ใบงานคลื่นกล

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 47

คลื่นกล เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 1

เมื่อเราพิจารณาการเกิดคลื่นน้้าพบว่า คลื่นจะเกิดขึ้นได้ต้องมีตัวกลางในที่นี้คือ ผิวน้้า และมีการรบกวนตัวกลาง


คือการที่เราเอามือจุ่มน้้า หรือวัตถุตกกระทบผิวน้้า เมื่อต้าแหน่งหนึ่งต้าแหน่งใดบนผิวน้้าถูกรบกวน ก็จะท้าให้เกิดคลื่นบน
ตัวกลางแผ่ขยายออกจากต้าแหน่งนั้นโดยรอบ โดยที่ตัวกลางนั้นไม่ได้เคลื่อนที่ไปกับคลื่นด้วย เช่น เรามองเห็นใบไม้ลอยอยู่
บนผิวน้้า เมื่อคลื่นแผ่ไปถึงใบไม้นั้นก็จะลอยขึ้นลอยลงโดยไม่เคลื่อนที่ตามไปกับคลื่นนั้นปรากฏการณ์คลื่นที่เห็นจาก
ตัวอย่างนี้ค่อนข้างชัดเจน แต่ก็ยังมีคลื่นอีกหลายรูปแบบซึ่งเมื่อเกิดแล้วมีการเคลื่อนที่ไปแล้ว เราไม่สามรถสังเกตเห็นได้
ดังนั้นในการศึกษาเพื่ออธิบายปรากฏการณ์คลื่นในบทเรียนนี้ จะเป็นการศึกษาลักษณะสมบัติของคลื่นอย่างง่ายที่สุดคือ
คลื่นน้้าและคลื่นในเส้นเชือก

การจาแนกคลื่น
สามารถจ้าแนกได้หลายวิธีเช่น
1. จ้าแนกคลื่นตามความจ้าเป็นของการใช้ตัวกลางในการแผ่ การจ้าแนกประเภทนี้สามารถแบ่งคลื่น
ออกได้ 2 ชนิด คือ
ก. คลื่นกล (mechanical wave)คือคลื่นที่ต้องอาศัยอนุภาคตัวกลางจึงถ่ายทอดพลังงานได้
เช่นคลื่นเสียงคลื่นน้้าคลื่นในเส้นเชือก
ข. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic wave)คือคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยอนุภาคตัวกลางก็
สามารถถ่ายทอดพลังงานได้ซึ่งได้แก่รังสีแกมมารังสีเอ็กซ์รังสีอัลตราไวโอเลตคลื่นแสงรังสีอินฟาเรดคลื่นไมโครเวฟคลื่นวิทยุ
ไฟฟ้ากระแสสลับ

2. จ้าแนกคลื่นตามลักษณะของการสั่นของแหล่งกาเนิดหรือตามลักษณะการแผ่ การจ้าแนกประเภท
นี้ แบ่งคลื่นออกได้ 2 ชนิด คือ
ก. คลื่นตามยาว (longitudinal wave)คือคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านมีการ
เคลื่อนที่ไปกลับในทิศทางเดียวกันกับทิศทางที่คลื่นเคลื่อนที่เช่นคลื่นเสียงคลื่นที่เกิดจากการอัดและขยายของสปริง

http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewgroup/379

ข. คลื่นตามขวาง (transverse wave)คือ คลื่นที่ทาให้อนุภาคของตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่าน


มีการเคลื่อนที่ ไปกลับในทิศทางตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นเคลื่อนที่ เช่น คลื่นในเส้นเชือก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewgroup/379
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 2

3. จ้าแนกตามความต่อเนื่องของแหล่งกาเนิด การจ้าแนกประเภทนี้แบ่งคลื่นออกได้ 2 ชนิด คือ


ก. คลื่นดล (pulse wave)คือคลื่นที่เกิดจากแหล่งก้าเนิดสั่นเพียงครั้งเดียวทาให้เกิดคลื่นเพียงหนึ่ง
ลูกอาจมีลักษณะกระจายออกจากแหล่งก้าเนิดที่ทาให้เกิดคลื่นเช่นการโยนหินลงไปในน้า
ข. คลื่นต่อเนื่อง (continuous wave)คือคลื่นที่เกิดจากการสั่นของแหล่งก้าเนิดหลายครั้งติดต่อกัน
ท้าให้เกิดคลื่นหลายลูกติดต่อกันโดยความถี่ของคลื่นที่เกิดขึ้นเท่ากับความถี่ของการรบกวนของแหล่งก้าเนิดคลื่นเช่นคลื่นน้้า
ที่เกิดจากการใช้มอเตอร์

คลื่นกับการส่งผ่านพลังงาน

จากการพิจารณาพบว่า เมื่อมีคลื่นเกิดขึ้น คลื่นจะเคลื่อนที่หรือแผ่ออกไปโดยจะมีสิ่งหนึ่งไปพร้อมกับคลื่นด้วย สิ่ง


นั้นก็คือพลังงานเช่นขณะคลื่นผิวน้้าเคลื่อนที่ไปกระทบกับใบไม้ที่ลอยนิ่ง ๆ บนผิวน้้าจะท้าให้ใบไม้เกิดการสั้นขึ้นสั่นลง การ
ที่ใบไม้สั่นขึ้นสั่นลงได้ต้องได้รับพลังงาน ซึ่งพลังงานที่ว่านี้ก็มาจากคลื่นผิวน้้าเพราะเมื่อคลื่นผิวน้้าเคลื่อนที่ผ่านไปแล้ว ใบไม้
ก็จะหยุดการเคลื่อนที่ลอยนิ่งอยู่บนผิวน้้าเหมือนเดิม หรือในการศึกษาในเรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิด ก็จะมีการพา
พลังงานไปกับคลื่นได้ด้วยซึ่งนักเรียนจะได้ศึกษาละเอียดในเรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่อไป
ดังนั้นจึงอาจให้ ความหมายของคลื่นว่าเป็นปรากฏการณ์ที่แสดงการถ่ายทอดพลังงานจากแหล่งกาเนิดออกไป
ยังบริเวณโดยรอบ

คลื่นบนเส้นเชือกและคลื่นผิวนา

การศึกษาคลื่นที่ง่ายที่สุด สามารถเห็นคลื่นได้ชัดเจน คือ คลื่นในเส้นเชือกและคลื่นผิวน้้า


1. การเกิดคลื่นบนเส้นเชือก ท้าได้โดยเชือกที่ยาวพอสมควร และมีขนาดไม่ใหญ่มากนัก ปลายข้างหนึ่งผูก
ยึดตรึงแน่น จับปลายเชือกอีกข้างหนึ่งดึงให้เชือกตึง แล้วสะบัดปลายเชือกขึ้นลงตามแนวดิ่ง
เมื่อพิจารณาขณะเกิดคลื่นในเส้นเชือก อนุภาคของเส้นเชือกจะเคลื่อนที่ขึ้นลงในแนวดิ่ง กลับไปกลับมาซ้้าร้อยเดิม
ซึ่งเป็นการเคลื่อนที่แบพีริออดิก และความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดความเร็วและความเร่งของวัตถุกับเวลาอยู่ในรูปของ
ฟังก์ชันไซน์หรือโคไซน์ การเคลื่อนที่ของอนุภาคจะเป็นการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก
2. คลื่นผิวน้้า (Surface Water Wave) การเกิดคลื่นผิวน้้าก็คล้ายกับการเกิดคลื่นบนเส้นเชือก คือต้องมี
ตัวกลาง(ในที่นี้ คือ น้้า) มีแหล่งก้าเนิด(เช่น นิ้วมือ, วัตถุต่าง ๆ) เมื่อเราท้าให้แหล่งก้าเนิดรบกวนบริเวณผิวน้้า เช่นใช้นิ้วมือ
จุ่มน้้าหรือวัตถุตกกระทบผิวน้้า ก็จะเกิดคลื่นน้้าเคลื่อนที่ออกจากแหล่งก้าเนิดออกไปดังรูป

รูปแสดง คลื่นบนผิวน้้า
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 3

ในการศึกษาลักษณะคลื่นผิวน้้าเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น มองเห็นชัดเจนขึ้นอาจศึกษาจากรูปภาคตัดขวางของ
คลื่นผิวน้้าในทะเลดังรูป

รูปแสดง ภาคตัดขวางของคลื่นผิวน้้าในทะเล
(http://wave203436.blogspot.com/2014/08/blog-post_64.html)

ส่วนประกอบของคลื่น

เมื่อพิจารณาลักษณะของคลื่นผิวน้้า หรือคลื่นบนเส้นเชือกอย่างต่อเนื่อง ที่เกิดจากแหล่งก้าเนิดสั่นอย่างสม่้าเสมอ


ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ต้าแหน่งต่าง ๆของตัวกลาง (ผิวน้้า หรือเส้นเชือก) จะขยับขึ้นลงจากระดับปกติ หรือเรียกว่า แนว
สมดุลเดิมถึงต้าแหน่งนั้น เรียกว่า การกระจัด (Displacement) (การกระจัด ณ ต้าแหน่งใด ๆ บนคลื่นหาได้จากความยาว
ของเส้นตั้งฉากจากระดับปกติถึงต้าแหน่งนั้น ๆ)
 การกระจัดมีค่าเป็นบวก (+) ส้าหรับต้าแหน่งที่สูงกว่าระดับปกติ
 การกระจัดมีค่าเป็นลบ(-) ส้าหรับต้าแหน่งที่ต่้ากว่าระดับปกติ
รูปร่างคลื่นบนเส้นเชือกและคลื่นบนผิวน้้าที่เกิดขึ้นเป็นรูปไซน์ (sine wave หรือ sinusoidal
wave) ส่วนประกอบที่ส้าคัญของคลื่นต่อเนื่องแสดงดังรูป

https://orapanwaipan.wordpress.com
1. สันคลื่น (crest) คือจุดสูงสุดที่คลื่นกระเพื่อมขึ้นไปได้
2. ท้องคลื่น (trough) คือจุดต้่าสุดที่คลื่นกระเพื่อมลงไปได้
3. แอมพลิจูด (amplitude , A ) คือการกระจัดสูงสุดของคลื่นจากระดับปกติหรือความสูงของสันคลื่นหรือ
ท้องคลื่นแอมพลิจูดอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ช่วงกว้างของคลื่น ค่าของแอมพลิจูดจะบอกค่าของพลังงานของคลื่นได้โดย
พลังงานจะแปรโดยตรงกับแอมพลิจูดคือ
 แอมพลิจูดมีค่ามาก พลังงานของคลื่นจะมีค่ามากด้วย
 แอมพลิจูดมีค่าน้อย พลังงานของคลื่นจะมีค่าน้อยด้วย
4. ความยาวคลื่น ( wavelength , λ) คือระยะทางที่วัดเป็นเส้นตรงจากจุดตั้งต้นไปจนถึงจุดสุดท้ายของหนึ่งลูกคลื่น
5. คาบ (period , T) คือเวลาที่คลื่นใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 ลูกคลื่น มีหน่วยเป็นวินาที (s)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 4

6. ความถี่ (frequency , f ) คือจ้านวนลูกคลื่นที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลาเช่นถ้าเกิด


คลื่น 3 ลูกในเวลา 1 วินาทีเช่นนี้เรียกได้ว่าความถี่คลื่นมีค่า 3 รอบต่อวินาที ความถี่มีหน่วยเป็นรอบ/วินาทีหรือ 1 /วินาที
หรือสั้นๆ ว่าเฮิตรซ์ (Hz)

อัตราเร็วของคลื่น

อัตราเร็วคลื่น (wave speed , v ) คือระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลาเราสามารถค้านวณหา


อัตราเร็วคลื่นได้จาก

อัตราเร็วของคลื่นบนเส้นเชือก

การเกิดคลื่นบนเส้นเชือก พบว่าคลื่นจะเคลื่อนที่เร็วหรือช้า ขึ้นอยู่กับความตึงของเส้นเชือกและมวลของเชือก ใน


หัวข้อนี้ไม่มีการพิสูจน์ที่มาของสูตรการค้านวณ ให้นักเรียนจ้าไปใช้ได้เลย

𝑇
ก้าหนดให้ T คือความตึงของเส้นเชือก (นิวตัน)
V=√
𝜇
µ คือมวลต่อหนึ่งหน่วยความยาว (กิโลกรัม/เมตร)
V คืออัตราเร็วของคลื่นในเส้นเชือก (เมตร/วินาที)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 5

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................


