารหรือนํ้าตาลใหไดพลังงานเคมี ดังสมการ
3. นํ้าเพียงพอเพื่อทําใหเปลือกเมล็ดออนนุม C6H12O6 + O2 6CO2 + 12H2O + พลังงาน
4. อุณหภูมิเหมาะสมสําหรับการทํางานของเอนไซม 2 เมแทบอลิซมึ คือ กระบวนการนําเอาพลังงานและสสารจากสิง่ แวดลอมมา
5. นํ้าเพียงพอสําหรับกระตุนปฏิกิริยาเคมีภายในเมล็ด ใชในการดํารงชีวิต แบงเปน 2 สวน คือ กระบวนการสราง (anabolism) เปน
(วิเคราะหคําตอบ โดยทั่วไปปจจัยที่มีผลตอการงอกของเมล็ด กระบวนการสังเคราะหองคประกอบและโครงสรางของเซลลโดยใชพลังงานและ
ไดแก ออกซิเจนและความชื้น อุณหภูมิที่เหมาะสม และแสงซึ่ง อิเล็กตรอน และกระบวนการสลาย (catabolism) เปนกระบวนการสลายสาร
จําเปนสําหรับพืชบางชนิด ไดแก หญา ยาสูบ และปอ ดังนั้น อาหาร เพื่อใหไดพลังงาน อิเล็กตรอน และสารตั้งตนที่จําเปนในการสังเคราะห
ตอบขอ 1.) องคประกอบตางๆ ที่จําเปนตอเซลล

T157
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูเขียนคําถามบนกระดานและใหนกั เรียนลอก • อุณหภูม ิ เมล็ดพืชแต่ละชนิดต้องการอุณหภูมทิ เี่ หมาะสมในการงอกทีแ่ ตกต่างกัน
คําถามและตอบคําถามลงในสมุดบันทึกของ โดยเมล็ดพืชเขตหนาวจะงอกได้ดีในช่วงอุณหภูมิต�่า เช่น หอมหัวใหญ่ ผักกาดหัว ซึ่งงอกได้ดีที่
ตนเอง ดังนี้ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ขณะที่เมล็ดพืชเขตร้อนจะงอกได้ดีในช่วงอุณหภูมิสูง เช่น เมล็ด
ï• ปจจัยที่มีผลตอการงอกเมล็ดแบงออกเปน ข้าวโพด งอกได้ดที อี่ ณ
ุ หภูมปิ ระมาณ 34 องศาเซลเซียส แต่กม็ เี มล็ดพืชบางชนิดต้องการอุณหภูมิ
กี่ประเภท อะไรบาง ในช่วงกลางวันและกลางคืนทีต่ า่ งกัน หรือให้อณ
ุ หภูมติ า�่ สลับกับอุณหภูมสิ งู การงอกจึงจะเกิดได้ดี
(แนวตอบ 2 ประเภท คือ ปจจัยภายในและ เช่น บวบเหลี่ยม โดยหากให้อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 16 ชั่วโมง สลับกับอุณหภูมิ
ปจจัยภายนอก) 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 8 ชั่วโมง เมล็ดจึงจะงอกได้ดี
ï• ปจจัยภายนอกทีม่ ผี ลตอการงอกเมล็ด ไดแก ตารางที่ 3.1 : อุณหภูมิที่เมล็ดพืชแต่ละชนิดสามารถงอกได้
อะไรบาง อุณหภูมิ(�C)
(แนวตอบ นํ้าหรือความชื้น ออกซิเจน แสง พืช
ต�่าสุด เหมาะสม สูงสุด
(สําหรับพืชบางชนิด) และอุณหภูมิ) ข้าว 10-20 20-30 40-42
ï• ปจจัยภายในที่มีผลตอการงอกเมล็ด ไดแก ข้าวบาร์เลย์ 8-10 25 40-44
อะไรบาง ข้าวสาลี 3-5 15-20 30-43
(แนวตอบ เปลือกหุมเมล็ด เอนโดสเปรม ถั่วเหลือง 8 20-35 40
เอ็มบริโอ)
มะเขือเทศ 20 20-30 35-40
ï• สภาพพักตัวของเมล็ดคืออะไร
ยาสูบ 10 24 30
( แนวตอบ สภาพเมล็ ด ที่ ยั ง คงมี ชี วิ ต แต
แคนตาลูป 16-19 20-30 45-50
ไมสามารถงอกเปนตนใหมได)
• แสง เมล็ดพืชบางชนิด เช่น หญ้า ยาสูบ ผักกาดหอม สาบเสือ ปอ จะงอกได้ดีต่อ
เมือ่ มีแสง เมล็ดพืชอีกหลายชนิดไม่ตอ้ งการแสงในขณะงอก ดังนัน้ การเพาะเมล็ดเหล่านีจ้ งึ มักต้อง
กลบดินปิดเมล็ดเสมอ เช่น กระเจี๊ยบ แตงกวา ผักบุ้งจีน ฝ้าย ข้าวโพด แต่ปัจจุบันพืชเศรษฐกิจ
หลายชนิด เช่น ยาสูบ ผักกาดหอม ได้มกี ารพัฒนาสายพันธุใ์ ห้เมล็ดสามารถงอกได้โดยไม่ตอ้ งใช้แสง
นอกจากแสงจะจ�าเป็นในขณะ
ที่เมล็ดพืชก�าลังงอกแล้ว ยังมีความจ�าเป็นต่อ
พืชหลังการงอกอีกด้วย กล่าวคือ ขณะที่พืช
ยังเป็นต้นอ่อน ปริมาณแสงที่พอเหมาะจะเป็น
ปัจจัยที่ท�าให้ต้นอ่อนแข็งแรงและเจริญเติบโต
ได้ดี ภาพที่3.35 แสงจ�าเป็นต่อพืชที่งอกออกจากเมล็ด
ที่มา : คลังภาพ อจท.

144

ขอสอบเนน การคิด
จากผลการทดลองในตาราง สามารถสรุปไดวาอยางไร สภาพแวดลอมภายนอก จํานวนเมล็ด จํานวนเมล็ด
1. ความชื้นมีอิทธิพลตอการงอกของเมล็ด ที่ใช ที่งอก
2. เมล็ดที่งอกในที่แหงเกิดจากความผิดพลาด แสง ชื้น 78 70
3. แสงจําเปนตอการงอกของเมล็ด หากไมมีแสง เมล็ด แหง 78 2
จะไมงอก อุณหภูมิ ชื้น 78 16

4. แสง ความชื้น และอุณหภูมิเปนตัวกําหนดปจจัยใน 40 º C แหง 78 1
การงอกของเมล็ด มืด ชื้น 78 68
5. การทดลองนี้ไมสามารถสรุปผลได แหง 78 4

(วิเคราะหคําตอบ จากตาราง พบวา ในทีแ่ หงเมล็ดงอกนอยมาก ซึง่ แสงและทีอ่ ณุ หภูมิ 40 º๐C ไมมผี ลตอการงอกของเมล็ด แตเมล็ด
จะงอกไดดีในที่ที่มีความชื้น ถึงแมวาจะมีแสงหรือไมมีแสง ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T158
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2) ปัจจัยภายในที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด การงอกของเมล็ดนอกจากจะขึ้นอยู่กับ 2. ครูสมมติสถานการณขนึ้ มาใหนกั เรียนวิเคราะห
ปัจจัยภายนอกที่เหมาะสมแล้ว ยังขึ้นอยู่กับปัจจัยภายในด้วย ได้แก่ เปลือกเมล็ด เอ็มบริโอ และ สาเหตุและแกไขสถานการณ
เอนโดสเปิร์ม โดยโครงสร้างของเปลือกเมล็ดที่แตกต่างกันในพืชแต่ละชนิด การเจริญเต็มที่ของ ï• นาย A นําเมล็ดขาวโพดมาเพาะในกระบะ
เอ็มบริโอ รวมทั้งปริมาณของเอนโดสเปิร์มล้วนมีผลต่อการงอกของเมล็ด ที่มีกระดาษทิชชูที่เปยกชื้น ตั้งไวในที่ที่มี
พืชบางชนิดเมือ่ เก็บเกีย่ วมาใหม่ ๆ และน�าเมล็ดไปเพาะทันที เมล็ดจะไม่งอก แม้จะมี อากาศถายเท และมีแสงแดดสองถึง เมื่อ
สภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมเพียงพอต่อการงอกก็ตาม เนื่องจากเมล็ดเหล่านั้นมีเอ็มบริโอที่ยังไม่ เวลาผานไป 2 วัน เมล็ดขาวโพดไมเกิดการ
เจริญ หรือยังเจริญไม่เต็มที ่ แต่เมือ่ เก็บไว้สกั ระยะหนึง่ ให้เอ็มบริโอเจริญเต็มทีแ่ ล้วน�าไปเพาะเมล็ด เปลี่ยนแปลง เพราะเหตุใดจึงเปนเชนนั้น
เหล่ า นั้ น จึ ง สามารถงอกได้ ซึ่ ง เมล็ ด ที่ มี ส ภาพของเมล็ ด สมบู ร ณ์ แ ต่ ยั ง ไม่ ง อกหรื อ งอกช้ า นักเรียนมีวิธีแกไขอยางไร
เรียกสภาพนี้ว่า สภาพพักตัวของเมล็ด (seed dormancy) (แนวตอบ ควรนําเมล็ดขาวโพดไปเพาะในที่
 สภาพพักตัวของเมล็ด หมายถึง สภาพเมล็ดที่ยังมีชีวิตอยู่แต่ไม่สามารถงอกเป็น มืด เนื่องจากแสงมีผลตอการงอกของเมล็ด
ต้นใหม่ได้ เมล็ดพืชบางชนิดมีระยะการพักตัวสั้นมาก เช่น ขนุน มะละกอ มะขามเทศ ซึ่ง พืชบางชนิด เชน หญา ยาสูบ ผักกาดหอม
พบว่า เมล็ดของพืชในกลุม่ นีส้ ามารถงอกได้ขณะทีย่ งั อยูใ่ นผล ในขณะเมล็ดพืชบางชนิด เช่น โกงกาง ปอ)
จะไม่ มี ส ภาพพั ก ตั ว ของเมล็ ด เลย หรื อ พื ช บางชนิ ด มี ส ภาพพั ก ตั ว ที่ ย าวนาน โดยทั่ ว ไป
ï• นาย B นําเมล็ดยาสูบมาเพาะในกระบะที่มี
เมื่อเมล็ดได้รับน�้า ออกซิเจน และอุณหภูมิที่เหมาะสม สภาพพักตัวของเมล็ดนั้น ๆ จะหมดไป
กระดาษทิชชูที่เปยกชื้น ตั้งไวในหองมืด ที่
ท�าให้เอ็มบริโอเจริญเติบโตต่อไปได้ พืชบางชนิดแม้จะได้รบั สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสม แต่เมล็ดยังคง
อยู่ในสภาพพักตัว โดยอาจเกิดจากปัจจัยภายในบางประการของเมล็ด ตัวอย่างเช่น มีอุณหภูมิสูงกวา 35 องศาเซลเซียส เมื่อ
1) เปลือกเมล็ด อาจมีลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ เวลาผานไป 2 วัน เมล็ดยาสูบไมเกิดการ
• เปลือกเมล็ดหนาและแข็ง ท�าให้เมล็ดอยู่ในสภาพพักตัวจนมีปัจจัยบางประการที่ เปลี่ยนแปลง เพราะเหตุใดจึงเปนเชนนั้น
ท�าให้เปลือกเมล็ดอ่อนตัวลงหรือแตกออก เมล็ดจึงจะงอกได้ เช่น มะม่วง โพธิ ์ ไทร ตะขบ ตะเคียน นักเรียนมีวิธีแกไขอยางไร
มะค่าโมง สัก ฟักข้าว ( แนวตอบ ควรนํ า เมล็ ด ยาสู บ ไปเพาะใน
บริเวณที่มีอุณหภูมิเหมาะสม คือ 24 องศา
เซลเซียส)

ภาพที่ 3.36 เมล็ดมะละกอมีสภาพพักตัวของเมล็ดสัน้ มาก ภาพที่3.37 เมล็ดฟักข้าวมีเปลือกหนาและแข็งมาก


เมล็ดจึงสามารถงอกได้ขณะอยู่ในผล ที่มา : คลังภาพ อจท.
ที่มา : คลังภาพ อจท.
การสืบพันธุ์ของพืชดอก 145
และการเจริญเติบโต

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดไมใชสาเหตุของการพักตัวของเมล็ดพืช ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสภาพพักตัวของเมล็ด จาก Youtube
1. เอ็มบริโอยังเจริญไมเต็มที่ เรื่ อ ง สภาพพั ก ตั ว ของเมล็ ด ถั่ ว เขี ย ว (https://www.youtube.com/
2. เมล็ดบางชนิดมีสารยับยั้งการงอก watch?v=oRjZPutwGOk)
3. อุณหภูมิภายนอกสูงหรือตํ่าเกินไป
4. เปลือกหุมเมล็ดแข็งและหนาเกินไป
5. ใบเลี้ยงดูดซึมอาหารจากเอนโดสเปรมไดมาก
(วิเคราะหคําตอบ สภาพพักตัวของเมล็ดมีสาเหตุมาจากสภาพ
แวดลอมภายนอกที่ไมเหมาะสม หรืออาจมีสาเหตุอื่น ถึงแมวา
จะอยูในสภาวะที่เหมาะสมก็ตาม ไดแก เปลือกหุมเมล็ดหนาและ
แข็ง เอ็มบริโอเจริญไมเต็มที่ และเอนโดสเปรมภายในเมล็ดนอย
ไมเพียงพอตอการเจริญ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T159
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
3. ครูสมมติสถานการณขนึ้ มาใหนกั เรียนวิเคราะห โดยปกติเมือ่ เมล็ดได้รบั น�้าอย่างเพียงพอ เปลือกเมล็ดจะอ่อนตัวลง แต่เมล็ดพืชบาง
สาเหตุและแกไขสถานการณ ชนิดมีเปลือกเมล็ดหนาและแข็งมาก ท�าให้น�้าไม่สามารถผ่านเข้าไปในเมล็ดได้ ซึ่งในธรรมชาติจะ
ï• นาย C นําเมล็ดฟกขาวมาปลูกสลับกับเมล็ด มีจุลินทรีย์ในดินช่วยท�าลายสภาพพักตัวของเมล็ดดังกล่าว หรืออาศัยการผ่านระบบย่อยอาหาร
แตงโมในแปลงของตนเอง เมื่อเวลาผานไป ของสัตว์ เช่น นกกินผลของลูกโพธิ์ ลูกไทร ตะขบ แล้วถ่ายเมล็ดออกมา เปลือกของเมล็ดของ
1 สัปดาห เมล็ดไมงอก เพราะเหตุใดจึงเปน พืชเหล่านี้จะถูกย่อยสลายซึ่งเป็นการช่วยท�าลายสภาพพักตัวของเมล็ดได้อีกวิธีหนึ่ง นอกจากนี ้
เชนนั้น นักเรียนมีวิธีแกไขอยางไร ไฟป่าก็สามารถช่วยท�าลายสภาพพักตัวของเมล็ดพืชในป่าได้หลายชนิด เช่น หญ้า ไผ่ ตะเคียน
(แนวตอบ เปลือกของเมล็ดฟกขาวคอนขาง สัก เนื่องจากความร้อนจะท�าให้เมล็ดพืชเหล่านี้แตกออก
แข็ง จึงเปนสาเหตุใหเมล็ดอยูใ นสภาพพักตัว นอกจากนี ้ มนุษย์ยงั สามารถแก้ไขสภาพพักตัวของเมล็ดทีม่ เี ปลือกเมล็ดหนาและแข็ง
สามารถแกไขดวยการนําเมล็ดไปแชนํ้าอุน ซึง่ มีหลายวิธ ี เช่น การน�าไปแช่ในสายละลายกรดเพือ่ ให้เปลือกเมล็ดอ่อนนุม่ ลง การปาดหรือตัดปลาย
หรือนํ้ารอนเพื่อทําใหเปลือกออนนุม) เมล็ดออก การกระเทาะเปลือกหุม้ เมล็ด การขัดเมล็ดด้วยกระดาษ Biology
ï• นาย D อยากเพาะเมล็ ด กล ว ยไม พั น ธุ  ทราย การเผาหรือการลนไฟเพื่อท�าให้เซลล์เปลือกเมล็ดแยกตัว in real life
เศรษฐกิจขาย แตเมล็ดไมงอก นักเรียน ออก รวมทั้งการใช้ความร้อนสลับกับความเย็นและเก็บไว้ในที่ เมล็ดพืชส่วนใหญ่ไม่ต้องการ
คิ ด ว า เกิ ด จากสาเหตุ ใ ด และมี วิ ธีแ ก ไ ข
อุณหภูมิต�่าระยะหนึ่งก่อนน�าไปเพาะ แสงในการงอกเมล็ด แต่เมล็ด
• เปลือกเมล็ดมีสารทีไ่ ม่ยอมให้นา�้ ซึมผ่าน เช่น ไข พืชบางชนิดต้องการแสงและ
อยางไร
(wax) คิวทิน (cutin) ซูเบอริน (suberin) ลิกนิน (lignin) ซึง่ สะสม อุณหภูมิที่เหมาะสมด้วย เช่น
(แนวตอบ เมล็ดกลวยไมอาจมีปริมาณเอนโด- เมล็ ด ผั ก สลั ด พั น ธุ ์ Grand
บนผนังเซลล์ของเปลือกเมล็ด พบในพืชหลายชนิด เช่น ถัว่ เขียว Rapids ต้องการแสงเพียง 1-2
สเปรมภายในเมล็ดนอย จึงเปนสาเหตุให ถั่วเหลือง ถั่วด�า ถั่วแดง แตงโม บวบ โดยวิธีแก้สภาพพักตัว นาที ที่อุณหภูมิ 25 องศา-
เมล็ดอยูในสภาพพักตัว สามารถแกไขดวย ของเมล็ดทีม่ ลี กั ษณะดังกล่าวท�าได้โดยการน�าไปแช่ในน�า้ อุน่ หรือ เซลเซียส
ไมคอรไรซาซึ่งเปนราชนิดหนึ่งที่เจริญรวม น�้าร้อนเพื่อล้างสารที่เคลือบเปลือกเมล็ดออกและท�าให้เปลือก
กับเมล็ดพืช โดยไมคอรไรซาจะชวยยอย เมล็ดอ่อนนุ่ม
สลายสารอินทรีย เพือ่ เปนอาหารใหแกเมล็ด
ที่กําลังงอก)

ก. เมล็ดถั่วด�า ข. เมล็ดแตงโม
ภาพที่3.38 ตัวอย่างเมล็ดที่เปลือกเมล็ดมีสารที่ไม่ยอมให้น�้าซึมผ่าน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

146

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิม่ เติมเกีย่ วกับวิธกี ารแกสภาพพักตัวของเมล็ดวา สามารถ ขอใดไมใชสารที่อยูบนเปลือกหุมเมล็ด ซึ่งเปนสาเหตุทําให
ทําได 2 วิธี ดังนี้ เมล็ดอยูในสภาพพักตัว
1. วิธที างฟสกิ ส ไดแก การทําใหเปลือกของเมล็ดบางลงดวยการทําใหเกิด 1. ไข
รอยแผล (scarifif ication) ชวยใหนํ้าสามารถซึมผานเขาไปภายในเมล็ดได หรือ 2. ไคทิน
อาจใชเครือ่ งมือชวยทําใหเปลือกหุม เมล็ดแตกออก สําหรับพืชบางชนิดอาจตอง 3. คิวทิน
นําเมล็ดไปแชในนํ้ารอนกอนนําไปเพาะ จะชวยใหเมล็ดงอกไดเร็วขึ้น 4. ลิกนิน
2. วิธกี ารทางเคมี ไดแก การแชเมล็ดในกรดนํา้ สม หรือโซเดียมไฮดรอกไซด 5. ซูเบอริน
ในระยะเวลาสั้นๆ เพื่อทําใหเปลือกหุมเมล็ดออนตัว หรือใชสารเคมีกระตุน (วิเคราะหคําตอบ สารสะสมอยูบ นผนังเซลลของเปลือกหุม เมล็ด
การงอก เชน จิบเบอเรลลิน โพแทสเซียมคลอไรด เชน ไข คิวทิน ลิกนิน ซูเบอริน มีสมบัตทิ ไี่ มยอมใหนาํ้ ซึมผาน เปน
สาเหตุหนึ่งที่ทําใหเมล็ดไมงอก ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T160
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
• เปลือกเมล็ดไม่ยอมให้แกสออกซิเจนแพร่ผา่ น มักเกิดขึน้ ในเมล็ดพืชวงศ์หญ้าทีเ่ ป็น 4. ครูสุมเรียกนักเรียนตอบคําถาม ตอไปนี้
วัชพืช เมล็ดข้าว และข้าวสาลี โดยมักเป็นการพักตัวในระยะสั้น ๆ ซึ่งเมื่อเก็บเมล็ดไว้สักพักหนึ่ง •ï สภาพพักตัวของเมล็ดที่มีถิ่นกําเนิดในเขต
โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการใดก็สามารถน�าไปเพาะได้ หรืออาจท�าลายการพักตัวของเมล็ดโดย อบอุนและเขตหนาว ตัวอยางเชน แปะกวย
การทุบเพื่อท�าให้เปลือกหุ้มเมล็ดแตกออก และสนบางชนิด มักมีสาเหตุมาจากอะไร
2) เอ็มบริโอ สภาพพักตัวของเมล็ดอาจมีสาเหตุมาจากเอ็มบริโอ เนื่องจากในขณะ (แนวตอบ เอ็มบริโอทีอ่ ยูภ ายในเมล็ดยังเจริญ
ที่เมล็ดถูกเก็บเกี่ยวหรือร่วงหล่นจากต้น เอ็มบริโอที่อยู่ภายในเมล็ดยังเจริญและพัฒนาไม่เต็มที่ และพัฒนาไมเต็มที่)
ท�าให้เมล็ดไม่สามารถงอกได้ และอยู่ในสภาพพักตัวระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งการพักตัวในลักษณะนี้พบ ï• ไมคอรไรซาชวยแกไขสภาพพักตัวของเมล็ด
มากในพืชที่มีถิ่นก�าเนิดในเขตอบอุ่นและในเขตหนาว เช่น แปะก๊วย สนบางชนิด หรือในเขตร้อน ไดอยางไร
เช่น มะพร้าว หมาก ปาล์มน�้ามัน (แนวตอบ ไมคอรไรซาชวยยอยสลายสาร
วิธีแก้สภาพพักตัวของเมล็ดในกลุ่มนี้ คือ เก็บเมล็ดไว้ระยะเวลาหนึ่งจนเอ็มบริโอ อินทรียเพื่อเปนอาหารใหแกเมล็ดที่กําลัง
เจริญเต็มที่ ซึ่งอาจจะใช้เวลาอย่างน้อยตั้งแต่ 1 สัปดาห์จนถึงหลายเดือน งอก)
3) เอนโดสเปร์ม เมล็ดพืชบางชนิดมีเอนโดสเปิร์ม
H. O. T. S.
น้อยมาก เมล็ดจึงงอกได้ยาก เนื่องจากไม่มีอาหารเพียงพอ คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
ส�าหรับเอ็มบริโอในระหว่างที่มีการงอก โครงสร้างส่วน
ในธรรมชาติการงอกของเมล็ 1 ดพืชทีม่ เ
ี อนโดสเปิ
ร ม
์ ใดของเมล็ ด ที่
น้อยพบว่า ต้องอาศัยไมคอร์ไรซา (mycorrhiza) บางชนิดซึง่ เป็น มี ผ ลต่ อ สภาพ
ราที่เจริญร่วมกับเมล็ดพืช โดยไมคอร์ไรซาจะช่วยย่อยสลายสาร พักตัวของเมล็ดถั่วมากที่สุด
อินทรีย์เพื่อเป็นอาหารให้แก่เมล็ดที่ก�าลังงอก เช่น กล้วยไม้ ซึ่ง เพราะเหตุใด
ปัจจุบันมนุษย์สามารถท�าลายสภาพพักตัวของเมล็ดกล้วยไม้ได้
2
โดยการน�าเมล็ดมาเพาะเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์และเติมสาร
กระตุ้นการงอกของเมล็ด

แนวตอบ H.O.T.S.
ภาพที่3.39 เมล็ดกล้วยไม้ ภาพที่ 3.40 วิธแี ก้สภาพพักตัวของเมล็ดกล้วยไม้ โดยการ เอ็มบริโอ เนือ่ งจากถาเอ็มบริโอทีอ่ ยูภ ายในเมล็ด
ที่มา : คลังภาพ อจท. เพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ ยังเจริญและพัฒนาไมเต็มที่ เปนสาเหตุใหเมล็ด
ที่มา : คลังภาพ อจท.
การสืบพันธุ์ของพืชดอก 147
อยูในสภาพพักตัวตอไปจนกวาเมล็ดจะเจริญและ
และการเจริญเติบโต
พัฒนาเต็มที่ โดยไมมีวิธีทางกายภาพ หรือทางเคมี
ที่ทําใหสภาพพักตัวของเมล็ดมีระยะเวลาสั้นลงได

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดไมใชวิธีการแกสภาพพักตัวของเมล็ด 1 ไมคอรไรซา เปนราที่อาศัยอยูตามรากของตนไม แบงเปน 2 กลุม คือ
1. การนําเมล็ดไปแชนํ้า กลุมที่อาศัยอยูกับเซลลผิวของรากตนไม เรียกวา เอกโตไมคอรไรซา และกลุม
2. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ที่อาศัยอยูภายในเซลลผิวของรากตนไม เรียกวา เอนโดไมคอรไรซา โดยราทั้ง
3. การทํารอยแผลบนเปลือกหุมเมล็ด สองกลุมชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดธาตุอาหารของราก และชวยใหลําตน
4. การขัดเมล็ดพันธุดวยกระดาษทราย พืชเหี่ยวชาในสภาวะขาดนํ้า
5. การนําเมล็ดไปตากแดดเปนเวลาที่พอเหมาะ 2 อาหารสังเคราะห ประกอบดวยเกลือ ธาตุอาหาร นํ้าตาล วิตามิน และ
(วิเคราะหคําตอบ วิ ธีแ ก ส ภาพพั ก ตั ว ของเมล็ ด สามารถทํ า ได ฮอรโมนพืชในสัดสวนทีเ่ หมาะสม ซึง่ อยูใ นสภาพปลอดเชือ้ และในสภาพแวดลอม
หลายวิธี ขึ้นอยูกับสาเหตุที่ทําใหเมล็ดอยูในสภาพพักตัว เชน ถา ที่ควบคุม เชน อุณหภูมิ ความชื้น แสงสวาง
เปลือกหุม เมล็ดแข็งและหนา ควรทําใหเปลือกหุม เมล็ดออนลงดวย
การนําไปแชนาํ้ หรือทําใหเปลือกหุม เมล็ดแตกออก เมล็ดบางชนิด
มีเอนโดสเปรมนอย สามารถแกปญหาดวยการนําไปเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T161
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
5. ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม จากคํ า ถามสถานการณ 4) สารเคมี เป็นสาเหตุทที่ า� ให้เกิดสภาพพักตัวของเมล็ด มีหลายชนิด เช่น กรดแอบไซซิก
ตัวอยางตอไปวา นอกจากเมล็ด เอ็มบริโอ ซึ่งมีสมบัติยับยั้งการท�างานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการงอก
เอนโดสเปรม แลว สารเคมียงั มีสว นทําใหเมล็ด การแก้ไขสภาพพักตัวของเมล็ดในกลุม่ นีท้ า� ได้โดยวิธที างธรรมชาติโดยอาศัยฝน ซึง่
อยูในสภาพพักตัว โดยเฉพาะกรดแอบไซซิก ฝนจะช่วยชะล้างสารเคมีที่เคลือบเมล็ดออกไป ท�าให้เมล็ดสามารถงอกได้ ส่วนมนุษย์สามารถแก้
ที่ มี ส มบั ติ ยั บ ยั้ ง การทํ า งานของเอนไซม ที่ สภาพการพักตัวของเมล็ดในกลุ่มนี้ได้โดยการชะล้างสารเคมี แล้วผึ่งเมล็ดให้แห้งก่อนน�าไปเพาะ
เกีย่ วของกับกระบวนการงอกของเมล็ดพืช ทาง นอกจากนี้อาจแก้ไขสภาพพักตัวของเมล็ดโดยการตัดใบเลี้ยงของเอ็มบริโอพืชออก หรือการใช้
แกทดี่ ี คือ ใหนา้ํ ฝนชวยชะลางสารเคมีทเี่ คลือบ สารเร่งการงอก เช่น จิบเบอเรลลิน (gibberellin) ซึ่งจะช่วยให้เมล็ดงอกได้เร็วขึ้น
เมล็ดเหลานี้ออกไป หรืออาจถามความเห็น จากการศึกษาเมล็ดพืชในเขตอากาศหนาว เช่น แอปเปิล เชอร์รี พบว่า เมล็ดพืช
จากนักเรียนวา นักเรียนมีวิธีแกไขอยางอื่น ต้องได้รับอุณหภูมิต�่าในฤดูหนาว เมล็ดจึงจะงอกได้ เนื่องจากอุณหภูมิต�่าจะมีผลต่อปริมาณ
อีกหรือไม กรดแอบไซซิกที่ท�าหน้าที่ยับยั้งการงอกของเมล็ดให้มีปริมาณลดลง รวมทั้งอุณหภูมิต่�าสามารถ
ท�าให้เมล็ดสร้างจิบเบอเรลลินและไซโทไคนิน (cytokinin) ที่ส่งเสริมการงอกของเมล็ดเพิ่มขึ้น
ดังนั้น การใช้จิบเบอเรลลินหรือไซโทไคนินจึงสามารถกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้
สภาพพั ก ตั ว ของเมล็ ด เป็ น กลไกทางธรรมชาติ
ทีจ่ า� เป็นส�าหรับพืช หากพืชไม่มสี ภาพพักตัว เมือ่ อยูใ่ นธรรมชาติ
เมล็ดพืชอาจได้รบั อันตรายได้ เช่น ถูกสัตว์กดั กินได้งา่ ย จึงต้องมี
เปลือกเมล็ดแข็งและหนา ในทางกลับกัน ต้นโกงกางทีเ่ มล็ดไม่มี
สภาพพักตัวและจะงอกตัง้ แต่อยูบ่ นต้น ท�าให้เมือ่ ฝักตกลงมาปัก
ลงบนดินเลนจะได้โกงกางต้นใหม่ ถ้าเมล็ดโกงกางมีสภาพพัก
ตัวและไม่งอกตั้งแต่อยู่บนต้น โอกาสที่จะรอดชีวิตและแพร่พันธุ์
จะน้อยมาก เนื่องจากฝักของต้นโกงกางลอยน�้าได้ จึงถูกน�้าพัด
พาได้ง่ายท�าให้โอกาสที่จะเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่บนดินเลน
ภ าพที่  3.41 ลั ก ษณะเมล็ ด ของ
เป็นไปได้ยากขึ้น ดังนั้นเมล็ดที่อยู่ตามธรรมชาติจึงต้องอาศัย
โกงกางขณะอยู่บนต้น สภาพพักตัวเป็นกลไกในการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดและการ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ด�ารงพันธุ์
B iology
Focus สารเคมีที่มีผลตอการงอกของเมล็ด
สารเคมีตา่ ง ๆ ได้แก่ กรดแอบไซซิก จิบเบอเรลลิน และไซโทไคนินทีม่ ผี ลต่อการงอกของเมล็ด
ล้วนแต่เป็นสารเคมีทพี่ ชื สามารถสร้างขึน้ ได้เองหรือเรียกว่า ฮอร์โมนพืช (plant hormone) ซึง่ โดยปกติ
พืชจะมีกลไกควบคุมการสร้างสารเคมีเหล่านี้เพื่อควบคุมการเจริญเติบโตของพืชได้ แต่ในปัจจุบัน
มนุษย์สามารถสังเคราะห์สารเคมีที่มีสมบัติคล้ายฮอร์โมนพืชเหล่านี้ เพื่อใช้ในการเร่งหรือยับยั้ง
การเจริญเติบโตของพืชตามความต้องการได้
148

