Business Type First 20180426081410902

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 53

บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

2. ลักษณะการประกอบธุรกิ จ

บริษทั ฯ ดำเนินธุรกิจผลิตและจำหน่ายเอทานอล แป้งมันสำปะหลัง และผลิตก๊าซชีวภาพและกระแสไฟฟ้า ซึง่ มีภาพรวม


การประกอบธุรกิจ ดังนี้

หมายเหตุ : ปจั จุบนั บริษทั ฯ ไม่ได้ผลิตเอทานอลเกรดอุตสาหกรรม แต่มเี ครือ่ งจักรและความพร้อมในการผลิตเพือ่ จำหน่าย

(1) บริษทั ฯ จัดซือ้ วัตถุดบิ ได้แก่ มันสำปะหลังสดและมันสำปะหลังเส้น (2.1) มันสำปะหลังสดและมันสำปะหลังเส้นจะ


ถูกนำไปใช้ในกระบวนการผลิตเอทานอล (2.2) มันสำปะหลังสดจะถูกนำไปใช้ในกระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลัง
และ (3) ผลพลอยได้ทไ่ี ด้จากกระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลังและเอทานอลจะถูกนำไปใช้เป็ นวัตถุดบิ ในกระบวนการ
ผลิตก๊าซชีวภาพและกระแสไฟฟ้า โดยบริษทั ฯ มีโรงงานผลิตก๊าซชีวภาพ 3 ระบบทีส่ ามารถรองรับวัตถุดบิ ได้แตกต่าง
กัน ซึง่ ผลผลิตก๊าซชีวภาพทีไ่ ด้สว่ นหนึ่งจะถูกนำไปใช้เป็ นเชือ้ เพลิงทดแทนในกระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลังและเอ
ทานอล และอีกส่วนหนึ่งจะถูกนำไปใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าเพือ่ ใช้หมุนเวียนภายในโรงงานและจำหน่ายให้กบั การ
ไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 1


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

2.1 โครงสร้างรายได้

รายได้หลักของบริษทั ฯ ประกอบด้วย รายได้จากธุรกิจผลิตและจำหน่ายเอทานอล ธุรกิจผลิตและจำหน่ายแป้งมันสำปะหลัง และ


ธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพและไฟฟ้า โดยรายได้จากการขายแยกตามกลุ่มธุรกิจ ในปี 2558 – 2560 สามารถสรุปได้ดงั นี้

2558 2559 2560


รายได้ รายได้ รายได้
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
จากการขาย จากการขาย จากการขาย
ธุรกิ จ (ล้านบาท ยกเว้นอัตราร้อยละ)
เอทานอล 2,727.77 74.24 2,873.29 80.93 3,351.58 71.47
แป้งมันสำปะหลัง 928.02 25.26 649.17 18.29 1,311.15 27.96
ก๊าซชีวภาพและไฟฟ้า 18.55 0.50 27.73 0.78 26.60 0.57
รวม 3,674.34 100.00 3,550.19 100.00 4,689.33 100.00

ทังนี
้ ้ รายได้จากธุรกิจผลิตและจำหน่ายเอทานอลสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) รายได้หลักจากการผลิตและ
จำหน่ายเอทานอลเกรดเชือ้ เพลิงให้แก่บริษทั ผูค้ า้ น้ำมัน สำหรับนำไปผสมกับน้ำมันเบนซินเป็ นน้ำมันแก๊สโซฮอล์เพือ่ ใช้
เป็ นเชือ้ เพลิงในเครือ่ งยนต์ และ 2) รายได้เสริมจากการจำหน่ายมันเส้น (Dry Cassava Trading) สำหรับในกรณีทม่ี วี ตั ถุดบิ
เหลือจากการผลิตเอทานอล ซึง่ เป็ นไปตามนโยบายของบริษทั ฯ ในการจัดหาวัตถุดบิ ปริมาณสูงเพือ่ ป้อนเข้าสู่
กระบวนการผลิตและสำรองไว้สำหรับธุรกิจจำหน่ายมันสำปะหลัง
รายได้จากธุรกิจเอทานอลในปี 2558 – 2560 แสดงได้ดงั นี้

2558 2559 2560


รายได้ รายได้ รายได้
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
จากการขาย จากการขาย จากการขาย
ธุรกิ จเอทานอล (ล้านบาท ยกเว้นอัตราร้อยละ)
เอทานอล 2,727.77 100.00 2,813.19 97.91 3,084.39 92.03
มันเส้น - - 60.10 2.09 267.19 7.97
รวม 2,727.77 100.00 2,873.29 100.00 3,351.58 100.00

สำหรับธุรกิจผลิตและจำหน่ายแป้งมันสำปะหลัง บริษทั ฯ สามารถผลิตได้ทงแป


ั้ ้ งมันสำปะหลังเกรดอาหารและเกรดอุตสาหกรรม
โดยแป้งมันสำปะหลังเกรดอาหารส่วนใหญ่จะถูกส่งออกเพือ่ นำไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เครือ่ งดืม่ สารให้ความ
หวาน และยารักษาโรค ส่วนแป้งมันสำปะหลังเกรดอุตสาหกรรมจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษ กาว ไม้อดั
เป็ นต้น โดยบริษทั ฯ จัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์แป้งมันสำปะหลังในบรรจุภณ ั ฑ์ 3 ขนาด ได้แก่ ขนาดใหญ่ (Big Bag) ขนาด
เล็ก (Small Bag) และขนาดค้าปลีก (Retail) โดยส่งจำหน่ายทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 2


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

รายได้จากการจำหน่ายแป้งมันสำปะหลังในปี 2558 – 2560 แสดงได้ดงั นี้

2558 2559 2560


รายได้ รายได้ รายได้
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
จากการขาย จากการขาย จากการขาย
ธุรกิ จแป้ งมันสำปะหลัง (ล้านบาท ยกเว้นอัตราร้อยละ)
ผลิตและจำหน่ายแป้ง 928.02 100.00 649.17 100.00 1,311.15 100.00
รวม 928.02 100.00 649.17 100.00 1,311.15 100.00

สำหรับธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพและไฟฟ้า บริษทั ฯ นำก๊าซชีวภาพทีผ่ ลิตได้สว่ นหนึง่ ไปผลิตกระแสไฟฟ้า 5.6 เมกะวัตต์ เพือ่ ใช้
หมุนเวียนภายในโรงงาน และผลิตกระแสไฟฟ้า 1.9 เมกะวัตต์ เพือ่ จำหน่ายให้กบั การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค โดยก๊าซชีวภาพทีผ่ ลิต
ได้อกี ส่วนหนึง่ จะนำไปใช้เป็นเชือ้ เพลิงทดแทนในกระบวนการผลิตเอทานอลและแป้งมันสำปะหลัง โดยไม่มกี ารจำหน่ายให้แก่
บุคคลภายนอก
รายได้จากการจำหน่ายไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพในปี 2558 – 2560 แสดงได้ดงั นี้

2558 2559 2560


รายได้ รายได้ รายได้
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
จากการขาย จากการขาย จากการขาย
ผลิ ตภัณฑ์จากก๊าซชีวภาพ (ล้านบาท ยกเว้นอัตราร้อยละ)
เชือ้ เพลิง - - - - - -
กระแสไฟฟ้า 18.55 100.00 27.73 100.00 26.60 100.00
รวม 18.55 100.00 27.73 100.00 26.60 100.00

หมายเหตุ : รายได้จากการขายสินค้าแสดงตามงบการเงินรวม โดยไม่รวมการขายสินค้าระหว่างกันภายในกลุ่มบริษทั

2.2 ลักษณะการประกอบธุรกิ จของแต่ละสายผลิ ตภัณฑ์

2.2.1 ธุรกิ จผลิ ตและจำหน่ ายเอทานอล

µ¦ ¨ µ—„
„˜ µ¦ ­ Š
nÁ­ ¦ ·¤ „…
µ¦ µ¥
¨ ³ „„
µ¦ ¦ · µ¦ ¨ ¼ „ ‡oµ
‡ ¨ ´Šœ
­ · ‡œ
oµ¤´ ¦ ³ ª „Ÿ
„œ µ¦ ¨ ·˜Â¨ ³ µ¦ ´—‹œ
„‹ ε® nµ¥
´—ŽºÊ°ª ´˜™»—
‹ · ¨¼
„‡oµ
­ 垳 ®¨ ´ŠœÁ­ o ‡ª  ‡»¤ ‡–» £ µ¡ ­œ·‡ oµ

¤´œ­ 垳 ®¨ ´Š—


­ ¨ ³ ‹´—„
Á Ȩ
 ³‡ ª ‡»¤ -ž¦ ³ ­ š
· ›·£ µ¡ …Š
° µ¦ ¦ · µ¦ œŠœ
„„… ­ n­ · ‡ oµ ¨¼
„‡oµÃ¦ Š
„¨ É́œœÊε¤´œ
¤´œ­ 垳 ®¨ ´Šœ
Á­ o ‡–» £ µ¡ ª ´˜™
»·
—  æ Š Šµœ‡Š
Á ¦ ºÉ° ‹´„
¦ ¨ ³ ¹ æ Š
™ŠŠ µœ…Š„
° ¨ ¼‡ oµ ˜µ¤¤µ˜¦µ 7
° »ž„ ¦ –r
-„ µ¦ ε¦ »¦Š´„¬µÂ¨ ³
Žn°¤ÂŽ¤
บริษทั ฯ เป็ นผูเ้ ล่นรายใหญ่ในธุรกิจผลิตเอทานอลทีใ่ ช้มนั สำปะหลังเป็ นวัตถุดบิ ปจั จุบนั บริษทั ฯ ผลิตและ
จำหน่ายเอทานอลเกรดเชือ้ เพลิงสำหรับขายภายในประเทศเท่านัน้ โดยจำหน่ายให้กบั ผูค้ า้ น้ำมันตามมาตรา 7
ได้แก่ BCP PTT TOP ESSO Shell และ Chevron เป็ นต้น

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 3


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ปริมาณการผลิตและจำหน่ายเอทานอลของบริษทั ฯ ในปี 2558 - 2560 แสดงได้ดงั นี้

หน่วย : ล้านลิตร 2558 2559 2560


ปริมาณการผลิต 114.3 118.2 129.3
ปริมาณการขาย 110.2 123.4 123.5

เอทานอลถูกกำหนดให้เป็ นสินค้าควบคุม โดยก่อนการผลิตและจำหน่ายเอทานอล ผูผ้ ลิตเอทานอลในประเทศ


จะต้องเข้าทำสัญญาอนุญาตให้ผลิตและจำหน่ายเอทานอลเพือ่ ใช้เป็ นเชือ้ เพลิงกับกรมสรรพสามิต ซึง่ จะ
อนุญาตให้ผผู้ ลิตเอทานอลสามารถผลิตและจำหน่ายเฉพาะเอทานอลเกรดเชือ้ เพลิงเท่านัน้ และจะได้รบั การ
ยกเว้นการเก็บภาษีสรุ าสำหรับสุรากลันชนิ
่ ดสุราสามทับ (เอทานอล) บริษทั ฯ จึงไม่สามารถผลิตและจำหน่าย
เอทานอลเกรดอุตสาหกรรมภายในประเทศได้ อย่างไรก็ดี ในปี 2561 กรมสรรพสามิตได้อนุญาตให้ผผู้ ลิตเอ
ทานอลสามารถทำการผลิตเอทานอลเกรดอุตสาหกรรมและส่งมอบให้แก่องค์การสุรา ในลักษณะจ้างทำ โดย
จะต้องได้รบั อนุญาตจากกรมสรรพสามิตและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องก่อนดำเนินการ
ทัง้ นี้ โรงงานของบริษทั ฯ สามารถผลิตได้ทงั ้ เอทานอลเกรดเชือ้ เพลิงและเกรดอุตสาหกรรม ซึง่ ในอนาคต
บริษทั ฯ มีแผนทีจ่ ะผลิตเอทานอลเกรดอุตสาหกรรมเพิม่ เติม และส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศ เพือ่
กระจายแหล่งรายได้ให้กบั บริษทั ฯ ปจั จุบนั บริษทั ฯ ได้ทำการสำรวจตลาดต่างประเทศ รวมถึงเตรียมความ
พร้อมของโรงงานและทีมบุคลากรไว้แล้ว
สำหรับธุรกิจจำหน่ายมันสำปะหลังเส้น (Dry Cassava Trading) บริษทั ฯ อาศัยความได้เปรียบจากการเป็ น
ผูร้ บั ซือ้ มันสำปะหลังรายใหญ่ทส่ี ดุ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ซึง่ ทำให้บริษทั ฯ สามารถจัดหาและรับ
ซือ้ มันสำปะหลังเส้นในปริมาณมากในช่วงราคาต่ำ เช่น ในช่วงฤดูมนั โดยวัตถุดบิ ทีเ่ หลือจากการผลิตจะถูกนำ
ไปจำหน่ายโดยตรงให้กบั ผูส้ ง่ ออก ซึง่ ถือเป็ นแหล่งรายได้เสริมทีสำ
่ คัญของบริษทั ฯ โดยในปี 2559 บริษทั ฯ มี
ปริมาณการจำหน่ายมันสำปะหลังเส้นที่ 10,198.4 ตัน และมีการจำหน่ายเพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั สำคัญเป็ น
47,966.6 ตัน ในปี 2560

2.2.1.1 ลักษณะผลิ ตภัณฑ์


เอทานอล
เอทานอลหรือเรียกอีกชือ่ หนึ่งว่า เอทิลแอลกอฮอล์ เป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้จากการแปรรูปพืชผลทางการเกษตร
ประเภทแป้งและน้ำตาล เช่น กากน้ำตาล มันสำปะหลัง ข้าวโพด เป็ นต้น มีสตู รโมเลกุล คือ C2H5OH จุดเดือด
ประมาณ 78 องศาเซลเซียส เป็ นของเหลวใส ไม่มสี ี ติดไฟง่าย โดยเอทานอลสามารถแบ่งออกเป็ น 2 เกรด
คือ 1) เอทานอลเกรดอุตสาหกรรมมีความบริสทุ ธิ ์ 95.0% และ 2) เอทานอลเกรดเชือ้ เพลิงมีความบริสทุ ธิ ์
99.5%