แบบทดสอบเรื่องคลื่น

1. การเคลื่อนที่แบบคลื่นคือการเคลื่อนที่ซึ่ง
ก. พลังงานถูกถ่ายโอนไปข้างหน้าพร้อมกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง
ข. พลังงานถูกถ่ายโอนไปข้างหน้า ก่อนการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง
ค. พลังงานถูกถ่ายโอนไปข้างหน้า หลังการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง
ง. พลังงานถูกถ่ายโอนไปข้างหน้าได้ โดยที่อนุภาคตัวกลางสั่นอยู่ที่เดิม
2. เมื่อมีคลื่นผิวน้้าแผ่ไปถึงวัตถุที่ลอยอยู่ที่ผิวน้้าจะมีการเคลื่อนที่อย่างไร
ก. อยู่นิ่งๆ เหมือนเดิม ข. กระเพื่อมขึ้นลงและอยู่กับที่เมื่อคลื่นผ่านไปแล้ว
ค. เคลื่อนที่ตามคลื่น ง. ขยับไปข้างหน้าแล้วถอยหลัง
3. คลื่นในเส้นเชือกก้าลังเคลื่อนที่จากซ้ายไปขวา A เป็นจุดสองจุดบนเส้นเชือก เมื่อเวลาหนึ่งรูปร่างของเส้นเชือกเป็น
ดังรูป ถ้าเวลาผ่านไปอีกเล็กน้อย จุดA และB จะเคลื่อนที่อย่างไร
ก. ทั้งAและB จะเคลื่อนที่ไปทางขวามือ
A B ข. A ต่า้ กว่าเดิม B สูงกว่าเดิม
ค. A สูงกว่าเดิม B ต่้ากว่าเดิม
ง. ทั้ง A และ B อยู่ที่เดิม

4. คลื่นดลในเส้นเชือกก้าลังเคลื่อนที่จากขวาไปซ้าย A, B และ C เป็นจุดบนเส้นเชือก เมื่อเวลาหนึ่งรูปร่างของเส้น


เชือกเป็นดังรูป ถ้าเวลาผ่านไปอีกเล็กน้อยจุดทั้งสามจะเคลื่อนที่อย่างไร
ก. จุดทั้งสามจะเคลื่อนที่ไปทางซ้ายมือ
A B C ข. A สูงกว่าเดิม B ต่้ากว่าเดิมและ C สูงกว่าเดิม
ค. A สูงกว่าเดิม B สูงกว่าเดิมและ C ต่้ากว่าเดิม
ง. A ต่้ากว่าเดิม B ต่้ากว่าเดิมและ C สูงกว่าเดิม

5. คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวางต่างกันอย่างไร
ก. ต่างกันที่ความยาวคลื่น ข. ต่างกันที่แอมพลิจูดของคลื่น
ค. ต่างกันที่ประเภทของแหล่งก้าเนิด ง. ต่างกันที่ทิศทางการสั่นของตัวกลาง
6. คลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่คือ
ก. คลื่นกล ข. คลื่นดล ค. คลื่นตามยาว ง. คลื่นตามขวาง
7. คลื่นในข้อใดต่อไปนี้ ข้อใดเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทั้งหมด
ก. คลื่นเสียง, คลื่นวิทยุ, คลื่นไมโครเวฟ ข. คลื่นน้้า, คลื่นในเส้นเชือก, คลื่นดล
ค. คลื่นในสปริง, คลื่นน้้า, แสง ง. แสง, ไฟฟ้ากระแสสลับ, รังสีแกมมา
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 6

8. (แนวมช) จงพิจารณาคลื่นในเส้นเชือกที่เกิดจากการสะบัดปลายเชือกขึ้นลง คลื่นผิวน้้าที่เกิดจากวัตถุกระทบผิวน้้า


และคลื่นเสียงในน้้า ข้อใดผิด
ก. คลื่นทั้งสามชนิดเป็นคลื่นกล
ข. คลื่นทั้งสามชนิดเป็นคลื่นตามยาว
ค. คลื่นทั้งสามชนิดเป็นการถ่ายโอนพลังงาน
ง. คลื่นทั้งสามชนิดจะสะท้อนเมื่อเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิด
9. ข้อใดต่อไปนี้คือความหมายของความยาวคลื่น( )
ก. ระยะทางที่วัดเป็นเส้นตรงจากจุดตั้งต้นไปจนถึงจุดสุดท้ายของหนึ่งลูกคลื่น
ข. ระยะระหว่างสันคลื่นที่อยู่ถัดกัน
ค. ระยะระหว่างท้องคลื่นที่อยู่ถัดกัน
ง. ถูกทุกข้อ

แบบฝึกหัดเรื่องอัตราเร็วคลื่น ************************************************

ชื่อ................................................ นามสกุล............................................ ชั้น ม.5/……เลขที่...................

คาถาม ให้นักเรียนเติมค้า หรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง

1. ปรากฏการณ์ที่มีการส่งผ่านพลังงานจากแหล่งก้าเนิดไปยังอีกที่หนึ่งถ้าการส่งผ่านพลังงานนั้นจ้าเป็นต้องอาศัย
ตัวกลางโดยตัวกลางไม่ได้เคลื่อนที่ไปกับคลื่นด้วยเราเรียกว่า..............................................................................
2. ปรากฏการณ์ที่มีการส่งผ่านพลังงานจากแหล่งก้าเนิดไปยังอีกที่หนึ่งถ้าการส่งผ่านพลังงานนั้นโดยไม่จ้าเป็นต้อง
อาศัยตัวกลางไปกับคลื่นด้วยเราเรียกว่า..................................................................................................................
3. การเคลื่อนที่ของคลื่นผิวน้้าต้องอาศัยหรือไม่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่.............................................................
4. การเคลื่อนที่ของคลื่นเสียงต้องอาศัยหรือไม่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่..............................................................
5. การเคลื่อนที่ของคลื่นวิทยุต้องอาศัยหรือไม่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่...............................................................
6. การเคลื่อนที่ของคลื่นมีทิศตั้งฉากกับการสั่นของตัวกลาง คลื่นในลักษณะนี้เรียกว่า.................................................
7. การเคลื่อนที่ของคลื่นมีทิศแนวเดียวกับการสั่นของตัวกลาง คลื่นในลักษณะนี้เรียกว่า.............................................
8. ต้าแหน่งสูงสุดของคลื่นผิวน้้าเรียกว่า........................... ต้าแหน่งต่้าสุดของคลื่นผิวน้้าเรียกว่า...................................
9. คลื่นตั้งแต่ 2 คลื่นขึ้นไป เคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการรวมกันได้ของคลื่นท้าให้ได้รูปร่างของคลื่นใหม่ที่ต่างไปจาก
คลื่นเดิม เรียกว่า........................................................................................................................................................
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 7

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................


10. คลื่นชนิดหนึ่งเกิดจากสั่น 3000 รอบต่อนาที จงหา
ก) ความถี่ (50Hz) ข) คาบ (0.02 s)

11. คลื่นน้้าคลื่นหนึ่งมีความยาวคลื่น 2 เมตร เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 40 เมตร ใน 5 วินาที จงหา


ก) ความเร็วคลื่น (8m/s) ข) ความถี่ (4Hz)

ค) เวลาที่ใช้เคลื่อนที่ได้ 1 ลูกคลื่น(0.25s)

12. (แนว มช) แหล่งก้าเนิดคลื่นให้คลื่นความถี่ 400 เฮิรตซ์ ความยาวคลื่น 12.5 เซนติเมตร จงหา
ก) คลื่นที่เกิดจะมีอัตราเร็วเท่าใด(50m/s) ข) ที่ระยะทาง 300 เมตร คลื่นนี้จะใช้เวลา
เคลื่อนที่เท่าไร (6 s)

13. แหล่งก้าเนิดคลื่นปล่อยคลื่นมีความยาวคลื่น 5 เซนติเมตร วัดอัตราเร็วได้ 40 เมตร/วินาที ในเวลา 0.8 วินาที


จงหา ก) ความถี่ของคลื่น (800 เฮิรตซ์) ข) จ้านวนลูกคลื่น (640ลูก)

14. เมื่อสังเกตคลื่นเคลื่อนที่บนผิวน้้ากระเพื่อมขึ้นลง 600 รอบใน 1 นาที และระยะระหว่างสันคลื่นที่ถัดกันวัดได้


20 เซนติเมตร จงหาว่าเมื่อสังเกตคลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปใน 1 นาที จะได้ระยะทางกี่เมตร (120เมตร)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 8

15. ในการทดลองเรื่องการเคลื่อนที่ของคลื่น โดยใช้ถาดน้้ากับตัวก้าเนิดคลื่นซึ่งเป็นมอเตอร์ที่หมุน 4 รอบ/วินาที ถ้า


คลื่นมีความยาวคลื่น 3 เซนติเมตร จงหาอัตราเร็วของคลื่นที่เกิดขึ้น (12 cm/s)

16. ตัวก้าเนิดคลื่นมีค่าความถี่ของการสั่น 8 เฮิรตซ์ ท้าให้เกิดคลื่นผิวน้้า ดังแสดงในรูป


ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นผิวน้้า
ระดับผิวน้้าปกติ

11 12 13 14 cm

รอบแสดงคลื่นผิวน้้าในกล่องคลื่นที่เวลาหนึ่งหาความเร็วของคลื่นนี้ในหน่วย cm/s (16cm/s)

17. ในการสั่นเชือกที่มีความยาวมากเส้นหนึ่ง ปรากฏว่าหลังจากการสั่น 0.5 วินาที ได้คลื่นดังรูป จงหาอัตราเร็วของ


คลื่นบนเชือกเส้นนี้ (0.12m/s)

(cm)
0 2 4 6

18. เชือกที่ยาวมาก และสม่้าเสมอเส้นหนึ่งถูกขึงตึง ถ้าเราสะบัดปลายเชือกอีกข้างหนึ่ง ขึ้นลงอย่างสม่้าเสมอเป็นเวลา


0.5 วินาที รูปร่างของเส้นเชือกจะเปลี่ยนแปลงดังรูปจงหา
การกระจัด ก. ความยาวคลื่น (0.08m)

0 2 6 10 14 18 22 (cm)

ค. ความถี่ของคลื่น (5.5Hz) ข. อัตราเร็วของคลื่น (0.44m/s)


เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 9

19. ถ้ากระทุ้มน้้าด้วยจังหวะสม่้าเสมอ 10 ครั้งต่อวินาที ปรากฏว่าเกิดคลื่นเคลื่อนที่ไปได้ 10 เมตร ในเวลา 5 วินาที


คลื่นน้้านี้มีความยาวคลื่นกี่เมตร (0.2m)

20. แหล่งก้าเนิดคลื่นผิวน้้าสั่นด้วยความถี่ 20 รอบ/วินาที และพบว่าสันคลื่นน้้า 5 สันติดต่อกัน ห่างกัน 20 ซม. จงหา


อัตราเร็วของคลื่นน้้า (1m/s)

21. รินดายืนอยู่ที่ท่าน้้า สังเกตเห็นคลื่นผิวน้้าที่เกิดจากเรือวิ่งกระทบฝั่ง 20 ลูกคลื่นในเวลา 10 วินาที และทราบว่า


อัตราเร็วของคลื่นผิวน้้า 10 เมตร/วินาที อยากทราบว่าสันคลื่นที่อยู่ติดกันห่างกันเท่าไร (5 m)

22. ระยะห่างระหว่างสันคลื่นถึงท้องคลื่นที่ติดกันเป็น 10.5 เซนติเมตร และสังเกตเห็นจอกและแหนเคลื่อนที่ขึ้นลง


40 รอบต่อนาที จงหาอัตราเร็วของคลื่นน้้าว่าเป็นกี่เซนติเมตรต่อวินาที (14cm/s)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 10

23. ลูกตุ้มถูกแขวนด้วยเชือกยาว 100 เซนติเมตร เมื่อจับลูกตุ้มให้เบนออกจากต้าแหน่งสมดุลเป็นระยะ 5 เซนติเมตร


แล้วปล่อยให้แกว่งอย่างอิสระ ความเร็วสูงสุดในการแกว่งจะมีค่าเท่ากับกี่เซนติเมตรต่อวินาที
(10√10 cm/s)

24. เชือกเส้นหนึ่งเมื่อมีความตึง 45 นิวตัน พบว่าคลื่นบนเส้นเชือกมีอัตราเร็ว 30 เมตร/วินาที ถ้าลดความตึง20 นิวตัน


อัตราเร็วของคลื่นบนเส้นเชือกมีค่าเท่าใด (20 m/s)

**************************************
การบอกตาแหน่งของการเคลื่อนที่แบบ
คลื่น ณ ต้าแหน่งสันคลื่นจะมีเฟส 90 เสมอ ส่วนท้องคลื่นมีเฟส 270 ต้าแหน่งที่ก้าลังเคลื่อนที่จากแนวสมดุลจะมีเฟส
หรือ 360 ส่วนต้าแหน่งที่ก้าลังเคลื่อนที่ลงจากแนวสมดุลจะมีเฟส 180
สรุปความสัมพันธ์ของระยะห่างบนคลื่นกับเฟสได้ว่าจุด 2 จุดบนคลื่นอยู่ห่างกัน จะมีเฟสต่างกัน 360 หรือ
2π เรเดียน

เฟสตรงกัน (Inphase)

เฟสตรงกันหมายถึงจุด 2 จุด บนคลื่นที่มีการกระจัดเท่ากัน และลักษณะการสั่นไปทางเดียวกันซึ่งอาจมีลักษณะ


ดังนี้
1. จุดทั้งสองมีระยะห่างกัน λ, 2 λ, 3 λ,……….n λ
2. จุดทั้งสองจุดมีเฟสต่างกัน 2 π, 4π, 6π, … . ,2nπเมื่อ n=1,2,3……………..
3. จุดทั้งสองมีแนวต่างกัน T, 2T, 3T, ……….,nT
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 11

เฟสตรงข้ามกัน (Out of Phase)


เฟสตรงข้ามกัน หมายถึง จุด 2 จุด บนคลื่นที่มีขนาดของการขจัดเท่ากัน แต่มีต้าแหน่งและทิศทางการสั่นตรงข้าม
กันซึ่งอาจมีลักษณะ ดังนี้
λ 3λ 5λ 1
1. จุดทั้งสองมีระยะห่างกัน 2, 2 , 2 , …….., ( 𝑛 − ) λ n=1, 2, 3, ………….
2
2. จุดทั้งสองจุดมีเฟสต่างกัน π, 3π, 5π, … . , (2n − 1)πเมื่อ n=1,2,3……………..
𝑇 3𝑇 5𝑇 1
3. จุดทั้งสองมีแนวต่างกัน , , , ……….., (n- )T
2 2 2 2

สูตรค้านวณความต่างเฟสระหว่างจุด 2
จุด
𝜃1 ∅1 : เฟสเริ่มต้น
𝜃2 ∅2 : เฟสสุดท้าย
λ: ความยาวคลื่น (m)
λ : ระยะห่าง (m)
T : ช่วงเวลา (s)
X T = λ = 2 π = 360 องศา
t
2𝜋∆𝑥
∅2 -∅1 =
λ

2𝜋∆𝑡
∅2 -∅1 =
T
แบบฝึกหัดเรื่อเอกสารประกอบการเรี
งเฟส ยนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 12

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................