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับขอดีของการพักตัวของเมล็ดวา เมล็ดที่มี สารเคมีในขอใดชวยกระตุนการงอกของเมล็ดได
สภาพพักตัวนานจะมีอตั ราการอยูร อดสูง เมือ่ อยูใ นสภาวะแวดลอมทีไ่ มเหมาะสม 1. เอทิลีน
เอ็มบริโอสามารถพักตัวอยูในเปลือกเมล็ดไดเปนเวลานาน หากพืชไมมีสภาพ 2. ออกซิน
พักตัว อาจมีทงั้ ขอไดเปรียบและเสียเปรียบ คือ เมล็ดจะงอกและแพรพนั ธุไ ดเร็ว 3. ซูเบอริน
โดยเมล็ดอาจงอกตั้งแตอยูในผล แตอัตราการอยูรอดตํ่า 4. แอบไซซิก
5. จิบเบอเรลลิน
(วิเคราะหคําตอบ สารเคมีทชี่ ว ยเรงการงอกเมล็ด ไดแก ไซโทไคนิน
และจิบเบอเรลลิน ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T162
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
3. การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ ์ การปลูกพืชให้ประสบความส�าเร็จนัน้ ส่วนหนึง่ 1. ครูถามคําถามเกริน่ นํากอนเขาสูห วั ขอถัดไปวา
ขึ้นอยู่กับคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ ดังนั้นจึงต้องมีการตรวจสภาพของเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูกเพื่อให้ได้ เมล็ดพันธุดีคือเมล็ดที่ดี มีลักษณะอยางไร
ผลผลิตตามที่ต้องการ การน�าเมล็ดมาเพาะปลูก หรือน�าออกจ�าหน่ายจ�าเป็นต้องตรวจสอบคุณภาพ (แนวตอบ พิจารณาคําตอบของนักเรียน ตัวอยาง
ของเมล็ดพันธุว์ ่ามีคุณภาพหรือเสื่อมคุณภาพหรือไม่ ซึ่งการตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์นั้น คําตอบ เชน เมล็ดพันธุด คี วรมีสสี ด ไมเกา ขุน
สามารถท�าได้หลายวิธ ี เช่น การตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ ์ ความสามารถในการงอก หรือ มัว ไมควรมีเศษหรือรอยแตกหัก ไมมรี อยเจาะ
ความมีชวี ติ ของเมล็ดพันธุ ์ ความบริสทุ ธิข์ องเมล็ดพันธุ ์ ความชืน้ ของเมล็ดพันธุ ์ ซึง่ ในทีน่ จี้ ะกล่าวถึง ของแมลง มีความชื้นตํ่า ปราศจากสิ่งเจือปน
เฉพาะการตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์พืชโดยการวัดดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ และโรค มีความแข็งแรงสูง)
ความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์พืช หมายถึง ลักษณะของเมล็ดพืชหลาย ๆ ประการ 2. นั ก เรี ย นมี วิ ธีต รวจสอบคุ ณ ภาพเมล็ ด พั น ธุ 
ซึง่ เป็นลักษณะเด่นทีเ่ มล็ดพืชสามารถแสดงออกมา โดยเมือ่ น�าเมล็ดนัน้ ไปเพาะในสภาพแวดล้อม อยางไรบาง โดยครูใหนกั เรียนตอบตามความ
ทีไ่ ม่เหมาะสม เมล็ดทีม่ คี วามแข็งแรงสูงจะสามารถงอกได้ด ี ส่วนเมล็ดทีม่ คี วามแข็งแรงต�า่ จะงอก คิดเห็นกอน แลวจึงมอบหมายใหนกั เรียนสืบคน
ได้น้อย หรือไม่สามารถงอกได้1 ซึ่งการตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์มีหลายวิธี เช่น ขอมูลจากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1
การเร่งอายุของเมล็ดพันธุ์ การวัดดัชนีการงอกของเมล็ด (แนวตอบ พิจารณาคําตอบของนักเรียน ตัวอยาง
การวัดดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ ์ เหมาะส�าหรับเกษตรกรทีจ่ ะใช้ตรวจสอบคุณภาพของ
คํ าตอบ เช น สั ง เกตจากลั ก ษณะภายนอก
เมล็ดพันธุ์ก่อนที่จะน�าไปเพาะปลูก โดยอาศัยหลักการที่ว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความแข็งแรงสูงย่อมจะ
ตรวจสอบความแข็งแรงดวยการนําไปเพาะ
งอกได้เร็วกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความแข็งแรงต�่า ซึ่งวิธีการวัดดัชนีการงอกท�าได้โดยการน�าตัวอย่าง
เมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่ต้องการตรวจสอบมาเพาะแล้วนับจ�านวนเมล็ดที่งอกทุกวันจนกระทั่งไม่มี ตรวจความบริสุทธิ์ของเมล็ด การหาคาดัชนี
เมล็ดใดงอกเพิม่ อีก จากนัน้ น�ามาค�านวณหาค่าดัชนีการงอกโดยเปรียบเทียบกับเมล็ดพันธุพ์ ชื ชนิด การงอก)
เดียวกันจากแหล่งอื่น ๆ ซึ่งใช้สูตรค�านวณ ดังนี้ 3. เพื่อใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ และ
สามารถลงมือปฏิบัติได ใหนักเรียนแบงกลุม
กลุมละ 5-6 คน เพื่อทํากิจกรรม การตรวจ
ดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ = ผลบวกของ จ�านวนเมล็ดที่งอกในแต่ละวัน
จ�านวนวันหลังเพาะ สอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ

ตารางที่ 3.2 : การศึกษาการงอกของเมล็ดถั่วเหลืองจาก 2 แหล่ง แหล่งละ 100 เมล็ด


ผลการงอกของเมล็ด ค่าดัชนีการงอกของ
แหล่งเมล็ดพันธุ์ เมล็ดพันธุ์
วันที่1 วันที่2 วันที่3 วันที่4 วันที่5 วันที่6 วันที่7
แหล่งที่ 1 - - 40 30 20 - - 24.83
แหล่งที่ 2 - - 15 36 40 8 - 23.33

วิธีการค�านวณ ค่าดัชนีการงอกเมล็ดพันธุ์ แหล่งที่ 1; 403 + 304 + 205 = 24.83


ค่าดัชนีการงอกเมล็ดพันธุ์ แหล่งที่ 2; 153 + 364 + 405 + 86 = 23.33
การสืบพันธุ์ของพืชดอก 149
และการเจริญเติบโต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ชาวนาคนหนึง่ ทํานาขาวไวหลายแปลง เพือ่ จําหนายเมล็ดพันธุ 1 การเรงอายุของเมล็ดพันธุ คือ วิธีตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ
ขาวหอมมะลิ และปลูกในฤดูกาลตอไปดวย ชาวนาควรมีวิธีตรวจ ดวยการนําเมล็ดพันธุไปใสตูอบที่มีอุณหภูมิระหวาง 40-50 องศาเซลเซียส และ
สอบเมล็ดขาวหอมมะลิจากแหลงตางๆ อยางไร เพื่อใหไดเมล็ด มีความชืน้ สัมพัทธรอ ยละ 100 เพือ่ จําลองสภาพเมล็ดเสมือนวา เก็บเมล็ดพันธุเ ปน
พันธุที่แข็งแรง เวลานาน แลวจึงนําไปเพาะและคํานวณคารอยละของการงอก หากเมล็ดพันธุ
1. ใชสารเคมีเรงอายุเมล็ด ใดมีคารอยละของการงอกสูง แสดงวาเมล็ดพันธุนั้นมีความแข็งแรง สามารถ
2. ตรวจความชื้นของเมล็ด เก็บไดนานและยังคงมีอัตราการงอกสูง
3. วัดดัชนีการงอกของเมล็ด
4. ตรวจความบริสุทธิ์ของสายพันธุ
5. ดูลักษณะการจมและลอยนํ้าของเมล็ดขาว
(วิเคราะหคําตอบ การตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ
มีหลายวิธี ไดแก การเรงอายุของเมล็ดพันธุ และการวัดดัชนีการงอก
ของเมล็ด ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T163
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
4. ใหสมาชิกภายในกลุมแบงภาระหนาที่รับผิด • การสังเกต

ชอบ โดยสมาชิกในกลุมมีบทบาทและหนาที่ การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ • การค�านวณ


• การลงความเห็นจากข้อมูล
ของตนเอง ดังนี้ จิตวิทยาศาสตร์
- สมาชิกคนที่ 1 : ทําหนาทีเ่ ตรียมวัสดุอปุ กรณ จุดประสงค์ • รอบคอบ
• ความมีเหตุผล
- สมาชิกคนที่ 2 : ทํ า หน า ที่ อ  า นวิ ธี ก ารทํ า หาค่าดัชนีการงอกของเมล็ดได้
กิจกรรม และนํามาอธิบายใหสมาชิกภายใน
กลุมฟง วัสดุอปุ กรณ์
- สมาชิกคนที่ 3 และ 4 : ทําหนาที่บันทึกผล 1. เมล็ดถั่วเขียวจาก 2 แหล่ง 2. กระบะเพาะเมล็ด
การทํากิจกรรม แหล่งละ 100 เมล็ด
- สมาชิกคนที่ 5 และ 6 : ทําหนาทีน่ าํ เสนอผล วิธปี ฏิบตั ิ
ที่ไดจากการทํากิจกรรม
1. เพาะเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวในกระบะเพาะ 2 กระบะ กระบะละ 1 แหล่ง
2. นับจ�านวนเมล็ดที่งอกเพิ่มขึ้นในแต่ละวันจนครบ 7 วัน บันทึกผล
3. ค�านวณหาค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวจากแต่ละแหล่ง โดยใช้สูตรต่อไปนี้
อธิบายความรู้
1. ใหตัวแทนของแตละกลุมออกมานําเสนอผล ดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ = ผลบวกของ จ�านวนเมล็ดที่งอกในแต่ละวัน
จ�านวนวันหลังเพาะ
จากการทํากิจกรรม
2. ครูถามคําถามทายกิจกรรม เมล็ดถั่วเขียว
แหล่งที่ 1
เมล็ดถั่วเขียว
แหล่งที่ 2
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา
กิจกรรม

ขยายความเข้าใจ ภาพที่3.42 การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์


ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา
ม.5 เลม 1 ?
ค�าถามท้ายกิจกรรม
2. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Question นักเรียนมีวิธีคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวจากแหล่งต่าง ๆ นี้อย่างไร เพื่อให้ได้เมล็ดพันธุ์ที่ดีที่สุด

อภิปรายผลกิจกรรม

หากน�าค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์จากทั้ง 2 แหล่งมาเปรียบเทียบกัน ถ้าค่าดัชนีการงอกของเมล็ด


พันธุ์จากแหล่งใดมีค่าสูงกว่า แสดงว่า เมล็ดพันธุ์ของแหล่งนั้นมีความแข็งแรงกว่า จึงควรเลือกเมล็ดพันธุ์จาก
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม แหล่งนั้นไปปลูก
พิจารณาจากดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ หาก 150
แหลงใดมีคาดัชนีการงอกสูงกวา แสดงวาเมล็ด
พันธุจากแหลงนั้นมีคุณภาพที่ดีกวา

บันทึก กิจกรรม
ขอสอบเนน การคิด
คาดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุคํานวณไดจากผลรวมของอัตราสวนจํานวน จงหาคาดัชนีการงอกเมล็ดพันธุถ วั่ เหลืองแหลงที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
เมล็ดที่งอกตอจํานวนวันหลังเพาะ หากแหลงใดมีคาดัชนีการงอกเมล็ดสูงกวา
ผลการงอกเมล็ด
แสดงวาเมล็ดพันธุแหลงนั้นมีความแข็งแรงมากกวา แหลง
วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 วันที่ 6 วันที่ 7
แหลง 27 20 15
ที่ 1
แหลง 42 21 16 15
ที่ 2
1. 14 และ 30 2. 14 และ 35 3. 17 และ 30
4. 17 และ 35 5. 30 และ 35
(วิเคราะหคําตอบ
ดัชนีการงอกเมล็ดถั่วแหลงที่ 1 ; 27 20 15
3 + 4 + 5 = 17
ดัชนีการงอกเมล็ดถั่วแหลงที่ 2 ; 42 21 16 15
2 + 3 + 4 + 5 = 35
ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T164
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ

เมล็ดมีความส�าคัญในด้านที่เป็นแหล่งสะสมพันธุกรรม Biology 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายโครงสรางของ


in real life เมล็ดและผลและใหนักเรียนตระหนักถึงความ
ของพืช เพราะในเซลล์ของเอ็มบริโอทุกเซลล์มีสารพันธุกรรม
การอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ์ พื ช มี ค วาม สําคัญของเมล็ดซึ่งเปนแหลงสะสมพันธุกรรม
หรือยีนพืชชนิดนั้น ๆ อยู่ แม้ว่าต้นพืชชนิดนั้นจะตายและ ส�าคัญต่อชีวิตและความเป็นอยู่
สูญพันธุ์ไป แต่ถ้ามีการเก็บเมล็ดของพืชนั้นไว้ ก็ยังมียีนใน ของประชากรทัง้ ในปัจจุบนั และ ของพืช จากนัน้ ครูใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ
เอ็มบริโอของพืชนั้น ๆ ที่สามารถน�าไปขยายพันธุ์ต่อไปได้ อนาคตเป็นอย่างยิ่ง ซึง่ ขัน้ ตอน 5-6 คน จัดตัง้ ธนาคารเมล็ดพันธุพ ชื ชนิดตางๆ
ปั จ จุ บั น จะเห็ น ว่ า หลายประเทศให้ ค วามส� า คั ญ ต่ อ การอนุรกั ษ์พนั ธุพ์ ชื มีดงั นี้ ภายในโรงเรียนดวยการปลูกพืชและเก็บรักษา
การอนุรักษ์พันธุ์พืชเป็นอย่างมาก ส�าหรับในประเทศไทยนั้น 1. ร วบรวมเมล็ ด พั น ธุ ์ พื ช มา เมล็ดพันธุใ หเปนหมวดหมู เพือ่ เปนแหลงการ
บันทึกประวัตขิ อ้ มูล
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยได้จัด 2. คดั ขนาดและท�าความสะอาด ศึกษาและอนุรกั ษพนั ธุพ ชื ไปในตัว
ตัง้ ธนาคารเชือ้ พันธุพ์ ชื แห่งชาติขนึ้ เพือ่ เก็บรวบรวมและอนุรกั ษ์ เมล็ดพันธุ ์
พันธุ์พืชชนิดต่าง ๆ ทั่วประเทศ เช่น พันธุ์พืชที่หายากและ 3. ทดสอบการงอกของเมล็ด
ใกล้จะสูญพันธุ์ หรือพันธุ์ที่ดีมีประโยชน์ เพื่อน�าไปใช้ในการ 4. ทา� เมล็ดให้แห้งและเก็บรักษา
ปรับปรุงพันธุพ์ ชื ต่าง ๆ ในอนาคต อีกทัง้ ยังเป็นแหล่งแลกเปลีย่ น ไว้ในภาชนะ
พันธุ์พืชกับต่างประเทศอีกด้วย 5. นา� เมล็ดพันธุไ์ ปเก็บไว้ในห้อง
ทีม่ อี ณุ หภูมติ า�่

Topic
Question
ค�าชี้แจง:ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. จงอธิบายกระบวนการสร้างสปอร์และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียของพืช
2. การปฏิสนธิซ้อนของพืชดอกเกิดขึ้นเมื่อใด
3. พืชที่ได้รับการผสมเกสรจะมีพัฒนาการอย่างไร
4. โครงสร้างของเมล็ดพืชประกอบด้วยอะไรบ้าง
5. โครงสร้างของผลประกอบด้วยอะไรบ้าง
6. สตรอว์เบอร์รี น้อยหน่า มะม่วง ล�าไย มังคุด มะละกอ ราสเบอร์รี จัดเป็นผลไม้ประเภทใดบ้าง หาก
พิจารณาจากต�าแหน่งของรังไข่เป็นเกณฑ์
7. จงเปรียบเทียบรูปแบบการงอกของเมล็ดข้าวโพดและเมล็ดถั่วเหลือง
8. สภาพพักตัวของเมล็ดคืออะไร และยกตัวอย่างการแก้สภาพพักตัวของเมล็ดมาอย่างน้อย 3 ข้อ
9. เอ็มบริโอที่อยู่ในเมล็ดพันธุ์ที่มีเอนโดสเปิร์มน้อยจะได้รับอาหารอย่างไร
10. การหาค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ท�าได้อย่างไร

การสืบพันธุ์ของพืชดอก 151
และการเจริญเติบโต

ขอสอบเนน การคิด แนวตอบ Topic Question


1. เมกะสปอรมาเทอรเซลล (2n) แบงเซลลไดเมกะสปอรจํานวน 4 เซลล แต
ขอใดคือความสําคัญทีส่ ดุ ของการอนุรกั ษพนั ธุพ ชื
เหลือเพียง 1 เซลล เจริญเปนถุงเอ็มบริโอ ทําหนาที่สรางเซลลไข
1. อนุรักษพันธุพืชหายาก
2. เมือ่ สเปรม เขาไปผสมกับเซลลไขและสเปรม อีกตัวไปผสมกับโพลารนวิ คลีไอ
2. สรางรายไดและอาชีพ
3. รังไขเจริญเปนผลหอหุมเมล็ดภายในมีเอ็มบริโอที่เจริญมาจากไซโกต
3. เพิ่มจํานวนพันธุพืชเดิม
4. เปลือกหุมเมล็ด เอนโดสเปรม และเอ็มบริโอ
4. เพิ่มผลิตผลทางการเกษตร
5. ผนังผลชั้นนอก ผนังผลชั้นกลาง และผนังผลชั้นใน
5. เพิ่มความหลากหลายใหกับพันธุพืช
6. ลําไย มังคุด มะมวง และมะละกอจัดเปนผลเดี่ยว สตรอวเบอรรี นอยหนา
(วิเคราะหคําตอบ สาเหตุหลักของการอนุรักษพันธุพืช คือ ไมให และราสเบอรรีจัดเปนผลกลุม
พันธุพืชที่หายากสูญพันธุ ดังนั้น ตอบขอ 1.) 7. เมล็ดขาวโพดงอกแบบใบเลีย้ งอยูใ ตดนิ สวนเมล็ดถัว่ เหลืองอกแบบชูใบเลีย้ ง
ขึ้นเหนือดิน
8. กลไกธรรมชาติที่ปองกันอันตรายใหกับเมล็ดพันธุ
9. อาศัยไมคอรไรซาชวยยอยสลายสารอินทรีย
10. ผลรวมของอัตราสวนระหวางจํานวนเมล็ดที่งอกในแตละวันตอจํานวนวัน
หลังเพาะ
T165
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
4. ครูอาจเพิม่ เติมความรูใ หแกนกั เรียนศึกษาเรือ่ ง Biology
เมล็ดขาว ซึง่ เปนเมล็ดพันธุท คี่ นเอเชียสวนใหญ in real life ขาว
นิยมปลูกและนํามาผานกระบวนการวิธีตางๆ ประชากรในเอเชียส่วนใหญ่นิยมบริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก ซึ่งข้าวที่น�ามารับประทานนั้นจะ
ต้องผ่านกระบวนการผลิตหลายขั้นตอน โดยเริ่มจากการปลูกข้าวจนกระทั่งเก็บเกี่ยวรวงข้าวได้เป็น
ก อ นนํ า มาหุ ง รั บ ประทาน ซึ่ ง ส ว นประกอบ ข้าวเปลือก ซึ่งข้าวเปลือกที่ได้จะถูกน�าเข้าสู่โรงสีข้าวเพื่อผลิตข้าวสาร ซึ่งมีขั้นตอนการสีมีหลาย
ของเมล็ดขาวสามารถนํามาใชประโยชนตา งๆ ขัน้ ตอน ได้แก่ การท�าความสะอาดและแยกสิง่ เจือปน การกะเทาะเปลือกออก การขัดมัน หรือการขัด
ไดมากมาย ชั้นร�าข้าวออก และการคัดขนาดข้าวสาร
5. ใหนกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมจากกรอบ Biology in ส่วนประกอบของเมล็ดข้าวที่ได้จากการสี สามารถน�ามาใช้ประโยชน์ ได้มากมาย ดังนี้
real life แลวครูอาจตัง้ คําถามวา สวนประกอบ เปลือกข้าว (seed coat) หรือเรียกว่า แกลบ เป็น
แกลบ 20%
ของเมล็ดขาวนํามาใชประโยชนอยางไรบาง ส่วนที่อยู่นอกสุด เป็นวัตถุดิบที่เหลือจากการ
( แนวตอบ เปลื อ กข า วหรื อ แกลบนิ ย มนํ า มา จมูกข้าว 1-2% สีข้าว นิยมน�ามาเป็นส่วนผสมในอาหารของ
ผสมในอาหารของสัตวปก เยื่อหุมเมล็ดหรือ สั ตว์ ป  ก เนื่ อ งจากมี เ ส้ น ใยสู ง นอกจากนี้ ยั ง
สามารถน�ามาท�าเป็นปุย๋ เพือ่ ช่วยปรับสภาพดิน
รําขาวนิยมนํามาสกัดทําเปนนํ้ามันรําขาว ใช เสื่อมโทรมให้สามารถกลับมาปลูกพืชได้
ร�าข้าว 8-9%
ประกอบอาหาร เอ็มบริโอหรือจมูกขาวนิยมนํา
ร�าข้าว (rice bran) มีลักษณะเป็นเยื่อบาง ๆ
มาผสมในเครือ่ งดืม่ ประเภทนม เพิม่ คุณคาทาง
ข้าวขาว 70% ห่อหุ้มเมล็ดข้าว มีสีแดงน�้าตาล เป็นส่วนที่อุดม
โภชนาการ และเอนโดสเปรม หรือขาวขาวนิยม ไปด้วยคุณค่าทางอาหาร ประกอบด้วยโปรตีน
นํามาหุงรับประทาน) ไขมัน ใยอาหาร วิตามิน และเกลือแร่ต่าง ๆ
6. ใหนกั เรียนทํา Self Check เพือ่ ตรวจสอบความ โดยส่วนนี้เป็นส่วนที่ถูกขัดสีออกให้กลายเป็น
เขาใจของตนเอง ข้าวขาว แต่ถา้ ไม่ถกู ขัดสีออกจะเรียกว่า ข้าวกล้อง
7. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด ประจํ า หน ว ยการ ดังนั้น ข้าวกล้องจึงมีคุณค่าทางอาหารมากกว่า
ข้าวขาว
เรียนรูที่ 3
8. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน หนวย จมูกข้าว (embryo) คือ ส่วนปลายเมล็ดค่อน
การเรียนรูที่ 3 ไปทางด้านข้าง มีสารอาหารมากมายที่เป็น
ประโยชน์ตอ่ การเจริญเอ็มบริโอทีอ่ ยูภ่ ายในเมล็ด
และคน
ภาพที่3.43ส่วนประกอบของเมล็ดข้าว ข้าวขาว (endosperm) คนส่วนใหญ่นิยมน�ามา
ที่มา : คลังภาพ อจท. หุงรับประทาน ซึ่งข้าวขาวประกอบด้วยแป้ง
และน�้าตาลซึ่งให้พลังงานสูง

152

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจเพิม่ เติมความรูเ กีย่ วกับการตรวจสอบคุณภาพขาวเปลือก ซึง่ จําตอง จมูกขาวเปรียบไดกับสวนใดของมะพราว
ตรวจสอบความชื้น โดยความชื้นของขาวเปลือกที่เหมาะสมควรมีคาระหวาง 1. ขุยมะพราว
14-15 เปอรเซ็นต ตองแยกสิ่งเจือปนออกดวยการใสขาวเปลือกลงในกระดง 2. นํ้ามะพราว
ฝดหรือตะแกรงรอน เนื่องจากสิ่งเจือปนที่ติดมากับขาวเปลือกจะทําอันตราย 3. เนื้อมะพราว
เครื่องจักรได นอกจากนี้ ตองตรวจสอบขาวเสื่อมคุณภาพที่เกิดจากเก็บไวนาน 4. จาวมะพราว
และตรวจสอบขาวเปนโรคดวยการดูลักษณะของเปลือก 5. กะลามะพราว
(วิเคราะหคําตอบ กะลามะพร า ว คื อ ส ว นของเปลื อ กชั้ น ใน
สื่อ Digital (endocarp) นํ้าและเนื้อมะพราว คือ เอนโดสเปรม ขุยมะพราว
คือ สวนของเปลือกมะพราวที่ปนเอาเสนใยออก จาวมะพราว คือ
ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคัด เอ็มบริโอ ซึ่งเปรียบไดกับจมูกขาว ดังนั้น ตอบขอ 4.)
เลือกเมล็ดพันธุขาว จาก Youtube เรื่อง เกลือ
ผูชวยคัดเมล็ดพันธุขาวกอนหวาน (https://www.
youtube.com/watch?v=gtGktq7-g9w)

T166
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
Summary ตรวจสอบผล
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายการสืบพันธุ
การสืบพันธุข์ องพืชดอก ของพื ช ดอกและการเจริ ญ เติ บ โต จากนั้ น ให
และการเจริญเติบโต นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน เลือกศึกษา
วัฏจักรชีวิตของพืชดอก
เมล็ ด พั น ธุ  พื ช มา 1 ชนิ ด ทํ า รายงาน เรื่ อ ง
พืชดอกมีวัฏจักรชีวิตแบบสลับ (alternation of generation) คือ ระยะที่สร้างสปอร์หรือระยะสปอโรไฟต์ โครงสรางและปจจัยที่มีผลตอการงอกของเมล็ด
(sporophyte) สลับกับระยะที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์หรือระยะแกมีโทไฟต์ (gametophyte) พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน
การสร้างสปอร์เพศผู้

เกสรเพศเมีย ขัน้ ประเมิน


การถ่ายเรณู
ตรวจสอบผล
เกสรเพศผู้ การสร้างสปอร์เพศเมีย
กลีบดอก 1. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5
กลีบเลี้ยง
เลม 1
การปฏิสนธิ
2. ประเมินรายงาน เรื่อง โครงสรางและปจจัยที่
ระยะสปอโรไฟต์ มีผลตอการงอกของเมล็ด โดยใชแบบประเมิน
ระยะแกมีโทไฟต์ ชิ้นงาน
3. ประเมิ น ผั ง มโนทั ศ น โดยใช แ บบประเมิ น
ภาพที่3.44วัฏจักรและการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก ชิ้นงาน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
4. สังเกตการปฏิบัติการจากการทํากิจกรรม โดย
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก ใชแบบประเมินการปฏิบัติการ
• โครงสร้างและประเภทของดอก ดอกประกอบด้วย 4 ส่วน ติดอยู่บนฐานดอก ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก 5. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช
เกสรเพศผู ้ และเกสรเพศเมีย หากแบ่งประเภทของดอก โดยแบ่งตามต�าแหน่งของรังไข่เทียบกับต�าแหน่ง แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
ของวงกลีบจะแบ่งเป็นดอกที่มีรังไข่เหนือวงกลีบและดอกที่มีรังไข่ใต้วงกลีบ ถ้าแบ่งตามจ�านวนดอกที่อยู่
บนก้านดอกเดียวกันจะแบ่งได้เป็นดอกเดี่ยวและดอกช่อ 6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ
• การสร้างสปอร์และเซลล์สืบพันธุ์ของพืชดอก พืชดอกมี 2 ชนิด คือ ไมโครสปอร์และเมกะสปอร์ อาจสร้าง สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
ภายในดอกเดียวกันหรือต่างต้นกัน โดยไมโครสปอร์จะเจริญและพัฒนาเป็นแกมีโทไฟต์เพศผู้ ในพืชดอก 7. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ
เรียกว่า เรณู (pollen) ส่วนเมกะสปอร์จะเจริญและพัฒนาเป็นแกมีโทไฟต์เพศเมีย เรียกว่า ถุงเอ็มบริโอ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
(embryo sac)
• การถ่ายเรณู เรณูไปตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย มี 2 แบบ คือ การถ่ายเรณูภายในดอกเดียวกัน และการ
ถ่ายเรณูข้ามต้น โดยอาศัยตัวกลาง เช่น ลม น�้า แมลง เป็นต้น
• การปฏิสนธิของพืชดอก เกิดขึ้นที่รังไข่โดยสเปิร์มตัวหนึ่งไปผสมกับไข่แล้วเจริญเป็นไซโกต และสเปิร์ม
อีกตัวไปผสมกับนิวคลีไอแล้วเจริญเป็นเอนโดสเปิร์ม เรียกการปฏิสนธิแบบนี้ว่า การปฏิสนธิซ้อน
(double fertilization)

การสืบพันธุ์ของพืชดอก 153
และการเจริญเติบโต

กิจกรรม สรางเสริม แนวทางการวัดและประเมินผล


ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับวิธีการแกสภาพพักตัวของ ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การสืบพันธุแ บบอาศัยเพศ
เมล็ดพันธุพืชชนิดตางๆ มาอยางนอย 3 วิธี พรอมระบุสาเหตุ ของพืชดอก ไดจากการทํารายงาน เรื่อง โครงสรางและปจจัยที่มีผลตอการงอก
ที่ทําใหเมล็ดอยูในระยะพักตัว ของเมล็ด โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงานที่อยู
ในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 3

กิจกรรม ทาทาย
แบบประเมินชิ้นงาน

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินรายงาน ตามรายการที่กาหนดแล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การจัดรูปแบบรายงาน
2 ความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา

ใหนักเรียนเขียนขั้นตอนการสรางเซลลสืบพันธุเพศผูและ
3 ภาพประกอบ/ตาราง
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

เพศเมียของตนถัว่ และกระบวนการปฏิสนธิจนกระทัง่ ตนออนงอก


................./................/................