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 4


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ตารางแสดงคุณสมบัติของเอทานอลเกรดอุตสาหกรรม
เอทานอลเกรดอุตสาหกรรม
ความบริสทุ ธิ ์ 95.0% มีลกั ษณะทัวไปโปร่
่ งใสไม่มกี ลิน่
คุณสมบัติทางเคมี    ข้อกำหนด หน่ วย
สี Chroma ≤ 10 No.
ผลิตภัณฑ์ทอ่ี ุณหภูม ิ 20°C Product at 20 °C ≥ 95.0 %v/v
การทดสอบกรดซัลฟูรกิ Sulfuric acid experiments 60 No.
ระยะเวลาเกิดปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน่ Oxidation time at 20 °C ≥ 20 Minute
แอลดีไฮด์ Aldehyde (CH2CHO) ≤ 30 mg/l
เมทานอล Methanol ≤ 80 mg/l
เอ็น-โพรพิลแอลกอฮอล์ N-propyl alcohol ≤ 80 mg/l
ไอโซบิวทิลแอลกอฮอล์และเอมิลแอลกอฮอล์ Isobutyl alcohol + Amyl alcohol ≤ 20 mg/l
ไอโซโพรพานอล Iso-proponal ≤ 80 mg/l
กรดแอซิตกิ Acetic acid (CH3COOH) ≤ 20 mg/l

กรดแอซิตกิ และผลิตภัณฑ์อ่นื ๆ Acetic acid and product (CH3COOC2H5) ≤ 25 mg/l


สารไม่ระเหย Non-volatile matter ≤ 25 mg/l
โลหะหนัก (ตะกัว)่ Heavy metal (Pb) ≤1 mg/l
ไซยาไนด์ Cyanide (HCN) ≤5 mg/l
ทีม่ า : ข้อมูลบริษทั ฯ

ตารางแสดงคุณสมบัติของเอทานอลเกรดเชื้อเพลิ ง
เอทานอลเกรดเชื้อเพลิ ง
ความบริสทุ ธิ ์ 99.5% มีลกั ษณะทัวไปโปร่
่ งใสและไม่มสี ารแปลกปลอมเจือปนอยู่
คุณสมบัติทางเคมี    ข้อกำหนด หน่ วย
ปริมาณเอทานอลและแอลกอฮอล์ชนิดอิม่ ตัว Ethanol plus higher saturated alcohols, ≥ 99.8 %v/v
ทีม่ จำ
ี นวนคาร์บอนอะตอมสูงกว่าเอทานอล % volume
(ร้อยละโดยปริมาตร)
โมโนแอลกอฮอล์ชนิดอิม่ ตัวทีม่ จำ
ี นวน Higher saturated (C3-C3) mono ≤2 %vol
คาร์บอนอะตอมตัง้ แต่ 3-5 อะตอม (ร้อยละ alcohols, % volume
โดยปริมาตร)
เมทานอล (ร้อยละโดยปริมาตร) Methanol, % volume ≤0.5 vol
ยางเหนียว (มิลลิกรัม/100 มิลลิลติ ร) Solvent Washed Gum, mg/ 100 ml ≤ 5.0 mg/100 ml
น้ำ (ร้อยละโดยน้ำหนัก) Water, %weight ≤0.3 %wt
คลอไรด์อนินทรีย์ (มิลลิกรัม/ลิตร) Inorganic chloride, mg/l ≤1 mg/l
ทองแดง (มิลลิกรัม/ กิโลกรัม) Copper, mg/kg ≤ 0.06 mg/kg
ความเป็ นกรดคำนวณเป็ นกรดอะซีตคิ Acidity as acetic acid, mg/l ≤ 30 mg/l
(มิลลิกรัม/ลิตร)
ความเป็ นกรด-ด่าง pHe 6.5 – 9.0
สภาพตัวนำไฟฟ้า (ไมโครซีเม็นส์/เมตร) Electrical conductivity, ʮS/m ≤ 500 ʮS/m
ลักษณะทีป่ รากฏ Appearance Bright and
Clear
ทีม่ า : ข้อมูลบริษทั ฯ

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 5


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

สำหรับเอทานอลเกรดเชือ้ เพลิงมีความบริสทุ ธิ ์ 99.5% โดยปริมาตร มีคา่ ออกเทนสูง เนื่องจากมีสว่ นผสมของ


ออกซิเจนในปริมาณทีส่ งู ถึง 35% จึงเหมาะทีจ่ ะนำไปใช้ทดแทนสาร MTBE ซึง่ เป็ นสารปรุงแต่งเพิม่ ค่าออก
เทนในน้ำมันเบนซิน โดยสาร MTBE มีขอ้ เสียคือก่อให้เกิดคาร์บอนมอนนอกไซด์ สารตกค้างและปนเปื้อนกับ
น้ำใต้ดนิ ดังนัน้ เอทานอลจึงถือเป็ นทางเลือกใหม่ในการลดปญั หามลพิษดังกล่าว
การใช้เอทานอลทดแทนสาร MTBE ได้รบั การยอมรับและถูกใช้อย่างแพร่หลายในต่างประเทศ และทีผ่ า่ นมา
รัฐบาลได้มนี โยบายส่งเสริมการใช้เอทานอลเพือ่ นำไปผลิตน้ำมันแก๊สโซฮอล์เพือ่ ลดการนำเข้าน้ำมันเบนซิน
และลดการใช้สาร MTBE เช่น นโยบายแผนพลังงาน AEDP และมาตราการแทรกแซงราคาน้ำมันของกองทุน
น้ำมัน เป็ นต้น (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในข้อ 2.2.1.6 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน) นโยบายดัง
กล่าวยังช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรมีรายได้เพิม่ ขึน้ มีการจ้างงานมากขึน้ ทำให้เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียน และ
สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั เศรษฐกิจภายในประเทศ โดยการผลิตเอทานอล 1 ลิตร สามารถสร้างมูลค่าให้กบั GDP
ของประเทศประมาณ 15-18 บาท โดยสามารถลดการนำเข้าน้ำมันดิบได้สงู ถึงปีละ 6 ล้านบาร์เรล (เทียบจาก
ปริมาณการใช้เอทานอล 4 ล้านลิตรต่อวัน)
ปจั จุบนั การจำหน่ายเอทานอลเกรดเชือ้ เพลิงจะต้องจำหน่ายในรูปแบบของเอทานอลแปลงสภาพ (Denatured
Ethanol) ตามข้อกำหนดของกรมสรรพสามิต (นิยามตามประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรือ่ ง กำหนดลักษณะและ
คุณภาพของเอทานอลแปลงสภาพ พ.ศ. 2548) ซึง่ เอทานอลทีผ่ ลิตได้ตอ้ งผสมกับน้ำมันเบนซินพืน้ ฐานก่อน
การจำหน่ายสูภ่ ายนอก
บริษทั ฯ ผลิตและจำหน่ายเอทานอลเกรดเชือ้ เพลิงให้กบั ผูค้ า้ น้ำมันตามมาตรา 7 โดยผูค้ า้ น้ำมันดังกล่าวจะนำ
เอทานอลไปผสมกับน้ำมันเบนซินเพือ่ ผลิตเป็ นน้ำมันแก๊สโซฮอล์สำหรับใช้เป็ นเชือ้ เพลิงในรถยนต์ โดย
สัดส่วนการผสมเอทานอลต่อน้ำมันเบนซินของน้ำมันแต่ละชนิด เป็ นดังนี้

ชนิ ดของน้ำมัน สัดส่วนการผสมเอทานอลต่อน้ำมันเบนซิ น


แก๊สโซฮอล์ 91 ร้อยละ 9-10
แก๊สโซฮอล์ 95 ร้อยละ 9-10
E20 ร้อยละ 19-20
E85 ร้อยละ 75-85

สำหรับเอทานอลเกรดอุตสาหกรรมมีความบริสทุ ธิ ์ 95% โดยส่วนใหญ่จะนำไปใช้ในอุตสาหกรรมน้ำหอม


เครือ่ งสำอาง และกลุ่มสินค้ามูลค่าสูง ทำให้ราคาขายเอทานอลเกรดอุตสาหกรรมมีราคาทีส่ งู กว่าเกรดเชือ้ เพลิง
โดยมีกลุ่มลูกค้าหลักในประเทศเกาหลีและญีป่ ุน่ ซึง่ ในอดีต การจำหน่ายเอทานอลในประเทศไทยยังถูกจำกัด
ให้สามารถจำหน่ายได้เฉพาะเอทานอลเกรดเชือ้ เพลิงเท่านัน้ จึงทำให้เอทานอลเกรดอุตสาหกรรมต้องจำหน่าย
โดยการส่งออกไปยังต่างประเทศเพียงอย่างเดียว โดยต้องขออนุญาตเป็ นครัง้ คราวกับอธิบดีกรมสรรพสามิต
อย่างไรก็ดี ในปี 2561 กรมสรรพสามิตได้อนุญาตให้ผผู้ ลิตเอทานอลสามารถทำการผลิตเอทานอลเกรด
อุตสาหกรรมและส่งมอบให้แก่องค์การสุรา ในลักษณะจ้างทำ ดังนัน้ ในปจั จุบนั เอทานอลเกรดอุตสาหกรรมจะ
สามารถจำหน่ายได้ทงั ้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยจะต้องได้รบั อนุญาตจากกรมสรรพสามิตและหน่วยงาน
ทีเ่ กีย่ วข้องก่อนดำเนินการ

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 6


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

2.2.1.2 การจัดหาผลิ ตภัณฑ์


(1) โรงงานผลิ ตและกำลังการผลิ ตเอทานอล
โรงงานผลิตเอทานอลของบริษทั ฯ มีกำลังการผลิตติดตัง้ (Nameplate Capacity) 400,000 ลิตรต่อวัน
โดยมีอตั ราการใช้กำลังการผลิตทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง จากร้อยละ 88 ในปี 2558 เป็ นร้อยละ 94 ในปี
2560 ซึง่ เป็ นผลมาจากการปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต กล่าวคือ บริษทั ฯ มีการปรับปรุง
การทำงานในกระบวนการหมัก ทำให้ได้ความเข้มข้นของแอลกอฮล์มากขึน้ และปรับปรุงสภาพแวดล้อม
ในหอกลัน่ ทำให้กลันแอลกอฮอลล์
่ บริสทุ ธิ ์ได้เพิม่ ขึน้ ส่งผลให้บริษทั ฯ มีความสามารถในการผลิตเอทา
นอลแบบเต็มกำลังการผลิตที่ 132 ล้านลิตรต่อปี (คำนวณจากระยะเวลาดำเนินงาน 330 วัน)
ตารางแสดงปริมาณผลผลิตและอัตราการผลิตเฉลีย่ ของโรงงานเอทานอล ในปี 2558 – 2560
2558 2559 2560
จำนวนวันทีผ่ ลิตจริง (วัน) 326 344 345
ผลผลิตเอทานอล (ล้านลิตร) 114.3 118.2 129.3
ร้อยละของการผลิตติดตัง้ 88% 86% 94%
หมายเหตุ : อัตราการผลิตเฉลีย่ คำนวณจากปริมาณการผลิตจริงเป็นอัตราร้อยละของกำลังการผลิตติดตัง้ จากจำนวนวันทีผ่ ลิตจริงเท่านัน้

เครือ่ งจักรและอุปกรณ์
บริษทั ฯ ได้ตดิ ตัง้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์สำหรับโรงงานผลิตเอทานอลจากผูผ้ ลิตชัน้ นำในระดับสากล โดย
มีรายละเอียดดังนี้
อุปกรณ์ ผูผ้ ลิ ต ประเทศเจ้าของเทคโนโลยี ปี ที่ติดตัง้
Dry cassava, L&S, Ferment, OSIC จีน 2555
Distillation
Cooling tower OSIC จีน 2555
Air compressor Ingersoll Rand ไอร์แลนด์ 2555
Chiller Trane ไอร์แลนด์ 2555
Boiler Saacke, Getabec เยอรมัน 2555
Process water treatment Hydrotek ไทย 2555
Waste water pre-treatment Starmex ไทย 2555
Tank Farm SKW ไทย 2555

การบำรุงรักษา
บริษทั ฯ มีแผนซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครือ่ งจักรประจำปี เพือ่ ให้เครือ่ งจักรมีประสิทธิภาพในการผลิตที่
ดีอย่างต่อเนื่อง เพิม่ ความปลอดภัย ลดความเสีย่ งจากเหตุทต่ี อ้ งหยุดเดินเครือ่ ง และช่วยให้การบริหาร
จัดการวัตถุดบิ และต้นทุนอื่นๆ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้หากเกิดเหตุสดุ วิสยั ทำให้เครือ่ งจักรไม่
สามารถทำงานได้อย่างกะทันหัน บริษทั ฯ มีทมี งานจากแผนซ่อมบำรุงทีส่ ามารถวิเคราะห์หาสาเหตุและ
ดำเนินงานซ่อมแซม รวมถึงมีการจัดเก็บอุปกรณ์และสำรองอะไหล่ทสำ ่ี คัญพร้อมไว้เสมอ อย่างไรก็ดี ใน

อดีตทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ ยังไม่เคยพบปญหาทีจ่ ะต้องเปลีย่ นเครือ่ งจักรหรือซ่อมบำรุงครัง้ ใหญ่ เนื่องจาก
เป็ นเครือ่ งจักรใหม่ มีอายุการใช้งานจนถึงปจั จุบนั รวม 5 ปี และมีการดูแลการใช้งานและซ่อมบำรุงตาม
แผนทีว่ างไว้อย่างสม่ำเสมอ ปจั จุบนั บริษทั ฯ เดินเครือ่ งจักรตลอด 24 ชัวโมงและจะหยุ
่ ดประจำปีเพือ่

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 7


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ซ่อมแซมและบำรุงรักษาปีละ 2 ครัง้ ครัง้ ละประมาณ 15 วัน โดยจะทำความสะอาดเครือ่ งจักรและแก้