1. คลื่นผิวน้้าก้าลังเคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยอัตราเร็ว 10 เซนติเมตรต่อวินาทีตัวอักษร a ถึง h แทนต้าแหน่งหรือ


จุดบนคลื่น ดังรูป
b f

a c e g

d h
40 cm

ก. จุดคู่ที่มีเฟสตรงกัน คือ จุดคู่ที่ความต่างเฟส....................... องศา และเคลื่อนที่ในทิศ................................... ได้แก่


a-……..., b-……….., c-………… และ d-……………..
ข. จุดคู่ที่มีเฟสตรงข้ามกัน คือ จุดคู่ที่มีความต่างเฟส....................... องศา และเคลื่อนที่ในทิศ......................... ได้แก่
a-……..., b-……….., c-…………, d-…………….., e-………….., และ f-………………..
ค. จุดคู่ที่มีความต่างเฟส 90 องศา คือ a-……..., b-……….., c-…………, d-…………….., e-…………..,f-……………….. และ
g-………..
ง. จุดคู่ที่มีความต่างเฟส 180 องศา คือ a-……..., b-……….., c-…………, d-…………….., e-…………..,และ
f-………………..
จ. จุดคู่ที่มีความต่างเฟส 270 องศา คือ a-……..., b-……….., c-…………, d-……………..และ e-…………..
ฉ. จุดคู่ที่มีความต่างเฟส 360 องศา คือ a-……..., b-……….., c-…………และ d-……………..
ช. ความยาวคลื่นและความถี่ของคลื่นเป็นเท่าใด(0.2 m,0.5 Hz)

ซ. เมื่อเวลาผ่านไปเล็กน้อย จุดต่าง ๆ มีการเคลื่อนที่ในทิศทางใด


เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 13

7
2. คลื่นชนิดหนึ่งมีเฟสเริ่มต้นเป็นศูนย์ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากจุดเริ่มต้นเป็นระยะทางเท่ากัน เท่าของความยาวคลื่น
8
จะมีเฟสกี่องศา (315

3. คลื่นผิวน้้าเมื่อเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 1.2 m จะมีเฟสเป็น 45 และเมื่อเคลื่อนที่ไปได้ระยะทาง 2.5 m จะมีเฟส


เป็น 55 จงหาความยาวคลื่น (46.8 m)

4. คลื่นผิวน้้าเคลื่อนที่ออกจากแหล่งก้าเนิดคลื่นด้วยอัตราเร็ว 40 cm/s โดยมีความถี่ 10 รอบ/วินาที ถ้าจุดสองจุด


บนคลื่นมีเฟสต่างกัน 270 องศา จงหาว่าจุดสองจุดนั้นอยู่ห่างกันกี่ cm (3 cm)

5. คลื่นต่อเนื่องขบวนหนึ่งมีอัตราเร็ว 20 m/s เกิดจากแหล่งก้าเนิดซึ่งสั่นด้วยความถี่ 40 เฮิรตซ์


ก. จุด 2 จุด บนคลื่นห่างกัน 10 ซม. จะมีเฟสต่างกันเท่าไร(72°)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 14

ข. จุด 2 จุด บนคลื่นมีเฟสต่างกัน 90 จะห่างกันเท่าไร (0.125 m)

𝜋
6. คลื่นขบวนหนึ่งมีความถี่ 20Hz ระยะทางระหว่างจุด 2 จุดที่มีเฟสต่างกัน เรเดียน เป็น 0.5 mจงหาอัตราเร็ว
6
ของคลื่นนี้ (120 m/s)

3𝜋
7. จากรูปคลื่นมีอัตราเร็ว 2 m/s จุด 2 จุด บนคลื่นที่มีเฟสต่างกัน เรเดียน จะอยู่ห่างกันเท่าไร (0.3 m)
2
การกระจัด(m)
0.1

0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 เวลา(s)

-0.1

8. คลื่นผิวน้้าเคลื่อนที่แบบต่อเนื่องด้วยอัตราเร็ว 40 cm/s และความถี่ 8 Hz ถ้าจุดสองจุดมีช่วงเวลาต่างกัน


10 s จุดทั้งสองจะมีเฟสต่างกัน กี่เรเดียน (160πเรเดียน)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 15

9. คลื่นสองขบวนมีความถี่ 20 และ 30 เฮิรตซ์ ตามล้าดับ เคลื่อนที่ออกจากแหล่งก้าเนิดคลื่นเดียวกัน (มีเฟสตั้ง


ต้นเท่ากัน) ผ่านไป 0.75 วินาที คลื่นทั้งสองจะมีเฟสต่างกันกี่เรเดียน ( 15 π เรเดียน)

การทดลองสมบัติของคลื่น **********************************************************

ถาดคลื่น (Ripple tank)


เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองเกี่ยวกับคลื่นน้้า มีลักษณะดังรูป

https://pornsawas.files.wordpress.com

ส่วนประกอบที่ส้าคัญของถาดคลื่น
1. ตัวถาดคลื่น ซึ่งก้นถาดเป็นแผ่นแก้ว หรือแผ่นพลาสติกใสเพื่อให้ แสงส่องผ่านลงสู่ด้านล่างถาดคลื่นได้
2. ตัวก้าเนิดคลื่น ซึ่งปรับความถี่ได้โดยการปรับการหมุนของมอเตอร์ให้ช้าหรือเร็ว
3. โคมไฟ ติดอยู่เหนือถาดคลื่น เพื่อส่องแสงจากด้านบนให้เห็นคลื่นได้ชัดขึ้น

- จุดกึ่งกลางของแถบมืดแสดงตาแหน่งของท้องคลื่น
- จุดกึ่งกลางของแถบสว่างแสดงตาแหน่งของสันคลื่น

รูป แสดงการเกิดแถบมืด และแถบสว่างบนกระดาษขาว


http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewgroup/382
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 16

หน้าคลื่น (Wave front)


หน้าคลื่น คือ แนวทางเดินของตาแหน่งบนคลื่นที่มีเฟสเท่ากัน เช่น แนวเส้นกลางของแถบสว่างซึ่งเกิดจากแนว
ของสันคลื่น และแนวเส้นกลางของแถบมืด ซึ่งเกิดจากแนวของท้องคลื่น ต่างก็เป็นหน้าคลื่นแต่โดยทั่วไป เมื่อกล่าวถึงหน้า
คลื่น เราจะใช้แนวใดแนวหนึ่งเพียงแนวเดียว (แนวสันคลื่นหรือแนวท้องคลื่น) ดังรูป

รูป แสดงหน้าคลื่นตรงและหน้าคลื่น

หน้าคลื่นโดยทั่วไปแบ่งได้ 2
ประเภท
1. หน้าคลื่นเส้นตรง เกิดจากแหล่งก้าเนิดเป็นสันยาว เช่น ขอบของคานในถาดคลื่น สันไม่บรรทัดกระทบผิวน้้า
คลื่นผิวน้้าที่แผ่ออกมาจะมีหน้าคลื่นเป็นแนวเส้นตรง
2. หน้าคลื่นวงกลม เกิดจากแหล่งก้าเนิดเป็นจุด เช่น ปุ่มกลมที่ติดกับคานในถาดคลื่น ปลายดินสอกระทบผิวน้้า
คลื่นผิวน้้าที่แผ่ออกมาจะมีหน้าคลื่นเป็นแนววงกลม

คลื่นต่อเนื่องเส้นตรง คลื่นต่อเนื่องวงกลม
รูป A แสดงหน้าคลื่นของคลื่นผิวน้้า

รูป B แสดงหน้าคลื่นของคลื่นผิวน้้า

จากรูป B หน้าคลื่นจะตั้งฉากกับทิศทางคลื่นเสมอ และหน้าคลื่นที่อยู่ถัดกันจะห่างกันเท่ากับความยาวคลื่น (λ)


เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 17

ลักษณะของหน้าคลื่น

1. คลื่นหน้าตรงทิศทางคลื่นขนานกัน
2. คลื่นหน้าโค้งวงกลมทิศทางคลื่นเป็นแนวรัศมีของวงกลม
3. ทิศทางคลื่นจะตั้งฉากกับหน้าคลื่นเสมอ
4. หน้าคลื่นที่ติดกันจะห่างกันเท่ากับความยาวคลื่น (λ)

คลื่นดลและคลื่นต่อเนื่อง

คลื่นดล (Pulse wave) คือ คลื่นที่เกิดจากการรับกวนตัวกลางหรือแหล่งก้าเนิดสั่นเพียงชั่วระยะเวลาสั้นๆ ท้าให้


เกิดคลื่นแผ่ออกไปเพียงกลุ่มหนึ่งมีจ้านวนลูกคลื่นน้อยๆ เช่น การใช้ดินสอจุ่มลงที่ผิวน้้า การใช้สันไม้บรรทัดสับลงบนผิวน้้า,
การสะบัดเชือก เป็นต้น

คลื่นต่อเนื่อง (Continuous wave) คือ คลื่นที่เกิดจากการรบกวนตัวกลางหรือแหล่งก้าเนิดสั่นอย่างต่อเนื่อง ท้า


ให้เกิดคลื่นแผ่ออกไปอย่างต่อเนื่องกันไม่ขาดตอน

Not :การเคลื่อนที่ของคลื่น
 ถ้าเป็นคลื่นดล เวลาผ่านไปเท่าใดก็ตาม รูปร่างของคลื่นจะเหมือนเดิม
 ถ้าเป็นคลื่นต่อเนื่อง เมื่อเวลาผ่านไป รูปร่างของคลื่นจะเปลี่ยนแปลง

http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewgroup/382

สมบัติการสะท้อนของคลื่น

การทดลองการสะท้องของคลื่น
1. คลื่นหน้าตรง เข้ากระทบตัวสะท้อนผิวตรง จะวางตรง วางเฉียง ได้คลื่นสะท้อนหน้าตรง
2. คลื่นหน้าตรง เข้ากระทบตัวสะท้อนผิวโค้ง นูน หรือ เว้า ได้คลื่นสะท้อนวงกลม
3. คลื่นหน้าวงกลม เข้ากระทบตัวสะท้อนผิวตรง ได้คลื่นสะท้อนวงกลมวิ่งไล่กัน
4. ถ้าตัวสะท้อนโค้งพาราโบลา ถ้าคลื่นตกกระทบวงกลม คลื่นสะท้อนได้คลื่นหน้าตรง
5. ถ้าตัวสะท้อนโค้งพาราโบลา ถ้าคลื่นตกกระทบหน้าตรง คลื่นสะท้อนได้คลื่นวงกลม
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 18

การสะท้อนของคลื่นผิวน้้า

คลื่นสะท้อนเป็นแบบปลายอิสระ(เฟสของคลื่นสะท้อนจะไม่เปลี่ยนแปลง)
(ก) การสะท้อนของคลื่นหน้าตรง กับผิวสะท้อนตรง จะได้คลื่นสะท้อนหน้าตรง
คลื่นผิวนาหน้าตรง กับผิวสะท้อนตรง จะได้คลื่นสะท้อนหน้าตรง