เกณฑ์การประเมิน
ระดับคะแนน
รายการประเมิน

ออกจากเมล็ด โดยใหนกั เรียนวาดภาพลงในกระดาษ A4 พรอมชี้


4 3 2 1
1. การจัดรูปแบบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รู ปเล่ มรายงานมี
และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่
ครบถ้วน ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ครบถ้วนเพียงบางส่วน ครบถ้วน

สวนประกอบตางๆ ในภาพใหถกู ตอง แลวตกแตงใหสวยงาม พรอม


2. ความถูกต้องและ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้ อหาในรายงานไม่
คุณภาพ ของ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง และไม่ ครบ
เนื้อหา และมีภาษาที่สละสลวย เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน ตามที่กาหนด
เข้าใจง่าย

กับนําเสนอหนาชัน้ เรียน
3. ภาพประกอบ/ ภาพมี ความสอดคล้ อง ภาพมี ความสอดคล้ อง ภ า พส อด ค ล้ องกั บ ภาพไม่ สอดคล้ องกั บ
ตาราง กับเนื้อหา มีภาพมีความ กับเนื้อหา ภาพไม่คมชัด เนื้ อหาบางส่ ว น ภาพ เนื้อหา ภาพไม่คมชัด
คมชัด สวยงาม ตารางที่ ตารางที่นาเสนอมีความ คมชัด ตารางที่นาเสนอ ตารางที่ น าเสนอไม่
นาเสนอมีความถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้

T167
0-3 ปรับปรุง
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ผิด 2. ผิด 3. ผิด
4. ถูก 5. ผิด 6. ถูก • โครงสร้างของผลและเมล็ด
- ผนังผลประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ได้แก่ ผนังชั้นนอก ผนังชั้นกลาง และผนังชั้นใน
7. ผิด - ชนิดของผล แบ่งตามจ�านวนรังไข่ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ผลเดี่ยว ผลกลุ่ม และผลรวม
- เมล็ดมีส่วนประกอบที่ส�าคัญอยู่ 3 ส่วน ได้แก่ เปลือกเมล็ด เอ็มบริโอ และเอนโดสเปิร์ม
• การงอกของเมล็ด
การงอกของพืชแบ่งตามลักษณะการงอกได้ 2 แบบ ดังนี้
ใบแท้

ใบเลี้ยง เอพิคอทิล
ใบเลี้ยง โคลีออพไทล์ ใบแท้
ไฮโพคอทิล
ไฮโพคอทิล ใบเลี้ยง ไฮโพคอทิล

แรดิเคิล
เปลือกเมล็ด แรดิเคิล
ภาพที่3.45 การงอกโดยชูใบเลี้ยงขึ้นเหนือดิน (ภาพซ้าย) และการงอกโดยที่ใบเลี้ยงอยู่ใต้ดิน (ภาพขวา)
ที่มา : คลังภาพ อจท.

Self Check
ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
หากพิจารณาข้อความไม่ถูกต้องให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามที่หัวข้อก�าหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. พ ืชทุกชนิดมีวงจรชีวิตแบบสลับ 1.
2. ดอกสมบูรณ์เพศจัดเป็นดอกครบส่วน 2.2
3. ไมโครสปอร์เจริญเป็นเรณู และเมกะสปอร์เจริญเป็นรังไข่ 2.2

ม ุ ด

น ส
4. การถ่ายเรณูแบบข้ามต้นจะได้ลูกหลานที่มีความหลากหลาย 2.3
ง ใ

ึ ก ล

5. พืชทุกชนิดจะเกิดกระบวนการปฏิสนธิซ้อนเสมอ 2.4
บ ั น

6. ผลเจริญมาจากรังไข่ และเมล็ดเจริญมาจากไซโกต 2.5


7. ก ารงอกของเมล็ดถั่วจะมีใบเลี้ยงอยู่ใต้ดิน ส่วนการงอกของเมล็ด 2.6
ข้าวโพดจะมีใบเลี้ยงอยู่เหนือดิน

154

เกร็ดแนะครู กิจกรรม 21st Century Skills


ครูอาจสรุปเพิม่ เติมเกีย่ วกับการงอกของเมล็ดวา การงอกเมล็ดเปนการเจริญ ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน ตั้งสมมติฐาน กําหนด
เติบโตของเอ็มบริโอ ภายในเมล็ดมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระและรูปรางภายใน ตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม และออกแบบการ
เมล็ด ดังนี้ ทดลองเกี่ยวกับวิธีแกสภาพพักตัวของเมล็ด โดยใหแตละกลุม
1. การดูดนํ้าของเมล็ด มีผลทําใหเปลือกหุมเมล็ดออนตัวและทําใหเปลือก เปรียบเทียบระยะเวลาของการงอกของเมล็ดปกติกับเมล็ดที่ใชวิธี
เมล็ดแตกออก นํ้าและแกสออกซิเจนจึงเขาไปในเมล็ดได แกสภาพพักตัวของเมล็ดตาง ๆ จากนัน้ บันทึกผลการทดลองลงใน
2. การเกิดเมแทบอลิซึม นํ้าที่เขาไปภายในเมล็ด จะชวยกระตุนใหเกิดการ กระดาษ A4 และจัดทํารายงาน เรื่อง วิธีแกสภาพพักตัวของเมล็ด
สรางเอนไซมภายในเมล็ด เกิดกระบวนการยอยสลายสารอาหารทีม่ อี ยูใ นเอนโด-
สเปรมหรือใบเลี้ยง
3. การลําเลียงอาหาร อาหารจากเอนโดสเปรม หรือใบเลีย้ งทีถ่ กู ยอยจนเปน
โมเลกุลเล็ก ๆ จะถูกลําเลียงไปยังสวนตาง ๆ ของเอ็มบริโอ
4. การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ เมื่อสวนตาง ๆ ของเอ็มบริโอไดรับสาร
อาหาร นํ้า และแกสออกซิเจนอยางเพียงพอ จะทําใหเกิดกระบวนการหายใจ
ไดพลังงาน ซึ่งพืชนําไปใชในการเจริญเติบโต

T168
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Question

U nit
คําชี้แจง :
Question 3
ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต่ อ ไปนี้
1. พืชดอกมีวัฏจักรชีวิตแบบสลับ ประกอบดวย
ระยะสปอโรไฟตและระยะแกมีโทไฟต ในระยะ
สปอโรไฟตเซลลตน กําเนิดจะมีโครโมโซม 2 ชุด
1. จงอธิบายลักษณะวัฏจักรชีวิตของพืชดอกมาพอสังเขป (2n) เจริญมาจากเอ็มบริโอซึง่ พัฒนามาจากไซโกต
2. ให้นักเรียนระบุส่วนประกอบต่าง ๆ ของดอก ลงในภาพที่ก�าหนดให้ด้านล่าง เปนระยะที่มีการสรางสปอรโดยการแบงเซลล
7 แบบไมโอซิส ในระยะแกมีโทไฟตซงึ่ เจริญมาจาก
8 5
6
สปอรมเี ซลลตน กําเนิดทีม่ โี ครโมโซม 1 ชุด (n)
9 เป น ระยะที่ ส ร า งเซลล สื บ พั น ธุ  แ ละเกิ ด การ
ปฏิสนธิ
2. หมายเลข 1 ฐานรองดอก (receptacle)
หมายเลข 2 กลีบเลีย้ ง (sepal)
3 หมายเลข 3 กลีบดอก (petal)
4
หมายเลข 4 ออวุล (ovule)
1 2 หมายเลข 5 รังไข (ovary)
หมายเลข 6 กานชูเกสรเพศเมีย (style)
ภาพที่3.46 ส่วนประกอบของดอก หมายเลข 7 ยอดเกสรเพศเมีย (stigma)
ที่มา : คลังภาพ อจท.
หมายเลข 8 อับเรณู (anther)
3. เกสรเพศผู้อยู่บริเวณใดของดอก และมีลักษณะอย่างไร หมายเลข 9 กานชูอบั เรณู (fif ilament)
 4. เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ของพืชดอกมีชื่อเรียกว่าอะไร และมีกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์อย่างไร 3. เพราะบริ เ วณที่ แ บคที เ รี ย มาเกาะกลุ  ม คื อ
5. ดอกสมบูรณ์เพศและดอกไม่สมบูรณ์เพศมีลกั ษณะอย่างไร จงอธิบายพร้อมทัง้ ยกตัวอย่างประกอบ บริเวณที่มีออกซิเจนซึ่งเปนผลิตภัณฑที่ไดจาก
6. จากภาพ เมื่อพิจารณาจ�านวนดอกที่อยู่บนก้านดอก ดอกไม้แต่ละชนิดจัดเป็นดอกประเภทใด กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของสาหราย
เพราะเหตุใด สไปโรไจรา
4. เซลลสืบพันธุเพศผูของพืชดอก เรียกวา เรณู
เจริ ญ อยู  ภ ายในโพรงเรณู ข องอั บ เรณู การ
พัฒนาเรณูเริ่มจากไมโครสปอรมาเทอรเซลลที่
มีโครโมโซม 2 ชุด แบงเซลลแบบไมโอซิสได 4
ไมโครสปอร ซึง่ มีจาํ นวนโครโมโซม 1 ชุด จากนัน้
ไมโครสปอรจะแบงนิวเคลียสแบบไมโทซิสได
2 นิวเคลียส และสรางผนังหนา 2 ชัน้ หุม รอบ
ภาพที่3.47 ทุ่งดอกทานตะวัน เซลล เรียกโครงสรางนีว้ า เรณู
ที่มา : คลังภาพ อจท.
5. ดอกสมบูรณเพศ หมายถึง ดอกทีม่ ที งั้ เกสรเพศ
การสืบพันธุ์ของพืชดอก 155 ผูและเกสรเพศเมียอยูภายในดอกเดียวกัน เชน
และการเจริญเติบโต
มะมวง กุหลาบ ชบา ตอยติง่ มะเขือ พริก บัว
ผักบุง ดอกไมสมบูรณเพศ หมายถึง ดอกที่มี
เพียงเกสรเพศผูหรือเกสรเพศเมียอยางใดอยาง
หนึง่ เชน ขาวโพด ตําลึง ฟกทอง มะละกอ เงาะ
มะยม
6. จากภาพ คือ ดอกทานตะวัน เมื่อพิจารณาจํานวนดอกบนกานดอกแลว ดอกทานตะวันจัดเปนดอกประเภท ดอกชอ คือ ดอกที่ประกอบดวยดอกยอย
หลายดอกอยูบ นแกนชอดอกเดียวกัน ดอกทานตะวันจัดเปนดอกชอแบบเฮด คือ ดอกชอทีก่ า นชอดอกจะหดสัน้ และขยายแผออกเปนวงคลายจานเรียกวา
ฐานดอกรวม (common receptacle) สวนทีเ่ ห็นคลายเปนกลีบดอกติดอยูท วี่ งรอบนอกของฐานดอกรวม คือ ดอกยอยทีเ่ ล็กกวาดอกยอยวงนอก ซึง่ มักเปน
ดอกเพศเมีย ถัดเขามาจะเห็นดอกยอย มีลกั ษณะเปนหลอดอยูเ บียดกันแนนบริเวณตรงกลางของฐานดอกรวม เรียกวา ดอกยอยวงใน มักเปนดอกสมบูรณเพศ

T169
นํา สอน สรุป ประเมิน

7. การปฏิสนธิซอน คือ การปฏิสนธิที่เกิดขึ้น


ภายในรังไขของพืชดอก โดยเกิดการปฏิสนธิ
2 ครัง้ พรอมกัน คือ สเปรม ตัวหนึง่ ไปผสมกับ 7. การปฏิสนธิซ้อนคืออะไร
อะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร
เซลลไขไดไซโกตซึง่ จะเจริญตอไปเปนเอ็มบริโอ 8. หลังจากเกิดการปฏิสนธิ ส่วนต่าง ๆ ของดอกไม้จะมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
และสเปรม อีกตัวหนึง่ ไปผสมกับโพลารนวิ คลีไอ 1) รังไข่ 2) ออวุล
ไดเอนโดสเปรม
3) ไข่ 4) ผนังออวุล
8. 8.1 รังไขจะเจริญไปเปนผล
5) ผนังรังไข่ 6) โพลาร์นิวคลีไอ
8.2 ออวุลจะเจริญไปเปนเมล็ด
8.3 ไขจะเจริญไปเปนไซโกตและพัฒนาตอไป 9. ยกตัวอย่างพืชดอกที่เมื่อเมล็ดเจริญเต็มที่แล้วยังมีเอนโดสเปิร์มอยู่ภายในเมล็ด พร้อมทั้ง
เปนเอ็มบริโอ วาดภาพระบุต�าแหน่งของเอนโดสเปิร์ม
8.4 ผนังออวุลจะเจริญไปเปนเปลือกหุม เมล็ด 10. โครงสร้าง
10. ง A-D ที่เห็นในภาพคืออะไร และโครงสร้างดังกล่าวมีความส�าคัญต่อพืชอย่างไร
8.5 ผนังรังไขจะเจริญไปเปนเปลือกและเนื้อ
D
ของผล B C
8.6 โพลารนิวคลีไอจะเจริญไปเปนเอนโด-
สเปรม A
9. ตัวอยางพืชทีเ่ มือ่ เมล็ดเจริญเต็มทีแ่ ลวยังมีเอน-
โดสเปรม อยูภ ายใน เชน ละหุง ขาว ขาวโพด ภาพที่3.48 โครงสร้างของเมล็ดถั่ว
ขนุน มะพราว ที่มา : คลังภาพ อจท.
10. A คือ เอนโดสเปรม
11. พิจารณาภาพ แล้วตอบค�าถาม
11.
B คือ ใบเลีย้ ง
C คือ เอ็มบริโอ A
B
D คือ เปลือกหุม เมล็ด D

11. 11.1 การงอกโดยชูใบเลีย้ งขึน้ เหนือดิน


C
(epigeal germination)
11.2 A คือ ใบเลีย้ ง
B คือ ใบแท
C คือ ไฮโพคอทิล
D คือ เอพิคอทิล
ภาพที่3.49 การงอกของเมล็ดถั่ว
ที่มา : คลังภาพ อจท.
11.1 จากภาพเป็นการงอกของเมล็ดที่มีลักษณะการงอกเป็นแบบใด
11.2 บริเวณ A B C และ D คือส่วนใดของพืช
156

T170
นํา สอน สรุป ประเมิน

12. ขาวเหนียว นํ้าและเนื้อมะพราว คือ เอนโด-


สเปรม สวนเนือ้ มะมวง คือ ผนังผลชัน้ กลาง
12. เด็กหญิง A รับประทานข้าวเหนียวมะม่วง และดืม่ น�า้ มะพร้าวทีม่ เี นือ้ มะพร้าวผสมอยู ่ อยากทราบ
12. 13. สภาพเมล็ดทีย่ งั คงมีชวี ติ แตไมสามารถงอก
ว่าเด็กหญิง A รับประทานส่วนใดของเมล็ดและผล เปนตนใหมได ชวยปองกันอันตรายจากปจจัย
13. สภาพพักตัวของเมล็ดคืออะไร มีประโยชน์อย่างไร
13. ภายในและปจจัยภายนอกทีม่ ผี ลตอการงอก
14. ปัจจัยใดที่มีผลต่อการพักตัวของเมล็ด ยกตัวอย่างวิธีแก้สภาพพักตัวของเมล็ดมาพอสังเขป
14. ของเมล็ดพันธุ
15. โกงกางเป็นพืชที่ไม่มีสภาพพักตัวของเมล็ด ลักษณะเช่นนี้ส่งผลดีต่อโกงกางอย่างไร
15. 14. ปจจัยภายใน ไดแก เปลือกหุม เมล็ด เอ็มบริโอ
เอนโดสเปรม และสารเคมีหรือฮอรโมนพืช
16. ถ้าคุณแม่ต้องการจะปลูกมะเขือเทศเอาไว้รับประทานเอง นักเรียนจะแนะน�าคุณแม่อย่างไร
16.
เพื่อให้คุณแม่สามารถปลูกมะเขือเทศได้ส�าเร็จ บางชนิด ตัวอยางวิธีแกไขสภาพพักตัวเมล็ด
เนือ่ งจากเปลือกหุม เมล็ด ทําไดโดยนําเมล็ดไป
17. ออกซิเจนและน�้ามีผลต่อการงอกของเมล็ดอย่างไร
17. แชนาํ้ ใหเปลือกเมล็ดออนนุม
18. จงยกตัวอย่างสารเคมีที่มีผลต่อการงอกของเมล็ดพืช
18. 15. ผลดีตอโกงกางจากการไมมีสภาพพักตัวของ
19. เพราะเหตุใด น�้าจึงไม่สามารถซึมเข้าไปในเมล็ดพืชบางชนิด
19. เมล็ด คือ ทําใหโกงกางมีโอกาสรอดชีวิตสูง
20. จากการศึกษาการงอกของเมล็ดถั่วเขียวจากแหล่งต่างกัน 3 แหล่ง แหล่งละ 100 เมล็ด
20. และแพรพันธุไดมากขึ้น เนื่องจากการที่เมล็ด
ได้ผลการงอก ดังตาราง ถ้านักเรียนเป็นเกษตรกรนักเรียนควรเลือกเมล็ดถั่วเขียวจากแหล่งใด ของโกงกางงอกตั้งแตอยูบนตน เมื่อฝกตกลง
มาเพาะปลูก เพราะอะไร มาปกลงบนดินเลน ก็จะไดโกงกางตนใหมได
เลย ถาเมล็ดโกงกางมีการพักตัวและไมงอก
ตารางที่ 3.3 : ผลการทดลองศึกษาการงอกของเมล็ดถั่วเขียวจากแหล่งเพาะต่างกัน 3 แหล่ง
ตั้งแตอยูบนตน โอกาสที่จะรอดชีวิตและแพร
ผลการงอกของเมล็ด
วันที่ พันธุจะนอยมาก เนื่องจากฝกของตนโกงกาง
แหล่งที่1 แหล่งที่2 แหล่งที่3 ลอยนํา้ ได จึงถูกนํา้ พัดพาไดงา ย ทําใหโอกาสที่
1 - - - จะเจริญเติบโตเปนตนบนดินเลนเปนไปไดยาก
2 - - 6 16. มะเขือเทศมีเมล็ดทีเ่ พาะยาก เนือ่ งจากผิวของ
เมล็ดมีสารทีย่ บั ยัง้ การงอกของเมล็ดเคลือบอยู
3 30 12 12
ชือ่ วา กรดแอบไซซิก (abscisic acid) ถาจะ
4 40 18 20 เพาะเมล็ดมะเขือเทศใหมโี อกาสงอกมากทีส่ ดุ
5 45 25 20 จะตองนําเมล็ดไปลางกอนเพื่อเอาสารเคมีที่
เคลือบผิวเมล็ดออกไป แลวผึ่งใหแหงกอนนํา
6 - 35 36
ไปเพาะ
7 - - -
17. ออกซิเจนชวยในกระบวนการสลายสารอาหาร
เพือ่ ใหพลังงานทีจ่ าํ เปนตอการงอกเมล็ด สวน
นํ้ามีสวนชวยทําใหเปลือกหุมเมล็ดออนตัวลง
และเปนตัวกระตุน ปฏิกริ ยิ าทางชีวเคมี กระตุน
การสืบพันธุ์ของพืชดอก 157 การสรางเอนไซม ชวยยอยสารอาหารทีส่ ะสมอยู
และการเจริญเติบโต
ภายในเมล็ด
18. กรดแอบไซซิก

19. เพราะเปลือกหุม เมล็ดบางชนิดแข็งและหนามาก เชน เมล็ดฟกขาว


20. จากสูตร ดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุจ ากแหลงที่ 1 = 10 40 45
3 + 4 + 5 = 22.3
ดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุจ ากแหลงที่ 2 = 12 18 25 35
3 + 4 + 5 + 6 = 19.3
ดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุจ ากแหลงที่ 3 = 62 + 12 20 20 36
3 + 4 + 5 + 6 = 22
ดังนัน้ ควรเลือกเมล็ดพันธุจ ากแหลงที่ 1 เพราะมีคา ดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุม ากทีส่ ดุ ซึง่ แสดงใหเห็นวา เมล็ดพันธุจ ากแหลงนีม้ คี วามแข็งแรงมากทีส่ ดุ

T171
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายบทบาทและ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
การตอบสนอง - หนังสือเรียนชีววิทยา หน้าที่ของออกซิน หาความรู้ ก่อนเรียน - ทกั ษะการจัดกลุม่ - ใฝ่เรียนรู้
ของพืชต่อ ม.5 เล่ม 1 ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน (5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการ - มุ่งมั่นใน
สารเคมี - แบบฝึกหัดชีววิทยา เอทิลนี และกรด Instruction - ตรวจแบบฝึกหัดจาก เปรียบเทียบ การท�ำงาน
ม.5 เล่ม 1 แอบไซซิกได้ (K) Model) Topic Question - ทกั ษะการจ�ำแนก
3 - ใบงาน 2. สามารถประยุกต์ใช้สาร - ตรวจใบงาน เรื่อง ประเภท
ชั่วโมง
- อุปกรณ์การทดลอง เคมีที่มีโครงสร้างคล้าย ฮอร์โมนพืช - ทกั ษะการส�ำรวจ
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ฮอร์โมนพืชเพือ่ ประโยชน์ - สังเกตการปฏิบัติการ
Twig ทางการเกษตรได้ (P) จากการทำ�กิจกรรม
- ภาพประกอบการสอน 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่และ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง
- QR Code งานที่ได้รับมอบหมาย สารควบคุมการเจริญ
- PowerPoint ประกอบ (A) เติบโตของพืช
การสอน - สังเกตการปฏิบัติการ
จากการทำ�กิจกรรม
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 2 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายเกี่ยวกับสิ่งเร้า แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการสังเกต - มีวินัย
ตอบสนอง - หนังสือเรียนชีววิทยา ภายนอกที่มีผลต่อ หาความรู้ หลังเรียน - ทกั ษะการระบุ - ใฝ่เรียนรู้
ของพืชต่อ ม.5 เล่ม 1 การเจริญเติบโตของพืช (5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการเปรียบ - มุ่งมั่นใน
สิ่งแวดล้อม - แบบฝึกหัดชีววิทยา ได้ (K) Instruction - ตรวจแบบฝึกหัดจาก เทียบ การท�ำงาน
ม.5 เล่ม 1 2. เปรียบเทียบผลการ Model) Topic Question - ทกั ษะการจ�ำแนก
2 - อุปกรณ์การทดลอง ทดลองเกี่ยวกับสิ่งเร้า - ตรวจแบบฝึกหัดประจำ� ประเภท
ชั่วโมง
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ภายนอกที่มีผลต่อการ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 - ทกั ษะการทดลอง
Twig เจริญเติบโตของพืชได้ - ประเมินชิ้นงาน เรื่อง
- ภาพประกอบการสอน (P) การตอบสนองของพืช
- QR Code 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตการปฏิบัติการ
- PowerPoint ประกอบ และงานที่ได้รับมอบ จากการทำ�กิจกรรม
การสอน หมาย (A) - สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T172
หนวยการเรียนรูที่ 4
การตอบสนองของพืชตอสารเคมี
สารเคมีที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช เปนสารอินทรีย์ที่ครอบคลุมทั้งฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ที่มีผลคล้ายฮอร์โมนพืช
ฮอร์โมนพืช เปนสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก โดยพืชสามารถผลิตได้จากบริเวณเนื้อเยื่อส่วนใดส่วนหนึ่ง แล้วลำาเลียงไปยังเนื้อเยื่อ
เปาหมาย ซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตและควบคุมกระบวนการทางสรีระวิทยาของพืชได้
ฮอร์โมน แหล่งที่สร้าง หน้าที่
ออกซิน ปลายยอดและใบอ่อน ควบคุมการยืดยาวของลำาต้น สนับสนุนการเจริญของราก ควบคุมการสร้าง
ผล
ไซโทไคนิน ราก ยับยั้งการพักตัวของเมล็ด ส่งเสริมการเจริญของตาข้าง เร่งการเจริญของ
ราก
จิบเบอเรลลิน ตายอด ใบอ่อน และเมล็ด กระตุ้นการแบ่งเซลล์และการขยายขนาดของเซลล์ทำาให้เซลล์ยาวขึ้น ชะลอ
การแก่ของเซลล์ กระตุ้นการเกิดดอก
กรดแอบไซซิก ทุกส่วน ยับยั้งการเจริญเติบโต สนับสนุนการปดปากใบในภาวะแห้งแล้ง สนับสนุน
การแก่ของใบ
เอทิลีน ทุกส่วน เร่งให้ผลสุกและการหลุดร่วงของใบ ยับยั้งการยืดยาวของลำาต้น และ
สนับสนุนการเจริญของราก

การตอบสนองของพืชตอสิ่งแวดล้อม
การเคลื่อนไหวของพืชที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก แบ่งออกเปน 2 ประเภท
• การเคลื่อนไหวแบบทรอปก เปนการเคลื่อนไหวของพืชที่มีทิศทางสัมพันธ์กับสิ่งเร้าภายนอก โดยพืชอาจเบนเข้าหรือเบนออกจาก
สิ่งเร้า เช่น แสง แรงโน้มถ่วง สารเคมี นำ้า การสัมผัส

แสง
แรงโน้มถ่วง

ปลายยอดเบน ปลายรากเบน พืชตอบสนอง


เข้าหาแสง เข้าหาแรงโน้มถ่วง ต่อการสัมผัส

• การเคลื่อนไหวแบบแนสติก เปนการเคลื่อนไหวของพืชที่มีทิศทางไม่สัมพันธ์กับสิ่งเร้าภายนอก เช่น การหุบและบานของดอกไม้