ปญั หาเครือ่ งจักรในจุดทีต่ รวจพบความเสีย่ งของความผิดปกติ

(2) กระบวนการผลิ ตเอทานอล


ปจั จุบนั โรงงานผลิตเอทานอลของบริษทั ฯ สามารถผลิตเอทานอลได้จากวัตถุดบิ หลายประเภท ได้แก่
มันสำปะหลังเส้น มันสำปะหลังสด และกากน้ำตาล อย่างไรก็ตาม เนื่องด้วยทำเลทีต่ งั ้ ของบริษทั ฯ ซึง่ อยู่
ในแหล่งเพาะปลูกมันสำปะหลัง บริษทั ฯ จึงใช้มนั สำปะหลังเป็ นวัตถุดบิ หลักในการผลิตเอทานอล โดย
หลักการทีสำ ่ คัญในการผลิตเอทานอล คือ การเปลีย่ นแป้งให้เป็ นน้ำตาลโดยใช้เอนไซม์ จากนัน้ ใช้ยสี ต์
หมักเพือ่ เปลีย่ นน้ำตาลให้เป็ นแอลกอฮอล์ในรูปน้ำหมัก ซึง่ น้ำหมักจะถูกส่งไปยังหอกลันเพื
่ ่อกลันเอทา

นอลให้ได้คุณสมบัตติ ามทีกำ ่ หนด
บริษทั ฯ ได้การออกแบบกระบวนการผลิตให้เป็ นระบบปิดแบบกึง่ ต่อเนื่อง (Semi-Continuous
Operation) เพือ่ ช่วยประหยัดพลังงานและลดการสูญเสียเอทานอล เพือ่ ให้สามารถผลิตเอทานอลได้
ปริมาณสูงสุด โดยการผลิตเอทานอลจากมันสำปะหลังแบ่งออกได้เป็ น 5 ขัน้ ตอนหลัก ดังนี้
Áž¨ Ȩ́¥œ žjŠÁž}œ
Á˜¦ ¥̧¤ œž
Êε jŠ ¦³ ª „
„œ µ¦ ®¤´„ ¦ ³ ª „„
„œ µ¦ ¨ É́œ ¦³ ª „
„œ µ¦ —¼
—œÊε
œ Ê嘵¨

—¤´œ­ 垳 ®¨ Š
´ ¨ ³ čoÁ° œ Ŏ¤r2 œ— · čo¥ ¸­ ˜rÁ¡ ºÉ°®¤´„ œÊ嘵¨ „¨ É́Á
œ¡ ºÉ°Â¥ „ ¼œ
—— Êε° ° „‹ µ„
Ÿ­ ¤ œ ÊεĮo¨
„µ¥Áž}œ Á¡ ºÉ°Áž¨ Ȩ́¥œ
žjŠÁž}œ äÁ̈ „ »¨Á—Ȩ́¥ª Ä®oÁž¨ Ȩ́¥œ ° ¨ „° ±° ¨ r° ° „
‹µ„ ° ¨ „ ° ±° ¨ rÁ¡ ºÉ°Ä®oŗo
Êε jŠ
œž œ Ê嘵¨ äÁ̈ „—
¨»Á Ȩ́¥ª Áž}œ ° ¨ „ ° ±° ¨ rĜ ¦¼
ž œÊ室´„ ° ¨ „ ° ±° ¨ r¦ ·­ š
» ›·Í
° œÊ室´„
…Š ˜µ¤ ˜Š o° „ µ¦

ก) การเตรียมน้ำแป้ ง
นำมันสำปะหลังเส้นและมันสำปะหลังสดบดให้เป็ นผง แยกทรายและสิง่ สกปรกออก จากนัน้ นำผง
แป้งทีไ่ ด้ผสมกับน้ำ ได้เป็ นน้ำแป้ง
ข) การเปลี่ยนแป้ งเป็ นน้ำตาล
เติมเอนไซม์ Alpha Amylase ลงในน้ำแป้งเพื่อเปลีย่ นแป้งเป็ นน้ำตาลโมเลกุลคู่ โดยกำหนดช่วง
อุณหภูมใิ นกระบวนการผลิตอยูร่ ะหว่าง 80.0-90.0 องศาเซลเซียส ซึง่ เป็ นช่วงอุณหภูมทิ เ่ี อนไซม์
ทำงานได้ดที ส่ี ดุ ซึง่ จะทำให้ได้ผลผลิตดีทส่ี ดุ โดยใช้เวลาประมาณ 4 ชัวโมง
่ จากนัน้ เติมเอนไซม์
Gluco Amylase เพือ่ เปลีย่ นน้ำตาลโมเลกุลคูใ่ ห้เป็ นน้ำตาลโมเลกุลเดีย่ ว เพือ่ ให้ยสี ต์ใช้เป็ นอาหาร
ในการเจริญเติบโตในขัน้ ตอนการหมักต่อไป
ค) การหมัก
ยีสต์ทถ่ี กู นำมาใช้ในกระบวนการหมักเพือ่ เปลีย่ นน้ำตาลเป็ นแอลกอฮอล์ เป็ นยีสต์แห้งซึง่ ผ่านการ
เลีย้ งโดยเติมสารอาหาร และอากาศจนได้สภาวะทีเ่ หมาะสมก่อนจะถูกส่งเข้าถังหมัก (Fermenters)
ซึง่ เป็ นกระบวนการหมักแบบกึง่ ต่อเนื่อง ทำให้ประหยัดปริมาณการใช้ยสี ต์ และได้ความเข้มข้น
ของแอลกอฮอล์มากขึน้ โดยน้ำตาลทีไ่ ด้จากขัน้ ตอนที่ 2 จะถูกส่งผ่านถังหมัก 3 ถัง ถังละ 12
ชัวโมง
่ ซึง่ ในแต่ละถังจะมีระบบน้ำหล่อเย็นเพื่อควบคุมอุณหภูมถิ งั หมักให้คงที่ โดยใช้เวลาในการ
หมักรวมทัง้ สิน้ 36 ชัวโมง
่ เพือ่ ให้ยสี ต์เปลีย่ นน้ำตาลเป็ นแอลกอฮอล์ ซึง่ ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จาก
กระบวนการนี้ คือ น้ำหมัก ซึง่ จะถูกส่งต่อไปยังถังพัก ซึง่ มีทงั ้ หมด 5 ถัง โดยน้ำหมักจะถูกหมักจน
ครบ 72 ชัวโมงก่
่ อนจะถูกส่งไปยังหอกลัน่
ง) การกลัน่

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 8


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

น้ำหมักจะถูกส่งไปยังหอกลันที ่ ่ 1 ซึง่ ทำหน้าทีแ่ ยกแอลกอฮอล์ออกจากน้ำหมัก โดยการกลันที ่ ่


อุณหภูมิ 120-125 องศาเซลเซียส จากนัน้ จะเกิดไอแอลกอฮอล์ ซึง่ จะเคลื่อนตัวออกจากยอดหอก
ลันที
่ ่ 1 ผ่านชุดหล่อเย็น โดยไอแอลกอฮอล์บริสทุ ธิ ์จะควบแน่นเป็ นแอลกอฮอล์เหลว จากนัน้
แอลกอฮอล์เหลวจะถูกส่งต่อไปยังหอกลันที ่ ่ 2 และ 3 เพือ่ กลันให้
่ ได้แอลกอฮอล์ทม่ี คี วามบริสทุ ธิ ์
เพิม่ ขึน้ ถึง 99.8% ซึง่ โดยมาตรฐาน เอทานอลเกรดเชือ้ เพลิงต้องการความบริสทุ ธิ ์เพียง 99.5%
เท่านัน้ และด้วยเทคโนโลยีระบบปิด เครือ่ งจักรจะดูดจับไอเอทานอลทีร่ ะเหยขึน้ มากลับไปผลิตเป็ น
เอทานอลในระบบใหม่อกี ครัง้ เพือ่ ให้ได้ผลผลิตมากที่สดุ
ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีหอกลันทั
่ ง้ หมด 4 หอ โดยหอที่ 4 จะใช้สำหรับการกลันเอทานอลที
่ ม่ คี วามบริสทุ ธิ ์
95% ตามมาตรฐานของเอทานอลเกรดอุตสาหกรรมเท่านัน้ นอกจากนี้ ในกระบวนการกลันจะเกิ ่ ด
ผลพลอยได้ คือ น้ำกากส่า ซึง่ จะถูกนำไปใช้เป็ นวัตถุดบิ ในการผลิตก๊าซชีวภาพ เพือ่ นำกลับมาใช้
เป็ นพลังงานหมุนเวียนสำหรับหม้อต้มน้ำในกระบวนการกลันอี ่ กครัง้
จ) การดูดซับน้ำ
แอลกอฮอล์ทไ่ี ด้จากการกระบวนการกลันจะถู
่ กดูดซับน้ำออกให้มคี วามบริสทุ ธิ ์ทีป่ ระมาณ 99.5%
โดยปริมาตร โดยไอระเหยของแอลกอฮอล์จะเคลื่อนผ่านหอสำหรับดูดซับน้ำ ซึง่ แอลกอฮอล์ทแ่ี ห้ง
แล้วจะถูกควบแน่นและทำให้เย็นลง (Cool Down) จากนัน้ จะถูกส่งไปยัง Day Tank และถูกส่งต่อ
ไปยังถังเก็บเอทานอล (Storage Tank)
สำหรับกระบวนการผลิตเอทานอลโดยใช้กากน้ำตาล จะมีขนั ้ ตอนทีแ่ ตกต่างจากการผลิตเอทานอลจาก
มันสำปะหลังเล็กน้อย กล่าวคือ จะต้องนำกากน้ำตาลเจือจางและปรับคุณภาพให้เหมาะสม จากนัน้ จะเข้า
สูก่ ระบวนการหมัก กลัน่ และดูดซับน้ำออกเช่นเดียวกับการผลิตเอทานอลจากมันสำปะหลัง

(3) การจัดหาวัตถุดิบ
วัตถุดบิ หลักทีใ่ ช้ในกระบวนการผลิตเอทานอลแบ่งเป็ น 2 ประเภท มีรายละเอียดดังนี้
ก) มันสำปะหลังเส้น
บริษทั ฯ จัดหามันสำปะหลังเส้นซึง่ เป็ นวัตถุดบิ หลักในกระบวนการผลิตเอทานอลผ่าน 3 ช่องทาง
หลัก ได้แก่ การรับซือ้ จากเกษตรกรโดยตรงหน้าโรงงาน การรับซือ้ ผ่านลานมันสาขาในจังหวัด
อุบลราชธานีและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง และการรับซือ้ ผ่านลานมันเครือข่าย โดยมีสดั ส่วนการรับซือ้ ใน
แต่ละช่องทางสำหรับปี 2559/2560 ดังนี้

1%

40%

59%

ลานมันเครือข่าย ลานมันสาขา หน้าโรงงาน

หมายเหตุ : อ้างอิงจากข้อมูลการับซือ้ มันสำปะหลังในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2559 ถึง เมษายน 2560

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 9


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

บริษทั ฯ รับซือ้ มันสำปะหลังเส้นส่วนใหญ่ผา่ นลานมันสาขาของตนเอง ร่วมกับการรับซือ้ ผ่านลาน


มันเครือข่าย ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีนโยบายรับซื้อมันสำปะหลังเส้นตลอดทัง้ ปี โดยการรับซือ้ ส่วนใหญ่จะ
อยูใ่ นช่วงเดือนพฤศจิกายนจนถึงเดือนเมษายน ซึง่ เป็ นช่วงทีผ่ ลผลิตออกสูต่ ลาดมากทีส่ ดุ
บริษทั ฯ ได้กำหนดเกณฑ์การรับซือ้ มันสำปะหลังเส้น ดังนี้
รายละเอียด ค่ามาตรฐาน

% แปง > 65%
% ความชืน้ < 16%
% ทรายหรือสิง่ เจือปน < 3%

การตรวจคุณภาพมันสำปะหลังเส้นโดยส่วนใหญ่จะมุง่ เน้นการตรวจวัดความชืน้ เป็ นหลัก เนื่องจาก