(ข) หน้าคลื่นวงกลมตกกระทบกับวัตถุผิวสะท้อนตรงได้หน้าคลื่นสะท้อนเป็นหน้าคลื่นวงกลม

(ค) หน้าคลื่นตรง ตกกระทบผิวสะท้อนโค้งนูน ได้คลื่นสะท้อนเป็นหน้าคลื่นวงกลม


เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 19

(ง) หน้าคลื่นวงกลม ตกกระทบผิวสะท้อนโค้งนูนได้คลื่นสะท้อนเป็นหน้าคลื่นวงกลม

(จ) หน้าคลื่นตรงตกกระทบผิวสะท้อนโค้งเว้า (พาราโบลา) ได้หน้าคลื่นสะท้อนวงกลมแผ่ออกจากจุดโฟกัสของโค้ง


พาราโบลา
คลื่นผิวนาวงกลมกระทบแผ่นกันผิวโค้งเว้า

http://kruweerajit1.blogspot.com/p/jhkhkl.html
(ฉ) หน้าวงกลมก้าเนิดจากจุดโฟกัสของโค้งพาราโบลา ตกกระทบผิวสะท้อนโค้งเว้า(พาราโบลา) ได้หน้าคลื่นสะท้อนเป็น
คลื่นหน้าตรง (ลักษณะตรงกันข้ามกับ หัวข้อ (จ)
การสะท้อนคลื่นในเส้นเชือก

(ก) การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือกปลายอิสระ(คล้องปลายไว้หลวมๆ) คลื่นสะท้อนจะมีเฟสเหมือนเฟสของคลื่นตกกระทบ

คลื่นสะท้อนและคลื่นตกกระทบเฟสไม่เปลี่ยนแปลง
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 20

(ข) การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือกปลายตรึงแน่น(มัดปลาย ไว้แน่น) คลื่นสะท้อนจะมีเฟสตรงกันข้ามกับเฟสของคลื่นตก


กระทบ

คลื่นสะท้อน เฟสเปลี่ยนแปลงไปเป็นเฟสตรงกันข้าม
(เปลี่ยนไป 180 องศา)

(ค) การสะท้อนของเชือกสองเส้นที่ต่อกัน

1. คลื่นจากเชือกเส้นเล็กไปยังเชือกเส้นใหญ่ จะสะท้อนกลับมีเฟสตรงกันข้ามและแอมปลิจูดลดลง

2. คลื่นจากเชือกเส้นใหญ่ไปยังเชือกเส้นเล็ก จะสะท้อนกลับมีเฟสเหมือนเดิมและแอมปลิจูดลดลง

http://kruweerajit1.blogspot.com/p/jhkhkl.html
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 21
สมบัติของคลื่น
คลื่นทุกชนิดจะมีคุณสมบัติ 4 ประการคือ
1.การสะท้อน (Reflection) 2.การหักเห (Refraction) 3. การแทรกสอด (Interference) 4.การเลี้ยวเบน (Diffraction)

Not: การสะท้อน และการหักเหทังคลื่นและอนุภาคต่างก็แสดงคุณสมบัติสองข้อนี้ได้ แต่การแทรกสอด


และการเลียวเบนจะเป็นคุณสมบัติเฉพาะตัวของคลื่น เพราะคลื่นเท่านั้นที่จะแสดงคุณสมบัติสองข้อนี้ได้

1.การสะท้อน (Reflection)

เมื่อคลื่นพุ่งเข้าไปตกกระทบสิ่งกีดขวาง คลื่นจะเกิดการสะท้อนกลับออกมาได้ดังแสดงในรูปภาพ สมบัติ


ของคลื่นข้อนี้เรียก สมบัติการสะท้อนได้ของคลื่น
ค้าศัพท์เกี่ยวกับการสะท้อนคลื่น
1. รังสีตกกระทบ คือรังสีคลื่นที่พุ่งเข้าไปตกกระทบ
2. รังสีสะท้อน คือรังสีคลื่นที่สะท้อนย้อนกลับออกมา
3. เส้นปกติ คือเส้นตรงที่ลากมาตกตั้งฉากกับผิวที่คลื่นมาตกกระทบ
4. มุมตกกระทบ คือมุมระหว่างรังสีตกกระทบกับเส้นปกติ
5. มุมสะท้อน คือมุมระหว่างรังสีสะท้อนกับเส้นปกติ
การสะท้อนของคลื่นใด ๆ จะเป็นไปภายใต้กฎการสะท้อน 2 ข้อ คือ
1. มุมตกกระทบจะมีขนาดเท่ากับมุมสะท้อน
2. รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน และเส้นปกติ ต้องอยู่ในระนาบเดียวกัน
การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือก
หากเราน้าเชือกเส้นหนึ่งมามัดติดเสา ปลายอีกข้างหนึ่งใช้มือดึงให้ตึงพอสมควร จากนั้นสะบัดให้เกิดคลื่น
ในเส้นเชือก คลื่นนี้จะเคลื่อนที่จากจุดที่ใช้มือสะบัดพุ่งเข้าหาต้นเสา และเมื่อคลื่นกระทบเสาแล้วจะสามารถ
สะท้อนย้อนกลับออกมาได้ด้วย
ส้าหรับการสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือกนี้จะเป็นไปได้ 2 กรณี ได้แก่
1) ถ้าปลายเชือกมัดไว้แน่น คลื่นที่ออกมาจะมี
ลักษณะตรงกันข้ามกับคลื่นที่เข้าไป นั่นคือคลื่นที่
สะท้อนออกมาจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180

2) ถ้าปลายเชือกมัดไว้หลวม ๆ (จุดสะท้อนไม่คงที่) คลื่น


ที่สะท้อนออกมาจะมีลักษณะเหมือนคลื่นที่เข้า
ไป นั่นคือคลื่นสะท้อนออก มาจะมีเฟสเท่าเดิมหรือมี
เฟสเปลี่ยนไป 0
แบบทดสอบเรื่องการสะท้อนของคลื ่น
เอกสารประกอบการเรี ยนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 22

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................


1. จากรูป จงหาว่ามุมตกกระทบควรมีขนาดเท่ากับเท่าใด
ก.30 ข. 45 ค. 60 ง. 120

2. (แนว มช )เชือกเส้นหนึ่งมีปลายข้างหนึ่งผูกแน่นติดกับเสา เมื่อสร้างคลื่นจากปลายอีกข้างหนึ่งเข้ามาตก


กระทบจะเกิดคลื่นสะท้อนขึ้น คลื่นสะท้อนนี้มีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
ก.90 ข. 180 ค. 270 ง. 360
3. คลื่นสะท้อนจะไม่เปลี่ยนเฟสเมื่อ
ก.คลื่นตกกระทบตั้งฉากกับต้าแหน่งสะท้อน ข. ต้าแหน่งสะท้อนคลื่นคงที่
ค. ต้าแหน่งสะท้อนคลื่นไม่คงที่ ง. มุมตกกระทบโตกว่ามุมสะท้อน
4. คลื่นน้้าหน้าตรงเคลื่อนที่เข้ากระทบผิวสะท้อนราบเรียบจะเกิดการสะท้อนขึ้น คลื่นน้้าที่สะท้อนออกมามีเฟส
เปลี่ยนไปกี่องศา
ก.0 ข. 90 ค. 180 ง. 270
5. (แนวมช) รูปแสดงถึงคลื่นตกกระทบในเส้นเชือก ซึ่งปลายข้างหนึ่งของเชือกผูกติดอยู่กับก้าแพงเมื่อคลื่นตก
กระทบกับก้าแพง แล้วจะเกิด

ก. ข.

ค. ง. ง.

6. (แนว Pat2) น้าเชือกสองเส้นที่มีขนาดต่างกันมาต่อกันโดยเส้นเล็กมีน้าหนักเบากว่าเส้นใหญ่ท้าให้เกิดคลื่นดล


ในเชือกเส้นเล็กดังรูป

เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปถึงรอยต่อของเชือกท้าให้เกิดการสะท้อนและการส่งผ่านของคลื่นลักษณะของคลื่นสะท้อน
และคลื่นส่งผ่านในเส้นเชือกควรเป็นอย่างไร
ก. ข.

ค. ง.
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 23

7. (มช 54) คลื่นดลลูกหนึ่งก้าลังเคลื่อนที่บนเชือกเส้นที่มีมวลต่อหน่วยความยาวมากไปสู่เชือกเส้นที่มีมวลต่อ


หน่วยความยาวน้อยดังรูปโดยเมื่อคลื่นเคลื่อนที่มาถึงตรงบริเวณรอยต่อจะมีการสะท้อน
และการส่งผ่านของคลื่นหลังจากนั้นลักษณะของคลื่นในเส้นเชือกจะเป็นไปตามรูปในข้อใด

ก. ข.

ค. ง.

***********************************************************************************

2. การหักเห (Refraction)

เมื่อคลื่นผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งซึ่งมีความหนาแน่นไม่เท่ากันจะท้าให้อัตราเร็ว
( v ) แอมพลิจูด (A) และความยาวคลื่น (λ) เปลี่ยนไปแต่ความถี่ ( f ) จะคงเดิม
ในกรณีที่คลื่นตกกระทบพุ่งเข้าตกตั้งฉากกับแนวรอยต่อตัวกลางคลื่นที่ทะลุลงไปในตัวกลางที่ 2 จะมี
แนวตั้งฉากกับแนวรอยต่อตัวกลางเช่นเดิมแต่หากคลื่นตกกระทบตกเอียงท้ามุมกับแนวรอยต่อตัวกลางคลื่นที่
ทะลุลงไปในตัวกลางที่ 2 จะไม่ทะลุลงไปในแนวเส้นตรงเดิมแต่จะมีการเบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมดังรูป
ปรากฏการณ์นี้เรียกว่าเกิดการหักเหของคลื่น
กรณีคลื่นตกตั้งฉาก
รอยต่อตัวกลางคลื่น
จะไม่เปลี่ยนทิศ
ทางการเคลื่อนที่

คาศัพท์เกี่ยวกับการหักเหของคลื่น
1. รังสีตกกระทบคือรังสีคลื่นที่พุ่งเข้าไปตกกระทบ
2. รังสีหักเหคือรังสีคลื่นที่ทะลุเข้าไปในตัวกลางที่ 2
3. เส้นปกติคือเส้นตรงที่ลากมาตกตั้งฉากกับรอยต่อตัวกลาง
4. มุมตกกระทบคือมุมระหว่างรังสีตกกระทบกับเส้นปกติ
5. มุมหักเหคือมุมระหว่างรังสีหักเหกับเส้นปกติ
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 24
กฎของสเนลล์

𝑠𝑖𝑛𝜃1 𝑣1 λ1 𝑛2
= = = = 𝑛21 ( เมื่อθ ≠ 90°)
𝑠𝑖𝑛𝜃2 𝑣2 λ2 𝑛1

เมื่อ 𝜃1 และ 𝜃2 คือมุมระหว่างรังสีคลื่นกับเส้นปกติในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามล้าดับ


𝑣1 และ 𝑣2 คือความเร็วคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามล้าดับ
λ1 และ λ2 คือความยาวคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามล้าดับ
n1 และ n2 คือค่าดัชนีหักเหของตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามล้าดับ

เกี่ยวกับการหักเหผ่านนาตืนนาลึก

เมือ่ คลื่นเคลื่อนที่ระหว่างน้้าตื้นกับน้้าลึก
ตอนคลื่นอยู่ในน้้าลึกคลื่นจะมีความยาวคลื่น
แอมพลิจูดความเร็วคลื่นมากกว่าในน้้าตื้น
เสมอแต่ความถี่จะมีค่าเท่าเดิม

ตารางแสดง การหักเหของรังสีของคลื่นจากบริเวณน้้าลึกไปน้้าตืน้

กรณีคลื่นเดินทาง ลักษณะของรังสีของคลื่น
1) คลื่นเดินทางจากนาตืนไปยังนาลึก แนวทางเดินของ น้้าลึก(2)
คลื่นหักเหจะเบนออกจากเส้นแนวฉาก 𝜃2 ผิวรอยต่อ

น้้าตื้น(1) 𝜃1
2) ถ้ามุมหักเหเท่ากับ 90 องศา เรียกมุมตกกระทบว่า น้้าลึก(2)
“มุมวิกฤต”
90
ผิวรอยต่อ
น้้าตื้น(1) 𝜃𝑐

3) ถ้ามุมตกกระทบมากกว่ามุมวิกฤต คลื่นจะไม่หักเห น้้าลึก(2)


แต่จะสะท้อนกลับหมด ผิวรอยต่อ

𝜃𝑠
น้้าตื้น(1) สะท้อนกลับหมด
(𝜃𝑠 > 𝜃𝑐 )
แบบทดสอบเรื่องการหักเหของคลื ่น
เอกสารประกอบการเรี ยนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 25

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................