การหุบและกางใบของไมยราบ การเคลื่อนไหวของพืชที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายใน แบ่งออกเปน 2 ประเภท
- การเคลือ่ นไหวแบบส่ายหรือนิวเทชันมูฟเมนต์ เปนการเคลือ่ นไหวของพืชทีเ่ กิดเฉพาะส่วนยอดของพืช เนือ่ งจากเนือ้ เยือ่ ทัง้ สองด้าน
ของยอดเจริญไม่เท่ากัน ทำาให้ยอดพืชโยกไปมา
- การเคลื่อนไหวแบบบิดเปนเกลียว เปนการเคลื่อนไหวของพืชที่ปลายยอดพืชค่อย ๆ บิดเปนเกลียวขึ้นไปเมื่อพืชเจริญ เช่น การพัน
หลักของต้นมะลิวัลย์

T173
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา

การตอบสนอง
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูแจงผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ หนวยการเรียนรูที่
2. ครูใหนกั เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวย
การเรียนรูท ี่ 4
3. ครูใหนักเรียนรับชมวีดิทัศนเกี่ยวกับการตอบ
สนองตอสิ่งเรา เมื่อนักเรียนชมการตอบสนอง
ต อ สิ่ ง เร า ของพื ช แล ว ครู ถ ามคํ า ถาม Big
4
พืชมีการตอบสนองตอสิง
่ เราทีม
ของพืช
 อาจเป็นสารเคมีทพ
่ ากระตุน ี่ ชื สร้างขึน้ และสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
เช่น แสง แรงโน้มถ่วง ที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืช อย่างไรก็ตาม พืชสามารถรับรู้
Question กอนเริ่มบทเรียน และตอบสนองต่อสิง่ เร้าเหล่านีแ้ ละมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชอย่างไร นักเรียนจะได้ศกึ ษาต่อไป
4. ใหนักเรียนแตละคนบันทึกคําถาม Under-
standing Check ลงในสมุดบันทึกของตนเอง
แลวพิจารณาขอความตามความเขาใจของ • ÊÔè § àÃŒ Ò ÁÕ ¼ ŵ‹ Í ¡ÒÃà¨ÃÔ Þ àµÔ º ⵢͧ¾× ª
นักเรียนวาถูกหรือผิด Í‹ҧäÃ
• ¡Òõͺʹͧµ‹ Í ÊÔè § àÃŒ Ò ¢Í§¾× ª ÁÕ ¤ ÇÒÁ
ÊÓ¤ÑÞÍ‹ҧäÃ
• àÃÒÊÒÁÒö¹Ó¤ÇÒÁÃÙŒà¡ÕèÂǡѺ¡Òõͺ
ʹͧµ‹ Í ÊÔè § àÃŒ Ò ¢Í§¾× ª ÁÒ»ÃÐÂØ ¡ µ ã ªŒ ä ´Œ
Í‹ҧäÃ


U n de r s t a n d i ng
Che�
ให้นกั เรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิดแล้วบันทึกลงในสมุด
สารเคมีหรือฮอร์โมนที่พืชสร้างขึ้นจัดเป็นสารอินทรีย์
บริเวณปลายยอดพืชที่โค้งเข้าหาแสงมีออกซินสะสมอยู่เป็นจ�านวนมาก
เอทิลีนมีผลท�าให้ผลไม้สุกเร็วขึ้น
รากและยอดพืชมีทิศทางการเจริญตามแรงโน้มถ่วงของโลก
แสงมีอิทธิพลต่อการหุบและกางใบของต้นไมยราบ
แนวตอบ Understanding Check
1. ถูก 2. ถูก 3. ถูก
4. ผิด 5. ผิด

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


• สิง่ เราทีม่ ากระตุน พืชอาจเปนสารเคมี หรือสิง่ แวดลอม เมือ่ พืชตอบสนอง
กอนเริ่มเขาสูบทเรียน เรื่อง การตอบสนองของพืช ครูอาจทบทวนความรู
ตอสิง่ เราทีม่ ากระตุน บางชนิดจะชวยเรงการเจริญเติบโต บางชนิดมีผล
เดิมของนักเรียนดวยการถามคําถามนักเรียนวา นอกจากนํ้าหรือความชื้น แสง
ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช นอกจากนี้ พืชบางชนิดอาจมีการตอบ
อุณหภูมิ และธาตุอาหาร มีปจ จัยอืน่ อีกหรือไมทมี่ ผี ลตอการเจริญเติบโตของพืช
สนองตอสิ่งแวดลอมในทิศทางที่สัมพันธกับสิ่งเรา บางชนิดไมสัมพันธ
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปวา พืชมีการตอบสนอง
กับสิ่งเรา
ตอสิ่งเราเพื่อปรับตัวใหสามารถดํารงชีวิตอยูภายใตสภาพแวดลอมที่เหมาะสม
• สิง่ มีชวี ติ ทุกชนิดลวนตองมีการตอบสนองตอสิง่ เราทีม่ ากระตุน เพือ่ ดํารง
และไมเหมาะสมได
ชีวติ ใหอยูใ นสภาพแวดลอมได ตัวอยางเชน พืชจะโคงไปทางทีม่ คี วามเขม
ของแสงมากกวา เพื่อใหเพียงพอตอการสังเคราะหดวยแสง นอกจากนี้
พืชยังมีการตอบสนองตอสารเคมีหรือฮอรโมน เชน การปดปากใบ
เมื่อพืชอยูในสภาวะเครียด หรืออยูในสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม
• เพิ่มผลผลิต ยืดอายุผลผลิต นําไปประยุกตใชในเกษตรกรรม

T174
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
Prior Knowledge
สารเคมีทมี่ ผี ลตอการเจริญ 1. การตอบสนองของพืชต่อสารเคมี 1. ครูถามคําถาม Prior Knowledge
เติบโตของพืช 2. ใหนักเรียนศึกษาความหมายของคําวา สาร
สารเคมี ที่ พื ช ผลิ ต ขึ้ น เองตามส่ ว นต่ า ง ๆ ของพื ช
มีอะไรบาง
เป็นสิ่งเร้าภายในที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช มนุษย์จึง ควบคุมการเจริญเติบโตของพืชกับฮอรโมนพืช
ศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของสารเคมีเหล่านี้และสังเคราะห์สารเหล่านี้ขึ้นมาประยุกต์ใช้กับพืช ในหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เลม 1
เพื่อควบคุมการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต และยืดอายุของผลิต 3. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปนกลุมละ 5-6 คน
จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์หลายท่าน พบว่า การเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช ทํากิจกรรม เรื่อง การตอบสนองตอแสงของ
ตลอดจนสิง่ มีชวี ติ แทบทุกชนิด จ�าเป็นต้องอาศัยสารบางอย่างทีเ่ กีย่ วข้องกับการควบคุมการเจริญ ปลายโคลีออพไทล (coleoptile) ของพืช
เติบโตและพัฒนาการของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช (plant growth regulators; PGRs) เป็นสารประกอบ
อินทรีย์ที่ครอบคลุมทั้งฮอร์โมนพืชซึ่งเป็นสารที่พืชสามารถผลิตได้เอง และสารเคมีสังเคราะห์ที่มี
โครงสร้างและคุณสมบัตทิ างเคมีคล้ายกับฮอร์โมนพืช สารดังกล่าวจึงมีผลในการควบคุมการเจริญ
เติบโตและท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของพืช
ฮอร์โมนพืช (plant hormones หรือ phytohormones) เป็นสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก
โดยพืชสามารถผลิตได้เองบริเวณเนื้อเยื่อส่วนใดส่วนหนึ่งและล�าเลียงไปยังเนื้อเยื่อเปาหมายเพื่อ
ส่งสัญญาณ ซึ่งสามารถควบคุมกระบวนการทางสรีรวิทยาของพืชได้ เช่น การแสดงออกของ
สารพันธุกรรมในพืช กิจกรรมของเอนไซม์ ความเข้มข้นของประจุในไซโทพลาซึมภายใน 1
เซลล์เปาหมาย

B iology
Focus สารอินทรีย
สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลัก และมีธาตุอื่น ๆ เป็นองค์ประกอบร่วม เช่น
ธาตุ H, O, N, P เป็นต้น
ตัวอย่างสารอินทรีย์ฮอร์โมนพืช เช่น
H H O O H OH
O OH COOH C C OH
H H HO H COOH
NH
แอบไซซิก เอทิลีน ออกซิน จิบเบอเรลลิน
ภาพที่ 4.1 โครงสร้างทางเคมีของฮอร์โมนพืช
ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ฮอรโมนพืช
แนวตอบ Prior Knowledge

การตอบสนองของพืช 159
มีทั้งเรงการเจริญเติบโต เชน ทําใหเซลลยืด
ยาว มีขนาดเพิ่มขึ้น มีการแบงเซลลมากขึ้น และ
ยับยั้งการเจริญเติบโต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


สารเคมีในขอใดไมมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช 1 ไซโทพลาซึม เปนสวนของโพรโทพลาสซึมทีอ่ ยูน อกนิวเคลียส ซึง่ ประกอบ
1. กรดแอบไซซิก ดวยสวนทีเ่ ปนโครงสรางยอยๆ ภายในเซลล เรียกวา ออรแกเนลล และสวนทีเ่ ปน
2. กรดไฮโดรคลอริก ของกึ่งแข็งกึ่งเหลว เรียกวา ไซโทซอล บริเวณดานในของไซโทพลาซึม เรียกวา
3. กรดอินโดลบิวไทริก เอนโดพลาซึม และบริเวณดานนอกทีอ่ ยูถ ดั จากเยือ่ หุม เซลล เรียกวา เอกโทพลาซึม
4. กรดแนฟทาลีนแอซีติก ในเซลลพืชจะมีการไหลเวียนของไซโทพลาซึม เพื่อลําเลียงสารจากบริเวณหนึ่ง
5. กรดไตรคลอโรฟนอกซีแอซีติก ไปยังอีกบริเวณหนึ่ง เรียกวา ไซโคลซิส
(วิเคราะหคําตอบ สารเคมีทพี่ ชื สรางขึน้ ตามสวนตางๆ พืช ไดแก
กรดแอบไซซิก กรดอินโดลบิวไทริก และสารเคมีทมี่ นุษยสงั เคราะห
ขึน้ ซึง่ มีโครงสรางคลายกับสารเคมีทพี่ ชื สรางขึน้ เชน กรดแนฟทา-
ลีนแอซีตกิ กรดไตรคลอโรฟนอกซีแอซีตกิ โดยสารเคมีเหลานีม้ ผี ล
ตอการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T175
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
4. ใหสมาชิกภายในกลุมแบงภาระหนาที่รับผิด • การสังเกต
การตอบสนองตอแสงของปลายโคลีออพไทล
ชอบ โดยสมาชิกในกลุมมีบทบาทและหนาที่ (coleoptile) ของพืช
• การลงความเห็นจากข้อมูล
จิตวิทยาศาสตร์
ของตนเอง ดังนี้ • ความสนใจใฝรู้

- สมาชิกคนที่ 1 : ทํ า ห น  า ที่ เ ต รี ย ม วั ส ดุ จุดประสงค์ • ความรับผิดชอบ

อุปกรณ ศึกษาผลการตอบสนองต่อแสงของปลายโคลีออพไทล์ของพืช
- สมาชิกคนที่ 2 : ทํ า หน า ที่ อ  า นวิ ธี ก ารทํ า
กิจกรรม และนํามาอธิบายใหสมาชิกภายใน วัสดุอปุ กรณ์
กลุมฟง 1. เมล็ดข้าวโพด 4. กระดาษตะกั่วหรือกระดาษสีด�า
- สมาชิกคนที่ 3 และ 4 : ทําหนาที่บันทึกผล 2. กระบะเพาะเมล็ด 5. ภาชนะและวัสดุส�าหรับปลูก
3. กล่องกระดาษทึบ
การทํากิจกรรม
- สมาชิกคนที่ 5 และ 6 : ทําหนาทีน่ าํ เสนอผล วิธปี ฏิบตั ิ
ที่ไดจากการทํากิจกรรม
1. เพาะเมล็ดข้าวโพดในกระบะเพาะเมล็ดโดยเก็บไว้ในที่มืด 1-2 วัน จนเมล็ดข้าวโพดงอก มีโคลีออพไทล์
อธิบายความรู้ สูงประมาณ 2 เซนติเมตร แล้วน�ามาปลูกลงในภาชนะ จ�านวน 9 ต้น โดยแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น ดังนี้
กลุม่ ที ่ 1 ตัดปลายโคลีออพไทล์ออกประมาณ 0.5-1 เซนติเมตร (ก.) กล่องกระดาษ
1. ใหตัวแทนของแตละกลุมออกมานําเสนอผล กลุ่มที่ 2 น�ากระดาษตะกั่วหรือกระดาษสีด�าพับเป็นหมวกครอบ
จากการทํากิจกรรม ปลายโคลีออพไทล์ไว้ (ข.) ก. ข. ค. แสง
2. ครูถามคําถามทายกิจกรรม กลุ่มที่ 3 อยู่ในสภาพปกติ (ค.)
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา 2. เจาะรู บ ริ เ วณด้ า นหนึ่ ง ของกล่ อ งกระดาษทึ บ ให้ มี ข นาดเส้ น ผ่ า น
กิจกรรม ศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร และอยู่ในระดับเดียวกับปลายโคลีออพไทล์
ภาพที่ 4.2 การตอบสนองต่อแสง
ของข้าวโพด แล้วน�ากล่องมาครอบภาชนะในข้อที่ 1. ของปลายโคลีออพไทล์
3. ตั้งชุดการทดลองนี้ไว้ใกล้บริเวณหน้าต่าง ประมาณ 1 วัน ที่มา : คลังภาพ อจท.

?
ค�าถามท้ายกิจกรรม
1. การเจริญของต้นกล้าของข้าวโพดทั้ง 3 กลุ่ม เหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร
2. นักเรียนสรุปผลการทดลองนี้ว่าอย่างไร

แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม อภิปรายผลกิจกรรม

1. แตกตางกัน มีเพียงตนกลากลุม ที่ 3 (ค.) เทานัน้ จากกิจกรรม พบว่า ต้นกล้าของพืชจะโค้งงอเข้าหาแสงเฉพาะต้นกล้าที่มีส่วนปลายโคลีออพไทล์และ


ที่โคงเขาหาแสง ได้รับแสงเท่านั้น ถ้าไม่มีส่วนปลายโคลีออพไทล์อยู่ พืชจะไม่สามารถเจริญเติบโตและไม่โค้งงอเข้าหาแสง
2. พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยมีแนวการตอบ แสดงให้เห็นว่า ต้นกล้าที่ได้รับแสงจะมีอิทธิพล บางอย่างส่งผ่านจากส่วนยอดมายังส่วนล่างของโคลีออพไทล์
ท�าให้เกิดการโค้งงอเข้าหาแสง
คือ ปลายยอดที่ไดรับแสงจะสงผลใหลําตนพืช 160
เอนเขาหาแสง หากปลายยอดถูกตัดหรือไมได
รับแสงจะไมทําใหพืชเอนเขาหาแสง

บันทึก กิจกรรม
ขอสอบเนน การคิด
ปลายยอดออนของตนขาวโพดในกลุม ค. เทานัน้ จะโคงงอเขาหาแสง เนือ่ งจาก ขอใดเปนสาเหตุทําใหปลายโคลีออพไทลของพืชโคงงอ
ตนกลาในกลุม ค. ไดรับแสงและมีสวนปลายโคลีออพไทลซึ่งเปนแหลงผลิต 1. แสงทําใหเนื้อเยื่อบริเวณปลายยอดเจริญไมเทากัน
สารเคมีที่ตอบสนองตอแสงสวาง 2. แสงทําใหบริเวณปลายยอดสังเคราะหดวยแสงมากขึ้น
3. แสงทําใหเซลลบริเวณปลายยอดเตง เนื่องจากนํ้าเขาสู
เซลล
4. แสงทําใหเซลลบริเวณปลายยอดเหี่ยว เนื่องจากนํ้าระเหย
ออก
5. แสงทําใหบริเวณปลายยอดเกิดแรงดึงจากการคายนํ้าได
มากขึ้น
(วิเคราะหคําตอบ แสงมี ผ ลต อ การเคลื่ อ นที่ ข องออกซิ น ที่ อ ยู 
บริเวณปลายยอดพืช สงผลใหเนื้อเยื่อบริเวณปลายยอดเจริญ
ไมเทากัน โดยบริเวณที่มีออกซินมาก เนื้อเยื่อจะเจริญยืดยาว
มากกวา ทําใหปลายยอดโคงงอเขาหาแสง ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T176
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
ในปี พ.ศ. 2423 ชาลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin) และฟรานซิส ดาร์วิน (Francis Darwin) 1. กอนเขาสูบทเรียนครูอาจทบความรูเดิมหลัง
สังเกตเห็นส่วนยอดหรือโคลีออพไทล์ของพืชตระกูลหญ้าชนิดหนึ่ง (canary grass) เอนเข้าหาแสง ทํากิจกรรม เรื่อง การตอบสนองตอแสงของ
เสมอ จึงท�าการศึกษาโดยตัดส่วนปลายยอดอ่อนทิ้ง แล้วน�ากระดาษตะกั่วและกระดาษแก้วใส ปลายโคลีออพไทลของพืชวา แสงเปนสิ่งเรา
มาหุ้มส่วนปลายยอดไว้ และน�าโลหะทึบแสงมาหุ้มส่วนโคนต้นอ่อน ดังภาพ ที่ไปกระตุนสารบางอยางที่อยูบริเวณปลาย
ยอดพืช ทําใหปลายยอดของพืชโคงงอเขาหา
กล่องทึบแสง แสง
ตัดปลาย กระดาษ กระดาษ
ยอดออก ตะกั่ว แก้ว 2. ครูถามคําถามนักเรียนวา สารเคมีทมี่ ผี ลทําให
แสง ลําตนเอนเขาหาแสงไดนั้นคืออะไร โดยครูให
โลหะทึบแสง นักเรียนรวมกันสืบคนคําตอบจากหนังสือเรียน
ชีววิทยา ม.5 เลม 1

ภาพที่ 4.3 การทดลองของชาลส์ ดาร์วิน และฟรานซิส ดาร์วิน


ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากนั้นตั้งชุดทดลองนี้ไว้เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ซึ่งได้ผลการทดลอง ดังภาพ

กล่องทึบแสง
กระดาษ กระดาษ
ตะกั่ว แก้ว
แสง
โลหะทึบแสง

ภาพที่ 4.4 ผลการทดลองของชาลส์ ดาร์วิน และฟรานซิส ดาร์วิน


ที่มา : คลังภาพ อจท.
ชาลส์และฟรานซิสจึงสรุปว่า ส่วนปลายยอดอ่อนจะตอบสนองต่อแสงโดยการโค้งงอเข้าหา
แสง แล้วส่วนที่อยู่ถัดจากปลายสุดของยอดจะเจริญเติบโตได้โดยมีสัญญาณส่งผ่านจากปลายสุด
ของยอดลงมา ซึ่งเรียกสัญญาณนี้ว่า “ปัจจัยควบคุมการเจริญเติบโตของพืช” โดยถือได้ว่าเป็นการ
พบฮอร์โมนพืชเป็นครั้งแรก
การตอบสนองของพืช 161

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับสมบัติของออกซิน ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู เรื่อง สารบริเวณปลายยอดพืช
1. ชวยทําใหผลไมสุกเร็วขึ้น วา สารบริเวณปลายยอดพืช หรือที่นักวิทยาศาสตรตั้งชื่อวา ออกซิน สามารถ
2. เปนสารสังเคราะหที่มนุษยสรางขึ้น นํามาประยุกตใชกับการตัดแตงใหพืชเจริญเปนทรงพุมได โดยถาตองการให
3. ออกซินจะเคลื่อนที่ไปยังบริเวณที่มีแสง พืชแตกตาขางมากขึน้ จะตองตัดตายอดออกกอนทีบ่ ริเวณปลายยอดจะยืดยาวขึน้
4. ออกซินจากปลายยอดชวยยับยั้งการแตกตาขาง ซึ่งการตัดแตงลักษณะนี้เหมาะสําหรับพืชที่เราตองการใชประโยชนจากปลาย
5. ออกซินจากปลายยอดชวยสงเสริมการเจริญตาขาง ยอดพืช ไดแก โหระพา หรือพืชไมดอกทีต่ อ งการใหออกดอกเปนพุม เชน ดาวเรือง
(วิเคราะหคําตอบ ออกซินเปนฮอรโมนที่พืชผลิตขึ้น ออกซินที่
บริเวณปลายยอดชวยยับยัง้ การเจริญของตาขาง ทําหนาทีช่ ว ยเพิม่
ขนาดและขยายเซลลใหยืดยาวขึ้น ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T177
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูนําภาพการทดลองของชาลส ดารวินและ ในปี พ.ศ. 2456 ปีเตอร์ บอยเซน-เจนเซน (Peter Boysen-Jensen) นักพฤกษศาสตร์
ฟรานซิส ดารวิน ซึ่งเปนนักวิทยาศาสตรที่คน ชาวเดนมาร์ก ท�าการทดลองโดยตัดปลายยอดของต้นหญ้าออก แล้วน�าแผ่นวุน้ มาวางคัน่ ไว้ระหว่าง
พบฮอรโมนพืชเปนครั้งแรก มกา 1
ปลายยอดและส่วนยอดทีเ่ หลือ พบว่า ต้นอ่อนของหญ้าเจริญโค้งเข้าหาแสง แต่เมือ่ น�าแผ่นแร่ไมกา
ตัวอยางภาพ (mineral mica) มาวางแทนที่แผ่นวุ้น พบว่า ต้นอ่อนของหญ้าเจริญตั้งตรง จึงสรุปได้ว่า สัญญาณ
ที่ท�าให้ส่วนยอดเจริญโค้งงอเข้าหาแสงนั้นเป็นสารเคมีที่เคลื่อนที่ได้
แสง
แผ่นวุ้น แผ่นแร่ไมกา

สารเคมีเคลื่อนที่
ผ่านแผ่นวุ้นลงไป
2. ครูสมุ เรียกนักเรียน 2-3 คน ลุกขึน้ ตอบคําถาม
จากภาพ ดังนี้
ï• นักเรียนคิดวา พืชตนใดเอนเขาหาแสงบาง ภาพที่ 4.5 การทดลองของปีเตอร์ บอยเซน-เจนเซน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เพราะเหตุใด
(แนวตอบ พืชตนที่ 1 4 และ 5 เนื่องจาก ในปี พ.ศ. 2469 ฟริตส์ เวนต์ (Fritz Went) นักพฤกษศาสตร์ชาวเนเธอร์แลนด์ ได้ดัดแปลง
บริเวณปลายยอดพืชสามารถผลิตออกซิน เทคนิคการทดลองของบอยเซน-เจนเซน โดยตัดโคลีออพไทล์ของข้าวโอ๊ตมาวางบนก้อนวุ้นนาน
ได) 1-2 ชั่วโมง แล้วน�าก้อนวุ้นไปวางด้านใดด้านหนึ่งบนปลายโคลีออพไทล์ที่ถูกตัดออกไป ผลการ
•ï นักเรียนคิดวา พืชตนใดไมเอนเขาหาแสง ทดลองพบว่า ปลายโคลีออพไทล์นั้นโค้งงอได้ เวนต์จึงสรุปว่า มีการเคลื่อนย้ายของสารออก
บาง เพราะเหตุใด จากส่วนปลายโคลีออพไทล์ลงบนแผ่นวุ้น และเคลื่อนย้ายจากแผ่นวุ้นลงไปในยอดต้นอ่อนได้ ซึ่ง
(แนวตอบ พืชตนที่ 2 และ 3 เนือ่ งจากบริเวณ ต้นอ่อนทีไ่ ด้รบั สารเคมีตวั นีจ้ ะเติบโตมากกว่าด้านทีไ่ ม่ได้รบั สาร จึงท�าให้ยอดโค้งงอไปด้านตรงกัน
ปลายยอดพืชไมสามารถผลิตออกซินได) ข้ามกับด้านทีไ่ ด้รบั สารตัวนี ้ ในท�านองเดียวกันต้นทีโ่ ดนแสงด้านหนึง่ ปลายยอดจะโค้งงอเข้าหาแสง
ï• นักเรียนคิดวา ภาพการทดลองของชาลส แสดงว่าด้านที่ไม่โดนแสงต้องมีสารเคมีตัวนี้ไปกระตุ้นให้เติบโตมากกว่า จึงตั้งชื่อสารเคมี
ดารวินและฟรานซิส ดารวิน สอดคลองกับ ชนิดนี้ว่า ออกซิน (auxin)
กิจกรรม เรื่อง การตอบสนองตอแสงของ แสง 1-2 ชั่วโมง
ปลายโคลีออพไทลของพืชหรือไม อยางไร
(แนวตอบ สอดคลองกัน ซึ่งสารเคมีที่อยู แผ่นวุ้น
บริเวณปลายโคลีออพไทลจะตอบสนองตอ
แสงทําใหสวนยอดโคงเขาหาแสง หากพืช
ไมมีปลายยอด หรือบริเวณปลายยอดไมได
รับแสง ปลายยอดของพืชจะไมโคงงอเขาหา ภาพที่ 4.6 การทดลองของฟริตส์ เวนต์
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แสง) 162

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 แรไมกา เปนแรที่ประกอบดวยหินสําคัญตัวหนึ่ง พบในหินอัคนีจําพวกหิน ถานํารากพืชที่กําลังงอกจุมลงในสารละลายออกซินเขมขน
แกรนิต หินไซอีไนต หินเพกมาไทต นอกจากนี้ ยังพบในหินแปร เชน หินไนส ทิ้งไวระยะหนึ่งจะเปนอยางไร
หินชีสต โดยจะพบแรเปนเสนใยขนาดเล็ก มีความวาว ใชทาํ ฉนวนไฟฟา ทําวัตถุ 1. รากเนาและตาย
โปรงใส 2. รากหยุดการเจริญ
3. รากงอกออกมามากขึ้น
4. รากเจริญยืดยาวออกมากกวาปกติ
5. รากแตกแขนงเปนรากฝอยมากขึ้น
(วิเคราะหคาํ ตอบ ออกซินทําหนาที่เพิ่มความยาวและชวยขยาย
ขนาดของเซลลพชื ดังนัน้ ตอบขอ 4.)