วัตถุดบิ ดังกล่าวจะต้องถูกเก็บไว้ในคลังสินค้าเพือ่ รอป้อนเข้าสูก่ ระบวนการผลิต หากวัตถุดบิ มี
ความชืน้ สูงจะทำให้เน่าเสียง่ายและไม่สามารถเก็บได้นาน และส่งผลต่อการผลิตของบริษทั ฯ ทัง้ นี้
บริษทั ฯ อาจรับซือ้ มันสำปะหลังเส้นทีม่ คี ุณภาพไม่ตรงตามทีกำ่ หนด โดยจะพิจารณาเป็ นรายกรณี
โดยจะหักลดราคารับซือ้ ไปตามคุณภาพทีข่ าดหายไป
สำหรับการรับซือ้ ผ่านลานมันเครือข่าย บริษทั ฯ จะกำหนดข้อตกลงกับลานมันเครือข่ายก่อนการรับ
ซือ้ ในแต่ละช่วง เช่น การรับซือ้ ในช่วงฤดูฝน บริษทั ฯ จะมีการกำชับเรือ่ งการตรวจสอบสิง่ เจือปน
โดยหากลานมันเครือข่ายรายใดขายผลผลิตทีไ่ ม่เป็ นตามทีต่ กลง บริษทั ฯ จะปฎิเสธการรับซือ้ และ
อาจไม่พจิ ารณารับซือ้ กับลานมันเครือข่ายดังกล่าวในอนาคต โดยทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ ได้มกี ารตรวจ
เยีย่ มลานมันเครือข่ายอยู่เสมอ เพือ่ ตรวจดูกระบวนการรับซือ้ และการตรวจสอบคุณภาพของ
ผลผลิต เพือ่ ให้มนใจว่
ั ่ าการรับซือ้ วัตถุดบิ เป็ นไปตามมาตรฐานของบริษทั ฯ ซึง่ การตรวจวัดคุณภาพ
ก่อนนำเข้าสูโ่ รงงานของบริษทั ฯ จะมีความเข้มงวด โดยโรงงานจะมีอุปกรณ์และเครือ่ งมือสำหรับ
การตรวจวัดเปอร์เซ็นต์แป้ง ความชืน้ และสิง่ เจือปนทีม่ คี วามพร้อม โดยจะทำการสุม่ ตัวอย่างมา
ตรวจ และนำผลตรวจมาคำนวณราคารับซือ้ ซึง่ เป็ นไปตามข้อกำหนดราคารับซือ้ ของบริษทั ฯ ใน
แต่ละวัน ทัง้ นี้ รูปแบบการจ่ายเงินสำหรับลานมันเครือข่ายเป็ นแบบการโอนเงิน โดยผูจำ ้ หน่ายมัน
สำปะหลังเส้นทุกรายจะต้องทำทะเบียนประวัตกิ บั เจ้าหน้าทีจ่ ดั ซือ้ ก่อนนำวัตถุดบิ มาขาย ซึง่ ใน
ฤดูกาล 2559/2560 มีลานมันเครือข่ายทีล่ งทะเบียนกับบริษทั ฯ จำนวน 447 ราย
สำหรับการรับซือ้ ผ่านลานมันสาขาของบริษทั ฯ ซึง่ เป็ นการรับซือ้ วัตถุดบิ จากเกษตรกรโดยตรงใน
พืน้ ทีแ่ ต่ละสาขา บริษทั ฯ จะสุม่ ตัวอย่างมาตรวจวัดความชืน้ อย่างคร่าวๆ ด้วยเครือ่ งมือวัดความชืน้
ขนาดเล็ก โดยมีการสุม่ เก็บตัวอย่างมาตรวจจำนวน 2 ครัง้ คือ ตอนนำรถขึน้ ตาชัง่ และตอนตรวจ
รับวัตถุดบิ ขณะขนถ่ายลงจากรถ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ เชือ่ ว่าการสุม่ ตรวจสอบด้วยวิธดี งั กล่าว จะเกิด
ความคลาดเคลื่อนไม่มากนัก เนื่องจากอุปกรณ์การตรวจวัดความชืน้ จะถูกส่งไปตรวจเทียบค่า
มาตรฐาน (Calibrate) ทีสำ ่ นักงานใหญ่ ก่อนเปิดฤดูกาลรับซือ้ โดยการจ่ายเงินรับซื้อทีล่ านสาขาจะ
เป็ นการจ่ายเงินสดเท่านัน้
นอกจากนี้ ทีผ่ า่ นมาบริษทั ฯ มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนให้เกษตรกรในพืน้ ทีจ่ งั หวัด
อุบลราชธานีและจังหวัดใกล้เคียงหันมาปลูกมันสำปะหลังมากขึน้ โดยได้รว่ มมือกับภาครัฐและ
หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการริเริม่ โครงการพัฒนาการส่งเสริมการเกษตรการปลูกมันสำปะหลัง หรือ
‘อุบลโมเดล’ เพือ่ ให้ความรูแ้ ก่เกษตรกรในการเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต ผ่านการจัดอบรมอย่าง
ต่อเนื่องโดยผูเ้ ชีย่ วชาญ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังเป็ นผูส้ นับสนุ นหลักในการแจกท่อนพันธุ์ เพือ่
กระตุน้ ให้เกษตรกรหันมาปลูกมันสำปะหลังมากขึน้ ปจั จุบนั โครงการดังกล่าวประสบความสำเร็จ
เป็ นอย่างมาก โดยมีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการกว่า 5,000 ราย คิดเป็ นพืน้ ทีเ่ พาะปลูกทัง้ หมด
10,000 ไร่ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีบทบาทสำคัญในการช่วยให้เกษตรกรสามารถเพิม่ ผลผลิตต่อไร่
(Crop Yield) ได้อย่างมีนยั สำคัญ ผ่านการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพิม่ ผลผลิตมันสำปะหลัง ในรูป

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 10


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

แบบบูรณาการกระบวนการเรียนรูเ้ ชิงฐานปฏิบตั กิ าร ซึง่ เป็ นปจั จัยหนึ่งทีทำ ่ ให้จงั หวัดอุบลราชธานี


และจังหวัดใกล้เคียง เช่น ยโสธร อำนาจเจริญ และศรีสะเกษ เป็ นแหล่งปลูกมันสำปะหลังทีสำ ่ คัญ
แห่งหนึ่งของประเทศไทย โดยในปี 2559/2560 จังหวัดดังกล่าวมีผลผลิตมันสำปะหลังรวมกัน
ประมาณ 2.6 ล้านตัน คิดเป็ นร้อยละ 8.40 ของผลผลิตมันสำปะหลังทัง้ ประเทศ นอกจากนี้ ผลผลิต
ต่อไร่ในพืน้ ทีด่ งั กล่าวยังมีคา่ เฉลีย่ ที่ 6 ตันต่อไร่ซง่ึ สูงกว่าค่าเฉลีย่ ของประเทศที่ 3.5 ตันต่อไร่อกี
ด้วย

(ข) วัตถุดิบอื่นๆ
นอกเหนือจากมันสำปะหลังเส้นซึง่ เป็ นวัตถุดบิ หลักแล้ว วัตถุดบิ อื่นๆ ทีใ่ ช้ในกระบวนการผลิตเอทา
นอล ได้แก่ เชือ้ เพลิงชีวมวล สารเคมี ยีสต์ และเอนไซม์ เป็ นต้น บริษทั ฯ จะจัดซือ้ วัตถุดบิ ดังกล่าว
จากผูจ้ ดั หาวัตถุดบิ (Supplier) ซึง่ ทุกครัง้ ของการจัดซือ้ จะมีการเปรียบเทียบราคาวัตถุดบิ ของผู้
จัดหาวัตถุดบิ แต่ละราย รวมถึงตรวจสอบคุณภาพวัตถุดบิ ทัง้ ในระดับห้องทดลอง (Lab Scale)
จนถึงการผลิตจริง (Plant Scale)
ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีนโยบายประเมินคุณสมบัตแิ ละความเหมาะสมของผูจ้ ดั หาวัตถุดบิ ปีละครัง้ หากผู้
จัดหาวัตถุดบิ รายใดไม่สามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขหรือไม่สามารถจัดหาวัตถุดบิ ได้ตามทีกำ ่ หนดได้
บริษทั ฯ จะเปลีย่ นผูจ้ ดั หาวัตถุดบิ รายใหม่ทนั ที เนื่องจากในตลาดยังมีผจู้ ดั หาวัตถุดบิ อีกหลายราย
อีกทัง้ ปริมาณการจัดซือ้ วัตถุดบิ อื่นๆ ของบริษทั ฯ มีไม่มากนัก โดยทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ ไม่เคย
ประสบปญั หาเรือ่ งการจัดหาหรือขาดแคลนวัตถุดบิ อื่นๆ แต่อย่างใด

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 11


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

(4) สถานที่จดั เก็บวัตถุดิบและผลิ ตภัณฑ์


สถานทีจ่ ดั เก็บวัตถุดบิ
บริษทั ฯ มีคลังสินค้าทัง้ หมด 6 แห่ง แบ่งเป็ นคลังสินค้าทีบ่ ริษทั ฯ เป็ นเจ้าของ 1 แห่งความจุ
120,000 ตัน และคลังสินค้าเช่าจากบุคคลภายนอก 5 แห่งความจุรวม 265,000 ตัน แบ่งเป็ นคลัง
สินค้าในจังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 4 แห่ง และในจังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 2 แห่ง รวมทัง้ สิน้
385,000 ตัน สำหรับการจัดเก็บมันสำปะหลังให้เพียงพอต่อการผลิตเอทานอลตลอดทัง้ ปี
ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีนโยบายเช่าคลังสินค้าจากภายนอกเฉพาะช่วงเดือนตุลาคมจนถึงเดือนมีนาคม ซึง่
เป็ นช่วงทีม่ กี ารรับซือ้ มันสำปะหลังเป็ นจำนวนมาก โดยมีลกั ษณะสัญญาเช่าปีต่อปีและมีระยะเวลา
เช่าประมาณ 4-5 เดือน สำหรับเกณฑ์ในการพิจารณาเช่าคลังสินค้าจากภายนอก บริษทั ฯ จะ
พิจารณาจาก 1) ทีต่ งั ้ ของคลังสินค้า ซึง่ จะต้องอยูใ่ กล้กบั แหล่งวัตถุดบิ เพือ่ ความคล่องตัวในการ
ขนส่ง และ 2) คลังสินค้าต้องไม่ตงั ้ อยูใ่ นเขตทีม่ คี วามเสีย่ งต่ออุทกภัย
คลังสินค้าทัง้ 6 แห่ง ได้มกี ารทำประกันภัยไว้ทงั ้ หมดและมีเจ้าหน้าทีข่ องบริษทั ฯ ปฏิบตั งิ านประจำ
อยูท่ ุกคลังสินค้าเพือ่ บริหารพืน้ ทีจ่ ดั เก็บ เบิกวัตถุดบิ พลิกกองมันเพื่อลดความร้อน และตรวจสอบ
คุณภาพมันสำปะหลัง โดยพิจารณาจากรูปลักษณ์ภายนอก ความชืน้ และเปอร์เซ็นแป้ง ทัง้ นี้ การ
เบิกจ่ายวัตถุดบิ จะเป็ นไปตามลำดับก่อนหลัง (FIFO)
สถานทีจ่ ดั เก็บเอทานอล
ปจั จุบนั บริษทั ฯ มีถงั เก็บเอทานอลทัง้ หมด 6 ถัง ถังละ 3,000,000 ลิตร รวมความจุทงั ้ สิน้
18,000,000 ลิตร

(5) พลังงานและสาธารณูปโภค
กระบวนการผลิตเอทานอลจะใช้ไฟฟ้า น้ำประปา ก๊าซชีวภาพหรือเชือ้ เพลิงชีวมวล เป็ นพลังงาน
หลัก โดยไฟฟ้าจะใช้สำหรับการทำงานของเครือ่ งจักรตลอดกระบวนการผลิต น้ำประปาจะใช้ใน
กระบวนการผลิตเอทานอล และก๊าซชีวภาพหรือเชือ้ เพลิงชีวมวลจะใช้เป็ นเชือ้ เพลิงในหม้อต้มน้ำ
เพือ่ ผลิตไอน้ำสำหรับใช้ในกระบวนการผลิตเอทานอล
สำหรับการจัดหาไฟฟ้า บริษทั ฯ จะซือ้ จากกฟภ. ส่วนหนึ่ง และอีกส่วนหนึ่งจะมาจากไฟฟ้าทีผ่ ลิต
ได้จากโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพของบริษทั ฯ (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในข้อ 2.2.3 ธุรกิจผลิตก๊าซ
ชีวภาพและไฟฟ้า) สำหรับการจัดหาน้ำประปา บริษทั ฯ มีบ่อเก็บน้ำความจุ 1,000,000 ลบ.ม. (ใช้
ร่วมกับโรงงานแป้งมันสำปะหลัง) ซึง่ จะสูบน้ำจากแม่น้ำลำโดมใหญ่ซง่ึ เป็ นแหล่งน้ำธรรมชาติใกล้
กับบริเวณทีต่ งั ้ ของโรงงาน

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 12


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

แผนภาพแสดงตำแหน่งของบ่อเก็บน้ำ

สำหรับก๊าซชีวภาพ บริษทั ฯ มีระบบ MUR ซึง่ สามารถผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำใช้จากกระบวนการ


ผลิตเอทานอล ซึง่ ก๊าซชีวภาพทีผ่ ลิตได้จากระบบดังกล่าวจะถูกนำกลับมาใช้เป็ นเชือ้ เพลิงใน
กระบวนการผลิตเอทานอลอีกครัง้ (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในข้อ 2.2.3 ธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพ
และไฟฟ้า) นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีการใช้เชือ้ เพลิงชีวมวลเป็ นเชือ้ เพลิงในกระบวนการดังกล่าว
โดยมีการจัดซือ้ จากภายนอก

2.2.1.3 การตลาดและการแข่งขัน
(1) ช่องทางการจำหน่ ายและกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย
บริษทั ฯ จำหน่ายเอทานอลทัง้ หมดให้แก่ผคู้ า้ น้ำมันตามมาตรา 7 โดยลูกค้าหลักของบริษทั ฯ ได้แก่ BCP
PTT และ TOP โดยมีสดั ส่วนการขายรวมกันคิดเป็ นร้อยละ 91 ของรายได้จากการจำหน่ายเอทานอล
ทัง้ หมดในปี 2560 ส่วนทีเ่ หลือร้อยละ 9 เป็ นการจำหน่ายให้กบั ลูกค้ารายอื่น เช่น ESSO และ Shell
เป็ นต้น
บริษทั ฯ ได้สร้างสัมพันธ์ทางธุรกิจกับลูกค้ามาอย่างยาวนาน โดยสามารถรักษาฐานลูกค้าเดิม รวมถึง
สร้างฐานลูกค้าใหม่ โดยเป็ นผลมาจากการควบคุมคุณภาพสินค้าให้ได้ตามมาตรฐานของลูกค้า และ
ความมุง่ มันในการปรั
่ บปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตซึง่ สามารถสร้างความเชือ่ มันทางธุ
่ รกิจและ

ความไว้วางใจให้กบั ลูกค้าได้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีเปาหมายทีจ่ ะพัฒนาคุณภาพสินค้าและการบริการให้ดยี งิ่
ขึน้ เพือ่ เพิม่ ฐานลูกค้าและปริมาณการจำหน่ายให้มากขึน้ ในอนาคต
สำหรับราคาขายเอทานอล ในปจั จุบนั ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (“กบง.”) ได้
กำหนดหลักการคำนวณราคาเอทานอลอ้างอิง ซึง่ ได้จากการเปรียบเทียบราคาต่ำสุดระหว่างราคาเอทา
นอลทีผ่ ผู้ ลิตรายงานต่อกรมสรรพสามิต กับราคาเอทานอลทีผ่ คู้ า้ น้ำมันตามมาตรา 7 รายงานต่อ
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (“สนพ.”) อย่างไรก็ดี การกำหนดราคา
ขายเอทานอลของบริษทั ฯ จะกำหนดจากต้นทุนบวกอัตรากำไรทีเ่ หมาะสม (Cost Plus Margin) ซึง่ จะ
พิจารณาจากอุปสงค์และอุปทานของตลาดและภาวะการแข่งขันเป็ นสำคัญ
การจำหน่ายเอทานอลของบริษทั ฯ สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ 1) การประมูล (Bidding
Process) และ 2) การซือ้ ขายนอกการประมูล ซึง่ จะใช้ราคา ณ วันซือ้ ขาย (Spot Price) โดยการซือ้
ขายส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ จะเป็ นการขายผ่านการประมูล ซึง่ จะเกิดขึน้ ทุกไตรมาส ในปจั จุบนั บริษทั ฯ

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 13


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ได้เข้าทำสัญญาเพือ่ กำหนดปริมาณการซือ้ ขายเอทานอลขัน้ ต่ำเป็ นรายปีและรายไตรมาส กับคูค่ า้ หลัก