1. (แนว มช)เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากโลหะเข้าไปในน้า้ จะท้าให้
ก. ความเร็วคลื่นคงเดิม ข. ความยาวคลื่นคงเดิม
ค. แอมพลิจูดคลื่นคงเดิม ง. ความถี่คลื่นคงเดิม
2. ข้อความใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นน้้า
ก. คลื่นน้า้ ตื้นอัตราเร็วคลืน่ มากกว่าคลื่นน้้าลึก
ข. คลื่นน้า้ ตื้นอัตราเร็วคลืน่ เท่ากับกับคลื่นน้า้ ลึก
ค. คลื่นน้า้ ตื้นอัตราเร็วคลืน่ น้อยกว่าอัตราเร็วคลื่นในน้า้ ลึก
ง. ความยาวคลืน่ ในน้้าตืน้ มากกว่าความยาวคลืน่ ในน้้าลึก
3. (มช 43) เมื่อคลื่นต่อเนื่องเคลื่อนที่จากอากาศเข้าไปในน้้า ปริมาณที่มีค่าคงเดิมคือข้อใด
ก. ความยาวคลื่น ข. ความเร็ว ค. แอมพลิจูด ง. ความถี่
4. ขณะเมื่อแสงสีขาวผ่านเข้าไปในเลนส์ สิ่งใดต่อไปนี้มีการเปลี่ยนแปลง
ก. ความเร็วและความถี่ ข. ความเร็วและคาบ
ค. ความเร็วและความยาวคลื่น ง. ความถี่และความยาวคลืน่
5. (En 43) ในการทดลองเรื่องการหักเหของคลื่นผิวน้้าเมื่อคลื่นผิวน้้าเคลื่อนที่จากบริเวณน้า้ ลึกไปน้้าตืน้ ความยาวคลืน่ λ
ความเร็ว V และ ความถี่ f ของคลื่นผิวน้้าจะเปลีย่ นอย่างไร
ก. λน้อยลง V น้อยลง แต่ fคงที่ ข. λมากขึ้น V มากขึ้น แต่ fคงที่
ค. λน้อยลง f มากขึ้น แต่ vคงที่ ง. λมากขึ้น f น้อยลง แต่ vคงที่
6. ถ้าคลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณน้า้ ลึกไปยังบริเวณน้้าตืน้ ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ความยาวคลื่นน้้าลึกมากกว่าในน้้าตืน้ ข. ความถี่คลื่นน้้าลึกมากกว่าความถี่ในน้้าตื้น
ค. ความเร็วคลื่นน้้าลึกมากกว่าในน้้าตื้น ง. ข้อ ก และ ค ถูก
7. คลื่นใด ๆ เมื่อเคลื่อนที่ผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปอีกตัวกลางหนึ่ง โดยที่ไม่ตงั้ ฉากกับเส้นเขตระหว่างตัวกลางจะมีการหักเห
ข้อใดเป็นข้อดีที่สุดที่เป็นสาเหตุของการหักเห
ก. ความเร็วของคลื่นในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน ข. ความยาวคลื่นในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน
ค. ความถี่ของคลื่นในตัวกลางทัง้ สองไม่เท่ากัน ง. แอมพลิจูของคลื่นในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน
8. คลื่นน้า้ ที่เกิดจากแหล่งก้าเนิดที่สั่นเร็วขึ้น จะมีอะไรเปลี่ยนแปลงนอกจากความถี่
ก. คาบเพิ่มขึ้น ข. ความยาวคลื่นลดลง ค. พลังงานมากขึ้น ง. อัตราเร็วเพิ่มขึ้น
9. คลื่นผิวน้้าเคลื่อนทีจ่ ากบริเวณน้า้ ลึกไปยังบริเวณน้้าตืน้ โดยหน้าคลื่นตกกระทบขนานกับบริเวณรอยต่อคลื่นในบริเวณทั้ง
สองมีค่าใดบ้างที่เท่ากัน
a. ความถี่ของคลื่นb. ความยาวคลืน่ c. อัตราเร็วของคลื่น d. ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
ก. a และ b ข. b และ c ค. c และ d ง. a และ d
10. คลื่นตรงแผ่จากบริเวณน้า้ ตื้น A ไปสูน่ ้าลึก B แล้วสะท้อนกลับเข้าบริเวณน้้าตืน้ (เดิม) C ถ้าไม่มีการสูญเสียใด ๆ เลย
ก. ความยาวคลืน่ บริเวณ C มากกว่าบริเวณ A และทิศหน้าคลืน่ เปลี่ยน
ข. ความยาวคลืน่ บริเวณ C น้อยกว่าบริเวณ A และทิศหน้าคลืน่ ไม่เปลี่ยน
ค. ความยาวคลืน่ บริเวณ C เท่ากับบริเวณ A และทิศหน้าคลื่นเปลีย่ น
ง. ความยาวคลืน่ บริเวณ C เท่ากับบริเวณ A และทิศหน้าคลื่นไม่เปลี่ยน
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 26

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่. ..............................


แบบฝึกหัดเรื่องการหักเหของคลื่น

11. คลื่นผิวน้้าเคลื่อนที่จากบริเวณน้้าลึกเข้าสู่บริเวณน้้าตื้น โดยแนวทางเดินของคลื่นตกกระทบท้ามุม 37 °กับผิว


รอยต่อระหว่างตัวกลาง จงหาว่าแนวทางเดินของคลื่นหักเหจะท้ามุมกี่องศา กับผิวรอยต่อระหว่างตัวกลาง (สมมติ
ว่าอัตราเร็วคลื่นในน้้าลึกต่ออัตราเร็วคลื่นในน้้าตื้น เท่ากับ 8 ต่อ 5 ) (30°)

12. (En 42) คลื่นน้้าเคลื่อนที่จากน้้าตื้นไปยังน้้าลึก ถ้ามุมตกกระทบและมุมหักเหเท่ากับ 30 และ 45 องศา ตามล้าดับ


และความยาวคลื่นในน้้าตื้นเท่ากับ 2 cm. จงหาความยาวคลื่นในน้้าลึกในหน่วย cm. (2√2 cm.)

13. ถ้าให้คลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณน้้าลึกเข้าสู่บริเวณน้้าตื้น จะวัดความยาวคลื่นในบริเวณทั้งสองได้ 1.2 cm. และ 0.8


cm. ตามล้าดับ ถ้ามุมตกกระทบเท่ากับ 60°และความถี่คลื่นเท่ากับ 20 รอบ/วินาที จงหา
ก) อัตราเร็วคลื่นในบริเวณน้้าลึกและอัตราเร็วคลื่นในบริเวณน้้าตื้น (16 cm/s)

√3
ข) มุมหักเหโตเท่าไร (𝜃หักเห = 𝑠𝑖𝑛−1 ( ))
3
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 27

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................


14. ถ้าคลื่นน้้าเคลื่อนที่ผ่านจากเขตน้้าลึกไปยังเขตน้้าตื้น แล้วท้าให้ความยาวคลื่นลดลงครึ่งหนึ่งจงหาอัตราส่วนของ
อัตราเร็วของคลื่นในน้้าลึกกับอัตราเร็วของคลื่นในน้้าตื้น (2)

15. คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลาง X ไปยังตัวกลาง Y ถ้าความเร็วคลื่นในตัวกลาง X เป็น 8 m/s และความยาวคลื่นมี


ขนาดเท่ากับ 4 m เมื่อผ่านเข้าไปในตัวกลาง Y ความเร็วคลื่นเปลี่ยนเป็น10 m/s ความยาวคลื่นในตัวกลาง Y
จะมีค่าเป็นกี่เมตร (5 m)

16. คลื่นน้้าเคลื่อนที่จากน้้าตี้น ถ้ามุมตกกระทบและมุมหักเหเท่ากับ 30 และ 45 องศา ตามล้าดับ และความเร็วคลื่น


ในน้้าตื้นเท่ากับ 10 cm/s จงหาความเร็วคลื่นในน้้าลึกในหน่วย cm/s (10√2cm/s)

17. (แนวEn) คลื่นน้้าเคลื่อนที่จากน้้าตื้นไปยังน้้าลึกถ้ามุมตกกระทบและมุมหักเหเท่ากับ 30 และ 45 องศา ตามล้าดับ


และความยาวคลื่นในน้้าตื้นเท่ากับ 5 cm. จงหาความยาวคลื่นในน้้าลึกในหน่วย cm (5√2cm)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 28

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................

18. (แนว En) คลื่นน้้าเคลื่อนที่จากเขตน้้าลึกเข้าไปยังเขตน้้าตื้น โดยมีรอยต่อของเขตทั้งสองเป็นเส้นตรงมุมตกกระทบ


เท่ากับ 30 องศา ท้าให้ความยาวคลื่นในเขตน้้าตื้นเป็นหนึ่งในสามความยาวคลื่นในเขตน้้าลึก อยากทราบว่ามุมหัก
1
เหในน้้าตื้นมีค่าเท่าใด (𝑠𝑖𝑛−1 ( ) )
6

19. คลื่นน้้ามีอัตราเร็วในน้้าลึกและในน้้าตื้นเป็น 20 cm/s และ 16 cm/s จงหาอัตราส่วนของ sine ของมุมตกกระทบ


5
ต่อ sine ของมุมหักเห เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากน้้าลึกสู่น้าตื้น ( )
4

20. ถ้าความเร็วคลื่นในตัวกลาง X เป็น 8m/s เมื่อผ่านเข้าไปในตัวกลาง Y ความเร็วคลื่นเปลี่ยนเป็น 10 m/s ดัชนีหัก


เหของตัวกลาง Y เทียบกับตัวกลาง X เป็นเท่าใด (0.8)

21. ถ้าคลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณน้้าตื้นมีความยาวคลื่น 45 cm. ไปสู่น้าลึกความยาวคลื่นเปลี่ยนเป็น 60cm. จงหาดัชนี


หักเหของตัวกลางน้้าลึกเทียบกับตัวกลางน้้าตื้น (0.75)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 29

22. แสงเคลื่อนที่จากอากาศสู่ผิวน้้าท้ามุม 37 กับผิวน้้า จงหาค่าของมุมหักเหที่เกิดขึ้นในน้้าว่ามีค่ากี่องศา (ก้าหนด


4
ดัชนีหักเหของน้้าเทียบกับอากาศ เท่ากับ ) (37°)
3

3. การแทรกสอด (Interference)**************************************************************

https://orapanwaipan.wordpress.com

http://www.pec9.com http://www.pec9.com
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 30

ถ้าเราให้แหล่งก้าเนิดคลื่นอาพันธ์ (แหล่งก้าเนิดคลื่น 2 แหล่งที่ให้คลื่นที่มีความถี่และเฟสตรงกันตลอด ) วาง


อยู่ห่างกันในระยะที่พอเหมาะแล้วสร้างคลื่นพร้อมๆกันจะพบว่าคลื่นที่เกิดขึ้นทั้งสองจะเกิดการแทรกสอดกันโดยจะมีแนว
บางแนวที่คลื่นทั้งสองจะมาเสริมกันโดยคลื่นทั้งสองอาจน้าสันคลื่นมารวมกันจะท้าให้คลื่นรวมมีแอมพลิจูดสูงขึ้นกว่าเดิม
หรือคลื่นทั้งสองอาจน้าท้องคลื่นมารวมกันจะท้าให้คลื่นรวมมีแอมพลิจูดลึกลงกว่าเดิมลักษณะเช่นนี้จะท้าให้ตลอดแนว
ดังกล่าวคลื่นน้้าจะกระเพื่อมขึ้นลงอย่างแรงแนวที่คลื่นมีการเสริมกันเช่นนี้เรียกแนวปฎิบัพ (Antinode , A) ซึ่งจะมีอยู่
หลายแนวกระจายออกไปทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาอย่างสมมาตรกันแนวปฏิบัพที่อยู่ตรงกลางเราจะเรียกเป็นปฏิบัพที่ 0
( A0) ถัดออกไปจะเรียกแนวปฏิบัพที่ 1 ( A1) , 2 ( A2) , 3 ( A3) , .... ไปเรื่อยๆทั้งด้านซ้ายและด้านขวาดังรูป
นอกจากนี้แล้วยังจะมีแนวบางแนวที่คลื่นทั้งสองจะมาหักล้างกันโดยคลื่นหนึ่งจะน้าสันคลื่นมารวมกับท้องคลื่นของ
อีกคลื่นหนึ่งคลื่นรวมของคลื่นทั้งสองจะมีลักษณะราบเรียบ (ผิวน้้าจะค่อนข้างนิ่ง ) แนวหักล้างนี้จะเรียกแนวบัพ (Node ,
N) แนวบัพจะแทรกอยู่ระหว่างกลางแนวปฏิบัพเสมอแนวบัพแรกที่อยู่ถัดจากแนวปฏิบัพกลาง ( A0 ) จะเรียกแนวบัพที่ 1
( N1) ถัดออกไปจะเรียกแนวบัพที่ 2 ( N2) , 3 (N3) , ….. ไปเรื่อยๆทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรูป

สูตรที่ใช้คานวณเกี่ยวกับการแทรกสอดคลื่น

ส้าหรับแนวปฏิบัพล้าดับที่ n (An)

|𝑆1 𝑃 − 𝑆2 𝑃| = 𝑛λ

https://orapanwaipan.wordpress.com
d sin𝜃 = nλ

เมื่อ P คือจุดซึ่งอยู่บนแนวปฏิบัพล้าดับที่ n(An)


S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1
S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2
𝑆1 𝑃 คือระยะจาก S1ถึง P
𝑆2 𝑃 คือระยะจาก S2ถึง P
λคือความยาวคลื่น (เมตร)
n คือล้าดับที่ของปฏิบัพนั้น
d คือระยะห่างจาก S1ถึง S2
𝜃 คือมุมที่วัดจาก A0ถึง An
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 31

ส้าหรับแนวบัพล้าดับที่ n (Nn) เมื่อ P คือจุดซึ่งอยู่บนแนวปฏิบัพล้าดับที่ n(Nn)


1 S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1
|𝑆1 𝑃 − 𝑆2 𝑃| = (𝑛 − )λ S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2
2
𝑆1 𝑃 คือระยะจาก S1ถึง P
1 𝑆2 𝑃 คือระยะจาก S2ถึง P
d sin𝜃 = (𝑛 − )λ
2
λ คือความยาวคลื่น (เมตร)
n คือล้าดับที่ของบัพนั้น
d คือระยะห่างจาก S1ถึง S2
𝜃 คือมุมที่วัดจาก A0ถึง Nn

แบบทดสอบเรื่องการแทรกสอดของคลื่น
ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................
1. คลื่นรวมซึ่งเกิดจากการแทรกสอดของคลื่นสองขบวนที่มีแอมพลิจูดความถี่ ความยาวคลื่นและเฟสเท่ากันที่จุดที่อยู่
บนแนวปฏิบัพ จะมีลักษณะดังนี้
ก. แอมพลิจูดและความถี่เป็นสองเท่าของคลื่นเดิม
ข. แอมพลิจูดเท่าเดิม แต่มีความถี่เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า
ค. ความถี่เท่าเดิม แต่มีแอมพลิจูดเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า
ง. ความถี่เท่าเดิม แต่มีแอมพลิจูดเป็นศูนย์
2. เมื่อคลื่นสองคลื่นเคลื่อนที่มารวมกันแล้ว เกิดการแทรกสอดแบบหักล้างกันแสดงว่า
ก. ผลต่างทางเดินของคลื่นทั้งสองเป็นจ้านวนเต็มของความยาวคลื่น
ข. ผลต่างของมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 0 องศา
ค. ผลต่างของมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 180 องศา
ง. ผลต่างของมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 360 องศา

แบบฝึกหัดเรื่องการแทรกสอดของคลื่น *****************************************************
ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................
3. คลื่นชนิดหนึ่ง เมื่อเกิดการแทรกสอดจะเกิดแนวดังรูป จงหา
A0 A1 ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเท่าใด (2m)

A2
S1 5m 1m
S2
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 32

ข. ถ้าคลื่นนี้มีความถี่ 100Hz จะมีความเร็วเท่าใด(200m/s)

4. คลื่นชนิดหนึ่งเมื่อเกิดการแทรกสอดแนวปฏิบัพที่ 2 เอียงท้ามุมจากแนวกลาง 30 หากแหล่งก้าเนิดคลื่นทั้งสองอยู่


ห่างกัน 8 m จงหา
ก. ความยาวคลื่นนี้มีค่าเท่าใด (2 m) ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ว 300m/s จะมีความถี่เท่าใด(150Hz)

5. แหล่งก้าเนิดคลื่นอาพันธ์เฟสตรงกัน 2 อันวางห่างกัน 6 cm. ความเร็วคลื่น 40 cm/s ขณะนั้นคลื่นมีความถี่ 20


Hz จงหา
ก. ความยาวคลื่นนี้มีค่าเท่าใด (2 cm) ข. แนวปฏิบัพที่ 3 จะเบนออกจากแนวกลางเท่าไร(90องศา)

6. จากรูป แสดงภาพการแทรกสอดของคลื่นผิวน้้าที่เกิดจากแหล่งก้าเนิดอาพันธ์ 𝑆1 และ𝑆2 มี P เป็นจุดบนเส้นบัพ


ถ้า 𝑆1 𝑃เท่ากับ 10 cm. และ𝑆2 𝑃เท่ากับ 7 cm. จงหา
A0 A1 ก.ความยาวคลื่นเท่าใด(6cm)
N2
A2
S1
S2

d ข. ถ้าอัตราเร็วของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 30 cm/s แหล่งก้าเนิด


ทั้งสองมีความถี่เท่าใด (5Hz)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 33

ชื่อ........................................ นามสกุล ......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................


7. (แนว En) จากรูปเป็นภาพการแทรกสอดของคลื่นผิวน้้าจากแหล่งก้าเนิดอาพันธ์ 𝑆1 และ𝑆2 โดยมี P เป็นจุดใดๆ
บนแนวเส้นบัพ 𝑆1 𝑃เท่ากับ 19 cm. และ𝑆2 𝑃เท่ากับ 10 cm. ถ้าอัตราเร็วของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 60 cm/s
แหล่งก้าเนิดคลื่นทั้งสองจงหา
ปฏิบัพ ก. หาความยาวคลื่น(6cm.)
บัพ

S1 S2
ข. หาความถี่(10Hz)

8. จุด P อยู่ห่างจาก 𝑆1 และ𝑆2 ซึ่งเป็นแหล่งก้าเนิดอาพันธ์มีเฟสตรงกัน ให้ก้าเนิดคลื่นความยาวคลื่น 3 cm. จุด P


อยู่ห่างจาก 𝑆1 เป็นระยะ 6 cm. และจะอยู่ห่างจาก 𝑆2 เท่าไร ถ้าจุด P เป็นต้าแหน่งบนแนวบัพเส้นแรกถัดจาก
เส้นกลาง (4.5cm. หรือ 7.5 cm.)

9. แหล่งก้าเนิดคลื่นน้้าสร้างคลื่นน้้าที่สองต้าแหน่ง A และ B มีความยาวคลื่น 1.5 cm. และได้แนวของเส้นปฏิบัพดัง


แสดงในรูป อยากทราบว่า AC และ BC มีความยาวต่างกันเท่าใด (3cm.)

A B
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 34

10. (แนวมช) ถ้า𝑆1 และ𝑆2 เป็นแหล่งก้าเนิดคลื่น ซึ่งมีความถี่เท่ากันและเฟสตรงกันอยู่ห่าง 8 cm. ถ้าความยาวคลื่น


เท่ากับ 4cm. จะเกิดจุดบัพกี่จุดบนเส้นตรง 𝑆1 𝑆2 (4บัพ)

11. 𝑆1 ,𝑆2 เป็นแหล่งก้าเนิดคลื่นน้้า อยู่ห่างกัน 16cm. ให้คลื่นเฟสตรงกัน มีความถี่ และแอมพลิจูดเท่ากับความยาว


คลื่น 4cm. จาก𝑆1 ถึง𝑆2 จะมีแนวปฏิบัพกี่แนว (9แนว)

12. 𝑆1 และ𝑆2 เป็นแหล่งก้าเนิดอาพันธ์สองแหล่งที่ท้าให้เกิดคลื่นผิวน้้าที่มีความถี่เท่ากัน และอยู่ห่างกัน 6 cm. พบว่า


บนเส้นตรงที่ต่อระหว่างแหล่งก้าเนิดทั้งสองมีบัพ 6 บัพ ถ้าQ จงหา
ก.หาความยาวคลื่น(2.4cm.) ข.ถ้าQ เป็นจุดในแนวปฏิบัพที่ 2 นับจากปฏิบัพกลาง จุด Q จะ
อยู่ห่างจาก𝑆1 และ𝑆2 เป็นระยะต่างกันกี่ cm. (4.8 cm.)

13. (แนวEn) แหล่งก้าเนิดคลื่นน้้าอาพันธ์ให้หน้าคลื่นวงกลมสองแหล่งอยู่ห่างกัน 10 cm. มีความยาวคลื่น 2cm. ที่


ต้าแหน่งหนึ่งห่างจากแหล่งก้าเนิดคลื่นทั้งสองเป็นระยะ 15cm. และ6cm. ตามล้าดับ จะอยู่บนแนวบัพหรือปฏิบัพ
ที่เท่าใด นับจากแนวกลาง (บัพที่5)
P
S1 6 cm.

10 cm. 15 cm.

S2
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 35

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................


14. แหล่งก้าเนิดอาพันธ์ 2 แหล่งห่างกัน 10 cm. ให้คลื่นมีความยาวคลื่นเท่ากัน 2.5 cm. เฟสตรงกัน จงหาว่า
ต้าแหน่งต่อไปนี้อยู่บนบัพหรือปฏิบัพที่เท่าใด
ก. จุด A อยู่ห่างจากแหล่งก้าเนิดทั้งสองเป็นระยะ 12cm. และ 17 cm.(แนวปฏิบัพ2)

ข. จุด B อยู่ห่างจากแหล่งก้าเนิดทั้งสองเป็นระยะ 14.5 cm. และ 15.75 cm. (แนวบัพ 1)

ค. จุด Cอยู่ห่างจากแหล่งก้าเนิดทั้งสองเป็นระยะ 16cm. และ 24cm.(ไม่อยู่ทั้งปฏิบัพ และบัพ)

คลื่นนิ่ง (Standing Wave)

ถ้าน้าเชือกเส้นหนึ่งมัดติดเสาให้แน่นแล้วดึงปลายอีกข้างหนึ่งให้ตึงพอสมควรจากนั้นท้าการสะบัดให้เกิดคลื่น
ต่อเนื่องพุ่งไปกระทบเสาคลื่นที่เข้ากระทบเสาจะสามารถจะสะท้อนกลับออกมาจากเสาได้จากนั้นคลื่นที่เข้าและคลื่นที่
สะท้อนออกมานี้จะเกิดการแทรกสอดกันท้าให้เชือกที่บางจุดมีการสั่นขึ้นลงอย่างแรงกว่าปกติเรียกจุดที่สั่นสะเทือนแรงนี้ว่า
แนวปฎิบัพ (A) และจะมีบางจุดไม่สั่นขึ้นหรือลงเลยเราเรียกจุดที่ไม่มีการสั่นสะเทือนนี้ว่าแนวบัพ (N) และเนื่องจากจุดที่
สั่นและไม่สั่นดังกล่าวจะสั่นหรือไม่สั่นอยู่ที่เดิมตลอดเวลาปรากฏการณ์นี้จึงเรียกเป็นการเกิดคลื่นนิ่ง
ควรทราบ
λ
1) คลื่นนิ่งจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อมีคลื่น 2 คลื่น
2
ซึ่งมีความถี่ความยาวคลื่นแอมพลิจูดเท่ากันแต่
เคลื่อนที่สวนทางกันเข้ามาแทรกสอดกันเท่านั้น
λ
4
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 36

λ
2) แนวปฏิบัพ (A) 2 แนวที่อยู่ถัดกันจะห่างกัน =
2
λ
แนวบัพ ( N ) 2 แนวที่อยู่ถัดกันจะห่างกัน =
2
λ
แนวปฏิบัพ (A) และแนวบัพ ( N ) ที่อยู่ถัดกันจะห่างกัน =
4
3) จ้านวนแนวปฏิบัพ (A ) หรือจ้านวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้นจะหาได้จาก

𝟐𝑳 เมื่อ L คือความยาวของเชือกทั้งหมด (เมตร)


n=
𝛌 λ คือความยาวคลื่น (เมตร)
n คือจ้านวนแนวปฏิบัพหรือจ้านวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิด

4) ความถี่ของคลื่นจะหาได้จาก
เมื่อ f คือความถี่คลื่นนิ่ง ( เฮิรตซ์ )
𝒏𝒗 v คือความเร็วคลื่นนิ่ง (เมตร/วินาที)
fn =
𝟐𝐋 L คือความยาวของเชือก (เมตร)
λ คือความยาวคลื่น (เมตร)
n คือจ้านวนแนวปฏิบัพหรือจ้านวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิด
ลักษณะของคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น
λ
1. จุดบัพที่อยู่ติดกันจะห่างกัน เท่ากับ
2
λ
2. จุดปฏิบัพที่อยู่ติดกันจะห่างกัน เท่ากับ
2
λ
3. จุดบัพและปฏิบัพที่ติดกันจะห่างกัน เท่ากับ
4
4. แอมพลิจูดสูงสุดของจุดปฏิบัพจะเป็นสองเท่าของคลื่นย่อยทั้งสอง
5. คาบของคลื่นนิ่งจะเท่ากับคาบของคลื่นย่อยทั้งสอง

แบบฝึกหัดเรื่องคลื่นนิ่ง
1. คุณสมบัติหรือปรากฏการณ์ ข้อใดที่ใช้อธิบายการเกิดคลื่นนิ่ง
ก. การแทรกสอด ข. การรวมกันได้ของคลื่น
ค. แหล่งก้าเนิดอาพันธ์ ง. ถูกทุกข้อ
2. ในการทดลองคลื่นนิ่งบนเส้นเชือก ถ้าความถี่ของคลื่นนิ่งเป็น 475 Hz และอัตราเร็วของคลื่นในเส้นเชือกเท่ากับ
380 m/s จงหา
ก.ความยาวคลื่น(0.8 m) ข. ต้าแหน่งบัพสองต้าแหน่งที่อยู่ถัดกันจะห่างกันเท่าใด
(0.4m)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 37

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................