T178
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ด้านที่มีออกซินน้อย ต่อมามีนกั วิทยาศาสตร์อธิบายว่า ทีป่ ลายสุดของยอดอ่อน 3. ครูนําภาพการทดลองของปเตอร บอยเซน-
(ด้านที่รับแสงมาก)
จะสร้างและปล่อยออกซินออกมาในปริมาณทีเ่ ท่ากันจากบริเวณ เจนเซน นักพฤกษศาสตรชาวเดนมารกมาให
ยอดแรกเกิดหรือพลูมูล (plumule) ไม่ว่าจะมีแสงหรือไม่มีแสง นักเรียนเห็นภาพชัดขึ้น
ก็ตาม แต่เมื่อมีแสงออกซินจะแพร่หนีจากด้านที่โดนแสงไป ตัวอยางภาพ
แสง อยู่ด้านที่ไม่โดนแสง และไปกระตุ้นให้เซลล์บริเวณนั้นขยายตัว
ด้านที่มี
ออกซินมาก ตามแนวยาว ส่วนด้านที่โดนแสง การเติบโตของเซลล์จะลดลง
(ด้านที่รับ เนื่องจากปริมาณของออกซินมีน้อย ซึ่งการตอบสนองต่อแสงที่
แสงน้อย)
ไม่เท่ากันนี ้ จะพบเสมอในพืชทีป่ ลูกในทีร่ ม่ ซึง่ จะโค้งไปทางด้าน
ภาพที่ 4.7 ความเข้มข้นของออกซิน ที่มีแสงอยู่
ต่อการโค้งงอของโคลีออพไทล์พืช
ที่มา : คลังภาพ อจท.
4. ครูถามนักเรียนวา ถาครูนําแผนวุนไปวางไว
B iology ยอดพืช B ของภาพการทดลองของชาลส ดารวนิ
Focus การเพิ่มความยาวและการขยายขนาดของเซลลพืช
และฟรานซิส ดารวิน ยอดพืช B จะเอนเขา
เมื่อมีสารควบคุมการเจริญเติบโต คือ ออกซิน สามารถจับกับตัวรับภายในเซลล์ ซึ่งจะมีผลไป
หาแสงหรือไม เพราะเหตุใด
กระตุ้นโปรตีนส่งผ่านสารให้ขับไฮโดรเจนไอออน (H+) ออกจากไซโทพลาซึมไปยังผนังเซลล์ส่งผลให้
ผนังเซลล์มีสภาพเป็นกรด และมีความยืดหยุ่นมากขึ้น (cell plasticity and elasticity) ซึ่งในสภาวะ (แนวตอบ ไมโคงงอ เนื่องจากสารที่ผลิตจาก
ที่มีความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออนสูงจะกระตุ้นการท�างานของโปรตีนเอกซ์แพนซิน (expansins) บริเวณปลายยอดไมสามารถเคลื่อนที่ได)
ที่อยู่ในผนังเซลล์พืช ส่งผลต่อการจัดเรียงตัวของเซลลูโลส ท�าให้น�้าสามารถแพร่เข้าสู่ภายในเซลล์ได้ 5. ครูใหนักเรียนศึกษากลไกการเอนเขาหาแสง
มากขึ้น เซลล์จึงมีขนาดยาวและใหญ่ขึ้น ของปลายยอดพื ช จาก QR Code เรื่ อ ง
ออกซินกระตุ้นโปรตีนส่งผ่านสาร การโคงงอของโคลีออพไทลพืช แลวบันทึก
น�้า
ผนังเซลล์ ขอมูลลงในสมุดบันทึกของตนเอง
ผนังเซลล์
กระตุ้น
เยื่อหุ้มเซลล์
ไซโทพลาซึม
เอกซ์แพนซิน

โมเลกุลของเซลลูโลส
ภาพที่ 4.8 กลไกการเพิ่มความยาวและการขยายขนาดของเซลล์พืช
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การโคงงอของโคลีออพไทลพชื 163

กิจกรรม สรางเสริม สื่อ Digital


ให นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ฮอร โ มนออกซิ น จากสื่ อ ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตอบสนองตอสารเคมี จาก QR
วีดิโอ Youtube เรื่อง ออกซิน (https://www.youtube.com/ Code เรื่อง การโคงงอของโคลีออพไทลพืช
watch?time_continue=466&v=wIgtMdDNgl0) แลวใหนกั เรียน
สรุปขอมูลลงในกระดาษ A4 ตกแตงใหสวยงาม พรอมนําเสนอ
หนาชั้นเรียน

กิจกรรม ทาทาย
ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 6 คน ปลูกตนไม 1 ตน จากนัน้
ออกแบบการทดลองเพือ่ พิสจู นทฤษฎีในบทเรียนวา ออกซินทีผ่ ลิต
ขึน้ จากตายอดมีผลไปยังยัง้ การเจริญของตาขางจริงหรือไม โดยให
นักเรียนออกแบบตารางบันทึกผล กําหนดตัวแปรตน ตัวแปรตาม
และตัวแปรควบคุม จากนัน้ ใหตวั แทนกลุม ออกมานําเสนอผลการ
ทดลอง
T179
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูเกริน่ นําวา นอกจากออกซินแลว ยังมีฮอรโมน จากการศึกษาต่อมาพบว่า สารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้นในปริมาณเล็กน้อยและล�าเลียงไปยัง
ชนิดอื่นที่สงผลตอการเจริญของพืช เนื้อเยื่อต�าแหน่งต่าง ๆ ของพืช สามารถควบคุมการเจริญเติบโตของพืชได้ เรียกว่า ฮอร์โมนพืช
2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ใหแตละ (plant hormone) แบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 5 กลุ่ม ได้แก่ ออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน
กลุมสงตัวแทนกลุมออกมาจับสลากหมายเลข เอทิลีน และกรดแอบไซซิก
ซึ่งแตละหมายเลขใหศึกษาฮอรโมนพืช ดังนี้ 1.1 ออกซิน
- หมายเลข 1 ศึกษาออกซิน
ออกซิน (auxins) เป็นฮอร์โมนพืชที่สร้างจากเนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissue) บริเวณ
- หมายเลข 2 ศึกษาไซโทไคนิน ปลายยอดอ่อนของต้นกล้าและใบอ่อน แล้วแพร่กระจายจากยอดผ่านมัดท่อล�าเลียง (vascular bundle)
- หมายเลข 3 ศึกษาจิบเบอเรลลิน ไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช ออกซินแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ออกซินธรรมชาติและออกซิน
- หมายเลข 4 ศึกษาเอทิลีน สังเคราะห์
- หมายเลข 5 ศึกษากรดแอบไซซิก ออกซินในธรรมชาติ (natural auxin) ได้แก่ กรดอินโดลแอซีตกิ (indole-3-acetic acid; IAA)
มีบทบาทและมีความส�าคัญมากที่สุด โดยสังเคราะห์จากกรดอะมิโนทริปโตเฟน (tryptophan) และ
กรดอินโดลบิวไทริก (indole-3-butyric acid; IBA)
ออกซินสังเคราะห์ (synthetic auxin) เป็นสารที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้นมาเพื่อใช้ในทางการ
เกษตร ได้แก่ กรดแนฟทาลีนแอซีติก (naphthaleneacetic acid; NAA) กรด 2,4-ไดคลอโร-
ฟีนอกซีแอซีติก (2,4-dicholophenoxyacetic acid; 2,4-D) และกรดไตรคลอโรฟีนอกซีแอซีติก
(2,4,5-Trichlorophenoxy acetic acid; 2,4,5-T)
ออกซินมีบทบาทส�าคัญด้านการเพิ่มขนาดของเซลล์ (cell enlargement) และการเพิ่มความ
ยาวของเซลล์ (cell elongation) เกี่ยวข้องกับการเจริญของล�าต้นและราก การขยายขนาดของ
ใบและผล การออกดอก การติดผล ชะลอการหลุดร่วงของใบ ดอก และผล ตลอดจนควบคุม
การเจริญของตาข้าง (lateral bud)
ตายอด (apical bud) เป็นแหล่งส�าคัญในการสร้างออกซิน แล้วล�าเลียงลงสู่ส่วนล่างของพืช
ซึ่งมีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของตาข้างและใบด้านข้าง
ตายอด ชิ้นวุ้นที่มีออกซิน

ตาข้าง

ต้นพืชที่เจริญปกติ ต้นพืชที่ตัดยอดออก ตาข้างเจริญดี ต้นที่ตัดยอดออก แล้วน�าวุ้นที่มีออกซินมาวาง


ภาพที่ 4.9 อิทธิพลของออกซินต่อการเจริญของตาข้าง
164
ที่มา : คลังภาพ อจท.

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมวา สารเคมีที่ใชกําจัดวัชพืชหลายชนิดมีสมบัติเปน ถาตองการใหกงิ่ ไมทตี่ ดั มามีรากเจริญออกมาอยางรวดเร็ว เพือ่
ฮอรโมนพืชในกลุมออกซิน ถาใชในปริมาณที่มีความเขมขนสูง จะมีผลไปยับยั้ง นําไปปกชํา ควรนํากิ่งไมดังกลาวจุมในฮอรโมนชนิดใด
การเจริญเติบโตของพืช ดังนั้น มนุษยจึงสังเคราะหฮอรโมนออกซิน เชน 2, 4-D 1. เอทิลีน
4-CPA มาใชเปนยากําจัดวัชพืช 2. ออกซิน
3. ไซโทไคนิน
4. จิบเบอเรลลิน
5. กรดแอบไซซิก
(วิเคราะหคําตอบ ออกซิ น ช ว ยส ง เสริ ม การเกิ ด รากและช ว ย
พัฒนารากในระยะแรก ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T180
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
ออกซินในปริมาณที่เหมาะสมจะกระตุ้นให้เนื้อเยื่อพืชขยายขนาดและช่วยให้เกิดรากได้เร็ว 3. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน โดย
และมากขึ้น แต่หากความเข้มข้นสูงเกินไปจะยับยั้งการเจริญเติบโตของราก นอกจากนี้ออกซิน สมาชิกตองมาจากกลุม เดิมทีอ่ ยูก ลุม หมายเลข
ยังส่งเสริมการเกิดรากและการพัฒนาในระยะแรกของราก แต่จะยับยั้งการยืดตัวของราก ดังนั้น 1 2 3 4 และ 5
ในระยะหลังของการเกิดรากจึงต้องการออกซินในปริมาณต�่า 4. ใหสมาชิกภายในกลุมแลกเปลี่ยนความรูเกี่ยว
กับฮอรโมนพืชตางๆ
5. ครู แ จกใบงาน เรื่ อ ง ฮอร โ มนพื ช แล ว ให
นักเรียนแตละกลุมลงมือทําใบงาน

ชุดควบคุม ความเข้มข้นของออกซินต�่า ความเข้มข้นของออกซินสูง


ภาพที่ 4.10 อิทธิพลของออกซินต่อการเกิดราก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากการศึกษาความเข้มข้นของออกซินต่อการเจริญเติบโตของราก ตา และล�าต้น โดยปกติ


ออกซินสามารถเร่งการเจริญเติบโตได้ทุกส่วนของพืช ซึ่งในแต่ละส่วนของพืชจะต้องการปริมาณ
ของออกซินที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตที่แตกต่างกัน
200
เปอร์เซ็นต์การเจริญเติบโต

100
ล�าต้น

0
ราก
ตา

-100
10-6 10-5 10-4 10-3 10-2 10-1 1 10 100 1,000
ความเข้มข้นของออกซิน (ppm)
ภาพที่ 4.11 ความเข้มข้นของออกซินในระดับต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตในราก ตา และล�าต้น
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ในการเร่งการเจริญเติบโตของพืชนั้น อวัยวะแต่ละส่วนของพืชจะตอบสนองต่อออกซิน
ทีม่ ปี ริมาณแตกต่างกัน โดยทัว่ ไปความเข้มข้นของออกซินทีเ่ หมาะสมต่อการเจริญเติบโตของล�าต้น
จะสูงกว่าความเข้มข้นที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของตาและราก ตามล�าดับ
การตอบสนองของพืช 165

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดคือลําดับการตอบสนองของเนื้อเยื่อพืชตอความเขมขน ครูใหนกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับฮอรโมนพืช จาก Youtube เรือ่ ง ออกซิน
ของออกซินจากสูงไปตํ่า (https://www.youtube.com/watch?time_continue=466&v=wIgtMdDNgl0)
1. ราก ลําตน ตา
2. ตา ลําตน ราก
3. ราก ตา ลําตน
4. ลําตน ตา ราก
5. ลําตน ราก ตา
(วิเคราะหคําตอบ ออกซินที่ความเขมขนจากสูงไปตํ่าจะเหมาะ
สมตอการเจริญของลําตน ตา และราก ตามลําดับ ดังนั้น ตอบ
ขอ 4.)

T181
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ใหตัวแทนแตละกลุมออกมานําเสนอขอมูลที่ ความเข้มข้นของออกซินที่ควบคุมการเจริญเติบโตของ H. O. T. S.
กลุม ตนเองไดรบั สวนนักเรียนคนอืน่ ๆ ใหบนั ทึก ล�าต้น ตา และราก โดยทัว่ ไปจะอยูใ่ นช่วง 10-4 - 10-5, 10-8 - 10-9, คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
ขอมูลการนําเสนอลงในสมุดบันทึกของตนเอง และ 10-10 - 10-11 โมลาร์ ตามล�าดับ ซึ่งหากความเข้มข้นสูง ในการเพาะเลี้ยง
เซลล์
เนือ้ เยืเยือ่ อ่ บุบนอาหาร
ขา้ งแก้ม
2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา เกินไปจะท�าให้เกิดการยับยั้งการเจริญเติบโต
ใบงานวา ฮอรโมนพืชเปนสารเคมีชนิดหนึ่งที่ อย่ า งไรก็ ต าม พื ช จะมี ก ลไกควบคุ ม ปริ ม าณออกซิ น แข็งของพืชชนิด
หนึง่ เพือ่ ให้ได้ตน้ อ่อนทีแ่ ข็งแรง
มีผลตอการเจริญเติบโตของพืช มีทั้งเรงการ เพราะหากมีปริมาณมากเกินไปจะเกิดผลเสียต่อพืชได้ นอกจากนี้ และปราศจากโรคก่อนน�าไปปลูก
เจริญเติบโตและยับยั้งการเจริญเติบโต ดังนั้น การท�างานของออกซินยังขึ้นอยู่กับสิ่งกระตุ้นภายนอก เช่น ลงดิน ควรให้ปริมาณออกซินแก่
มนุ ษ ย จึ ง เล็ ง เห็ น ประโยชน ข องฮอร โ มนพื ช แสงสว่าง แรงโน้มถ่วง รวมถึงสิง่ สัมผัสต่าง ๆ แคลลัสปริมาณเท่าใดบ้าง เพราะ
เหลานี้ จึงสังเคราะหสารเคมีที่มีโครงสราง เหตุใด
คลายกับฮอรโมนพืช เพื่อนําไปใชประโยชน 1.2 ไซโทไคนิน
ทางการเกษตร เชน NAA แทนออกซิน BAP ไซโทไคนิน (cytokinins) เป็นฮอร์โมนพืชทีก่ ระตุน้ การแบ่งเซลล์ การเปลีย่ นแปลงรูปร่างของ
แทนไซโทไคนิน เซลล์ และเกีย่ วข้องกับกระบวนการทางสรีรวิทยาอีกมากมาย แหล่งสร้างหลักอยูท่ บี่ ริเวณเนือ้ เยือ่
เจริญปลายราก ซึง่ เป็นสารซิเอทิน (zeatin) และสามารถเคลือ่ นย้ายไปยังใบ ล�าต้น และส่วนต่าง ๆ
ของพืชโดยผ่านทางไซเล็ม (xylem) อีกทัง้ ยังพบมากตามส่วนต่าง ๆ ของพืชทีม่ กี ารแบ่งเซลล์หรือ
2
การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เช่น ในเอนโดสเปร์มเหลว (liquid endosperm) แคมเบียม (cambium)
แคลลัส (callus) ส่วนสารสังเคราะห์ในกลุ่มไซโทไคนิน ได้แก่ ไคเนติน 1(kinetin) และ BAP
(6-Benzylaminopurine)
นอกจากนี้ ไซโทไคนินยังมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชในด้านอื่น ๆ ดังนี้
1. ยับยั้งการพักตัวของเมล็ด และช่วยปองกันไม่ให้เซลล์เข้าสู่ภาวะแก่ตัว (senescence)
จึงใช้เพื่อชะลอความแก่ของพืช ผัก ดอกไม้ และผลไม้ Biology
2. ส่งเสริมการเจริญเติบโตของตาข้าง และท�าให้เมล็ด in real life
งอกได้เร็วขึ้น ปัจจุบันไซโทไคนินเป็นสารที่
3. ควบคุมการเปดปดของปากใบ โดยในพืชทัว่ ไปปากใบ สามารถหาซือ้ ได้ตามท้องตลาด
แต่ ถ ้ า หากต้ อ งการลดต้ น ทุ น
จะเปดเมื่อมีแสง และปดเมื่อไม่มีแสง แต่ไซโทไคนินมีผลท�าให้ สามารถผลิตหัวเชื้อไซโทไคนิน
ปากใบเปดในที่ไม่มีแสงได้ ได้เองจากหัวไชเท้า โดยคั้นน�้า
4. ส่งเสริมการสร้างโปรตีนในพืช โดยไซโทไคนินสามารถ จากหั ว ไชเท้ า ประมาณ 100
ดึงกรดอะมิโนชนิดต่าง ๆ มาสังเคราะห์โปรตีน และสร้าง RNA ซี ซี ผสมกั บ กลู โ คสผง 100
แนวตอบ H.O.T.S. และ DNA กรัม จากนั้นท�าให้เจือจางด้วย
5. เร่งการเจริญของรากในต้นพืชที่เติบโตจากการเพาะ น�้าเปล่า ในอัตราส่วน 100 ซีซี
ควรให ใ นปริ ม าณที่ เ หมาะสมเป น สั ด ส ว นกั บ ต่อน�้า 10 ลิตร
ไซโทไคนิน หากตองการกระตุน แคลลัสใหเจริญเปน เลี้ยงเนื้อเยื่อ และเร่งการเจริญของตาของพืชบางชนิด
ยอดควรใชปริมาณออกซินนอยกวาไซโทไคนิน และ 166
หากตองการกระตุน แคลลัสใหเจริญเปนรากควรใช
ปริมาณออกซินมากกวาไซโทไคนิน

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ไคเนติน เปนฮอรโมนพืชที่ชวยเรงการแตกตา ดอก และกิ่ง ชวยกระตุน ขอใดเปนฮอรโมนพืชที่ใชในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เพื่อกระตุน
การดูดซึมสารอาหารและธาตุอาหารตางๆ ในดิน สามารถยืดอายุดอกไมให ใหเกิดแคลลัสและราก
สดอยูไดนานขึ้น ซึ่งการใชฮอรโมนชนิดนี้จะตองใชในปริมาณที่เหมาะสม เชน 1. เอทิลีน
ความเขมขน 20 PPM สําหรับกระตุนการงอกของเมล็ด 2. ออกซิน
2 แคมเบียม เปนกลุม เซลลในลําตนพืชทีม่ กี ารแบงเซลลอยูต ลอดเวลา เรียง 3. ไซโทไคนิน
ตัวอยู 2 บริเวณ คือ อยูในชั้นของเปลือกไม ทําใหเปลือกไมหนาขึ้น และสวนที่ 4. จิบเบอเรลลิน
เรียงตัวอยูระหวางโฟลเอ็มกับไซเล็มจะทําใหเนื้อเยื่อทั้ง 2 ชนิดเพิ่มมากขึ้น 5. กรดแอบไซซิก
(วิเคราะหคําตอบ ไซโทไคนินเปนฮอรโมนพืชที่ชวยกระตุนการ
แบงเซลล นิยมนํามาใชเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T182
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ปัจจุบันมีสารในกลุ่มไซโทไคนินถูกน�ามาใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อโดยใช้ร่วมกับออกซิน 3. ใหนกั เรียนเปรียบเทียบลักษณะตนขาวทีไ่ ดรบั
ในสัดส่วนที่พอเหมาะ เพื่อกระตุ้นเนื้อเยื่อพืชให้แบ่งตัวอย่างรวดเร็วเกิดเป็นกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า และไมไดรบั จิบเบอเรลลิน จากภาพในหนังสือ
แคลลัส (callus) ซึ่งจะเจริญพัฒนาไปจนเป็นต้นอ่อนที่ประกอบด้วย ต้น ใบ และราก ซึ่งสามารถ เรียน ชีววิทยา ม.5 เลม 1
เจริญต่อไปจนกระทั่งได้พืชที่สมบูรณ์ 4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย เพื่อใหได
ไม่มีการเจริญ เกิดแคลลัส เกิดยอด เกิดราก ขอสรุปวา จิบเบอเรลลินเปนฮอรโมนพืชที่
มีผลไปกระตุนการแบงเซลลและการขยาย
ขนาดของเซลลใหยืดยาวขึ้น นอกจากนี้ ยัง
ชวยกระตุนการงอกของเมล็ด โดยใหนักเรียน
ศึกษากลไกการงอกของเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ออกซิน 0 mg/l 2 mg/l 0.02 mg/l 2 mg/l ใน Biology Focus แลวอภิปรายรวมกันวา
ไซโทไคนิน 0.2 mg/l 0.2 mg/l 1 mg/l 0.02 mg/l
จิบเบอเรลลินมีสวนเกี่ยวของกับการงอกของ
ภาพที่ 4.12 ความเข้มข้นของออกซินและไซโทไคนินที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเนื้อเยื่อพืช
ที่มา : คลังภาพ อจท. เมล็ดพืชอยางไร

1.3 จิบเบอเรลลิน
จิบเบอเรลลิน (gibberellin) ถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุน ซึ่งศึกษาโรคข้าวชนิด
หนึ่งที่เกิดจากรา Gibberella fujikuroi โดยราชนิดนี้สร้างสารที่มีผลเร่งการยืดยาวของล�าต้น
ท�าให้ตน้ พืชสูงมากกว่าปกติ และอ่อนแอ ซึง่ ท�าให้ตน้ พืชล้มและตาย ต่อมาได้มกี ารแยกสารนีอ้ อก
มาจากราในรูปสารบริสุทธิ์และเรียกสารนี้ว่า จิบเบอเรลลิน
จิบเบอเรลลิน เป็นชื่อที่ใช้เรียกทั่ว ๆ ไป
ของกลุ่มสารประเภทนี้ ปัจจุบันถูกค้นพบแล้ว
ไม่น้อยกว่า 80 ชนิด และที่รู้จักโดยทั่วไป คือ
กรดจิบเบอเรลลิก (GA3) เป็นชนิดที่พบมาก
และได้รับความสนใจมากกว่าชนิดอื่น ๆ
แหล่ ง สร้ า งจิ บ เบอเรลลิ น มี ไ ด้ ห ลาย
บริเวณ เช่น พบในเมล็ดขณะที่พัฒนาปลาย
ต้นข้าวที่ไม่ได้รับจิบเบอเรลลิน ต้นข้าวที่ได้รับจิบเบอเรลลิน ยอด ปลายรากอับเรณู ผล
ภาพที่ 4.13 การทดลองจิบเบอเรลลินในต้นข้าว
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การตอบสนองของพืช 167

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับฮอรโมนพืชและการแสดงผล ครูอาจสรุปเพิ่มเติมวา ในปจจุบันการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อนิยมใชฮอรโมน
1. เอทิลีน-เรงการสุกของผลไม ออกซินรวมกับไซโทไคนิน โดยถาใชความเขมขนของออกซินสูงกวาไซโทไคนิน
2. ไซโทไคนิน-สงเสริมการเจริญของตาขาง จะชักนําใหเกิดราก แตถา ใชฮอรโมนออกซินเขมขนตํา่ กวาไซโทไคนินจะชักนําให
3. ออกซิน-ขยายขนาดของเซลลใหยืดยาวขึ้น เกิดลําตน นอกจากนี้ ไซโทไคนินเปนฮอรโมนทีพ่ ชื สรางขึน้ มาเพือ่ ใชในการเจริญ
4. จิบเบอเรลลิน-ยับยั้งการแบงเซลลและกระตุนใหเกิดราก เติบโตรวมกับฮอรโมนอื่น พบไดในเอนโดสเปรมของพืชบางชนิด เชน ขาวโพด
5. แอบไซซิก-ทําใหปากใบปด เมือ่ พืชอยูใ นสภาวะไมเหมาะสม นํ้ามะพราว
(วิเคราะหคําตอบ จิบเบอเรลลินชวยกระตุนการแบงเซลลและ
ขยายขนาดของเซลลใหเซลลยดื ยาวขึน้ ชวยสงเสริมการงอกของตา
และยับยั้งการงอกของราก ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T183
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
5. ครูอธิบายตอไปวา นอกจากนี้ จิบเบอเรลลินยัง ผลของจิบเบอเรลลินที่มีต่อการเจริญเติบโตของพืช มีดังนี้
ชวยกระตุนการงอกของเมล็ด โดยใหนักเรียน 1. กระตุ้นการแบ่งเซลล์และการขยายขนาดของเซลล์
ศึกษากลไกการงอกของเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ท�าให้เซลล์ยาวขึ้น
ใน Biology Focus แลวอภิปรายรวมกันวา 2. กระตุ้นการงอกของเมล็ดและการติดผล
จิบเบอเรลลินมีสวนเกี่ยวของกับการงอกของ 3. กระตุ้นให้ช่อองุ่นโปร่ง ท�าให้ผลองุ่นมีขนาดใหญ่ขึ้น
เมล็ดพืชอยางไร และท�าให้องุ่นบางพันธุ์ไม่มีเมล็ด
(แนวตอบ ทําใหเนื้อเยื่อที่อยูระหวางชั้นเปลือก 4. ช่วยเปลีย่ นดอกเพศผูเ้ ป็นดอกเพศเมียในพืชตระกูลแตง
ภาพที่ 4.14 จิบเบอเรลลินช่วย
หุมเมล็ดและเอนโดสเปรมสรางเอนไซมอะ- 5. ชะลอการแก่ของเซลล์ (senescence) ในใบพืช กระตุน้ ให้ชอ่ องุน่ โปร่ง ท�าให้ผลองุน่
ไมเลส ชวยยอยแปงใหเปนนํ้าตาลเพื่อเปน 6. ส่งเสริมการงอกของตาและยับยั้งการงอกของราก มีขนาดใหญ่ขึ้น
อาหารของเอ็มบริโอ และชวยทําใหเยื่อหุม 7. ช่วยท�าให้พชื บางชนิดเกิดการพัฒนาของผลแบบไม่มี 1 ที่มา : คลังภาพ อจท.
เมล็ดแตกออก ทําใหตนออนงอกออกจาก เมล็ด (1parthenocarpic fruit) เช่น มะเขือเทศ ส้ม
เมล็ด) 8. กระตุ้นการเกิดดอกโดยจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความยาวของวันที่จ�าเป็นต่อการ
ออกดอกในพืชบางชนิด และทดแทนความหนาวเย็นเพื่อกระตุ้นการออกดอกในพืชที่ต้องการ
อุณหภูมิต�่า (vernalization)
B iology
Focus การงอกของเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
เมื่อเมล็ดได้รับน�้าและเริ่มงอก เอ็มบริโอจะสร้างจิบเบอเรลลินออกมา ท�าให้ชั้นเนื้อเยื่อ
ที่อยู่ระหว่างเปลือกหุ้มเมล็ด (seed coat) และเอนโดเสปร์ม (endosperm) สร้างเอนไซม์ไฮโดรไลทิก
(hydrolytic enzymes) ออกมา เช่น อะไมเลส (amylase) ซึ่งจะย่อยแปงของเอนโดสเปร์มให้เป็น
น�้าตาลส�าหรับการเติบโตของเอ็มบริโอและเอนไซม์เหล่านี้จะท�าให้เยื่อหุ้มเมล็ดแตกออก ช่วยให้ส่วน
ปลายรากแรกเกิด (radicle) และปลายหุ้มยอดแรกเกิดหรือโคลีออพไทล์ (coleoptile) งอกออกมา
นอกเยื่อหุ้มเมล็ด

เอนโดสเปร์ม
GA
α-amylase น�้าตาล

น�้าตาล
GA
ใบเลี้ยง
รากแรกเกิด
ภาพที่ 4.15 การงอกเมล็ด
ที่มา : คลังภาพ อจท.