จำนวน 3 ราย

(2) การตลาด การส่งเสริ มการขาย และการบริการลูกค้า


บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญของการรักษาความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับลูกค้าทุกราย จึงได้มงุ่ เน้นการ
พัฒนาคุณภาพการบริการเพือ่ ให้เข้าถึงความต้องการของลูกค้าให้มากที่สดุ ทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ มีการ
สำรวจความต้องการของลูกค้า เพือ่ นำมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการผลิต และการให้บริการทัง้ ก่อน
และหลังการขาย เพือ่ ให้ลกู ค้าเกิดความเชือ่ มันและไว้
่ วางใจในการทำธุรกิจกับบริษทั ฯ
กลยุทธ์หลักของบริษทั คือ การมุง่ เน้นทีจ่ ะส่งมอบผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ุณภาพสูงให้กบั ลูกค้าอย่างตรงเวลา
นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังเป็ นผูผ้ ลิตเอทานอลทีเ่ ปิดดำเนินการ 365 วันแบบไม่มวี นั หยุด ซึง่ สามารถอำนวย
ความสะดวกให้กบั ลูกค้าโดยเฉพาะในเวลาทีต่ อ้ งการสินค้าเร่งด่วน เช่น ช่วงเทศกาลหรือวันหยุดยาว

(3) การจัดจำหน่ ายและการขนส่งผลิ ตภัณฑ์


เอทานอลทีจำ ่ หน่ายให้แก่ลกู ค้าจะถูกนำมาแปลงสภาพโดยการนำเอทานอลในสัดส่วนร้อยละ 99.5 มา
ผสมกับน้ำมันเบนซินหรือน้ำมันแก๊สโซฮอล์ในสัดส่วนร้อยละ 0.5 ตามข้อกำหนดของกรมสรรพสามิต
(ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรือ่ ง กำหนดลักษณะและคุณภาพของเอทานอลแปลงสภาพ พ.ศ. 2548)
เพือ่ ให้ได้ “เอทานอลแปลงสภาพ” หรือ Denatured Ethanol สำหรับการจำหน่ายให้ผคู้ า้ น้ำมันตาม
มาตรา 7 โดยบริษทั ฯ จะทำการตรวจสอบคุณภาพของเอทานอลทัง้ ก่อนและหลังการบรรจุลงในรถขนส่ง
สำหรับการขนส่งเอทานอลแบ่งได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ 1) ลูกค้าเป็ นผูร้ บั ผิดชอบการขนส่งโดยนำรถขนส่ง
มารับเอทานอลจากโรงงานของบริษทั ฯ และ 2) บริษทั ฯ ให้บริการขนส่งเอทานอลไปยังคลังสินค้าของ
ลูกค้า โดยในปจั จุบนั บริษทั ฯ ได้วา่ จ้างบริษทั ขนส่งเอทานอลและพนักงานขับรถจากภายนอก ซึง่ เป็ นผู้
ประกอบการทีไ่ ด้รบั ใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบการขนส่งและใบอนุญาตเป็ นผูข้ นส่งน้ำมันเชือ้ เพลิงตาม
มาตรา 12 ทีม่ อี ุปกรณ์และส่วนประกอบต่างๆ ตามมาตรฐานของรถบรรทุกน้ำมัน มีระบบ GPS ที่
สามารถติดตามการขนส่งได้แบบ Real Time ตลอดระยะทาง และมีรถขนส่งทดแทนในจำนวนทีเ่ พียง
พอเพื่อรองรับในกรณีทร่ี ถขนส่งเกิดเครือ่ งยนต์ขดั ข้องหรือเสียหาย รวมถึงมีการทำประกันภัยที่
ครอบคลุมความเสียหายต่อมูลค่าเอทานอลทีบ่ รรจุอยูใ่ นถังบรรทุก
นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้กำหนดให้มกี ารประเมินคุณสมบัตแิ ละความเหมาะสมของผูใ้ ห้บริการขนส่งอย่าง
ต่อเนื่องทุกไตรมาส เพือ่ ให้มนใจว่
ั ่ าการขนส่งเอทานอลให้แก่ลกู ค้าเป็ นไปอย่างปลอดภัยและลูกค้าจะได้
รับเอทานอลทีม่ คี ุณภาพตามมาตรฐานของบริษทั ฯ

(4) การควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย
บริษทั ฯ มีนโยบายการผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์เอทานอลแปลงสภาพ ตามข้อกำหนด 12
ประการของกรมธุรกิจพลังงาน (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในข้อ 2.2.1.7 ระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง
กับการประกอบธุรกิจเอทานอล) และมีมาตรการควบคุมคุณภาพสินค้าทัง้ ก่อนการจัดจำหน่ายและก่อน

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 14


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

การส่งมอบสินค้าให้กบั ลูกค้า โดยบริษทั ฯ ได้รบั การรับรองมาตรฐานระบบการจัดการด้านคุณภาพ ISO


9001:2015 เป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว
บริษทั ฯ มีนโยบายด้านความปลอดภัยในการทำงาน โดยจัดตัง้ คณะกรรมการฯ ตรวจความปลอดภัย มี
การเฝ้าระวัง ตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำงานเกีย่ วกับระดับความร้อน แสงสว่าง เสียงภายใน
สถานประกอบการ การปฏิบตั กิ ารทดลอง และชัวโมงการทำงาน
่ ซึง่ เป็ นไปตาม พระราชบัญญัตคิ วาม
ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ งความปลอดภัยในการทำงานเกีย่ วกับภาวะแวดล้อม และประกาศ
กระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ งมาตรการคุม้ ครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงานเกีย่ วกับ
สภาวะแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2546 เป็ นต้น นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังจัดให้มกี ารฝึกอบรม และฝึก
จิตสำนึกด้านความปลอดภัยให้กบั พนักงาน ตลอดจนส่งเสริมมาตรการอื่นๆ เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัยใน
การทำงานอย่างต่อเนื่อง โดยบริษทั ฯ ได้มกี ารประกาศใช้นโยบายดังกล่าวกับบริษทั ย่อย ซึง่ ได้แก่ UAE
UBG และ NPE เพือ่ สร้างมาตรฐานความปลอดภัยให้เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
นอกจากนี้ ภายในปี 2561 บริษทั ฯ มีความมุง่ มันที
่ จ่ ะขอรับการรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัยในการทำงาน OHSAS18001:2007 เพือ่ แสดงให้เห็นว่าบริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญ
ของความปลอดภัยและสุขภาพของบุคคลากร และมีความสามารถทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามข้อกฎหมายด้าน
สุขภาพและความปลอดภัยได้ตามทีม่ าตรฐานกำหนด

2.2.1.4 ใบรับรองและรางวัล
บริษทั ฯ มีความมุง่ มันที
่ จ่ ะปรับปรุงระบบการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561
บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองระบบการบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้

ใบรับรอง ออกโดย วันที่ออก วันที่สิ้นสุด


ใบรับรองระบบการบริหารงานคุณภาพตาม SGS United 9 ธันวาคม 2559 9 ธันวาคม 2562
มาตรฐาน ISO 9001:2015 เลขที่ TH13/7459 Kingdom Ltd.

นอกจากนี้ บริษทั ยังได้รบั รางวัลด้านต่างๆ ดังนี้

ปี 2556

 โครงการ CSR-DIW Award 2013 จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม


 โครงการธรรมาภิบาลสิง่ แวดล้อม จากอุตสาหกรรมจังหวัดอุบลราชธานี
 โรงงานอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 3 จากกระทรวงอุตสาหกรรม
 โครงการสถานประกอบการน่าอยูน่ ่าทำงาน ระดับเงิน จากสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 15


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ปี 2557

 โครงการ CSR-DIW Continuous 2014 จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม


 ได้รบั การรับรองมาตรฐานการป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติดในสถานประกอบกิจการประจำ
ปี 2557 จากผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุบลราชธานี จัดโดยกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
ปี 2558

 โครงการ CSR-DIW Continuous 2015 มาตรฐานความรับผิดชอบ ของผูป้ ระกอบการ


อุตสาหกรรมต่อสังคม จากกระทรวงอุตสาหกรรม
 โครงการสถานประกอบการความปลอดภัยเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี จากกระทรวงแรงงาน

ปี 2559

 โครงการ “UBE-Money Card” ซึง่ ทำร่วมกับธนาคารกรุงไทย ได้รบั รางวัล Best Cash


Management Solution Thailand ปี 2016 จาก The asset Asian Awards ประเทศสิงคโปร์

ปี 2560

 ผ่านการรับรองเป็ นสมาชิกแนวร่วมปฎิบตั ภิ าคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC :


Collective Action Against Corruption)

2.2.1.5 สิ่ งแวดล้อม


บริษทั ฯ เล็งเห็นถึงความสำคัญของการจัดการด้านสิง่ แวดล้อมและการปฎิบตั ติ ามกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง และ
ให้ความสำคัญกับการคุม้ ครองสิง่ แวดล้อมเป็ นอย่างยิง่ โดยได้ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบสิง่ แวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้องที่
สำคัญ ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้
ก. กฎหมายและกฎระเบียบสิ่ งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องซึ่งใช้บงั คับกับธุรกิ จและการดำเนิ นงานของบริ
ษัทฯ
หน่วยงานหลักทีกำ ่ กับดูแลการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ในด้านสิง่ แวดล้อม ได้แก่ กรมควบคุมมลพิษ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ โดยบริษทั ฯ
ต้องปฎิบตั ติ ามกฎหมายและกฎเกณฑ์วา่ ด้วยสิง่ แวดล้อม เช่น พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและรักษาสุขภาพ
สิง่ แวดล้อม พ.ศ.2535 พระราชบัญญัตสิ ขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ ประกาศ
คณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเกีย่ วกับการระบายอากาศเสีย ระดับ
เสียงทัวไป
่ และคุณภาพน้ำทิง้ เป็ นต้น
กฎเกณฑ์วา่ ด้วยสิง่ แวดล้อมดังกล่าว ได้มกี ารกำหนดประเภท ปริมาณ และความเข้มข้นของมวลสารที่
จะถูกปล่อยออกสูส่ ภาพแวดล้อม ทัง้ นี้ การดำเนินธุรกิจใดๆ เพิม่ เติมในอนาคต ทีอ่ าจส่งผลกระทบ
รุนแรงต่อสภาพแวดล้อมโดยรอบ จะต้องมีแนวทางในการประเมินผลกระทบ จัดทำรายงานการวิเคราะห์
ผลกระทบสิง่ แวดล้อม และรับฟงั ความคิดเห็นของประชาชนโดยรอบ (Public Hearing) ก่อนดำเนินโครง
การนัน้ ๆ ก่อนเสมอ

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 16


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ข. มาตรการคุ้มครองสิ่ งแวดล้อมและการควบคุมมลพิ ษ
โรงงานผลิตเอทานอลของบริษทั ฯ ก่อให้เกิดผลพลอยได้ในรูปต่างๆ เช่น กากหมักและน้ำใช้จาก
กระบวนการผลิต ซึง่ บริษทั ฯ มีนโยบายนำน้ำใช้จากกระบวนการผลิตจากโรงงานมาผ่านกระบวนการ
บำบัดด้วยระบบผลิตก๊าซชีวภาพเพือ่ นำกลับมาใช้เป็ นพลังงานหมุนเวียนในโรงงานผลิตเอทานอล
น้ำทีผ่ า่ นการบำบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพจะถูกส่งต่อให้แก่เกษตรกรในบริเวณพืน้ ทีร่ อบโรงงานได้
ใช้ทำการเกษตร หรือส่งไปปลูกหญ้าเนเปียร์ของบริษทั ฯ ซึง่ ปลูกอยูบ่ นพืน้ ทีก่ ว่า 4,000 ไร่ ซึง่ ในปจั จุบนั
หญ้าเนเปียร์ดงั กล่าวถูกนำไปจำหน่ายให้กบั โรงงานอาหารสัตว์ โดยในอนาคต บริษทั ฯ มีแผนจะใช้หญ้า
เนเปียร์เป็ นวัตถุดบิ สำหรับโครงการผลิตก๊าซชีวภาพโครงการใหม่ (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในในส่วน
ที่ 2.2.6 โครงการในอนาคต)
สำหรับกากหมักทีเ่ หลือจากการนำเข้ากระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพ บริษทั ฯ ได้แจกจ่ายให้กบั ชาวบ้าน
และเกษตรกรเพือ่ นำไปทำปุ๋ยหมัก อย่างไรก็ตาม ในอนาคต บริษทั ฯ มีแผนทีจ่ ะนำกากหมักดังกล่าวมา
ใช้เป็ นวัตถุดบิ ในการผลิตก๊าซชีวภาพโครงการใหม่เช่นกัน (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในส่วนที่ 2.2.6
โครงการในอนาคต)
ปจั จุบนั บริษทั ฯ มีขอ้ พิพาทด้านสิง่ แวดล้อมกับชาวบ้านกลุ่มหนึ่ง ซึง่ คดีอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของ
ศาลปกครอง อย่างไรก็ดี บริษทั ฯ เชือ่ มันว่่ า เหตุการณ์ดงั กล่าวไม่ได้เกิด จากมาตรการการรักษาสิง่
แวดล้อมทีบ่ กพร่องของบริษทั ฯ โดยทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ ได้ให้ความระมัดระวังและให้ความสำคัญกับการ
ป้องกันและรักษาสิง่ แวดล้อม ตลอดจนมีการลงมือพัฒนาและปรับปรุงระบบบ่อบำบัดน้ำใช้จาก
กระบวนการผลิต และป้องกันมลพิษอื่นๆ ทีอ่ าจก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ชาวบ้านผูอ้ ยูอ่ าศัยใน
บริเวณใกล้เคียง (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในส่วนที่ 2.2.7 ข้อพิพาททางกฎหมาย)
ทัง้ นี้ ในปจั จุบนั บริษทั ฯ ได้ดำเนินการให้มรี ะบบการจัดการด้านสิง่ แวดล้อมทีม่ มี าตรฐานและเป็ นไปตาม
กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง โดยบริษทั ฯ มีความมุง่ มันที
่ ่จะขอรับการรับรองระบบการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม
ISO14001:2015 เป็ นลำดับถัดไป