3. (แนว มช) คลื่นนิ่งเป็นคลื่นที่เกิดจากการแทรกสอดกันของคลื่นสองขบวนที่เหมือนกันทุกประการแต่เคลื่อนที่สวน
ทางกัน ถ้าคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น มีต้าแหน่งบัพและปฏิบัพอยู่ห่างกัน 1 m คลื่นที่มาแทรกสอดกันนี้จะต้องมีความยาว
คลื่นกี่เมตร(4m)

4. ลวดเส้นหนึ่งยาว 40 cm. ปลายทั้งสองถูกขึงตรึง เมื่อดีดลวดตรงกลางท้าให้เส้นลวดสั่นขึ้นลงด้วยความถี่ 20 Hz


เกิดคลื่นนิ่งหนึ่งลูป จงหา
ก.ความยาวคลื่น(0.8m) ข. อัตราเร็วของคลื่นในลวดเส้นนี้ (16m/s)

5. (แนวEn) จากรูปเป็นคลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่มีปลายทั้งสองยึดแน่นไว้ ถ้าเส้นเชือกยาว 1.2 m และความเร็วคลื่นใน


เส้นเชือกขณะนั้นเท่ากับ 240m/s จงหาความถี่คลื่น(300Hz)

90 cm

6. เชือกเส้นหนึ่งปลายข้างหนึ่งถูกตรึงแน่น ปลายอีกข้างหนึ่งติดกับตัวสั่นสะเทือน สั่นด้วยความถี่ 30 Hzปรากฏว่า


เกิดคลื่นนิ่งพอดี 3 Loop ถ้าใช้เชือกยาว 1.5 m จงหาอัตราเร็วคลื่นในเส้นเชือกในหน่วย m/s (30 m/s)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 38

7. เชือกเส้นหนึ่งยาว 3 m ปลายข้างหนึ่งยึดติดกับก้าแพง จับปลายอีกข้างหนึ่งสะบัดขึ้นลงอย่างสม่้าเสมอ ท้าให้เกิด


คลื่นมีความยาวคลื่น 0.5 m จงหาว่าระหว่างปลายเส้นเชือกทั้งสองมีต้าแหน่งบัพและปฏิบัพกี่ต้าแหน่ง
(บัพ 13 แนวและปฏิบัพ 12 แนว)

8. คลื่นต่อเนื่องในลวดสปริง มีความยาวคลื่น 8 cm. เคลื่อนที่ไปยังปลายข้างหนึ่งซึ่งยึดแน่นไว้ ถ้าลวดสปริงยาว


20 cm. จะเกิดคลื่นนิ่งมีบัพกี่บัพ และมีปฏิบัพกี่บัพ (บัพ 6 บัพ และปฏิบัพ 5 บัพ)

9. คลื่นนิ่งมีระยะห่างของบัพที่ติดกัน 10 cm. ถ้าอัตราเร็วของคลื่น 160 cm/s จงหาความถี่ของแหล่งก้าเนิด(8Hz)

การสั่นพ้อง(Resonance) *********************************************************

ความถี่ธรรมชาติ
จากการศึกษาการสั่นหรือการแกว่งของวัตถุต่างๆ ที่ถูกตรึงหรือยึดไว้ เมื่อปล่อยให้วัตถุนั้นสั่นหรือแกว่ง
อย่างอิสระ วัตถุนั้นจะสั่นหรือแกว่งด้วยความถี่คงตัวค่าหนึ่ง เช่น การสั่นของวัตถุที่ติดกับปลายข้างหนึ่งของสปริง หรือ
การแกว่งของลูกตุ้ม
พบว่าการแกว่งของลูกตุ้มจะมีค่าความถี่เปลี่ยนแปลงตามความยาวของสายแขวนลูกตุ้ม โดยถ้าสายแขวน
ลูกตุ้มยาวความถี่ ของการแกว่งจะมีค่าน้อยหรือลูกตุ้มแกว่งช้า แต่ถ้าสายแขวนลูกตุ้มสั้นความถี่ของการแกว่งของลูกตุ้ม
จะมากขึ้นหรือแกว่งเร็ว นอกจากนี้เส้นลวดที่ขึงตรึงหรือวัตถุที่ติดกับสปริงเมื่อท้าให้เกิดการสั่นอย่างอิสระ เส้นลวดและ
วัตถุจะสั่นด้วยความถี่ที่คงตัวเช่นกัน ความถี่ในการแกว่งหรือสั่นของวัตถุอย่างอิสระเรียกว่า ความถี่ธรรมชาติ (natural
frequency)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 39

1 𝑔 เมื่อ l คือ ความยาวสายแขวนลูกตุ้ม (m)


ความถี่ธรรมชาติของลูกตุ้ม = √
2𝜋 𝑙 g คือ ค่าความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก
(m/s2)
1 𝑘 เมื่อ k คือ ค่านิจของสปริง (N/m)
ความถี่ธรรมชาติของมวลผูกติดปลายสปริง= √
2𝜋 𝑚 m คือ มวลที่ผูกติดกับปลายสปริง (kg)

หมายเหตุ ค่าความถี่ธรรมชาติของวัตถุอาจมีเพียงค่าเดียวหรือหลายค่าก็ได้ขึ้นอยู่กับชนิด และลักษณะการสั่นของ


วัตถุนั้น ๆ

การสั่นพ้อง

จากความรู้เรื่องความถี่ธรรมชาติของวัตถุ ได้ว่า วัตถุทุกชนิดที่ถูกยึดหรือตรึงไว้ เมื่อถูกกระตุ้นให้สั่นหรือแกว่ง


อย่างอิสระ จะสั่นหรือแกว่งด้วยความถี่ธรรมชาติเฉพาะค่าค่าหนึ่ง การที่จะท้าให้วัตถุที่ถูกยึดไว้สั่นหรือแกว่างต้องออก
แรงกระท้า ถ้าออกแรงกระท้าเพียงครั้งเดียว วัตถุนั้นจะถูกบังคับให้สั่นหรือแกว่งด้วยความถี่เท่ากับความถี่ธรรมชาติ
ของวัตถุนั้นๆ และมีขนาดของช่องกว้างของการแกว่ง (แอมพลิจูด) ค่อยๆ เพิ่มขึนจนถึงมากที่สุด เราเรียกปรากฏการณ์
ที่เกิดขึ้นนี้ว่า การสั่นพ้องของการแกว่ง
การสั่นพ้องของเส้นลวด
พิจารณาเส้นลวดหรือเส้นเชือกที่ปลายทั้งสองตรึงแน่น เมื่อดีดเส้นลวดหรือเพิ่มเชือกให้สั่น จะเกิดคลื่นในเส้นลวด
เคลื่อนที่ไปกระทบจุดตรึงแล้วสะท้อนกลับไปกลับมาเป็นคลื่นนิ่ง โดยมีจุดตรึงเป็นตาแหน่งบัพเสมอ การเกิดคลื่นนิ่ง
ลักษณะนี้เรียกว่า เกิดการสั่นพ้องของเส้นลวด
ตารางแสดง ความถี่ของคลื่นนิ่งที่ท้าให้เกิดการสั่นพ้องของเส้นลวด มีได้หลายค่าดังนี้

1. ความถี่มูลฐาน (fundamental) คือความถี่ต่้าสุดของคลื่นนิ่ง ซึ่งมีความยาวคลื่นมากที่สุด แล้วท้าให้เกิดการสั่น


พ้องของเส้นลวด
2. โอเวอร์โทน (overtone) คือความถี่ของคลื่นนิ่งที่สูงถัดจากความถี่มูลฐาน แล้วท้าให้เกิดการสั่นพ้องของ
เส้นลวด มีค่าเป็นขั้น ๆ
3. ฮาร์โมนิก (harmonic) คือตัวเลขที่บอกว่า ความถี่นั้นเป็นกี่เท่าของความถี่มูลฐาน

คลื่นนิ่งในเส้นเชือก

1) ปลายทั้งสองข้างตรึงแน่น ตัวอย่าง สายกีตาร์ (มองเห็นคลื่นหยุดนิ่ง)


 เกิดเป็นบ่วง หรือลูพ (Loop)
 1 บ่วง หรือ1 Loop .....จะมีจุดบัพ 2 จุด........... หรือจุดปฏิบัพ 1 จุด
 ปลายตรึงแน่นจะเป็นจุดบัพ(N) เสมอ
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 40

2) การหาความยาวคลื่นของคลื่นนิ่งขณะเกิดการสั่นพ้องของคลื่นในเส้นเชือก
𝛌
L=n เมื่อ L คือความยาวของเชือกทั้งหมด (เมตร)
𝟐
λ𝑛 คือความยาวคลื่น (เมตร)
𝟐𝑳 n คือจ้านวนแนวปฏิบัพหรือจ้านวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิด
𝛌=
𝐧 เมื่อ n =1,2,3,….

Note: 1. จ้านวน 1 Loop เท่ากับ1 ปฏิบัพ

จ้านวน 1 Loop เท่ากับ2 บัพ

2. เกิด Loop
 แอมพลิจูดของการสั่นมากที่สุด (พลังงานมากที่สุด)
 ความยาวคลื่นมีค่ามากที่สุด
 ความถี่น้อยที่สุด (คาบมากที่สุด) เรียกว่าความถี่มูลฐาน
 อัตราเร็วคลื่นนิ่งจะไม่เปลี่ยนแปลงไปตามจ้านวน Loop (vคงที่)
3) การหาความถี่ของคลื่นนิ่งขณะเกิดการสั่งพ้องของคลื่นในเส้นเชือก

𝒗 𝒗 𝒗
f= ได้ว่า 𝒇𝟏 = หรือ 𝒇𝟏 =
𝛌 𝛌𝟏
𝟐𝑳

เรียก 𝑓1 ว่าความถี่มูลฐาน (fundamental. Frequency) หรือ Harmonic ที่ 1

𝒗 𝒗 𝟐𝒗
และ 𝒇𝟐 = หรือ 𝒇𝟐 = 𝟐𝑳 หรือ 𝒇𝟐 = หรือ 𝒇𝟐 =𝟐𝒇𝟏
𝛌𝟐 𝟐𝑳
𝟐

เรียก 𝑓2 ว่าความถี่โอเวอร์โทนที่ 1(First overtone) หรือ Harmonic ที่ 2

𝒗 𝒗 𝟑𝒗
และ 𝒇𝟑 = หรือ 𝒇𝟑 = 𝟐𝑳
หรือ 𝒇𝟑 = หรือ 𝒇𝟑 =𝟑𝒇𝟏
𝛌𝟑 𝟐𝑳
𝟑

เรียก 𝑓3 ว่าความถี่โอเวอร์โทนที่ 2(Second overtone) หรือ Harmonic ที่ 3


เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 41

ดังนั้น อาจสรุปได้ว่า ความถี่ของคลื่นในเส้นเชือกที่ท้าให้เกิดการสั่นพ้องมีค่า

𝒏𝒗
𝒇𝒏 =
𝟐𝑳
เมื่อ n = 1,2,3,……..

ข้อสรุป ความถี่ของคลื่นในเส้นเชือกที่ท้าให้เกิดการสั่นพ้องของคลื่นในเส้นเชือกมีได้ทุกฮาร์โมนิก
𝒇𝒏 =𝒏𝒇𝟏

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................