168

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ผลแบบไมมีเมล็ด หรือผลเทียม (parthenocarpy) เกิดขึ้นเองตาม ฮอรโมนพืชชนิดใดตอไปนี้ที่กระตุนการยืดขนาดของกานองุน
ธรรมชาติหรือเกิดจากการกระตุนโดยการใชฮอรโมนออกซิน จิบเบอเรลลิน ชวยทําใหองุนมีขนาดใหญขึ้น
ฉีดพนบริเวณดอก ทําใหรังไขเจริญเปนผลโดยที่เซลลไขที่อยูภายในรังไขยังไม 1. เอทิลีน
ไดรับการผสม จะทําใหไดผลที่ไมมีเมล็ด 2. ออกซิน
3. ไซโทไคนิน
4. จิบเบอเรลลิน
สื่อ Digital 5. กรดแอบไซซิก
ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ (วิเคราะหคําตอบ จิบเบอเรลลินชวยกระตุน ใหชอ องุน โปรง ทําให
ฮอรโมนพืช จาก Youtube เรื่อง PLANT ผลองุน มีขนาดใหญ และทําใหองุน บางพันธุไ มมเี มล็ด ดังนัน้ ตอบ
HORMONES (https://www.youtube. ขอ 4.)
com/watch?v=8Ji3g4yp4VE)

T184
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1.4 เอทิลีน Biology 6. ครูถามคําถามทบทวนความรูข องนักเรียน ดังนี้
in real life ï• ฮอรโมนเอทิลีนมีผลตอพืชอยางไร
เอทิลนี (ethylene) เป็นฮอร์โมนพืชทีอ่ ยูใ่ นรูปของแก๊ส ซึง่ คนส่วนใหญ่นิยมใช้ ethephon
แตกต่างจากฮอร์โมนพืชชนิดอืน่ เกิดจากกระบวนเมแทบอลิซมึ (แนวตอบ ชวยเรงการสุกของผลไม)
เป็นสารที่สามารถปลดปล่อย
ของพืช โดยเฉพาะช่วงที่ผลไม้ใกล้สุกจะมีแก๊สเอทิลีนปริมาณ แก๊สเอทิลนี ออกมาได้ เป็นสาร ï• ฮอรโมนพืชชนิดใดทําหนาที่เปนสัญญาณ
มาก และยังพบว่า แก๊สนี้สามารถกระตุ้นผลไม้ที่อยู่ใกล้ ๆ ให้สุก กึ่งแข็งคล้ายขี้ผึ้ง ละลายได้ทั้ง เตือนวา พืชเขาสูการเสื่อมอายุ
ได้เร็วขึ้นกระตุ้นการร่วงของใบ กระตุ้นการเกิดรากฝอยและราก ในน�้าและแอลกอฮอล์ ปัจจุบัน (แนวตอบ กรดแอบไซซิก)
จ�าหน่ายทัง้ ในรูปสารละลาย และ 7. ครู ย กตั ว อย า งการนํ า ฮอร โ มนเอทิ ลี น มาใช
แขนงนอกจากผลไม้จะสร้างแก๊สเอทิลีนได้เองแล้ว ส่วนต่าง ๆ รูปครีม โดยมีชื่อการค้าต่าง ๆ
ของพืชก็สามารถสร้างได้ เช่น ดอก ใบ ล�าต้น ราก หัว เมล็ด กัน เช่น อีเทรล ซีฟา อีเทรล- ประโยชนทางเกษตร เชน บมผลไม กระตุน
แต่สร้างได้ในปริมาณน้อย ลาเท็กซ์ การออกดอกของพืชบางชนิด เชน สับปะรด
เรงการไหลของนํ้ายาง กระตุนใหเกิดดอก
ปัจจุบันมีการน�าเอทิลีนมาใช้ประโยชน์ทางการ เพศเมียในพืชตระกลูแตง จากนั้นใหนักเรียน
เกษตร เช่น ใช้ในการบ่มผลไม้ กระตุ้นการออกดอก สืบคนการนําฮอรโมนเอทิลีนมาใชประโยชน
ของสับปะรด กระตุ้นให้เกิดดอกเพศเมียมากขึ้นในพืช ทางเกษตรนอกเหนือจากที่ครูยกตัวอยางลง
ภาพที่ 4.16 อิทธิพลของเอทิลีน ตระกูลแตง เร่งการไหลของน�้ายางพารา และเพิ่มปริมาณ ในกระดาษ A4 พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน
ท�าให้ผลไม้สุกได้เร็วขึ้น น�้ายางของมะละกอเพื่อผลิตปาเปน (papain)
ที่มา : คลังภาพ อจท.
1.5 กรดแอบไซซิก
กรดแอบไซซิก (abscisic acid; ABA) เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช
ทั้งในแง่การยับยั้งและส่งเสริม และท�าหน้าที่เป็นสัญญาณเตือนว่าพืชเข้าสู่การเสื่อมตามอายุ
ABA มีบทบาทส�าคัญมากในการท�าให้พชื ด�ารงชีวติ อยูไ่ ด้
ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เกี่ยวข้องกับการท�าให้
ปากใบ พื ช รอดพ้ น สภาพวิ ก ฤติ ต ่ า ง ๆ เช่ น การลดการสู ญ เสี ย น�้ า
ในสภาวะแห้งแล้ง การพักตัวในสภาวะทีอ่ ากาศหนาวจัด ปองกัน
สภาวะเครี ย ดที่ เ กิ ด จากเกลื อ และอุ ณ หภู มิ และมี บ ทบาท
ในการพัฒนาการของเอ็มบริโอ
หน้าทีห่ ลักของ ABA ในพืช คือ ท�าให้ปากใบปด เมือ่ เกิด
การขาดน�า้ หรือเมือ่ มีระดับของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพิม่ ขึน้
ในเซลล์ปากใบ เช่น ตอนกลางคืน เมือ่ การสังเคราะห์ดว้ ยแสงหยุด
ภาพที่ 4.17 ผลของ ABA ที่ ลง แต่การหายใจยังคงด�าเนินต่อไป ABA มีผลท�าให้โพแทสเซียม
ควบคุมการเปด-ปดของปากใบ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ไอออน (K+) เคลื่อนที่ออกจากเซลล์คุม ซึ่งท�าให้ปากใบปด
การตอบสนองของพืช 169

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดคือฮอรโมนที่ชวยเรงการออกดอกของสับปะรด ครูอาจเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับการบมผลไมดวยถานแกสหรือแคลเซียม
1. เอทิลีน คารไบด (CaC2) ซึ่งเปนวิธีที่เกษตรกร พอคาและแมคานิยมใชเนื่องจากหา
2. ออกซิน ซื้อไดงาย ถานแกสมีลักษณะเปนของแข็งคลายกับกอนหิน สามารถทุบใหแตก
3. ไซโทไคนิน เปนกอนขนาดเล็กไดงาย ถานแกสจะทําปฏิกิริยากับไอนํ้าในบรรยากาศ ทําให
4. จิบเบอเรลลิน เกิดแกสอะเซทิลีน (C2H2) ดังสมการ
5. กรดแอบไซซิก CaC2 + H2O C2H2 + CaO
(วิเคราะหคําตอบ เอทิลนี เปนฮอรโมนทีช่ ว ยเรงการสุกของผลไม
จึงนิยมนําเอทิลีนมาใชบมผลไม นอกจากนี้ ยังใชกระตุนการ
ออกดอกของสับปะรด กระตุนการเกิดดอกเพศเมียในพืชตระกูล
แตง ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T185
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1. ใหนกั เรียนทดลองใชเคมีสงั เคราะหกบั พืช เพือ่ • การสังเกต

ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพืชเมื่อตอบสนอง อิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช • การลงความเห็นจากข้อมูล


จิตวิทยาศาสตร์
ตอสารเคมี จากการทํากิจกรรมในหนังสือเรียน • ความสนใจใฝรู้

ชีววิทยา ม.5 เลม 1 จุดประสงค์ • ความรับผิดชอบ

2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ทํา


1. เพือ่ ศึกษาอิทธิพลของออกซินและไซโทไคนินต่อการเจริญของตาข้าง
กิจกรรม เรื่อง อิทธิพลของสารควบคุมการ
2. เพื่อศึกษาอิทธิพลของเอทิลีน
เจริญเติบโตของพืช
3. ใหสมาชิกภายในกลุมแบงภาระหนาที่รับผิด วัสดุอปุ กรณ์
ชอบ โดยสมาชิกในกลุมมีบทบาทและหนาที่ 1. ต้นมะลิจ�านวน 5 ต้น 5. กล่องพลาสติก 3 กล่อง
ของตนเอง ดังนี้ 2. มะม่วงดิบ 4 ผล 6. กรดแนฟทาลีนแอซีติก (NAA) เข้มข้น 1%
- สมาชิกคนที่ 1 : ทําหนาทีเ่ ตรียมวัสดุอปุ กรณ 3. มะม่วงสุก 1 ผล ในลาโนลิน
- สมาชิกคนที่ 2 : ทํ า หน า ที่ อ  า นวิ ธี ก ารทํ า 4. ก้านส�าลี 7. เบนซิลลามิโนพิวรีน (BAP) 1.5 mM ในลาโนลิน
กิจกรรม และนํามาอธิบายใหสมาชิกภายใน ตอนที่ 1 อิทธิพลของออกซินและไซโทไคนิน
กลุมฟง
- สมาชิกคนที่ 3 และ 4 : ทําหนาที่บันทึกผล วิธปี ฏิบตั ิ
การทํากิจกรรม Safety first
1. น�ากระถางที่ปลูกต้นมะลิมาเขียนหมายเลข 1-5
- สมาชิกคนที่ 5 และ 6 : ทําหนาทีน่ าํ เสนอผล กรดแนฟทาลีนแอซีติก (NAA)
ที่ไดจากการทํากิจกรรม เป็ น สารควบคุ ม การเจริ ญ
เติบโตของพืช (PGRs) ชนิด
หนึ่ ง จั ด ว่ า เป็ น สารพิ ษ ใน
ระดั บ ปานกลาง โดยความ
1 2 3 4 5 เป็ น พิ ษ ของกรดแนฟทาลี น
แอซีติก (NAA) จะมีผลต่อคน
หรือสัตว์เลีย้ งลูกด้วยน�า้ นม ดงั นัน้
2. ใช้ใบมีดโกนตัดยอดต้นมะลิของกระถางที่ 2 และทายอดที่ตัดด้วย การใช้กรดแนฟทาลีนแอซีติก
ลาโนลิน ควรท� า ด้ ว ยความระมั ด ระวั ง
มีด ก้านส�าลี
ลาโนลิน โดยยึ ด หลั ก ความปลอดภั ย
เช่นเดียวกับการใช้ยาฆ่าแมลง

2 2

170

บันทึก กิจกรรม
ขอสอบเนน การคิด
ตนไมกระถางที่ 5 จะแตกกิ่งกานสาขา หรือแตกตาขางมากกวาตนไม ขอใดคือสวนประกอบของพืชทีต่ อบสนองตอออกซิน แตไมตอบ
กระถางตนอื่นๆ เนื่องจากตนไมกระถางที่ 5 มีการตัดปลายยอดซึ่งเปนแหลง สนองตอจิบเบอเรลลิน
ผลิตฮอรโมนออกซิน และมีการใหสารลาโนลินผสมกับเบนซิลลามิโนพิวรีน ที่ 1. ใบ
เปนสารสังเคราะหแทนฮอรโมนไซโทไคนินที่พืชผลิต ทําใหตนไมกระถางที่ 5 2. ผล
แตกกิ่งกานสาขามากที่สุด 3. ราก
4. ดอก
5. ลําตน
(วิเคราะหคาํ ตอบ ออกซินใชกระตุน กิง่ ไมทนี่ าํ มาใชในการตอนกิง่
ใหงอกราก แตจบิ เบอเรลลินไมมผี ลตอการงอกของราก เนือ่ งจาก
เปนสารที่ทําใหเซลลตรงชวงบริเวณขอ เกิดการยืดตัว จึงใชยืด
ชอองุน ทําใหไมดอกมีขนาดใหญขนึ้ รวมทัง้ กานดอกยาวขึน้ หรือ
ทําใหองุน บางพันธุไ มมเี มล็ด ดังนัน้ ตอบขอ 3.)

T186
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
3. ตัดยอดต้นมะลิผสมในกระถางที่ 3 เช่นเดียวกับ 4. ทาลาโนลินที่มี BAP เข้มข้น 1.5 mM ที่ตาข้าง 1. ใหตัวแทนของแตละกลุมออกมานําเสนอผล
ข้อ 2. แล้วทายอดที่ตัดด้วยลาโนลินที่มี NAA ของต้นมะลิในกระถางที ่ 4 โดยไม่ตอ้ งตัดยอดของ จากการทํากิจกรรม
เข้มข้น 1% ต้นมะลิ 2. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
ลาโนลินที่มี ลาโนลินที่มี
NAA 1% BAP 1.5 mM 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา
กิจกรรม

3 3 4 4 ขยายความเข้าใจ

5. ท�าเช่นเดียวกันกับข้อ 4. แต่ตัดยอดของต้นมะลิ 6. ตงั้ กระถางต้นไม้ทงั้ หมดไว้ในทีท่ มี่ แี สงสว่างเพียง 1. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา


ในกระถางที่ 5 พอเป็นเวลา 14 วัน สังเกตความเปลีย่ นแปลงของ ม.5 เลม 1
ต้นมะลิแต่ละกระถาง 2. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Question
ลาโนลินที่มี
BAP 1.5 mM ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
1 2 3 4 5 ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายการตอบสนอง
5 5 ลาโนลิน ลาโนลิน+ ลาโนลิน+ ลาโนลิน+
NAA1% BAP 1.5 mM BAP 1.5 mM ของพืชตอสารเคมี แลวใหนกั เรียนทําผังมโนทัศน
ภาพที่ 4.18 อิทธิพลของออกซิน
ที่มา : คลังภาพ อจท. เรื่อง สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ลงใน
กระดาษ A4 ตกแตงใหสวยงาม พรอมนําเสนอ
ตอนที่ 2 อิทธิพลของเอทิลีน หนาชั้นเรียน
วิธปี ฏิบตั ิ
1. เขียนหมายเลข 1 2 และ 3 บนมะม่วงดิบ 3 ผล 2. น�ามะม่วงดิบหมายเลข 1 ใส่กล่องที่ 1 น�ามะม่วง
ดิบหมายเลข 2 และมะม่วงดิบใส่กล่องที่ 2 น�า
มะม่วงดิบหมายเลข 3 และมะม่วงสุกใส่กล่องที ่ 3

1
1 2 3 2
3

ผลที่ 1 ผลที่ 2 ผลที่ 3


3. เปรี ย บเที ย บระยะเวลาการสุ ก ของมะม่ ว งดิ บ ภาพที่ 4.19 อิทธิพลของเอทิลีน
ที่มา : คลังภาพ อจท. จํากัด
หมายเลข 1 2 และ 3
การตอบสนองของพืช 171

ขอสอบเนน การคิด บันทึก กิจกรรม

ขอใดคือลักษณะของพืชที่ไมไดรับฮอรโมนเอทิลีน มะมวงดิบหมายเลข 3 จะสุกเร็วกวามะมวงดิบหมายเลขอืน่ เนื่องจากกลอง


1. เรงการเกิดใบ หมายเลข 3 มีมะมวงสุก ซึง่ มีฮอรโมนเอทิลนี ชวยกระตุน มะมวงดิบทีอ่ ยูใ กลเคียง
2. เรงการรวงของใบ ใหสุกเร็วขึ้น
3. กระตุนการออกดอก
4. เรงการสุกของผลไม
5. เรงการออกดอกของพืชบางชนิด
(วิเคราะหคําตอบ เอทิลนี เปนฮอรโมนทีใ่ ชเรงผลไมใหสกุ กระตุน
ตนสับปะรดใหออกดอก กระตุนการหลุดรวงของใบไมและการ
ผลัดใบตามฤดูกาล ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T187
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ตรวจแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรียนรู ค�าถามท้ายกิจกรรม
?
ที่ 4
1. การเจริญของกิ่งที่เกิดจากตาข้างของต้นมะลิในกระถางที่ 1-5 มีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
2. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5 2. ออกซินมีผลต่อการแตกตาข้างอย่างไร
เลม 1 3. ไซโทไคนินมีผลต่อการแตกตาข้างอย่างไร
3. ตรวจใบงาน เรื่อง ฮอรโมนพืช 4. มะม่วงดิบหมายเลข 1 2 และ 3 สุกพร้อมกันหรือไม่ เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
4. ตรวจผังมโนทัศน โดยใชแบบประเมินชิ้นงาน
5. สังเกตการปฏิบัติการจากการทํากิจกรรม โดย อภิปรายผลกิจกรรม
ใชแบบประเมินการปฏิบัติการ จากกิจกรรมในตอนที่ 1 พบว่า ต้นไม้ในกระถางที่ 3 และ 4 มีการเจริญของตาข้างหรือแตกกิ่งก้านสาขา
6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช ได้นอ้ ยกว่าต้นไม้ในกระถางที ่ 1 เนือ่ งจากมีการให้กรดแนฟทาลีนแอซีตกิ หรือสารสังเคราะห์ทใี่ ช้แทนฮอร์โมน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล ออกซินในกระถางที่ 3 และฮอร์โมนออกซินที่ถูกผลิตขึ้นบริเวณปลายยอด มีผลไปยับยั้งการเจริญตาข้าง ส่วน
7. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ ตาข้างของต้นไม้ทปี่ ลูกในกระถางที ่ 2 และ 5 แตกกิง่ ก้านสาขาได้มากกว่าต้นไม้ในกระถางที ่ 1 เนือ่ งจากบริเวณ
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม ยอดของต้นไม้ในกระถางที่ 2 และ 5 ถูกตัดออก นอกจากนี้ ยังพบว่า เบนซิลลามิโนพิวรีน หรือสารสังเคราะห์
ที่ใช้แทนฮอร์โมนไซโทไคนิน ท�าให้ต้นไม้ในกระถางที่ 5 มีการแตกกิ่งก้านสาขาเพิ่มมากขึ้น
8. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ จากกิจกรรมตอนที่ 2 พบว่า มะม่วงสุกมีฮอร์โมนเอทิลีนช่วยให้ผลไม้ที่อยู่ใกล้เคียงสุกเร็วขึ้น ดังนั้น
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค มะม่วงดิบหมายเลข 3 จึงสุกเร็วกว่ามะม่วงดิบหมายเลขอื่น

Topic
Question
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม 1. สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชคืออะไร
1. แตกตางกัน เนื่องจากตนมะลิที่ถูกตัดตายอด 2. เพราะเหตุใดปลายยอดอ่อนของพืชจึงเอนเข้าหาแสง
จะเกิดปรากฏการณตายอดขมตาขาง ทําให 3. แหล่งสร้างหลักของฮอร์โมนออกซินและไซโทไคนินอยู่ที่ส่วนใดของพืช
ตาขางเจริญเปนกิ่งอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ 4. จงเรียงล�าดับปริมาณความเข้มข้นของออกซินที่เหมาะสมต่อการเจริญของอวัยวะพืชจากมากไปน้อย
ยังเกี่ยวของกับสัดสวนของออกซิน (NAA) และ 5. ยกตัวอย่างสารสังเคราะห์ที่ใช้แทนฮอร์โมนออกซินและไซโทไคนินมีอะไรบ้าง
6. จิบเบอเรลลินถูกค้นพบในสิ่งมีชีวิตชนิดใด และมีบทบาทกับพืชอย่างไร
ไซโทไคนิน (BAP) ทําใหการเจริญของกิ่งที่เกิด
7. การงอกของเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเกี่ยวข้องอย่างไรกับฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
จากตาขางของตนมะลิในกระถางที่ 1-5 มีความ
8. เอทิลีนแตกต่างจากฮอร์โมนพืชชนิดอื่นอย่างไร
แตกตางกัน
9. เอทิลีนมีบทบาทส�าคัญกับพืชอย่างไร
2. ยับยั้งการเจริญตาขาง 10. กรดแอบไซซิกมีบทบาทส�าคัญกับพืชอย่างไร
3. กระตุนการเจริญตาขาง
4. ไมพรอมกัน มะมวงหมายเลข 3 จะสุกกอน 172
มะมวงหมายเลขอื่น เนื่องจากมะมวงหมายเลข
3 อยูใกลกับมะมวงสุกที่มีฮอรโมนเอทิลีน

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. เป น สารประกอบอิ น ทรี ย  ที่ ค รอบคลุ ม ทั้ ง ฮอร โ มนพื ช และสารเคมี
ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง การตอบสนองของพืช ได
สังเคราะห
จากการทํากิจกรรม อิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช โดยศึกษา
2. บริเวณปลายยอดผลิตฮอรโมนออกซิน
เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติการที่อยูในแผนการ
3. ตายอดสรางออกซิน สวนเนื้อเยื่อเจริญปลายรากสรางไซโทไคนิน
จัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 4
4. ลําตน ตา และราก ตามลําดับ
แบบประเมินการปฏิบัติการ
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบตั ิการจากการทากิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่
5. NAA 2, 4-D และ 2, 4, 5-T ใชแทนออกซิน สวนไคเนตินและBAP
ใชแทนไซโทไคนิน
ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การออกแบบการทดลอง

6. เชื้อรา Gibberella fujikuroi ชวยกระตุนการแบงเซลล สงเสริมการ


2 การดาเนินการทดลอง
3 การนาเสนอ
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

งอกของตาและยับยั้งการงอกของราก
................./................/................

7. ยับยั้งการงอกของเมล็ด
8. มีสถานะเปนแกส
9. กระตุนการสุกของผลไม กระตุนการออกดอกของสับปะรด
10. ทําใหพืชดํารงชีวิตอยูไดในสภาวะที่ไมเหมาะสม

T188
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
พืชมีการตอบสนองตอ 2. การตอบสนองของพืชต่อสิง่ แวดล้อม 1. ครูถามคําถาม Prior Knowledge
สิ่งเราจากสภาพแวดลอม 2. ครูนําภาพมาใหนักเรียนทายวา เปนการตอบ
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการเจริญเติบโตของพืช แบ่งเป็น 2 ประเภท
ภายนอกอยางไร
ใหญ่ ๆ คือ ปัจจัยจากภายในและปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม สนองของพืชตอสิ่งใด
พืชจะเจริญเติบโตได้ดีนั้นต้องอาศัยการพึ่งพาทั้ง 2 ปัจจัย จึงจะ
ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา พืชสามารถตอบสนองต่อปัจจัยภายนอกได้เช่นเดียวกับ ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ โดยอาจเรียกปัจจัยเหล่านี้ว่า สิสิ่งเร้า (1stimulus)
สิ่งเร้าจะไปกระตุ้นให้ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืชกระจายไปยังส่วน ครูถามคําถามวา กระบวนการสื่อสารระหวาง
ต่าง ๆ ในปริมาณทีไ่ ม่เท่ากัน ส่งผลให้พชื มีการตอบสนองต่อสิง่ เร้าเพือ่ ความอยูร่ อดในสภาพแวดล้อม เซลลประกอบดวยขั้นตอนใดบาง แตละขั้นตอน
นั้น ๆ เปนอยางไร แลวใหนักเรียนสืบคนขอมูลจาก
การตอบสนองของพืชต่อสิง่ เร้าจากสภาพแวดล้อมภายนอกเกีย่ วข้องกับกระบวนการสือ่ สาร หนังสือเรียน ชีววิทยา ม.5 เลม 1 แลวบันทึกขอมูล
ระหว่างเซลล์ให้เป็นไปตามล�าดับ ดังนี้ ลงในสมุดบันทึกของตนเอง
การรับสัญญาณ (reception) หมายถึง การที่พืชได้รับสัญญาณจากสิ่งเร้าที่มากระตุ้น เช่น
กลไกการรับแสงของสารสี (pigment) ในเซลล์พืชในกระบวนการตอบสนองต่อทิศทางของแสง อธิบายความรู้
การส่งสัญญาณ (transduction) หมายถึง การที่พืชส่งสัญญาณที่ได้รับจากสิ่งเร้าไปให้เซลล์ 1. ใหนกั เรียนจับคูแ ลกเปลีย่ นขอมูลทีไ่ ดจากการ
ที่ตอบสนองต่อปัจจัยกระตุ้นนั้น ซึ่งสัญญาณนั้น ได้แก่ ศักย์ไฟฟาเคมี หรือสารเคมีต่าง ๆ สืบคนกับคูของตนเอง
เช่น ฮอร์โมนพืช 2. ครู สุ  ม ตั ว แทนคู  อ ธิ บ ายกระบวนการสื่ อ สาร
การตอบสนองของพืช (response) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของพืชที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า ระหวางเซลลใหเพื่อนในหองฟง
หรือปัจจัยที่มากระตุ้น 3. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายการตอบ
สนองของพื ช ต อ สิ่ ง เร า มี ค วามเกี่ ย วข อ งกั บ
กระบวนการสื่อสารระหวางเซลล
ภายนอกเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม
1. การรับสัญญาณ 2. การส่งสัญญาณ 3. การตอบสนอง

เซลล์มีการ
เซลล์เปาหมาย ตอบสนอง
โมเลกุลของสารเคมีหลายชนิดเกี่ยวข้องกับการส่งสัญญาณ
โมเลกุลสัญญาณ 2 แนวตอบ Prior Knowledge
เมื่อพืชไดรับสัญญาณจากสิ่งเราจากภายนอก
ภาพที่ 4.20 กระบวนการสื่อสารระหว่างเซลล์ พื ช จะส ง สั ญ ญาด ว ยการผลิ ต สารเคมี เรี ย กว า
ที่มา : คลังภาพ อจท. ฮอรโมน ลําเลียงไปทัว่ รางกายของพืช ทําใหเซลลมี
การตอบสนองของพืช 173
การตอบสนองตอสิง่ เราทีม่ ากระตุน สงผลใหพชื เกิด
การเปลีย่ นแปลงทางสรีรวิทยา เพือ่ ความอยูร อดใน
สภาพแวดลอมตางๆ

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดเรียงลําดับขั้นตอนการสื่อสารระหวางเซลลไดถูกตอง 1 สิ่งเรา คือ สิ่งที่สงผลหรือมีอิทธิผลตอการตอบสนองของพืช ซึ่งสามารถ
1. การรับสัญญาณ การตอบสนอง การสงสัญญาณ แบงออกได 2 กลุม คือ สิ่งเราจากภายนอก เชน แสง นํ้า และสิ่งเราจากภายใน
2. การรับสัญญาณ การสงสัญญาณ การตอบสนอง เชน ฮอรโมน พันธุกรรม
3. การสงสัญญาณ การรับสัญญาณ การตอบสนอง 2 โมเลกุลสัญญาณ คือ เมล็ดที่มีเอ็มบริโอซึ่งมีใบเลี้ยงเดี่ยวที่มีลักษณะเปน
4. การสงสัญญาณ การตอบสนอง การรับสัญญาณ แผน เรียกวา สคิวเตลลัม เปนสารเคมีที่หลั่งจากเซลลสงสัญญาณ มีหลายแบบ
5. การตอบสนอง การรับสัญญาณ การสงสัญญาณ ไดแก โปรตีน สายเพปไทดสน้ั ๆ อนุพนั ธของกรดไขมัน สารสเตียรอยด หรือแกส
(วิเคราะหคําตอบ กระบวนการตอบสนองของพืชเกี่ยวของกับ ที่ละลายนํ้าได เชน ไนตริกออกไซด
กระบวนการสือ่ สารระหวางเซลล โดยเริม่ จากการรับสัญญาณ การ
สงสัญญาณ และการตอบสนอง ตามลําดับ ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T189
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนยกตัวอยางสิ่งเราที่นักเรียนรูจักมา 2.1 การเคลื่อนไหวของพืชที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก
คนละ 1 อยาง การเคลื่อนไหวของพืชที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก (paratonic movement) เป็นการตอบ
(แนวตอบ พิจารณาคําตอบของนักเรียน ตัวอยาง สนองที่เกิดจากการเจริญเติบโตของพืช ตัวอย่างเช่น
คําตอบ เชน แสง นํ้า ความชื้น สารเคมี แรง 1. การเคลื่อนไหวแบบทรอปก (tropic movement) หรือการเบน (tropism) เป็นการ
โนมถวง การสัมผัส) เคลือ่ นไหวของพืชทีม่ ที ศิ ทางสัมพันธ์กบั สิง่ เร้าภายนอก โดยทิศทางอาจเบนเข้าหาสิง่ เร้า (positive
2. ให นั ก เรี ย นจั บ กลุ  ม กั บ เพื่ อ นที่ ต อบคํ า ถาม tropism) หรือเบนออกจากสิ่งเร้า (negative tropism) ซึ่งการ
เหมือนกัน สืบคนขอมูลเกีย่ วกับสิง่ เราทีน่ กั เรียน เคลื่อนไหวของพืชในลักษณะนี้ มีดังนี้
ตอบมานัน้ จัดเปนสิง่ เราประเภทใด 1) การเคลือ่ นไหวทีต่ อบสนองต่อแสง (phototropism)
(แนวตอบ ทรอปกมูฟเมนต) เช่น การที่ล�าต้นของพืชโค้งเข้าหาแสง (positive phototropism)
เป็นผลมาจากการสะสมของออกซินในด้านตรงข้ามกับแสง ท�าให้
เซลล์มกี ารยืดยาวกว่าด้านทีร่ บั แสง หรือการทีป่ ลายรากเจริญหนี ภาพที่ 4.21 การตอบสนองของพืช
แสง (negative phototropism) ต่อแสง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
B iology
Focus การตอบสนองของพืชตอแสงในชวงวัน (photoperiodism)
การเปลีย่ นแปลงระยะเวลาทีพ่ ชื ได้รบั แสงในแต่ละช่วงของ 24 ชั่วโมง
วันมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช โดยความยาวของช่วงวันที่มี
ผลต่อการออกดอกของพืช เรียกว่า ช่วงวันวิกฤติ (critical day
length) ซึ่งช่วงวิกฤติของพืชส่วนใหญ่ คือ 14-16 ชั่วโมง โดย
สามารถแบ่งพืชตามการตอบสนองของช่วงแสงได้ 3 ประเภท ดังนี้
1. พืชวันยาว (long day plant) หมายถึง พืชที่ต้องการ ช่วงวันวิกฤติ
พืชวันสั้น
ช่วงแสงในวันหนึง่ ๆ ยาวกว่าช่วงวันวิกฤติจงึ จะออกดอก เช่น ข้าว
24 ชั่วโมง
สาลี ผักกาดหอม ผักโขม
2. พืชวันสั้น (short day plant) หมายถึง พืชที่ต้องการ
ช่วงแสงในวันหนึ่ง ๆ สั้นกว่าช่วงวันวิกฤติจึงจะออกดอก เช่น ต้น
คริสต์มาส เก๊กฮวย เบญจมาศ
3. พืชที่ไม่ตอบสนองต่อช่วงแสง (day neutral plants) ช่วงวันวิกฤติ
หมายถึง พืชทีส่ ามารถออกดอกได้โดยไม่เกีย่ วข้องกับความสัน้ ยาว พืชวันยาว
ของวัน ทัง้ นี ้ เนือ่ งจากการออกดอกของพืชจ�าพวกนีข้ นึ้ อยูก่ บั อายุ ได้รับแสง ไม่ได้รับแสง
ของพืชชนิดนั้น ๆ เช่น ข้าวโพด มะเขือเทศ แตงกวา
ภาพที่ 4.22 การตอบสนองของพืช
ต่อแสงในช่วงวัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