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 17


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

2.2.1.6 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน
ข้อมูลในส่วนนี้ประกอบไปด้วยข้อมูลและสถิตเิ กีย่ วกับภาคอุตสาหกรรมและภาคอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วเนื่องกัน
ของบริษทั ฯ โดยข้อมูลส่วนหนึ่งอ้างอิงมาจากฐานข้อมูล Bloomberg รวมถึงข้อมูลจากหน่วยงานภาครัฐ สิง่
พิมพ์เกีย่ วกับอุตสาหกรรม และหน่วยงานวิจยั อิสระ โดยข้อมูลทัง้ หมดเป็ นข้อมูลซึง่ เผยแพร่ต่อสาธารณะ

ก. อุตสาหกรรมเอทานอลในตลาดโลก
ภาพรวมอุตสาหกรรม
เอทานอล ได้รบั การยอมรับและถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทัวโลกทั ่ ง้ เอทานอลเกรดอุตสาหกรรมและ
เกรดเชือ้ เพลิง โดยการเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่เกิดขึน้ ในปี 2545 โดยหน่วยงานภาครัฐในประเทศ
สหรัฐอเมริกาพบการปนเปื้อนของสาร MTBE ในน้ำใต้ดนิ โดยสารดังกล่าวเป็ นสารปรุงแต่งเพือ่ เพิม่ ค่า
ออกเทนในน้ำมันเบนซิน ซึง่ ในขณะนัน้ ยังไม่มเี ทคโนโลยีทส่ี ามารถกำจัดสารดังกล่าวไปได้ หน่วยงาน
ภาครัฐจึงประกาศยกเลิกการใช้สาร MTBE โดยให้เปลีย่ นมาใช้เอทานอลแทน เนื่องจากไม่มสี ารปน
เปื้อน อีกทัง้ มีคา่ ออกเทนสูงกว่าและราคาต่ำกว่า
ตารางเปรียบเทียบคุณลักษณะของเอทานอลกับสาร MTBE
คุณลักษณะ เอทานอล สาร MTBE
ส่วนประกอบของออกซิเจน ~35% ~18%
ค่าออกเทน (Road Octant Number) 115 110
สัดส่วนการผสมในน้ำมันแก๊สโซฮอล์ 91 10% 5.5-11%
ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ไม่ม ี เกิดสารตกค้างในน้ำและดิน และเผา
ไหม้ไม่สมบูรณ์เกิดเป็ นก๊าซ
คาร์บอนมอนอกไซด์ในอากาศ
ทีม่ า : National Petroleum Council, USA

จากเหตุการณ์ดงั กล่าวส่งผลให้หลายประเทศทัวโลกเริ
่ ม่ หันมาใช้เอทานอลมากขึน้ โดยความต้องการ
การใช้เอทานอลปรับตัวสูงขึน้ จากประมาณ 1 แสนล้านลิตร ในปี 2553 เป็ นประมาณ 1.3 แสนล้านลิตร
ในปี 2560 ซึง่ ปจั จัยหลักเป็ นผลมาจากนโยบายภาครัฐทีผ่ า่ นมาในหลายๆ ประเทศ ยกตัวอย่างเช่น ใน
อดีต ประเทศบราซิล มีการตัง้ ราคาขายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ในราคาต่ำ ให้เงินอุดหนุนแก่ผผู้ ลิตเอทานอล
ภายในประเทศ เป็ นต้น โดยตลาดใหญ่ของการผลิตและส่งออกเอทานอล คือประเทศสหรัฐอเมริกา และ
ประเทศบราซิล คิดเป็ นสัดส่วนประมาณ 85% ของปริมาณเอทานอลทัวโลก ่ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นเกรดเชือ้
เพลิง โดยจะเน้นการบริโภคภายในประเทศก่อน และอุปทานส่วนเกินจึงจะส่งออก

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 18


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

สัดส่วนปริ มาณการผลิ ตและปริ มาณการใช้เอทานอลทัวโลกในปี


่ 2556 – 2561

ทีม่ า : OECF-FAO

สัดส่วนปริ มาณการผลิ ตและปริ มาณการใช้เอทานอลแยกรายประเทศ ปี 2559

ปริ มาณการผลิ ตเอทานอล


สหรัฐอเมริกา
1.3%
7.8% บราซิล
1.6%
ยุโรป
1.8%
จีน
6.7%
6.9% 48.6% อินเดีย
แคนาดา
25.3% ไทย
อื่นๆ

ปริ มาณการใช้เอทานอล
สหรัฐอเมริกา
1.3% บราซิล
9.2%
2.5% ยุโรป
1.8% จีน
6.9% 46.5% อินเดีย
7.2% แคนาดา
ไทย
24.6%
อื่นๆ

ทีม่ า : OECF-FAO

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 19


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

แนวโน้มการเติบโตของอุตสาหกรรมเอทานอลในอนาคตจะถูกกำหนดโดยเอทานอลเกรดเชือ้ เพลิงเป็ น
หลัก เนื่องจากหลายๆ ประเทศมีนโยบายด้านพลังงานไปในทิศทางเดียวกัน ที่จะสนับสนุนให้ใช้เอทา
นอลทดแทนสาร MTBE โดยมีแนวโน้มทีจ่ ะเพิม่ สัดส่วนการผสมเอทานอลในน้ำมันเบนซินและสนับสนุ น
ให้ใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์มากขึน้ เช่น ในช่วงครึง่ ปีแรกของปี 2560 ประเทศสหรัฐอเมริกามีปริมาณการใช้
เอทานอลภายในประเทศเฉลีย่ วันละประมาณ 161 ล้านลิตรต่อวัน ซึง่ มีปริมาณสูงขึน้ ร้อยละ 5 เมือ่ เทียบ
กับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า เป็ นผลมาจากการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ (E10) ทีเ่ พิม่ ขึน้ และนโยบาย
สนับสนุนจากรัฐบาลในการเพิม่ ปริมาณการใช้ไบโอดีเซลและพลังงานทดแทนให้มากขึน้ ซึง่ ปรากฏใน
แผน 2017 Renewable Fuel Standard Program ถึงแม้วา่ การเพิม่ ปริมาณการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ชนิด
อื่นๆ เช่น E20 E85 ยังมีขอ้ จำกัดอยูม่ ากในประเทศสหรัฐอเมริกาก็ตาม ดังนัน้ ปริมาณการใช้น้ำมันใน
กลุ่มน้ำมันเบนซินทีเ่ พิม่ ขึน้ ในอนาคต ก็สง่ ผลให้ปริมาณการใช้เอทานอลเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ไปในทิศทาง
เดียวกัน
ทัง้ นี้ หากในอนาคต ราคาน้ำมันดิบลดต่ำลง ก็ไม่ได้สง่ ผลกระทบต่อปริมาณการใช้เอทานอลซึง่ อาจมี
ราคาแพงกว่า เนื่องจากเอทานอลไม่ได้ถูกผลิตมาเพื่อทดแทนการใช้น้ำมันเบนซิน หากแต่เป็ นการใช้
เพือ่ ทดแทนสาร MTBE และลดปริมาณการใช้น้ำมันดิบลงเท่านัน้ ในทางกลับกัน ราคาน้ำมันดิบทีล่ ดลง
ส่งผลให้ปริมาณการใช้น้ำมันเชือ้ เพลิงประเภทต่างๆ มีมากขึน้ รวมถึงน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ซึง่ ทำให้
ปริมาณการใช้เอทานอลก็จะเพิม่ ขึน้ ตามไปด้วย

ราคาน้ำมันดิ บโลกเปรียบเทียบกับปริ มาณการใช้เอทานอล ตัง้ แต่ปี 2557 - 2560

ทีม่ า : สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิ ต
วัตถุดบิ หลักสำหรับการผลิตเอทานอลแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ 1) วัตถุดบิ ประเภทแป้ง เช่น
ข้าวโพด ธัญพืช และมันสำปะหลัง เป็ นต้น 2) วัตถุดบิ ประเภทน้ำตาล เช่น อ้อยหรือกากน้ำตาล เป็ นต้น
3) วัตถุดบิ ประเภทเส้นใย เช่น ฟางข้าว ชานอ้อย รำข้าว เป็ นต้น ทัง้ นี้ ประเทศสหรัฐอเมริกาและบราซิล
ซึง่ ถือเป็ นผูผ้ ลิตเอทานอลรายใหญ่ของโลก มักจะใช้ขา้ วโพดและอ้อยเป็ นวัตถุดบิ หลักในการผลิต ตาม
ลำดับ เนื่องจากเป็ นพืชเศรษฐกิจของประเทศ มีการพัฒนาสายพันธุข์ องวัตถุดบิ การเกษตร และมีพน้ื ที่
การเกษตรทีเ่ พียงพอต่อการผลิตเอทานอล ไม่ตอ้ งพึง่ พิงการนำเข้าวัตถุดบิ

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 20


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

โครงสร้างราคา
ราคาซือ้ ขายเอทานอลเกรดเชือ้ เพลิงในแต่ละภูมภิ าคจะแตกต่างกัน ขึน้ อยูก่ บั ราคาวัตถุดบิ ของแต่ละ
ประเทศ ทัง้ นี้ การคำนวณราคาซือ้ ขายเอทานอลเป็ นแบบต้นทุนบวกกำไรส่วนเพิม่ (Cost-Plus Margin)
โดยราคาซือ้ ขายเอทานอลในประเทศสหรัฐอเมริกาและบราซิลจะต่ำกว่าประเทศแถบอื่นๆ เนื่องจาก
ปริมาณการผลิตทีส่ งู และวัตถุดบิ มีราคาต่ำ
ตารางแสดงราคาซื้อขายเอทานอลเกรดเชื้อเพลิงทัวโลก
่ ในเดือนพฤศจิกายน ปี 2560
ราคา (บาทต่อลิ ตร)
ภูมิภาค
Hydrous Anhydrous
แถบยุโรป 18.5 – 19.3
สหรัฐอเมริกา 11.8 – 12.0 12.8
บราซิล 16.7 – 18.2 17.5 – 19.7
แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 18.6 16.8
ทีม่ า : Bloomberg
หมายเหตุ : Hydrous หมายถึง เอทานอลทีม่ คี วามบริสทุ ธิ ์ประมาณ 95%, Anhydrous หมายถึง เอทานอลทีม่ คี วามบริสทุ ธ์ตงั ้ แต่ 99% ขึน้ ไป

ข. ภาวะอุตสาหกรรมในไทย
ภาพรวมอุตสาหกรรม
สืบเนื่องจากการเพิม่ ขึน้ ของปริมาณการใช้เอทานอลในตลาดโลก ในปี 2549 ประเทศไทยได้เล็งเห็นถึง
อันตรายของสาร MTBE ในระยะยาว และมองเห็นโอกาสในการผันตัวเองให้เป็ นประเทศทีล่ ดการพึง่ พิง
การนำเข้าน้ำมันดิบจากต่างประเทศ จึงได้มกี ารประกาศใช้เอทานอลทดแทนสาร MTBE อย่างเป็ น
ทางการ ซึง่ ในระยะแรกความต้องการการใช้เอทานอลมีเพียงวันละ 0.4 ล้านลิตร และทยอยเพิม่ สูงขึน้
ตามนโยบายการสนับสนุนของภาครัฐผ่านมาตรการต่างๆ เช่น การประกาศยกเลิกการใช้น้ำมันเบนซิน
91 ในปี 2556 ซึง่ ทำให้ปริมาณการใช้เอทานอลเพิม่ สูงขึน้ จากประมาณ 2.0 ล้านลิตรต่อวัน เป็ น 3.0
ล้านลิตรต่อวันในปี 2557 จนในปจั จุบนั ประเทศไทยมีความต้องการใช้เอทานอลสูงถึงวันละ 4.0 ล้าน
ลิตร
การเติบโตของปริมาณการใช้เอทานอล สามารถอ้างอิงได้จากการเติบโตของการใช้น้ำมันในกลุ่มน้ำมัน
เบนซิน กล่าวคือ หากปริมาณการใช้น้ำมันในกลุ่มน้ำมันเบนซินเพิม่ สูงขึน้ ปริมาณการใช้เอทานอลจะ
เพิม่ ขึน้ ตามไปด้วย เนื่องจากเอทานอลจะถูกนำไปใช้ผสมกับน้ำมันเบนซินเป็ นน้ำมันแก๊สโซฮอล์สำหรับ
ใช้ในเครือ่ งยนต์ โดยปริมาณการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ของประเทศ เพิม่ ขึน้ จาก 20.47 ล้านลิตรต่อวันในปี
2556 เป็ น 28.77 ล้านลิตรต่อวันในปี 2560 และมีสดั ส่วนการใช้เมือ่ เทียบกับปริมาณการใช้น้ำมันในกลุ่ม
เบนซินทัง้ หมดเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 90.73 ในปี 2556 เป็ น 95.74 ในปี 2560

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 21


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

สัดส่วนการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์เทียบกับน้ำมันเบนซิ น ในปี 2556 – 2560

ทีม่ า : กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน


หมายเหตุ : ปริมาณการใช้น้ำมันปี 2560 อ้างอิงจากตัวเลขเฉลีย่ ต่อวัน ใน 3 ไตรมาสของปี 2560

ทัง้ นี้ ปริมาณการใช้น้ำมันในกลุ่มน้ำมันเบนซินทัง้ หมดในปจั จุบนั อยูท่ ป่ี ระมาณ 29 ล้านลิตรต่อวัน


คำนวณเป็ นปริมาณการใช้เอทานอลในปจั จุบนั ประมาณ 4.0 ล้านลิตร ซึง่ ถูกนำไปใช้ผสมกับน้ำมัน
เบนซิน โดยมีสดั ส่วนและปริมาตรในการผสมกับน้ำมันแต่ละประเภท ดังนี้

ตารางแสดงปริมาณการผสมเอทานอล และสัดส่วนการใช้น้ำมันแต่ละชนิดเฉลีย่ 3 ไตรมาสปี 2560


ปริ มาณการใช้น้ำมัน
ชนิ ดของน้ำมัน สัดส่วนการใช้น้ำมัน สัดส่วนการผสมเอทานอล
(ล้านลิ ตรต่อวัน)
แก๊สโซฮอล์ 91 10.64 36.94% ร้อยละ 9-10
แก๊สโซฮอล์ 95 11.92 41.34% ร้อยละ 9-10
E20 5.21 18.08% ร้อยละ 19-20
E85 1.05 3.64% ร้อยละ 75-85
ทีม่ า : กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน

ในปจั จุบนั ผูผ้ ลิตเอทานอลในประเทศทีเ่ ปิดดำเนินการแล้วมีจำนวนทัง้ สิน้ 26 ราย แบ่งเป็ นผูผ้ ลิตเอทา
นอลจากกากน้ำตาล 12 ราย ผูผ้ ลิตเอทานอลจากมันสำปะหลัง 9 ราย และผูผ้ ลิตเอทานอลจากทัง้ กาก
น้ำตาลและมันสำปะหลัง 5 ราย กำลังการผลิตติดตัง้ รวม 5.79 ล้านลิตรต่อวัน นอกจากนี้ ยังมีโรงงานเอ
ทานอลทีอ่ ยูร่ ะหว่างก่อสร้างอีก 2 แห่ง ได้แก่ บริษทั ที พี เค เอทานอล จำกัด (เฟส 2 และเฟส 3) และ
บริษทั พรวิไล อินเตอร์ฯ จำกัด ซึง่ กำลังการผลิตติดตัง้ รวม 7 แสนลิตรต่อวัน เมือ่ โรงงานดังกล่าว
ก่อสร้างแล้วเสร็จทัง้ หมด จะทำให้กำลังการผลิตเอทานอลรวมของประเทศเพิม่ ขึน้ เป็ น 6.50 ล้านลิตรต่อ
วัน

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 22


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ตารางแสดงรายชือ่ ผูผ้ ลิตเอทานอลและกำลังการผลิตติดตัง้ ทีไ่ ด้รบั การรับรองในประเทศ


กำลังการผลิ ต
ผูผ้ ลิ ตเอทานอล วัตถุดิบที่ใช้
(ล้านลิตรต่อวัน)
บริษทั ไทย อะโกร เอ็นเนอร์ย่ี จำกัด (มหาชน) 150,000 กากน้ำตาล
บริษทั แม่สอดพลังงานสะอาด จำกัด 230,000 กากน้ำตาล
บริษทั เคเอสแอล กรีน อินโนเวชัน่ จำกัด (มหาชน) (น้ำพอง) 150,000 กากน้ำตาล
บริษทั เคเอสแอล กรีน อินโนเวชัน่ จำกัด (มหาชน) (บ่อพลอย) 200,000 กากน้ำตาล
บริษทั มิตรผล ไบโอฟูเอล จำกัด (ภูเขียว) 500,000 กากน้ำตาล
บริษทั มิตรผล ไบโอฟูเอล จำกัด (กาฬสินธุ)์ 230,000 กากน้ำตาล
บริษทั มิตรผล ไบโอฟูเอล จำกัด (ด่านช้าง) 200,000 กากน้ำตาล
บริษทั มิตรผล ไบโอฟูเอล จำกัด (กุฉินารายณ์) 320,000 กากน้ำตาล
บริษทั น้ำตาลไทยเอทานอล จำกัด 100,000 กากน้ำตาล
บริษทั เค ไอ เอทานอล จำกัด 200,000 กากน้ำตาล
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำกัด 230,000 กากน้ำตาล
บริษทั ไทยรุง่ เรืองพลังงาน จำกัด 300,000 กากน้ำตาล
รวมกำลังผลิ ตเอทานอลจากกากน้ำตาล 2,810,000 43.26%
บริษทั ทรัพย์ทพิ ย์ จำกัด 200,000 มันสำปะหลัง
บริษทั ไท่ผงิ เอทานอล จำกัด 150,000 มันสำปะหลัง
บริษทั อี 85 จำกัด 500,000 มันสำปะหลัง
บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด 400,000 มันสำปะหลัง
บริษทั บางจาก ไบโอ เอทานอล จำกัด 150,000 มันสำปะหลัง
บริษทั ไทยเอทานอล พาวเวอร์ จำกัด (มหาชน) 130,000 มันสำปะหลัง
บริษทั พี.เอส.ซี.สตาร์ช โปรดักส์ จำกัด 150,000 มันสำปะหลัง
บริษทั ที พี เค เอทานอล จำกัด 340,000 มันสำปะหลัง
บริษทั ฟ้าขวัญทิพย์ จำกัด 60,000 มันสำปะหลัง
รวมกำลังผลิ ตเอทานอลจากมันสำปะหลัง 2,080,000 32.02%
บริษทั ราชบุรเี อทานอล จำกัด 150,000 มันเส้น/กากน้ำตาล
บริษทั อีเอส เพาเวอร์ จำกัด 150,000 มันเส้น/กากน้ำตาล
บริษทั ไทยเอทานอล จำกัด (มหาชน) 200,000 มันเส้น/กากน้ำตาล
บริษทั ไทย อะโกร เอ็นเนอร์ย่ี จำกัด (มหาชน) 200,000 มันเส้น/กากน้ำตาล
บริษทั อิมเพรส เอทานอล จำกัด 200,000 มันเส้น/กากน้ำตาล
รวมกำลังผลิ ตเอทานอลจากมันสำปะหลังและกากน้ำตาล 900,000 13.86%
บริษทั ที พี เค เอทานอล จ้ากัด เฟส 2,3 680,000 มันเส้น
บริษทั พรวิไล อินเตอร์ฯ จ้ากัด 25,000 กากน้ำตาล
รวมกำลังผลิ ตเอทานอลที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง 705,000 10.85%
รวมกำลังผลิ ตเอทานอลทัง้ หมด 6,495,000 100.00%
ทีม่ า :กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน

กำลังการผลิ ตติ ดตัง้ แยกตามประเภทวัตถุดิบที่ใช้ผลิ ตเอทานอล ในปี 2557 - 2561

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 23


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ทีม่ า :กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน

ปริ มาณการผลิ ตจริ งและปริ มาณการใช้เอทานอล แยกตามประเภทวัตถุดิบ ในปี 2557-2560


และการคาดการณ์ในปี 2569 และ 2579

ทีม่ า :กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน

ในช่วงปี 2557 - 2560 ผูผ้ ลิตเอทานอลจากมันสำปะหลังสามารถผลิตเอทานอลเฉลีย่ ได้รอ้ ยละ 28 – 35


ของกำลังการผลิตติดตัง้ ขณะทีผ่ ผู้ ลิตเอทานอลจากกากน้ำตาลสามารถผลิตเอทานอลเฉลีย่ ได้รอ้ ยละ 60
– 66 ของกำลังการผลิตติดตัง้ ซึง่ เป็ นผลมาจากประสิทธิภาพในการเดินเครือ่ งจักร การวางแผนการ
ผลิต ข้อจำกัดทางด้านวัตถุดบิ และราคาวัตถุดบิ ทีใ่ ช้ในการผลิต เนื่องจากวัตถุดบิ สำหรับการผลิตเอทา
นอลเป็ นพืชผลทางการเกษตร จึงมีความอ่อนไหวต่อสภาพอากาศ และความชืน้ อย่างมาก ทัง้ นี้ จาก
กราฟข้างต้นจะเห็นได้วา่ สัดส่วนปริมาณการใช้เอทานอลจากมันสำปะหลังเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 28 ของ
ปริมาณการใช้เอทานอลทัง้ หมด ในปี 2557 เป็ นร้อยละ 35 ในปี 2560

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 24


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิ ต
วัตถุดบิ หลักทีใ่ ช้ในการผลิตเอทานอลแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ กากน้ำตาลและมันสำปะหลัง โดยผู้
ผลิตเอทานอลจากกากน้ำตาลส่วนใหญ่เป็ นผูผ้ ลิตน้ำตาล และใช้ผลพลอยได้ซง่ึ ก็คอื กากน้ำตาลในการ
ผลิต ทำให้มตี น้ ทุนวัตถุดบิ ต่ำ แต่จะมีความเสีย่ งในเรือ่ งความไม่แน่นอนของผลผลิตกากน้ำตาลในแต่ละ
ปี ซึง่ โดยเฉลีย่ อยู่ทร่ี อ้ ยละ 5 ของผลผลิตอ้อย นอกจากนี้ พืน้ ทีก่ ารเกษตรของอ้อยยังมีจำกัด โดยใน
ปจั จุบนั มีพน้ื ทีป่ ลูกอ้อยอยูป่ ระมาณ 10 ล้านไร่ (ผลผลิตอ้อยโดยเฉลีย่ อยูท่ ่ี 10 ตันต่อไร่) เนื่องจากการ
เพิม่ พืน้ ทีป่ ลูกจะขึน้ อยูก่ บั ปริมาณความต้องการน้ำตาลในตลาด และการเพิม่ ขึน้ ของโรงงานผลิตน้ำตาล
ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็ นไปในลักษณะของการทำสัญญาปลูกอ้อย (Contract Farming) ดังนัน้ การเพิม่ พืน้ ที่
ปลูกอ้อย และเพิม่ ผลผลิตกากน้ำตาลจึงเป็ นไปได้ยาก อีกทัง้ กากน้ำตาลยังเป็ นวัตถุดบิ สำคัญในอุตสาห
กรรมอื่นๆ เช่น เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ อาหารสัตว์ เป็ นต้น
สำหรับมันสำปะหลัง เป็ นพืชทีไ่ ม่ตอ้ งการการดูแลมาก ปลูกง่าย โดยในปจั จุบนั มีพน้ื ทีเ่ พาะปลูกทัง้ หมด
ประมาณ 8.5 ล้านไร่ทวประเทศ ั่ (ผลผลิตมันสำปะหลังโดยเฉลีย่ อยู่ท่ี 3.5 ตันต่อไร่) ซึง่ พืน้ ทีป่ ลูกส่วน
ใหญ่อยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะจังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ อุบลราชธานี และเลย คิด
เป็ นสัดส่วนรวมกันประมาณร้อยละ 34.71 ของผลผลิตมันสำปะหลังทัง้ ประเทศ โดยในปจั จุบนั ราคามัน
สำปะหลังสดและมันสำปะหลังเส้นอยูท่ ป่ี ระมาณ 2.30 บาท และ 6.30 บาทต่อกิโลกรัม ตามลำดับ (ราคา
ซือ้ ขายมันสำปะหลังอ้างอิงจาก TTDI ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2561)

ปริ มาณผลผลิ ตอ้อยและกากน้ำตาล ในปี 2555 - 2560


®œnª ¥ : ¨ µoœ˜œ˜
´ n° ž ¸
120.0 4.6 4.6 5.0
4.3 4.3
106.0 3.9 4.0
90.0 100.0 103.7
94.0 93.0
3.0
60.0
2.0
30.0
1.0

0.0 0.0
2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60
ž¦ ·¤ µ–° o° ¥Á…
µo®¸ ž¦ ·¤ µ–„
µ„Îʵ˜µ¨
œ
ทีม่ า : สำนักบริหารอ้อยและน้ำตาลทราย

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 25


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ปริ มาณผลผลิ ตมันสำปะหลัง ในปี 2555 - 2560


®œnª ¥ : ¨ µoœ˜œ˜
´ n°ž ¸
40.0

35.0
33.6
30.0 30.9
30.2 30.6
28.3
25.0

20.0
2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60
ž¦ ·¤ µ–¤ ´œž
­ ε ³ ®¨ ´Š
ทีม่ า : มูลนิธสิ ถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย

ราคามันสำปะหลังสดและมันสำปะหลังเส้น ในปี 2556 - 2560

®œnª¥ : š
µ ˜„„
°n ÷ ¨ ¦ ¤´
8.0
6.65 6.75 6.76
5.66
6.0 4.95

4.0
2.43 2.38 2.37
1.92 1.75
2.0

0.0
2556 2557 2558 2559 2560
¦ µ‡œ
µ¤ ´ ­ — ¦ µ‡µ¤ ´œÁ­ œ
o

ทีม่ า : มูลนิธสิ ถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย

โครงสร้างราคา
ราคาซือ้ ขายเอทานอลส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็ นระบบประมูลราคา (Bidding Process) โดยผูผ้ ลิตเอ
ทานอลจะเสนอราคาไปยังผูค้ า้ น้ำมันตามมาตรา 7 ทุกไตรมาส และจะซือ้ ขายสินค้ากันทีร่ าคาชนะ
ประมูลตลอดไตรมาส ทัง้ นี้ การคำนวณราคาของผูผ้ ลิตเอทานอลจะเป็ นไปตามวิธตี น้ ทุนบวกกำไรส่วน
เพิม่ ในอัตราทีเ่ หมาะสม (Cost-Plus Margin)
ทัง้ นี้ ราคาซือ้ ขายเอทานอลอาจเปลีย่ นแปลงมากน้อยในแต่ละไตรมาส ขึน้ อยูก่ บั 1) ราคาวัตถุดบิ ทีใ่ ช้ใน
การผลิตเอทานอล ซึง่ อาจมีความผันผวนขึน้ อยูก่ บั ปริมาณผลผลิต ราคาส่งออก และผลผลิตทีไ่ ด้ในแต่ละ
ช่วงของปี และ 2) ความสมดุลของอุปสงค์และอุปทานของอุตสาหกรรมเอทานอล

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 26


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ราคาซื้อขายเอทานอลภายในประเทศ ในปี 2556 - 2560

®œnª¥ : šn
µ ˜ ° ¨ ·˜ ¦
30.0 29.17

28.0

26.0

24.0

22.0
21.39
20.0
¤‡ „¡ ¤¸‡ Á¤ ¥ ¡ ‡ ¤·¥ „‡ ­‡ „¥ ˜‡ ¡ ¥ ›‡
2556 2557 2558 2559 2560

ทีม่ า : สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

นโยบายและการสนับสนุนจากภาครัฐ
นโยบายจากภาครัฐเป็ นปจั จัยหลักทีสำ
่ คัญในการกระตุน้ ความต้องการใช้เอทานอลภายในประเทศ โดย
ภาครัฐมีการออกมาตรการและแผนนโยบายต่างๆ เพือ่ วางเป้าหมายการใช้เอทานอลซึง่ เป็ นพลังงาน
ทดแทนหลักทีสำ
่ คัญของประเทศ ดังนี้

มาตรการเงิ นอุดหนุนจากกองทุนน้ำมัน (Oil Fund)