แบบฝึกหัดเรื่องคลื่นนิ่งในเส้นเชือก
1. เชือกเส้นหนึ่งยาว 2m ปลาย 2 ข้างถูกตรึงแน่น เมื่อกระตุ้นใช้เส้นเชือกเกิดการสั่นสะเทือน จงหา
ก.ความยาวคลื่นนิ่งมากที่สุด(4m) ข.ความยาวคลื่นนิ่ง เมื่อเกิดคลื่นนิ่ง 4 Loop(1m)

ค. ความยาวคลื่นนิ่ง เมื่อเกิดจุดปฏิบัพทั้งหมด 4 จุด ง.ความยาวคลื่นนิ่ง เมื่อเกิดจุดบัพทั้งหมด 4 จุด


(1m) (1.33m)

2. เชือกยาวเส้นหนึ่งปลาย 2 ข้างถูกตรึงแน่น เมื่อกระตุ้นให้เส้นเชือกสั่นสะเทือน จงหาความยาวคลื่นนิ่งเมื่อ


ก.ระยะห่างระหว่างจุดบัพที่อยู่ถัดกันเท่ากับ 2 cm ข.ระยะห่างระหว่างจุดปฏิบัพที่อยู่ถัดกันเท่ากับ 2cm
(4cm) (4cm)

ค. ระยะห่างระหว่างจุดบัพและจุดปฏิบัพที่อยู่ถัดกัน
เท่ากับ 2cm (8cm)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 42

3. เชือกยาวเส้นหนึ่งปลาย 2 ข้างถูกตรึงแน่น เมื่อกระตุ้นให้เชือกสั่นสะเทือน จงหาความยาวคลื่นนิ่งเมื่อ


ก.จุดบัพที่ 2 อยู่ห่างจากจุดบัพที่ 5 เท่ากับ 4cm ข.จุดปฎิบัพที่ 2 อยู่ห่างจากจุดปฎิบัพที่ 5 เท่ากับ
8 8
( cm) 4cm ( cm)
3 3

ค. จุดบัพที่ 2 อยู่ห่างจากจุดปฎิบัพที่ 5 เท่ากับ 4cm ง. Loop ที่ 2 อยู่ห่างจากLoopที่ 5 เท่ากับ 4cm


16 8
( cm) ( cm)
7 3

4. เชือกยาวเส้นหนึ่งปลาย 2 ข้างถูกตรึงแน่น เมื่อกระตุ้นให้เส้นเชือกสั่นสะเทือน ท้าให้เกิดคลื่นนิ่ง 5 Loop และจุด


บัพที่อยู่ใกล้กันอยู่ห่างกัน 2 cm. จงหาความยาวเชือก (10cm.)

5. เชือกยาวเส้นหนึ่งปลาย 2 ข้างถูกตรึงแน่น เมื่อท้าให้เชือกสั่นสะเทือนจะเกิดคลื่นนิ่ง 10 Loop โดยจุดบัพกับ


จุดปฏิบัพที่อยู่ใกล้กันห่างกัน 5 cm. จงหาความยาวเชือก(100cm.)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 43

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................


6. เชือกเส้นหนึ่งยาว 80cm. ปลาย 2 ข้างถูกตรึงแน่น เมื่อเส้นเชือกสั่นสะเทือนจะเกิดคลื่นนิ่งมีความยาวคลื่นเท่ากับ
5 cm. จงหา
ก.จ้านวนLoop ทั้งหมดที่เกิดขึ้น (32 Loop) ข.จ้านวนจุดบัพทั้งหมดที่เกิดขึ้น (33 จุด)

7. สายกีตาร์เส้นหนึ่งยาว 80 cm. ปลายทั้ง 2 ถูกยึดไว้แน่น เมื่อดีดสายกีตาร์จะเกิดคลื่นนิ่งมีอัตราเร็ว 40 m/s จงหา


ก.ความถี่มูลฐานของการสั่น(25Hz) ข.คาบการสั่นที่นานที่สุด(0.04 s)

8. ลวดเส้นหนึ่งยาว 40 cm. ปลายทั้ง 2 ข้างถูกตรึงแน่น เมื่อดีดให้เส้นลวดสั่นสะเทือนจะเกิดคลื่นนิ่งมีอัตราเร็ว 50


m/s จงหา
ก.ความถี่มูลฐานของการสั่น(62.5Hz) ข.ความถี่เมื่อคลื่นนิ่งมีจุดบัพทั้งหมด 5 จุด(250 Hz)

9. เชือกเส้นหนึ่งปลาย 2 ข้างถูกยึดไว้แน่นระหว่างจุดค้้าสองจุดถ้ากระตุ้นให้เส้นเชือกสั่นสะเทือน ปรากฏว่าคลื่นนิ่งที่


เกิดขึ้นมีความถี่มูลฐานเท่ากับ 100 Hz จงหา
ก.ความถี่ของเส้นเชือกเมื่อเกิดคลื่นนิ่ง 5 ข.ความถี่ของเส้นเชือกเมื่อคลื่นนิ่งมีจุดบัพทั้งหมด 5
Loop(500Hz) จุด (400 Hz)
4.การเลียวเบน (Diffraction)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 44

ถ้าเราน้าแผ่นที่มีช่องแคบๆไปกั้นหน้าคลื่นไว้จะพบว่า
เมื่อคลื่นเข้าไปตกกระทบแผ่นกั้นแล้วคลื่นส่วนหนึ่งจะลอด
ช่องนั้นออกไปได้คลื่นส่วนที่ลอดออกไปนั้นจะสามารถสร้าง
คลื่นลูกใหม่หลังแผ่นกั้นดังรูปคลื่นลูกใหม่ที่เกิดขึ้นนั้นจะ
สามารถกระจายเลี้ยวอ้อมไปทางด้านซ้ายและขวาของช่องแคบ
ได้ปรากฏการณ์นี้จึงเรียกเป็นการเลียวเบนได้ของคลื่น

ในการเลียวเบนของคลื่นยังคงมีความยาวคลื่น ความถี่ และอัตราเร็วเท่า


เดิม
เมื่อคลื่นผ่านสิ่งกีดขวางหรือช่องเปิดแคบ ๆ จะเกิดการเลียวเบนมากยิ่งขึน ถ้าช่องเปิดนีมีความกว้างเท่ากับ
หรือน้อยกว่าความยาวคลื่น แล้วคลื่นจะแผ่ออกจากช่องเปิดนั้นโดยรอบ ช่องเปิดนี้เรียกว่า สลิต ซึ่งเสมือนเป็น
แหล่งก้าเนิดคลื่นวงกลม
การเลี้ยวเบนได้ของคลื่นจะเป็นไปตามหลักของฮอยเกนส์ซึ่งกล่าวว่า “ ทุกๆจุดบนหน้าคลื่นสามารถ
ประพฤติตัวเป็นแหล่งกาเนิดคลื่นใหม่ได้ที่ให้ก้าเนิดคลื่น ซึ่งเคลื่อนที่ออกไปทุกทิศทุกทางด้วยอัตราเร็วเท่ากับอัตราเร็ว
ของคลื่นเดิมนัน”

1. หลักของฮอยเกนส์ใช้อธิบายปรากฏการณ์ใด
ก. การเลี้ยวเบน ข. การแทรกสอด ค. การเปลี่ยนเฟส ง. การหักเห

คลื่นที่เลี้ยวเบน จะมีความถี่ อัตราเร็ว และความยาวคลื่นเหมือนเดิม (ทิศของ V เปลี่ยน)


แต่แอมพลิจูดลดลง เพราะต้องถ่ายทอดพลังงานให้กับตัวที่เลี้ยวเบน

การเลียวเบนของคลื่นนาผ่านช่องเดี่ยว

เป็นตัวอย่างการเลี้ยวเบนของคลื่นที่ดี เช่น ให้คลื่นน้้าหนักตรงเคลื่อนปะทะช่องแคบเดี่ยวหรือ สลิตเดี่ยวที่สามารถ


ปรับความกว้างของช่องได้ จะพบว่าการเลี้ยวเบนของคลื่นในแต่ละกรณี ดังนี้
เงื่อนไขการเลี้ยวเบนและการแทรกสอด มีดังนี้
1. กรณี d< λ แนวไกลสุด 𝑛 < 1แสดงว่าไม่มีแนวบัพ (มีการเลี้ยวเบนดีมาก)
2. กรณี d= λ แนวไกลสุด 𝑛 = 1แสดงว่าแนวบัพที่ 1 ทับแนวสิ่งกีดขวางพอดี เราจะมองไม่เห็นแนว
บัพ (คลื่นจะเลี้ยวเบนแล้วไปแทรกสอด เกิดบัพล้าดับที่ 1 ท้ามุม 90 กับแนวกลาง จะไม่
เห็นแนวบัพ)
3. กรณี d> λ แนวไกลสุด 𝑛 > 1แสดงว่าจะเกิดแนวบัพและมองเห็นแนวบัพได้มากกว่า 1 แนว (คลื่น
จะเลี้ยวเบนแล้วไปแทรกสอด เกิดบัพ การเลี้ยวเบนไม่ได้)
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 45

ถ้า P เป็นจุดใดๆ บนแนวบัพที่ n(Nn)

𝑆1 𝑃 − 𝑆2 𝑃 = 𝑛λ หรือ 𝑃𝑎𝑡ℎ 𝑑𝑖𝑓𝑓 = 𝑛λ

Note: มีการเลียวเบนย่อยมีการแทรกสอดเกิดขึนตามมาด้วยเสมอแต่การแทรกสอดเกิดขึนจะไม่
จาเป็นต้องมีการเลียวเบน

ถ้า P เป็นจุดใดๆ บนแนวบัพที่ n และอยู่ไกลจากช่องเปิดเดี่ยว พบว่า

𝑆1 𝑃 − 𝑆2 𝑃 = 𝑋
𝐷 𝑠𝑖𝑛𝜃 = 𝑛λ =d sin𝜃
ดังนั้น เมื่อ n=1, 2, 3, …….
ถ้า P เป็นจุดที่มีการแทรกสอดแบบเสริมกัน (ปฏิบัพ) เราสามารถหาเงื่อนไขของการแทรกสอดได้ว่า

1 1
𝑆1 𝑃 − 𝑆2 𝑃 = (𝑛 + )λ หรือ
2 𝑃𝑎𝑡ℎ 𝑑𝑖𝑓𝑓 = (𝑛 + )λ
2

1
𝐷 𝑠𝑖𝑛𝜃 = (𝑛 + )λ
2
และ เมื่อ เมื่อ n=1, 2, 3, …….

***************************************************

การเลียวเบนของคลื่นนาผ่านช่องเปิดคู่

เมื่อคลื่นผิวน้้าหน้าตรงตกกระทบช่องเปิด ซึ่งมีระยะห่างระหว่างช่องเปิดคู่เป็น d คลื่นที่เลี้ยวเบนผ่านช่องเปิด


ทั้งสองจะมีหน้าคลื่นเป็นรูปวงกลมและเกิดการสอดกันเช่นเดียวกับการแทรกสอดของคลื่นวงกลมจากแหล่งก้าเนิด 𝑆1 และ
𝑆2 ซึ่งมีเฟสตรงกัน
สูตรการค้านวณแนวปฏิบัพและแนวบัพจากช่องเปิดคู่
แนวปฏิบัพ

𝑃𝑎𝑡ℎ 𝑑𝑖𝑓𝑓 = 𝑛λ 𝐷 𝑠𝑖𝑛𝜃 = 𝑛λ


เมื่อ n=0,1, 2, 3, …….
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 46

แนวบัพ

1 1
𝑃𝑎𝑡ℎ 𝑑𝑖𝑓𝑓 = (𝑛 − )λ 𝐷 𝑠𝑖𝑛𝜃 = (𝑛 − )λ
2 2

เมื่อ n=1, 2, 3, …….


สรุป เมื่อคลื่นหน้าตรงเคลื่อนที่เข้ากระทบช่องแคบในทิศตั้งฉากแล้วปรากฏแนวปฏิบัพด้านหลังช่องแคบ
จ้านวนหนึ่ง ถ้าต้องการเพิ่มจ้านวนของแนวปฏิบัพให้มากขึ้น

1.เพิ่มความถี่คลื่น 2. เพิ่มระยะห่างระหว่างช่อง 3. เพิ่มความกว้างของแต่ละช่อง 4. เพิ่มความยาวคลื่น

แบบฝึกหัดเรื่องการเลียวเบนของคลื่น
ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................
1. ช่องเดี่ยวเปิดกว้าง 6 cm. ให้คลื่นหน้าตรงมีความยาวคลื่น 2 cm. เคลื่อนที่ผ่าน จงหาแนวบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด
( 6แนว)

2. คลื่นน้้าหน้าตรงมีความยาวคลื่น 2.5 cm. ผ่านอย่างตั้งฉากกับช่องเปิดเดี่ยวซึ่งกว้าง 8 cm. จงหา


ก. แนวบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด(6แนว) ข.แนวบัพที่ 2 เบนจากแนวกลางเท่าไร
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องคลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว30203) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้าที่ 47

ชื่อ........................................ นามสกุล......................................................... ม.5/............... เลขที่...............................


3. ช่องแคบเดี่ยวจะต้องกว้างเท่าไรจึงจะท้าให้คลื่นที่มีความยาวคลื่น 3 cm. ผ่านแล้วเกิดแนวบัพทั้งหมด 6 แนว
(9 cm.)

4. ช่องเดี่ยวกว้าง 4 cm. จะต้องให้คลื่นมีความยาวคลื่นเท่าไร ผ่านในแนวตั้งฉากกับช่องเดี่ยวนี้จึงจะท้าให้เกิดแนว


บัพรอบช่องเดี่ยว 4 แนว (2cm.)

5. ช่องเปิด 2 ช่อง ห่างกัน 3.25 เท่าของความยาวคลื่นน้้าหนักตรงที่ผ่านเข้ากระทบในแนวตั้งฉากท้าให้คลื่นน้้าที่


ผ่านช่องเปิดทั้งสองเกิดการเลี้ยวเบนแล้วแทรกสอดกัน จงหาแนวบัพและปฏิบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด (บัพ 6 แนว
และปฏิบัพ 7 แนว)

You might also like