174

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตอบสนองตอแสงของพืชวา พืชดอกจะ ขอใดอธิบายความหมายของพืชวันสั้นไดถูกตอง
มีสารกลุมหนึ่งที่เรียกวา ไฟโตโครม ซึ่งเปนรงควัตถุที่มีโปรตีนเปนองคประกอบ 1. พืชที่ออกดอกเฉพาะในฤดูฝน
และมีบทบาทสําคัญตอพืชในการควบคุมการตอบสนองตอชวงแสง เปรียบเสมือน 2. พืชที่ออกดอกเฉพาะในฤดูหนาว
เปนสัญญาณที่ทําใหพืชรับรูวา สภาพแวดลอมในขณะนี้กําลังอยูในชวงที่มีแสง 3. พืชที่ออกดอกเมื่อแสงในวันหนึ่งๆ สั้นกวาชวงวันวิกฤติ
พืชจึงรับรูและตอบสนองตอแสงได เชน บัวหลวงจะบานในเวลากลางวันและ 4. พืชที่ออกดอกเมื่อชวงเวลากลางคืนนานกวาชวงมืดวิกฤติ
หุบในเวลากลางคืน ดอกสายหยุดจะสงกลิ่นหอมเฉพาะเวลาเชา แตพอถึงชวง 5. พืชที่ออกดอกเมื่อชวงเวลากลางวันมีแสงมากกวา 24
เวลาสายๆ กลิ่นหอมจะจางลง หรือดอกราตรีซึ่งจะมีกลิ่นหอมในเวลากลางคืน ชั่วโมง
และกลิ่นจะจางลงในตอนเชา (วิเคราะหคําตอบ พืชวันสัน้ คือ พืชทีต่ อ งการแสงในชวงวันหนึง่ ๆ
สัน้ กวาชวงวันวิกฤติจงึ จะออกดอก หรือพืชทีอ่ อกดอกเมือ่ ชวงเวลา
กลางวันมีแสงนอยกวา 12 ชั่วโมง ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T190
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2) การเคลื่อนไหวที่ตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของ H. O. T. S. 1. ครู เ กริ่ น นํ า ว า จะเห็ น ว า สิ่ ง ที่ นั ก เรี ย นยก
โลก (geotropism หรือ gravitotropism) โดยรากพืชจะเจริญ คําถามทาทายการคิดขั้นสูง ตั ว อย า งมาเป น การตอบสนองที่ มี ทิ ศ ทาง
เข้าหาแรงโน้มถ่วงของโลก (positive geotropism) เพือ่ รับน�า้ และ หากทดลองน� า สัมพันธกับสิ่งเราที่มากระตุน หรือเรียกวา
ธาตุอาหารที่อยู่ในดิน ส่วนยอดพืชจะเจริญในทิศทางตรงข้ามกับ เซลล์
พื ช เไยือ่ ปบุขปา้ งแก้
ลู กมใ น ทรอปกมูฟเมนต
แรงโน้มถ่วงของโลก (negative geotropism) เพื่อชูใบรับแสง ยานอวกาศทีล่ อย 2. ครู สุ  ม เรี ย กนั ก เรี ย น 2-3 คน อธิ บ ายการ
คว้างอยู่ในอวกาศ โดยภายใน
ยานยังคงมีออกซิเจนและแสง เคลื่อนไหวแบบทรอปกมูฟเมนตในความคิด
เพี ย งพอต่ อ การเจริ ญ ของพื ช ของตนเอง
นักเรียนคิดว่า พืชจะมีลักษณะ 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลเพื่อใหได
ราก อย่างไร ขอสรุปวา ทรอปกมูฟเมนตเปนการเคลือ่ นไหว
ราก
ของพื ช ที่ มี ทิ ศ ทางสั ม พั น ธ กั บ สิ่ ง เร า ที่ ม า
กระตุน เชน แสง นํ้า ความชื้น แรงโนมถวง

ภาพที่ 4.23 การตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลกของเมล็ดข้าวโพด


ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากภาพ เมื่อวางต้นอ่อนของข้าวโพดในลักษณะปกติในที่มืด ต้นอ่อนจะตอบสนองต่อ


แรงโน้มถ่วงของโลกโดยรากจะเจริญโค้งลงสูพ่ นื้ ดิน และปลายยอดจะเจริญโค้งขึน้ แต่หากวางต้นอ่อน
ในแนวนอน เซลล์ทอี่ ยูด่ า้ นบนจะขยายขนาดช้าลง ในขณะทีเ่ ซลล์ทอี่ ยูด่ า้ นล่างจะขยายขนาดอย่าง
รวดเร็ว ซึง่ ความแตกต่างของอัตราเร่งของการขยายตัวของเซลล์ทงั้ 2 ด้าน ท�าให้ปลายยอดเจริญ
โค้งขึน้ นอกจากนี ้ อิทธิพลจากออกซินและฮอร์โมนอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการยับยัง้ การเจริญเติบโต
ในราก และโปรตีนที่ท�าหน้าที่ขนส่งออกซินผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ก็มีบทบาทในการตอบสนองต่อ
แรงโน้มถ่วงของโลกด้วย
ปลายยอดเจริญชูสูงขึ้น

ออกซิน
ออกซิน
ถ้าวางพืชในแนวนอน ออกซินจะล�าเลียงไปยังล�าต้นและราก รากโค้งงอตามแรงโน้มถ่วงของโลก

แนวตอบ H.O.T.S.
ภาพที่ 4.24 ผลของออกซินต่อการตอบสนองของปลายยอดและปลายรากของพืช
ที่มา : คลังภาพ อจท. พื ช จะมี รู ป ร า งที่ แ ตกต า งกั น ไม มี รู ป แบบที่
การตอบสนองของพืช 175
แนนอน เนื่องจากขาดแรงโนมถวง โดยเฉพาะ
รากพืชจะเจริญหาเขาหาความชื้น หรือบริเวณที่มี
อาหาร สวนปลายยอดพืชจะเจริญเขาหาแสง

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


สวนประกอบในขอใดของพืชจะเจริญหนีแสง หรือเบนออกจากสิง่ เรา ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับฮอรโมนออกซิน จากภาพยนตร
1. ใบ สารคดีสั้น Twig เรื่อง การโนมเอียงและฮอรโมน (https://www.twig-aksorn.
2. ผล com/f ilm/tropism-and-hormones-8058/)
3. ดอก
4. ปลายราก
5. ปลายยอด
(วิเคราะหคําตอบ ปลายยอดจะเจริญเขาหาแสง และปลายราก
จะเจริญตามแรงโนมถวงซึ่งมีทิศทางตรงขามกับแสง ดังนั้น ตอบ
ขอ 4.)

T191
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1. ใหนกั เรียนแบงกลุม ทํากิจกรรม เรือ่ ง การตอบ • การสังเกต
สนองของพืชตอแรงโนมถวงของโลก การตอบสนองของพืชตอแรงโนมถวงของโลก • การลงความเห็นจากข้อมูล
• การทดลอง
2. ใหสมาชิกภายในกลุมแบงภาระหนาที่รับผิด • การตั้งสมมติฐาน

ชอบ โดยสมาชิกในกลุมมีบทบาทและหนาที่ จุดประสงค์ จิตวิทยาศาสตร์


• ความสนใจใฝรู้
ของตนเอง ดังนี้ ศึกษาและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแรงโน้มถ่วงของโลกได้ • ความรับผิดชอบ

- สมาชิกคนที่ 1 : ทําหนาทีเ่ ตรียมวัสดุอปุ กรณ


- สมาชิกคนที่ 2 : ทํ า หน า ที่ อ  า นวิ ธี ก ารทํ า วัสดุอปุ กรณ์
กิจกรรม และนํามาอธิบายใหสมาชิกภายใน 1. เมล็ดถั่วด�าหรือถั่วแดง 3. กระดาษเยื่อ
กลุมฟง 2. กล่องพลาสติกใสและถุงพลาสติกสีด�า 4. เข็มหมุด
- สมาชิกคนที่ 3 และ 4 : ทําหนาทีบ่ นั ทึกผล
การทํากิจกรรม วิธปี ฏิบตั ิ
- สมาชิกคนที่ 5 และ 6 : ทําหนาที่นําเสนอ 1. นา� เมล็ดถัว่ ด�าหรือเมล็ดถัว่ แดงแช่นา�้ เป็นเวลา 1 คืน แล้วเลือกเมล็ดทีก่ า� ลังงอกทีม่ ขี นาดเท่ากันจ�านวน 6 เมล็ด
ผลที่ไดจากการทํากิจกรรม 2. นา� กระดาษเยือ่ วางในกล่องพลาสติกใส จากนัน้ พรมน�า้ พอชืน้ แล้วปูดว้ ยกระดาษลูกฟูกโดยให้ความยาวของ
กระดาษลูกฟูกเท่ากับความยาวของกล่องพลาสติกใส
อธิบายความรู้ 3. ใช้เข็มหมุดตรึงเมล็ดถั่วกับกระดาษลูกฟูกที่อยู่ใน กระดาษเยื่อชุบน�้า
1. ใหตัวแทนกลุมออกมานําเสนอผลกิจกรรม กล่องให้อยูก่ บั ทีใ่ นต�าแหน่งต่าง ๆ กัน ปดฝากล่อง
และตะแคงกล่องลง ดังภาพที่ 4.25 กระดาษลูกฟูก
2. ครูถามคําถามทายกิจกรรม เข็มหมุด
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการทํา 4. น�าถุงพลาสติกสีด�ามาคลุมกล่องพลาสติกใส หรือ เมล็ดถั่ว
กิจกรรม น�ากล่องพลาสติกใสไปเก็บไว้ในที่มืด กล่องพลาสติกใส
5. สังเกตการเจริญของต้นกล้าทุกวันเป็นเวลา 3 วัน
วาดภาพที่สังเกตได้ ภาพที่ 4.25 การตอบสนองของพืชต่อแรงโน้มถ่วงของโลก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม ค�าถามท้ายกิจกรรม
?
1. ปลายยอดพืชจะเจริญเขาหาแสงซึง่ เปนทิศทาง 1. การทดลองนี้ควรมีสมมติฐานอย่างไร
ตรงขามกับการเจริญของรากที่มีทิศทางเดียว 2. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมคืออะไร
กับแรงโนมถวง 3. หากไม่ใช้พลาสติกด�ามาคลุมกล่อง นักเรียนคิดว่าจะได้ผลการทดลองเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร
2. ตัวแปรตน คือ ตําแหนงของเมล็ดถัว่ ทีจ่ ดั อยูใ น
อภิปรายผลกิจกรรม
ลักษณะที่ตางกัน ตัวแปรตาม คือ การโคงงอ
ของปลายรากและปลายยอด ตัวแปรควบคุม จากการทดลอง พบว่า การเจริญเติบโตของพืชตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลก โดยที่รากพืช
จะเจริ ญ เติ บ โตแทงทะลุ เ ปลื อ กหุ ้ ม เมล็ ด ออกมาในลั ก ษณะโค้ ง เข้ า หาพื้ น ดิ น ตามแรงโน้ ม ถ่ ว งของโลก
คือ ชนิดและขนาดของเมล็ดพืช คุณภาพของ
(positive gravitropism) ส่วนยอดพืชจะเจริญในทิศตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วงของโลก (negative gravitropism)
เมล็ดพันธุ ปริมาณความชื้นและอากาศภายใน
กลอง รวมทั้งปริมาณแสงที่เมล็ดพืชไดรับ 176

3. ไมเหมือนกัน เพราะแสงมีผลตอการเจริญปลาย
ยอดและปลายราก
บันทึก กิจกรรม
ขอสอบเนน การคิด
รากพืชจะเจริญทะลุออกจากเปลือก แลวเบนเขาหาแรงโนมถวง หรือเจริญ การเจริญของรากพืชเปนการตอบสนองตอปจจัยในขอใด
โคงเขาหาพื้นดินตามแรงโนมถวงของโลก ในทางกลับกันปลายยอดพืชจะเบน 1. แสง
เขาหาแสง หรือเจริญในทิศตรงขามกับแรงโนมถวง 2. สารเคมี
3. อุณหภูมิ
4. การสัมผัส
5. แรงโนมถวง
(วิเคราะหคาํ ตอบ รากพืชจะเจริญตามแรงโนมถวงซึง่ มีทศิ ทางตรง
ขามกับแสง ดังนัน้ ตอบขอ 5.)

T192
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
เรณู
ยอดเกสรเพศเมีย 3) การเคลื่อนไหวที่ตอบสนองต่อสารเคมี (chemo- ครูและนักเรียนอาจรวมกันอภิปรายหาขอสรุป
tropism) เป็นการตอบสนองของพืชโดยการเจริญเข้าหาสาร ใหไดวา การเคลื่อนไหวแบบทรอปก เปนการ
หลอดเรณู
เคมี (positive chemotropism) หรือหนีจากสารเคมี (negative ตอบสนองตอสิ่งเราที่มีทิศทางสัมพันธกับสิ่งเรา
สเปร์ม chemotropism) เช่น การงอกของหลอดเรณูไปยังรังไข่ของพืชดอก ภายนอกที่มากระตุน โดยทิศทางที่พืชตอบสนอง
ก้านชูเกสรเพศเมีย โดยมีสารเคมีจากรังไข่เป็นสิ่งเร้า มี 2 แบบ คือ เบนเขาหา (positive tropism) และ
4) การเคลือ่ นไหวทีต่ อบสนองต่อน�า้ (hydrotropism) เบนออก (negative tropism) ไดแก แสง เชน ดอก
รังไข่
โดยรากพืชเจริญเข้าหาน�้าหรือความชื้น (positive hydro- ทานตะวันหันหนาเขาหาดวงอาทิตย แรงโนมถวง
tropism) เพื่อดูดน�้าเข้าสู่ล�าต้นและน�าเข้าสู่เซลล์พืช ส่วนปลาย เชน รากเจริญตามแรงโนมถวง สารเคมี เชน
ยอดพืชเจริญหนีน�้า (negative hydrotropism) การงอกหลอดเรณู ไ ปตามก า นเกสรเพศเมี ย
ไมโครไพล์
5) การเคลื่อนไหวที่ตอบสนองต่อการสัมผัสสิ่งเร้า การสัมผัส เชน การเจริญของมือเกาะของตนตําลึง
(thigmotropism) เป็นการตอบสนองของพืชบางชนิดโดยมีการ ไปพันรอบวัตถุที่มาสัมผัส
ภาพที่ 4.26 การงอกของหลอดเรณู
ที่มา : คลังภาพ อจท. สัมผัสเป็นสิ่งเร้าท�าให้เกิดการเคลื่อนไหวของพืช ซึ่งมีฮอร์โมน
ออกซินและเอทิลนี เข้ามามีบทบาทในการตอบสนอง เช่น ต้นองุน่
ที่มีล�าต้นผอมสามารถเจริญตั้งตรงได้โดยไม่ต้องมีสิ่งค�้าจุน
เนื่องจากมีการเจริญของมือเกาะ (tendril) ซึ่งเป็นโครงสร้างที่
เปลี่ยนแปลงมาจากใบยื่นออกไปพันหลักหรือเกาะบนต้นไม้อื่น
โดยเซลล์ภายในมือเกาะด้านทีส่ มั ผัสกับวัตถุอนื่ จะหยุดการขยาย
ขนาดของเซลล์ ซึ่งตรงข้ามกับด้านที่ไม่มีการสัมผัสกับวัตถุจะ
มีการขยายขนาดของเซลล์ ท�าให้มือเกาะม้วนเป็นวงรอบวัตถุ
ที่สัมผัส หลังจากนั้นเซลล์ทั้งสองบริเวณจะมีอัตราการขยายตัว
ภาพที่ 4.27 การเจริญของมือเกาะ
ที่พันรอบวัตถุที่สัมผัส เท่ากันทั้งสองด้าน นอกจากจะพบในองุ่นแล้วยังพบในพืชอื่น ๆ
ที่มา : คลังภาพ อจท. เช่น ต้นต�าลึง ต้นพริกไทย พืชตระกูลแตง กะทกรก เป็นต้น
2. การเคลื่อนไหวแบบแนสติก (nastic movement) Biology
เป็นการเคลื่อนไหวที่มีทิศทางไม่สัมพันธ์กับสิ่งเร้า มีปัจจัย in real life
ภายนอกทีส่ า� คัญ ได้แก่ แสงและอุณหภูม ิ ซึง่ กลไกการตอบสนอง ในปั จ จุบันการปลูกถั่วฝักยาว
ของพืชอาจเกิดได้จากการเจริญเติบโตที่แตกต่างกันของส่วน ซึล�า่ งต้เป็นเป็ น พื ช พั น ธุ ์ ไ ม้ เ ลื้ อ ย มี
นเถาเลื้อย และมีมือ
ต่าง ๆ หรืออาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของแรงดันเต่ง (turgor จับ (tendril) ชาวสวนจึงนิยม
pressure) ตัวอย่างการการเคลื่อนไหวแบบนี้ เช่น การหุบและ น�าเสาหรือไม้มาปักลงดินแล้ว
การบานของดอกไม้ต่าง ๆ ซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการ ใช้ลวดขึง เรียกการท�าแบบนีว้ า่
กระตุ้นของแสง เรียกว่า โฟโตนาสตี (photonasty) การท�าค้าง เพื่อให้ล�าต้นของ
ถัว่ ฝักยาวยึดเกาะ
การตอบสนองของพืช 177

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดเปนพืชที่มีการตอบสนองตอการสัมผัสทั้งหมด ครูใหนกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับการทดลองการตอบสนองของพืช จาก
1. กลวยและกลวยไม Youtube เรื่ อ ง การตอบสนองของพื ช (https://www.youtube.com/
2. แตงกวาและกุหลาบ watch?v=rE4z_hMqmfE)
3. ตําลึงและกะทกรก
4. มะมวงและกุหลาบหิน
5. มันฝรั่งและพุทธรักษา
(วิเคราะหคําตอบ ตําลึงและกะทกรก มีมอื เกาะซึง่ เปนโครงสราง
ทีเ่ ปลีย่ นแปลงมาจากใบ โดยเซลลภายในมือเกาะเมือ่ สัมผัสกับวัตถุ
จะไมขยายขนาด สวนดานทีไ่ มไดสมั ผัสกับวัตถุเซลลจะเจริญและ
ขยายขนาด ทําใหมือเกาะมีลักษณะมวนเปนวงรอบวัตถุ ดังนั้น
ตอบขอ 3.)

T193
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูเกริ่นนําวา นอกจากพืชจะเคลื่อนที่สัมพันธ ดอกบัวส่วนมากจะหุบในเวลากลางคืนและบานในเวลากลางวัน ในขณะทีด่ อกกระบองเพชร
กับสิ่งเราแลว ยังมีการเคลื่อนไหวอีกแบบหนึ่ง ส่วนมากจะบานในเวลากลางคืนและหุบในเวลากลางวัน
ที่ไมสัมพันธกับสิ่งเราภายนอก
2. ใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเกีย่ วกับการเคลือ่ นไหว
แบบแนสติก (nastic movement) จากหนังสือ
เรียน ชีววิทยา ม.5 เลม 1
3. ใหนักเรียนยกตัวอยางพืชที่มีการเคลื่อนไหว
แบบแนสติก (nastic movement)
การบานของดอกบัวในเวลากลางวัน การหุบของดอกบัวในเวลากลางคืน
ภาพที่ 4.28 การตอบสนองต่อแสงของดอกบัว
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การหุบและการบานของดอกไม้เกิดจากแสงมากระตุน้ ให้กลุม่ เซลล์ดา้ นนอกและกลุม่ เซลล์


ด้านในมีอัตราการเจริญเติบโตแตกต่างกัน สามารถอธิบายได้ ดังนี้
กลุ่มเซลล์
ด้านนอก
การหุบของดอกไม้
เกิ ด จากกลุ ่ ม เซลล์ ที่ อ ยู ่ ด ้ า นนอกของ
กลีบดอกมีการเจริญเติบโตเร็วกว่ากลุ่ม
เซลล์ที่อยู่ด้านใน เรียกว่า ไฮโพนาสตี
(hyponasty)

กลุ่มเซลล์
ด้านใน การบานของดอกไม้
เกิดจากกลุ่มเซลล์ที่อยู่ด้านในของกลีบ
ดอกมี ก ารเจริ ญ เติ บ โตเร็ ว กว่ า กลุ ่ ม
เซลล์ที่อยู่ด้านนอก เรียกว่า เอพินาสตี
(epinasty)
ภาพที่ 4.29 การเจริญของกลุม่ เซลล์ด า้ นในและด้านนอก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

178 การหุบและการบานของดอกไม

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวแบบแนสติก จาก ขอใดเปนสาเหตุทําใหดอกบัวบานในเวลาเชา
QR Code เรื่อง การหุบและบานของดอกไม 1. อุณหภูมิในเวลาเชาสูงกวาเวลากลางคืน
2. หยาดนํ้าคางในเวลาเชา ทําใหกลีบดอกบัวบาน
3. ความดันอากาศในเวลาเชามีมากกวาเวลากลางคืน
4. ความรอนจากแสงอาทิตยทําใหเซลลที่อยูบริเวณกลีบดอก
ขยายตัว
5. แสงในเวลาเชากระตุนใหกลุมเซลลที่อยูบริเวณกลีบเจริญ
แตกตางกัน
(วิเคราะหคําตอบ ในเวลาเชาแสงจะกระตุนใหกลุมเซลลดาน
นอกที่อยูบริเวณกลีบดอกจะเจริญเร็วกวากลุมเซลลดานในทําให
ดอกไมบาน เมือ่ ไมมแี สงกลุม เซลลดา นในทีอ่ ยูบ ริเวณกลีบดอกจะ
เจริญเร็วกวากลุมเซลลดานนอกทําใหดอกไมหุบในเวลากลางคืน
ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T194
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
พืชบางชนิดสามารถตอบสนองต่อการสัมผัสได้อย่างรวดเร็ว โดยการสัมผัสท�าให้แรงดันเต่ง 1. ครูเขียนคําถามบนกระดานแลวใหนักเรียน
ภายในเซลล์เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วแต่ไม่ถาวร เช่น ใบของต้นไมยราบที่เมื่อถูกสัมผัส ใบจะ ตอบคําถามลงในสมุดบันทึก ดังนี้
หุบเข้าหากันอย่างรวดเร็ว เมือ่ น�าโคนของก้1 านไมยราบมาศึกษาพบว่า ก้านใบมีลกั ษณะพองออก ï• ตนไมยราบมีการตอบสนองสิ่งเราอยางไร
เป็นกระเปาะ และมีกลุม่ เซลล์ทเี่ รียกว่า พัพัลไวนัส (pulvinus) ซึง่ เป็นเซลล์2พาเรงคิมาขนาดใหญ่และมีผนังบาง (แนวตอบ เมื่อสัมผัสจะทําใหแรงดันเตงภาย
มีความไวสูงต่อสิง่ เร้าทีม่ ากระตุน้ เมือ่ ถูกสัมผัสจะท�าให้แรงดันเต่งภายในเซลล์พลั ไวนัสลดลงอย่าง ในเซลลพัลไวนัสลดลงอยางรวดเร็ว เซลล
รวดเร็ว เซลล์จะสูญเสียน�า้ ให้แก่เซลล์ขา้ งเคียงท�าให้ใบหุบลงทันที หลังจากนัน้ เมือ่ เวลาผ่านไปสักครู ่ จึงสูญเสียนํ้า ทําใหใบไมยราบหุบ เมื่อเวลา
หนึง่ น�า้ จากเซลล์ขา้ งเคียงจะแพร่เข้าสูเ่ ซลล์พลั ไวนัส แรงดันเต่งภายในเพิม่ ขึน้ เซลล์เต่งขึน้ ท�าให้ ผานไปนํ้าจากเซลลขางเคียง ทําใหแรงดัน
ใบกางออกตามปกติ ซึ่งการตอบสนองในลักษณะนี้ไม่ใช่การตอบสนองที่เกิดจากการเจริญเติบโต เตงภายในเซลลพัลไวนัสเพิ่มขึ้น เซลลเตง
ของพืช แต่เป็นการตอบสนองเนื่องจากการสัมผัสที่เกี่ยวข้องกับแรงดันเต่งภายในเซลล์ สงผลใหใบไมยราบกางออก)
ใบย่อย ï• การหุบและบานของดอกบัวกับการหุบและ
แรงดันเต่งใน กางใบของตนไมยราบแตกตางกันอยางไร
สัมผัส เซลล์พาเรงคิมา
พัลไวนัส ลดลง (แนวตอบ ตางกันสิ่งเราที่มากระตุน โดย
การหุบและบานของดอกบัวมีแสงเปนสิง่ เรา
สวนการหุบและกางใบของตนไมยราบจะมี
เนื้อเยื่อท่อล�าเลียง แรงดันเต่งในเซลล์ การสัมผัสเปนสิ่งเรา)
พาเรงคิมามีมาก
2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวา การเคลือ่ น
ภาพที่ 4.30 พัลไวนัสที่โคนก้านใบของไมยราบ ไหวแบบแนสติ ก จะมี แ สงและอุ ณ หภู มิ เ ป น
ที่มา : คลังภาพ อจท. ปจจัยภายนอกที่สําคัญ ซึ่งปจจัยนี้จะสงผล
นอกจากนี ้ พืชบางชนิดยังมีกลไกในการ ใหเกิดการหุบและบานของดอกไม เนื่องจาก
ปรับตัวและตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อเอื้อ การเจริญของเซลลภายในและภายนอกบริเวณ
ประโยชน์ต่อการอยู่รอด เช่น พืชที่มีใบเป็น กลีบดอกแตกตางกัน
กระเปาะและมีสสี นั สวยงามล่อให้แมลงตกลงไป 3. ครูอธิบายตอไปวา นอกจากสิ่งเราภายนอก
พืชทีม่ ขี นตรงปลายใบและมีตอ่ มหลัง่ สารเมือก แลว พืชยังตอบสนองตอสิง่ เราภายใน ทําใหพชื
ล่อให้แมลงมาติด และพืชที่ใบลักษณะเป็นกรง มีการเคลื่อนไหว 2 แบบ คือ การเคลื่อนไหว
ภาพที่ 4.31 กาบหอยแครงเป็นพืชกินแมลงทีเ่ ปลีย่ นแปลง
รูปร่างของใบ เพื่อท�าหน้าที่จับแมลง เพื่ อ ดั ก จั บ แมลง ซึ่ ง พื ช เหล่ า นี้ จ ะมี ก าร แบบส า ยหรื อ นิ ว เทชั น มู ฟ เมนต และการ
ที่มา : คลังภาพ อจท. เปลี่ยนแปลงรูปร่างของใบเพื่อท�าหน้าที่จับ เคลื่อนไหวแบบบิด
แมลง โดยภายในใบจะมีกลุ่มเซลล์หรือขนเล็ก ๆ ที่ไวต่อสิ่งเร้าอยู่บริเวณด้านในของใบ เมื่อแมลง
บินมาสัมผัสเซลล์จะเกิดการสูญเสียน�้า ท�าให้ใบหุบทันที แล้วจึงปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยแมลง
ให้เป็นกรดอะมิโน จากนั้นจึงดูดซึมเข้าสู่เซลล์ของใบ
การตอบสนองของพืช 179

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดเปนสาเหตุที่ทําใหพืชมีกลไกการตอบสนองแบบแนสติก 1 พัลไวนัส เปนเซลลทอี่ ยูบริเวณโคนกานใบ มีขนาดใหญและผนังเซลลบาง
1. ความดันอากาศ มีความไวตอสิ่งเราที่มากระตุนสูง เชน การสัมผัส
2. ความเขมของแสง 2 แรงดันเตง เกิดขึ้นเนื่องจากนํ้าแพรเขาไปในเซลลทําใหเกิดความดันเตง
3. แรงดันเตงของเซลล ซึ่งแรงดันเตงมีหนวยเปนบรรยากาศ
4. ความเขมของออกซิน
5. ความเขมของคารบอนไดออกไซด
(วิเคราะหคําตอบ การเคลือ่ นไหวแบบแนสติกเปนการเคลือ่ นไหว สื่อ Digital
ทีม่ ที ศิ ทางไมสมั พันธกบั สิง่ เรา ซึง่ กลไกการตอบสนองของพืชอาจ ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
เกิดขึ้นจากการเจริญของเนื้อเยื่อบางสวนที่แตกตางกัน หรืออาจ การตอบสนองของพื ช จากภาพยนตร
เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงแรงดันเตง ดังนั้น ตอบขอ 3.) สารคดีสั้น Twig เรื่อง พืชกินสัตว (https://
www.twig-aksorn.com/f ifilm/parts-of-
the-plant-flowers-8052/)

T195
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูยกตัวอยางการนําความรูเกี่ยวกับการตอบ 2.2 การเคลื่อนไหวของพืชที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายใน
สนองของพืชมาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน การเคลื่อนไหวของพืชที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายใน หรือการเคลื่อนไหวแบบอัตโนวัติ
เชน มนุษยอาศัยการเคลือ่ นไหวแบบเปนเกลียว (autonomic movement) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
ของพืชมาดัดแปลงใหพมุ ไมเลือ้ ยมีรปู รางตางๆ 1. การเคลื่อนไหวแบบส่ายหรือนิวเทชันมูฟเมนต์
โดยนําเหล็กมาดัดใหเปนรูปตางๆ Biology
(nutation หรือ nutation movement) เป็นการเคลื่อนไหว in real life
2. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ที่เกิดเฉพาะส่วนยอดของพืช เนื่องจากเนื้อเยื่อทั้งสองด้านของ ในปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้การ
ม.5 เลม 1 ยอดเจริญไม่เท่ากัน ท�าให้ยอดพืชโยกไปมาขณะที่ปลายยอด เคลื่อนไหวแบบเป็นเกลียวของ
3. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Question ก�าลังเจริญเติบโต พืชมาสร้างเป็นซุม้ ไม้เลือ้ ย โดย
4. ใหนกั เรียนทํา Self Check เพือ่ ตรวจสอบความ 2. การเคลือ่ นไหวแบบบิดเป็นเกลียว (spiral movement ใช้โครงเหล็กมาดัดให้เป็นรูป
เขาใจ หรือ circumnutation) เป็นการเคลื่อนไหวที่ปลายยอดค่อย ๆ ต่ า ง ๆ เช่ น ท� า เป็ น รู ป สั ต ว์
ซุ้มประตู แล้วน�าพืชไม้เลื้อย
5. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดประจําหนวยการเรียนรู บิดเป็นเกลียวขึ้นไปเมื่อพืชเจริญเติบโตขึ้น เนื่องจากเซลล์ เช่น พลูด่าง มาใส่ให้เจริญไป
ที่ 4 บริเวณล�าต้นทั้งสองด้านเจริญเติบโตไม่เท่ากันเช่นเดียวกับการ ตามโครงเหล็กเพื่อใช้ประดับ
6. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบทดสอบหลั ง เรี ย นหน ว ย เคลื่อนไหวแบบส่าย ท�าให้ล�าต้นบิดเป็นเกลียวพันรอบแกนหรือ ตกแต่งสวนให้สวยงาม
การเรียนรูที่ 4 พันอ้อมหลักขึ้นไป เช่น การพันหลักของต้นมะลิวัลย์ ต้นพลู
ต้นลัดดาวัลย์

ภาพที่ 4.32 การเคลื่อนไหวแบบส่ายของต้นพืช ภาพที่ 4.33 การเคลือ่ นไหวแบบบิดเป็นเกลียวของพืช


ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
Topic
Question
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชได้แก่อะไรบ้าง จงยกตัวอย่าง
2. พืชตอบสนองต่อสิ่งเร้า หรือปัจจัยที่มากระตุ้นอย่างไร
3. เพราะเหตุใดปลายยอดพืชจึงเจริญเข้าหาแสง และปลายรากพืชจึงเจริญไปในทิศทางเดียวกับแรงโน้มถ่วง
4. การหุบและบานของดอกบัวเป็นการตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้าชนิดใด เหมือนหรือแตกต่างกับการหุบ
และกางใบของต้นไมยราบ
5. การเคลื่อนไหวแบบแนสติกคืออะไร
180

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Topic Question


1. สารเคมีหรือสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชและสภาพแวดลอม เชน
ครูอาจเพิ่มเติมเกี่ยวกับเคลื่อนไหวของพืชวา การเคลื่อนไหวของพืชที่เกิด
แสง นํ้าหรือความชื้น แรงโนมถวง การสัมผัส
จากฮอรโมนออกซินเปนสิง่ เราภายใน ซึง่ สรางจากบริเวณเนือ้ เยือ่ เจริญของพืชที่
2. ใชกระบวนการสื่อสารระหวางเซลล โดยเซลลพืชจะมีการรับสัญญาณ
บริเวณปลายยอดและราก สงผลใหกลุมเซลลที่อยูขางเคียงขยายตัวยืดยาวออก
สงสัญญาณ และตอบสนองตอสิ่งเรา
ซึ่งการเจริญเนื้อเยื่อในลักษณะนี้ ทําใหแบงการเคลื่อนไหวของพืชออกไดเปน 2
3. เพราะปลายยอดพืชมีการตอบสนองตอแสง (positive phototropism)
กลุม คือ การเคลือ่ นไหวแบบสาย (nutation) เกิดจากสวนตางๆ บริเวณปลายยอด
สวนรากพืชตอบสนองตอแรงโนมถวง (positive geotropism)
พืชเจริญเติบโตไมเทากัน ทําใหปลายยอดเอนหรือแกวงไปมา และการเคลือ่ นไหว
4. เปนการเคลื่อนไหวแบบแนสติก หรือเปนการตอบสนองที่มีทิศทางไม
แบบบิดเปนเกลียว (spiral movement) โดยบริเวณปลายยอดจะคอยๆ บิด
สัมพันธกับสิ่งเรา ซึ่งการหุบและบานของดอกบัวเปนการตอบสนองตอ
เปนเกลียวขึ้นไป เพื่อที่จะพันหลักหรือตนไมอื่น เรียกวา Twining โดยครูอาจ
แสง สวนการหุบและกางของใบไมยราบเปนการตอบสนองตอการสัมผัส
ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะการเคลื่อนไหวแบบอัตโนมัติของพืช
5. การตอบสนองที่มีทิศทางไมสัมพันธกับสิ่งเราที่มากระตุน โดยมีปจจัย
จาก Youtube เรือ่ ง nutation-vigne-accelere (https://www.youtube.com/
ภายนอกที่สําคัญ คือ แสงและอุณหภูมิ
watch?v=HLDPovgehaE)

T196
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
Biology ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายการตอบสนอง
in real life ไรองุน ของพืชตอสิง่ แวดลอม แลวใหนกั เรียนยกตัวอยาง
ปัจจุบนั ประเทศไทยมีไร่องุน่ อยูใ่ นหลายพืน้ ที ่ ส่วนมากจะอยูท่ างด้านตะวันออกของประเทศ 1 ตัวอยางเกี่ยวกับการนําความรูที่ไดจากการ
นอกจากไร่องุ่นจะเป็นสถานที่เพาะพันธุ์องุ่นแล้ว ยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวให้นักท่องเที่ยวมาเยี่ยม
ชมความสวยงามของไร่ด้วย องุ่นเป็นพันธุ์ไม้เลื้อยที่ตอบสนองต่อการสัมผัสของสิ่งเร้า ถ้าสังเกต ศึกษา เรื่อง การตอบสนองของพืช มาประยุกต
ไร่องุ่นจะเห็นว่า ชาวไร่จะน�าเสาคู่มาปักลงดินตามแนวยาวของแปลงแล้วใช้ลวดขึง วิธีนี้เรียกว่า ใชในชีวิตประจําวันลงในกระดาษ A4 พรอมนํา
การท�าค้าง เพื่อให้ใบยื่นที่เปลี่ยนแปลงเป็น เสนอหนาชั้นเรียน
มือเกาะ (tendril) มาพันเสาหลัก นอกจากนี้
ชาวไร่จ�าเป็นต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับการตอบ ขัน้ ประเมิน
สนองต่ อ สิ่ ง เร้ า ของพื ช มาควบคุ ม การเจริ ญ ตรวจสอบผล
เติบโตขององุ่น ดังนี้
ชาวไร่ จ ะคอยตั ด แต่ ง กิ่ ง องุ ่ น เสมอ 1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หนวยการเรียนรู
เนือ่ งจากในระหว่างทีต่ น้ องุน่ เจริญเติบโต ตาข้าง ที่ 4
จะเจริญไปพร้อมกับตายอด ถ้าหากปล่อยทิ้งไว้ 2. ตรวจแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.5
จะท�าให้ต้นองุ่นโทรม ผลผลิตน้อย เนื่องจาก ภาพที่ 4.34 ต้นองุ่นต้องได้รับการดูแลและตัดแต่งกิ่ง เลม 1
ตายอดเป็นแหล่งส�าคัญในการสร้างสารออกซิน ที่มา : คลังภาพ อจท. 3. ตรวจชิ้ น งาน เรื่ อ ง การตอบสนองของพื ช
ที่มีบทบาทในการลดการเจริญของตาข้าง ดังนั้น ชาวไร่จะคอยตัดตายอดเพื่อให้ตาข้างเจริญแล้ว
เลือกกิ่งก้านสาขาที่แข็งแรงและมีช่อดอกให้ยาวประมาณ 50 เซนติเมตรมาผูกกับเสาหลัก และ
มาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน โดยใชแบบ
ตัดตายอดแบบนี้ต่อไปเรื่อย ๆ จนกลายเป็นซุ้มยาว นอกจากนี้ชาวไร่จ�าเป็นต้องใช้สารเคมีหรือ ประเมินชิ้นงาน
ฮอร์โมนพืชบางชนิด คือ จิบเบอเรลลิน ฉีดไปทั่วทั้งบริเวณช่อดอกและล�าต้น เพื่อช่วยให้ช่อดอก 4. สังเกตการปฏิบัติการจากการทํากิจกรรม โดย
ยืดยาวขึ้นเนื่องจากจิบเบอเรลลินเป็นฮอร์โมนที่ช่วยกระตุ้นการแบ่งเซลล์และขยายขนาดให้เซลล์ ใชแบบประเมินการปฏิบัติการ
ยาวขึ้น ท�าให้ช่อโปร่ง ผลองุ่นมีขนาดใหญ่ขึ้น สีสวย รสชาติหวาน กรอบ จึงจะขายได้ราคาดี 5. สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยใชแบบ
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
7. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชแบบ
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค

ภาพที่ 4.35 ไร่องุ่น


ที่มา : คลังภาพ อจท.
การตอบสนองของพืช 181

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง การตอบสนองของพืช ได
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช และใหนกั เรียนแตละกลุม เลือก จากการทําชิ้นงาน เรื่อง การตอบสนองของพืช มาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ปลูกตนไมชนิดใดก็ได 3-5 ตน แลวนําขอมูลที่ไดจากการศึกษามา โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งานทีอ่ ยูใ นแผนการ
ประยุกตใชกับตนไมของตนเอง บันทึกผลและจัดทํารายงาน เรื่อง จัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 4
การประยุกตใชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช หรือทําใน แบบประเมินชิ้นงาน

รูปแบบแผนพับ นําเสนอหนาชัน้ เรียน และใหความรูก บั คนในชุมชน คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินรายงาน ตามรายการที่กาหนดแล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ลาดับที่ รายการประเมิน
ระดับคะแนน
4 3 2 1
1 การจัดรูปแบบรายงาน
2 ความถูกต้องและคุณภาพของเนื้อหา
3 ภาพประกอบ/ตาราง
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................./................/................

เกณฑ์การประเมิน
ระดับคะแนน
รายการประเมิน
4 3 2 1
1. การจัดรูปแบบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รูปเล่มรายงานมีระเบียบ รู ปเล่ มรายงานมี
และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ และมี องค์ ประกอบ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่
ครบถ้วน ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ครบถ้วนเพียงบางส่วน ครบถ้วน
2. ความถูกต้องและ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้อหาในรายงานมีความ เนื้ อหาในรายงานไม่
คุณภาพ ของ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง ครบทุ กหั วข้ อ ถู กต้ อง และไม่ ครบ
เนื้อหา และมีภาษาที่สละสลวย เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน ตามที่กาหนด
เข้าใจง่าย
3. ภาพประกอบ/ ภาพมี ความสอดคล้ อง ภาพมี ความสอดคล้ อง ภ า พส อด ค ล้ องกั บ ภาพไม่ สอดคล้ องกั บ
ตาราง กับเนื้อหา มีภาพมีความ กับเนื้อหา ภาพไม่คมชัด เนื้ อหาบางส่ ว น ภาพ เนื้อหา ภาพไม่คมชัด
คมชัด สวยงาม ตารางที่ ตารางที่นาเสนอมีความ คมชัด ตารางที่นาเสนอ ตารางที่ น าเสนอไม่
นาเสนอมีความถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T197
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ผิด 2. ถูก 3. ถูก Summary
4. ผิด 5. ผิด 6. ผิด การตอบสนองของพืช

การตอบสนองของพืชตอสารเคมี
เป็นสารอินทรีย์ที่ครอบคลุมทั้งฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ที่มีผลคล้ายฮอร์โมนพืช
ฮอร์โมนพืช เป็นสารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้นจากกลุ่มเซลล์พิเศษ
• ออกซิน ท�าให้ล�าต้นและยอดอ่อนของต้นกล้ายืดยาว
• ไซโทไคนิน ท�างานร่วมกับฮอร์โมนออกซิน กระตุ้นการเจริญของยอด ราก ตาข้าง และผล
• จิบเบอเรลลิน ท�าให้ต้นพืชมีล�าต้นที่ยาวขึ้น ช่วยให้เมล็ดงอก
• เอทิลีน ชักน�าให้เนื้อเยื่อเจริญเติบโต เร่งการสุกของผลไม้
• กรดแอบไซซิก กระตุน้ ให้ปากใบปดในสภาพแวดล้อมทีแ่ ห้งแล้ง ชักน�าและรักษาให้เมล็ดเข้าสูร่ ะยะพักตัว

การตอบสนองของพืชตอสิ่งแวดลอม
• ก ารเคลื่อนไหวของพืชที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก เป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเจริญเติบโต
ของพืช เช่น การตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลก การหุบและการบานของดอกไม้
• การเคลื่อนไหวของพืชที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายใน เช่น การพันหลักของต้นมะลิวัลย์

Self Check
ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
หากพิจารณาข้อความไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามที่หัวข้อก�าหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. กรดแนฟทาลีนแอซีติกมีโครงสร้างสารคล้ายกับฮอร์โมนไซโทไคนิน 1.1
2. ไซโทไคนินนิยมใช้ร่วมกับออกซินในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 2.2

ุด
ส ม
3. จิบเบอเรลลินช่วยขยายขนาดของเซลล์ 1.3


ใ น
ล ง
4. กรดแอบไซซิกมีผลต่อโซเดียมไอออนส่งผลต่อการเปด-ปดของปากใบพืช ท ึ ก
1.5
บ ั น

5. การหุบและการบานของดอกไม้ เรียกว่า เอพินาสตี (epinasty) 2.1


6. การพันหลักของต้นมะลิวัลย์เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มาสัมผัส 2.2

182

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจสรุปความรูหลังจากเรียนเนื้อหา เรื่อง การเคลื่อนไหวของพืชที่ตอบ ขอใดคือความแตกตางระหวางการเคลื่อนไหวแบบแนสติกกับ
สนองตอสิ่งเราภายนอกวา ทรอปกมูฟเมนตเปนการเคลื่อนไหวของพืชแบบมี การเคลื่อนไหวแบบทรอปก
ทิศทางสัมพันธกับสิ่งเรา โดยอาจเบนเขาหรือเบนออกจากสิ่งเรา เชน รากเบน 1. ชนิดของพืชที่ตอบสนอง
เขาแรงโนมถวง สวนปลายยอดพืชเบนเขาหาแสง และแนสติกมูฟเมนต เปนการ 2. ระยะเวลาการตอบสนอง
เคลื่อนไหวของพืชที่มีทิศทางที่ไมแนนอน หรือไมสัมพันธกับสิ่งเรา เชน การหุบ 3. ทิศทางของการตอบสนอง
และบานของดอกไม 4. ประเภทของสิ่งเราที่มากระตุน
5. วัตถุประสงคของการตอบสนอง
(วิเคราะหคําตอบ การตอบสนองของพื ช ล ว นมี วั ต ถุ ป ระสงค
เพือ่ ปรับตัวใหสามารถดํารงชีวติ อยูไ ด โดยพืชจะมีทศิ ทางการตอบ
สนองทีส่ มั พันธกบั สิง่ เรา เรียกวา การเคลือ่ นไหวแบบทรอปก หรือ
มีทศิ ทางการตอบสนองทีไ่ มสมั พันธกบั สิง่ เรา เรียกวา การเคลือ่ นไหว
แบบแนสติก ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T198
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Question

U nit
คําชี้แจง :
Question 4
ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต่ อ ไปนี้
1. ตองเปนสารอินทรียท ปี่ ระกอบไปดวยธาตุ C H
หรือ O โดยอาจเปนสารทีพ่ ชื สรางขึน้ หรือเปน
สารสังเคราะหทมี่ นุษยสรางขึน้ และตองเปนสาร
1. ปัจจัยใดบ้างที่บ่งบอกว่าสารนั้นเป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ทีไ่ มเปนธาตุอาหารของพืช แตเปนสารทีม่ ผี ลตอ
2. เพราะเหตุใดบริเวณยอดของพืชจึงมีกิ่งก้านน้อยกว่าบริเวณล�าต้นด้านล่าง การเปลีย่ นแปลงทางสรีรวิทยาของพืช เชน การ
สังเคราะหดว ยแสง การหายใจ การเจริญเติบโต
3. นักวิทยาศาสตร์ชาวเบลเยียมสามารถจ�าแนกยีนกลายพันธุ์ที่ท�าให้ต้น Arabidopsis thaliana
สร้างฮอร์โมนออกซินมาก นักเรียนคิดว่า พืชต้นนี้จะมีลักษณะอย่างไร ของพืช
4. ปริมาณความเข้มข้นของออกซินมีผลต่อการเจริญของเนื้อเยื่อแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร 2. เพราะบริเวณตายอดมีการสรางฮอรโมนออกซิน
ปริมาณมาก ทําหนาทีย่ บั ยัง้ การแตกกิง่ กานและ
5. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อควรใช้ฮอร์โมนชนิดใดบ้าง เพราะเหตุใด
การเจริญของตาขาง
6. เอทิลีนมีผลต่อกระบวนการทางสรีรวิทยาและการเจริญเติบโตของพืชอย่างไร และสามารถน�ามา
ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้อย่างไร 3. พืชชนิดนีจ้ ะสูงขึน้ แตจะไมมกี ารเจริญเติบโตของ
ราก เนือ่ งจากออกซินทีม่ ปี ริมาณมากเกินไปจะ
7. จากรูป จงเปรียบเทียบอัตราการแบ่งเซลล์และปริมาณออกซินในต�าแหน่ง a, b, c, และ d
กระตุน ใหเนือ้ เยือ่ ยืดตัวและขยายขนาดใหญขนึ้
แสง แตยบั ยัง้ การเจริญเติบโตของราก
a b 4. แตกตางกัน โดยลําตน ตา และรากตองการ
ผิวดิน ความเขมขนออกซินทีเ่ หมาะสม คือ 10-4-10-5,
c d
ภาพที่ 4.36 ปริมาณออกซินต่อการแบ่งเซลล์ของพืช 10-8-10-9และ 10-10-10-11ตามลําดับ
ที่มา : คลังภาพ อจท. 5. ฮอร โ มนออกซิ น และไซโทไคนิ น ในสั ด ส ว นที่
8. การทดลองผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินและกรดแอบไซซิก ได้ผลดังตาราง เหมาะสม เนือ่ งจากไซโทไคนินจะกระตุน การเกิด
ตารางที่ 4.1 : ผลการทดลองการงอกของเมล็ดที่เคลือบดวยฮอรโมนจิบเบอเรลลินและ ยอดและออกซินกระตุน การเกิดรากพืช
กรดแอบไซซิก
6. เอทิลนี ชวยเรงการสุกของผลไม กระตุน การหลุด
เมล็ดพืช ชุดควบคุม เคลือบด้วย GA เครือบด้วย ABA
รวงของใบ และการผลัดใบตามฤดูกาล โดย
ก่อนทดลอง เอทิ ลี น สามารถนํ า มาประยุ ก ต ใ ช ป ระโยชน
ทางการเกษตร เชน ใชในการบมผลไม กระตุน
หลังทดลอง
การออกดอกของสับปะรด กระตุน การเกิดดอก
เพศเมียในพืชตระกูลแตง เรงการไหลของนํา้ ยาง
และเพิ่มปริมาณนํ้ายางของมะละกอ เพื่อผลิต
1) ตัวแปรอิสระในการทดลองนี้คืออะไร ปาเปน
2) จงอธิบายผลของฮอร์โมนทั้ง 2 ชนิดที่ใช้ในการทดลอง 7. อัตราการแบงเซลลมากที่สุด คือ ตําแหนง d
9. สารชนิดหนึง่ เมือ่ ใส่ให้ไม้ประดับจะท�าให้ตน้ ไม้เตีย้ แคระแกร็น นักเรียนคิดว่า สารชนิดนีน้ า่ จะยับยัง้ รองลงมา c b และ a ตามลําดับ สวนบริเวณที่
การสร้างฮอร์โมนพืชชนิดใด มีปริมาณออกซินมากทีส่ ดุ คือ ตําแหนง d รอง
การตอบสนองของพืช 183 ลงมา คือ c b และ a ตามลําดับ

8. 1) การเคลือบเมล็ดดวยฮอรโมน
2) เมล็ดทีเ่ คลือบดวยจิบเบอเรลลิน (GA) จะงอกเร็วกวาเมล็ดทีเ่ ปนชุดควบคุม สวนเมล็ดทีเ่ คลือบดวยกรดแอบไซซิก (ABA) เมล็ดจะไมงอก ดังนัน้ ฮอรโมน
จิบเบอเรลลินมีผลกระตุน การงอกเมล็ด แตกรดแอบไซซิกมีผลยับยัง้ การงอกของเมล็ด
9. จิบเบอเรลลิน ถาพืชขาดฮอรโมนชนิดนีจ้ ะทําใหพชื มีลกั ษณะเตีย้ และแคระแกร็น

T199
นํา สอน สรุป ประเมิน

10. อาศัยหลักการเดียวกับฮอรโมนเอทิลีน ซึ่งเปน


ฮอรโมนที่เรงการสุกของผลไม
11. การเคลื่อนไหวแบบแนสติกเกี่ยวของกับการ
เจริญเติบโตของพืช โดยมีแสงและอุณหภูมิ
เปนปจจัยกระตุน เชน แสงมีสวนทําใหกลุม 10. การใช้ถ่านหินบ่มผลไม้ อาศัยหลักการท�างานเช่นเดียวกับฮอร์โมนพืชชนิดใด
เซลล ด  า นในและด า นนอกบริ เ วณกลี บ ดอก 11. การตอบสนองต่อสิง่ แวดล้อมโดยการเคลือ่ นไหวแบบแนสติกเกีย่ วข้องกับการเจริญเติบโตของพืช
เจริญแตกตางกัน ทําใหดอกไมหุบและบาน หรือไม่ อย่างไร
การเปลี่ยนแปลงของแรงดันเตงที่กลุมเซลล 12. การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงแรงดันเต่งภายในเซลล์ นอกจากต้นไมยราบแล้ว
พัลไวนัสทําใหเกิดการหุบและกางใบของตน นักเรียนคิดว่า ยังมีพืชชนิดอื่นที่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าแบบเดียวกันนี้อีกหรือไม่ อย่างไร
ไมยราบ
13. การเจริญของยอดต้นถั่วที่มีการพันรอบเสาเป็นการเคลื่อนไหวแบบใด
12. ตนกาบหอยแครง เนื่องจากภายในใบพืชจะมี
14. ต้นกระถินหุบใบในเวลากลางคืนหรือที่เรียกกันว่า “ต้นไม้นอน” เป็นการเคลื่อนไหวแบบใด
กลุม เซลลทไี่ วตอสิง่ เราทีอ่ ยูท างดานในของใบ
เมื่อแมลงบินมาสัมผัสจะสูญเสียนํ้า ใบจึงหุบ 15. พิจารณาค�าศัพท์ที่ก�าหนดให้ ว่ามีความสัมพันธ์กับข้อความด้านล่างอย่างไร
ทันที แลวจึงปลอยเอนไซมออกมายอยโปรตีน negative phototropism positive phototropism
และดูดซึมเขาสูใบ สวนใบกระถินจะหุบใบ negative geotropism positive geotropism
ในเวลากลางคืนเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลง
negative chemotropism positive chemotropism
แรงดันของกลุมเซลลพัลไวนัสเชนเดียวกับ
ไมยราบ negative hydrotropism positive hydrotropism
13. การเคลื่อนไหวแบบสาย (nutation move- 1) ยอดพืชเจริญเข้าหาแสง
ment) 2) หลอดเรณูเจริญเข้าหารังไข่
14. การเคลื่อนไหวแบบแนสติก (nastic move- 3) รากพืชเจริญเข้าหาที่มืด
ment) 4) ยอดพืชเจริญขึ้นสู่ที่สูง
5) รากพืชเจริญเข้าหาแหล่งน�้า
15. 15.1 positive phototropism
15.2 positive chemotropism
15.3 negative phototropism
15.4 negative geotropism
15.5 positive hydrotropism

184

T200
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวทางการจัดทํากิจกรรม
Fun Science Activity
Fun Sc ence ครูแนะนําหรือเสนอแนะหลักการที่ใชในการ
Activity ปฏิบตั กิ จิ กรรม ตนไมกระดาษดูดนํา้ เพือ่ ใหนกั เรียน
มีแนวทางการเลือกใชอุปกรณ แนวทางการปฏิบัติ
ตนไมกระดาษดูดนํา้ กิจกรรมไดอยางถูกตอง และเขาใจหลักการทาง
วิทยาศาสตรที่นําประยุกตใชในกิจกรรมนี้มากขึ้น
วัสดุและอุปกรณ
ดังนี้
1. น�้าร้อน 6. กระดาษ A4 • ครูอาจเสนอแนวทางการเลือกใชกระดาษที่มี
2. กรรไกร 7. กระดาษทิชชู ความหนามาก เชน กระดาษ 100 ปอนด แทน
3. แก้วน�้าใส 8. ผงกาแฟหรือผงโกโก้
4. สกอตเทป 9. ช้อนคน
กระดาษ A4 เนือ่ งจากกระดาษ 100 ปอนด
5. อุปกรณ์เครื่องเขียน ทัว่ ไปมีความหนาประมาณ 200 แกรม จะทําให
เช่น ดินสอ ยางลบ เห็นผลการทดลองไดชัดเจนกวาและรวดเร็ว
ต้นไม้กระดาษดูดน�้า
ที่มา : คลังภาพ อจท. เป็นต้น กวา เนื่องจากกระดาษที่มีความหนามากขึ้น
จะยิง่ ดูดซับนํา้ ไดดยี งิ่ ขึน้
วิธีปฏิบัติ • ครูอาจถามคําถามเพื่อกระตุนความคิดของ
1. เทน�้าร้อนลงในแก้วน�้า แล้วเติมผงกาแฟหรือผงโกโก้ลงไป ทิ้งไว้ นักเรียนวา เพราะเหตุใดการทดลองนีจ้ งึ ตอง
ระยะหนึ่งแล้วใช้ช้อนคนให้เข้ากัน นํ า กระดาษทิ ช ชู ม าติ ด กั บ กระดาษก อ นนํ า
2. นา� กระดาษ A4 มาตัดให้มคี วามยาว 14 เซนติเมตร วัดขอบกระดาษ
ทัง้ 2 ด้านให้มคี วามยาว 2 เซนติเมตร แล้วใช้ดนิ สอลากเส้นก�ากับ ไปจุม สารละลาย จากนัน้ ครูและนักเรียนรวม
ติดกระดาษทิชชูกับกระดาษที่มี
3. น�ากระดาษทิชชูมาวางทาบและติดกับกระดาษข้อ 2. ความยาว 14 ซม. กันอภิปรายเพือ่ ใหไดขอ สรุปวา กระดาษทิชชู
4. ม ้วนกระดาษในข้อ 2. แล้วใช้สกอตเทปติดให้เป็นทรงกระบอกยาว ทีม่ า : คลังภาพ อจท. เปรียบเสมือนทอลําเลียงไซเล็มที่ลําเลียงนํ้า
จากนั้นใช้กรรไกรตัดปลายทั้งสองด้านที่มีความยาว 4 เซนติเมตร และธาตุอาหารในดินเขาสูร ากดวยกระบวนการ
ให้มีลักษณะเป็นซี่ ๆ เพื่อให้ด้านหนึ่งแทนราก และอีกด้านแทนใบ
ของต้นไม้ แพร แตในความเปนจริงตนไมจะอาศัยเพียง
5. ยัดกระดาษทิชชูหรือส�าลี ให้แน่นลงในกระดาษทรงกระบอกในข้อ 4. กระบวนการแพรไมได เนือ่ งจากตนไมบางสาย
6. น�าต้นไม้กระดาษไปจุ่มลงในน�้าที่เตรียมไว้จากข้อ 1. แล้วสังเกต พันธุม ลี าํ ตนสูงจําเปนตองอาศัยแรงดึงจากการ
ทิศทางการล�าเลียงน�้าและธาตุอาหาร
ตัดปลายทรงกระบอกเป็นซี่ ๆ คายนํา้ แรงดันราก แรงแอดฮีชนั และแรงโคฮี-
ที่มา : คลังภาพ อจท. ชันเพือ่ ลําเลียงนํา้ ไมใหขาดสายจากรากไปยัง
หลักการทางวิทยาศาสตร
สวนตางๆ ของพืชได
ต้นไม้มรี ากเป็นอวัยวะทีท่ า� หน้าทีด่ ดู น�า้ และธาตุอาหารจากดินไปยังส่วนต่าง ๆ โดยน�า้ ท�าหน้าทีเ่ ป็นตัวละลาย
ธาตุอาหารให้อยูใ่ นรูปของสารละลายแล้วแพร่เข้าสูร่ าก ซึง่ ภายในรากและล�าต้นจะมีเนือ้ เยือ่ ล�าเลียงไซเล็ม ซึง่
มีหน้าที่ล�าเลียงน�้าและธาตุอาหาร

185

T201
บรรณานุ ก รม
กระทรวงศึกษาธิการ. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2551. ชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
วรรณทิพา รอดแรงค้า. 2554. การสอนวิทยาศาสตร์ที่เน้นทักษะกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน
พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (ม.ป.ป.) คู่มือการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ส�ำหรับหลักสูตร
อนาคต ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
Berg, L. 2007. Introductory Botany. Australia: Thomson Brooks/Cole.
Boone, K. 2007. Biology Expression. Singapore: EPB Pan Pacific.
Cambell, N.A., Reece, J.B, Urry, L.A., Cain, M.L., Wasserman, S.A., Minorsky, P.V., and Jackson, R.B. (2015).
Biology: A Global Approach. 10th edition. Boston: Pearson Education.
Fong, J., Kwan, P.L., Lam, E., Lee, C.and Lim, P.L. 2016. Science Matters Volume B. 5th edition. Malaysia: Marshall
Cavendish Education Pte Ltd.
Heyworth, R. M. 2013. All About Science Volume B. Singapore: Pearson Education South Asia Pte Ltd.
Leng, P.H. 2010. Inscience Express/Normal (Academic) Volume 1. 3nd edition. Singapore: Star Publishing Pte Ltd.
Tay, B. 2007. Biology insights. Singapore: Pearson Education.

T202

You might also like