กองทุนน้ำมันของประเทศไทยจัดตัง้ ขึน้ ในปี 2520 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ รักษาเสถียรภาพของราคา
น้ำมันในประเทศ โดยการเข้าแทรกแซงราคาน้ำมันในกรณีทร่ี าคาน้ำมันมีความผันผวน อันเกิดจากการ
เปลีย่ นแปลงในอุตสาหกรรมน้ำมันในตลาดโลก เช่น ภาวะขาดแคลนน้ำมัน ส่งผลให้ราคาน้ำมันในตลาด
โลกมีความผันผวนและสูงขึน้ อย่างรวดเร็ว เป็ นต้น โดยกองทุนน้ำมันได้ถูกนำมาใช้กลุ่มผลิตภัณฑ์น้ำมัน
เบนซิน เพือ่ ให้สอดคล้องกับแผนพลังงานทดแทนของภาครัฐ กล่าวคือ กองทุนน้ำมันได้มกี ารจัดเก็บเงิน
ภาษีเข้ากองทุนน้ำมันสำหรับน้ำมันทีม่ สี ว่ นผสมของเอทานอลในปริมาณน้อย เช่น แก๊สโซฮอล์ 91 และ
แก๊สโซฮอล์ 95 เพือ่ นำไปชดเชยให้กบั น้ำมันทีม่ สี ว่ นผสมของเอทานอลในปริมาณสูง เช่น E20 และ E85
เพือ่ รักษาส่วนต่างของราคาน้ำมัน กล่าวคือ น้ำมัน E20 และ E85 ควรจะมีราคาต่ำกว่าน้ำมันแก๊สโซฮอล์
91 และ 95 อย่างมีนยั สำคัญ ทัง้ นี้ การใช้นโยบายดังกล่าวยังเป็ นการช่วยสนับสนุนและกระตุน้ ให้เกิด
การใช้เอทานอลอีกทางหนึ่ง ซึง่ สอดคล้องกับนโยบายของประเทศในการผลักดันให้มกี ารผลิตและการใช้
เอทานอลภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง

แผนพลังงานทดแทนประจำปี 2558 -2579 (AEDP2015) กรมธุรกิ จพลังงาน กระทรวงพลังงาน


แผน AEDP2015 มีการกำหนดทิศทางและเป้าหมายการใช้เอทานอลในอนาคต โดยมีแผนทีจ่ ะเพิม่
ความต้องการใช้เอทานอลจากปจั จุบนั ที่ 4.0 ล้านลิตรต่อวัน เป็ น 7.38 ล้านลิตรต่อวัน ในปี 2569 และ
เป็ น 11.30 ล้านลิตรต่อวัน ในปี 2579 โดยนโยบายดังกล่าวมุง่ หวังให้เกิดการใช้เอทานอลภายใน
ประเทศมากขึน้ เกิดมูลค่าเพิม่ จากการใช้ผลผลิตภายในประเทศ ช่วยเหลือเกษตรกร และเกิดการพึง่ พา
ตนเองอย่างยังยื่ น โดยแผนพลังงานดังกล่าวแบ่งออกได้เป็ น 2 ส่วนหลัก คือ

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 27


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

1. เพิม่ ศักยภาพด้านวัตถุดบิ
ภาครัฐมีแผนทีจ่ ะเพิม่ พืน้ ทีป่ ลูกอ้อยจากปจั จุบนั 10 ล้านไร่ เป็ น 16 ล้านไร่ ภายในปี 2569 โดย
นโยบายดังกล่าวจะทำให้มผี ลผลิตอ้อยประมาณ 182 ล้านตันต่อปี เป็ นกากน้ำตาลประมาณ 8.5
ล้านตันต่อปี ในปี 2569 ทัง้ นี้ สำหรับวัตถุดบิ มันสำปะหลัง ภาครัฐมุง่ เน้นการเพิม่ ผลผลิตต่อไร่
จากปจั จุบนั 3.5 ตันต่อไร่ เป็ น 5 ตันต่อไร่ ในปี 2562 และ 7 ตันต่อไร่ ในปี 2569 โดยนโยบายดัง
กล่าวจะทำให้มผี ลผลิตมันสำปะหลังออกสูต่ ลาดประมาณ 60 ล้านตันต่อปี (คำนวณจากพืน้ ทีป่ ลูก
8.5 ล้านไร่ในปจั จุบนั )
2. เพิม่ ปริมาณความต้องการใช้เอทานอล
ภาครัฐมีแผนทีจ่ ะใช้กลไกราคา หรือทีเ่ รียกว่าการบริหารส่วนต่างราคาน้ำมัน โดยตัง้ ราคาน้ำมันทีม่ ี
ส่วนผสมของเอทานอลในปริมาณสูง เช่น E20 และ E85 ให้ต่ำกว่าราคาของน้ำมันแก๊สโซฮอล์ 95
หรือ 91 อย่างมีนยั สำคัญ อีกทัง้ มีนโยบายในการเปิดหัวจ่ายน้ำมัน E20 และ E85 ให้เพิม่ มากขึน้
เพิม่ จำนวนยานพาหนะทีร่ องรับน้ำมัน E20 และ E85 ให้มากยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ ภาครัฐยังมีนโย
บายระยะยาวในการลดชนิดของน้ำมัน เพือ่ สนับสนุ นการใช้เอทานอลให้มากขึน้ ซึง่ จะช่วยลด
ต้นทุนในการขนส่งอีกทางหนึ่ง
นอกจากการส่งเสริมการใช้เอทานอล และการเพิม่ ศักยภาพด้านวัตถุดบิ แล้ว ภาครัฐยังมีมาตรการสร้าง
ความมันคงให้
่ กบั ผูผ้ ลิตเอทานอล โดยมุง่ เน้นการให้ความรู้ สนับสนุนการค้นคว้าและวิจยั เพือ่ เพิม่
ประสิทธิภาพการผลิต และลดต้นทุนการผลิต ซึง่ ถือเป็ นการส่งเสริมให้มกี ารผลิตและการใช้ เอทานอ
ลอย่างยังยื
่ น

2.2.1.7 ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิ จเอทานอล


(1) ใบอนุญาตประกอบกิ จการ
ในการดำเนินธุรกิจผลิตและจำหน่ายเอทานอล บริษทั ฯ จำเป็ นจะต้องได้รบั ใบอนุญาตทีเ่ กีย่ วข้องกับการ
ประกอบธุรกิจดังกล่าว โดยบริษทั ฯ ได้รบั ใบอนุญาตเป็ นผูค้ า้ น้ำมันตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติ
การค้าน้ำมันเชือ้ เพลิง พ.ศ. 2543 จากกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน เมือ่ วันที่ 20 ธันวาคม
2560 โดยผูค้ า้ น้ำมันมาตรา 7 ครอบคลุมผูค้ า้ น้ำมันทีม่ ปี ริมาณการค้าน้ำมันแต่ละชนิดหรือรวมกันทุก
ชนิดปีละเกินกว่า 100,000 เมตริกตัน (หรือประมาณ 120 ล้านลิตรต่อปี )
ทัง้ นี้ ใบอนุญาตประกอบธุรกิจ และหนังสือรับรองฉบับปจั จุบนั ทีสำ ่ คัญของบริษทั ฯ สรุปได้ดงั นี้
หน่ วยงานผูอ้ อก
ใบอนุญาต รายละเอียดใบอนุญาต วันที่ออก วันที่สิ้นสุด
ใบอนุญาต
ใบอนุญาตประกอบ อนุญาตให้ประกอบกิจการผลิตเอ 30 ตุลาคม 1 มกราคม กระทรวง
กิจการโรงงานผลิต ทานอลเพือ่ ใช้เป็ นเชือ้ เพลิง กำลัง 2552 2565 อุตสาหกรรม
การผลิต 400,000 ลิตรต่อวัน
เอทานอล

หนังสือรับรอง รับรองว่าบริษทั ฯ ได้จดทะเบียน 14 พฤศจิกายน - กรมธุรกิจการค้า


เป็ นนิตบิ ุคคล ตามประมวล 2560 กระทรวงพาณิชย์
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ทะเบียนนิตบิ ุคคลเลขที่
034555000315

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 28


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

หน่ วยงานผูอ้ อก
ใบอนุญาต รายละเอียดใบอนุญาต วันที่ออก วันที่สิ้นสุด
ใบอนุญาต
ใบอนุญาตเป็ นผูค้ า้ เลขทีใ่ บอนุญาต 5/2560 20 ธันวาคม - กรมธุรกิจพลังงาน
น้ำมันตามมาตรา 7 2560 กระทรวงพลังงาน

(2) การส่งเสริ มการลงทุน


บริษทั ฯ ได้รบั สิทธิประโยชน์จากการได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
ตามพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 โดยสามารถศึกษาเพิม่ เติมได้ในส่วนที่ 2.2.5
ทรัพย์สนิ ทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจ

(3) ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3584 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์


อุตสาหกรรมเอทานอลแปลงสภาพสำหรับผลิ ตน้ำมันแก๊สโซฮอล์
ข้อกำหนดเกีย่ วกับเอทานอลแปลงสภาพมีทงั ้ หมด 12 ประการโดยมีรายละเอียดดังนี้
ลำดับ ข้อกำหนด Condition อัตราสูงต่ำ วิ ธีทดสอบ
1 ปริมาณเอทานอลและแอลกอฮอล์ Ethanol plus higher ไม่ต่ำกว่า 99.0 EC 2870
ชนิดอิม่ ตัวทีม่ จำ
ี นวนคาร์บอน saturated alcohols, % Method B
อะตอมสูงกว่าเอทานอล (ร้อยละ volume
โดยปริมาตร)
2 โมโนแอลกอฮอล์ชนิดอิม่ ตัวทีม่ ี Higher saturated (C3- ไม่สงู กว่า 2.0 EC 2870
จำนวนคาร์บอนอะตอมตัง้ แต่ 3-5 C3) mono alcohols, % Method III
อะตอม (ร้อยละโดยปริมาตร) volume
3 เมทานอล (ร้อยละโดยปริมาตร) Methanol, % volume ไม่สงู กว่า 0.5 EC 2870
Method III
4 ยางเหนียว (มิลลิกรัม/100 Solvent Washed Gum, ไม่สงู กว่า 5.0 ASTM D 381
มิลลิลติ ร) mg/ 100 ml
5 น้ำ (ร้อยละโดยน้ำหนัก) Water, %weight ไม่สงู กว่า 0.3 ASTM E 203
6 คลอไรด์อนินทรีย์ (มิลลิกรัม/ลิตร) Inorganic chloride, mg/l ไม่สงู กว่า 20.0 ASTM D 512
7 ทองแดง (มิลลิกรัม/ กิโลกรัม) Copper, mg/kg ไม่สงู กว่า 0.07 ASTM D
1688
8 ความเป็ นกรดคำนวณเป็ นกรดอะ Acidity as acetic acid, ไม่สงู กว่า 30.0 ASTM D
ซีตดิ (มิลลิกรัม/ลิตร) mg/l 1613
9 ความเป็ นกรด-ด่าง pHe ไม่ต่ำกว่า 6.5 ASTM D
      และไม่สงู กว่า 9.0 6423
10 สภาพตัวนำไฟฟ้า (ไมโครซี Electrical conductivity, ไม่สงู กว่า 500 ASTM D
เม็นส์/เมตร) ʮS/m 1125
11 ลักษณะทีป่ รากฏ Appearance เป็ นของเหลวใส ไม่ขนุ่ ตรวจพินิจ
ไม่แยกชัน้ และไม่มสี าร ด้วยสายตา
แขวนลอย
12 สารเติมแต่ง (ถ้ามี) Additive ให้เป็ นไปตามทีไ่ ด้รบั  
ความเห็นชอบจากอธิบดี
กรมธุรกิจพลังงาน

2.2.2 ธุรกิ จผลิ ตและจำหน่ ายแป้ งมันสำปะหลัง

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 29


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

µ¦ ˜¨ µ—„µ¦ ­ Š
„ nÁ­ ¦ ·¤ „…
µ¦ µ¥
¨ ³ „„
µ¦ ¦ · µ¦ ¨ ¼
„ ‡oµ
¦³ ª „
„œ µ¦ Ÿ¨ ·˜ ‡¨ Š´ ­ œ‡
· oµ µ¦ ´—‹œ
„‹ ε® nµ¥
´—ŽºÊ°ª ´˜™»·
‹ — ¨¼
„‡oµ
¨ ³ ‡ª  ‡»¤ ‡–» £ µ¡ žjŠœ
¤´ ­ 垳 ®¨ ´Š ­œ·‡ oµ

¤´œ­ 垳 ®¨ ´Š
­— -ž¦ ³ ­ š
· ›·£ µ¡ …Š
° ‹´—„
Á Ȩ
 ³‡ ª ‡
»¤ -„µ¦ „…¦ · µ¦ œŠ­n -­ Š
n° ° „„Ä®o´Trader
æ Š Šµœ‡Š
Á ¦ ºÉ° ‹´„
¦ ¨ ³ ‡–» £ µ¡ ­ œ‡
· oµ ­œ
·‡ oµÃ— ¥¦ ™… ­n
œŠ -… µ¥ ž„„
¨ ¸ Ä®o´„
¨ ¼‡

° »ž„ ¦ –r ° ¦ ·¬ ´š²
…Š £ µ¥Äœž¦ ³ Áš«
-„ µ¦ ε¦ »¦Š´„¬µÂ¨ ³ -„‹
¦ · µ¦ ´—„„ µ¦ µ¦
Žn°¤ÂŽ¤ ­Š
n° ° „

บริษทั ฯ เป็ นผูผ้ ลิตและจำหน่ายแป้งมันสำปะหลังทัง้ เกรดอาหารและเกรดอุตสาหกรรม ภายใต้


เครือ่ งหมายการค้า “Sunflower” และ “ซันฟลาวเวอร์” ด้วยกำลังการผลิต 700 ตันแป้งต่อวัน ซึง่ ผลิตภัณฑ์ขอ
งบริษทั ฯ ส่วนใหญ่เป็ นการจำหน่ายผ่านตัวแทนเพือ่ ส่งออกไปยังต่างประเทศ ส่วนทีเ่ หลือจะเป็ นการขาย
ภายในประเทศให้แก่ลกู ค้ารายย่อย
บริษทั ฯ ถือเป็ นผูผ้ ลิตรายเล็กในอุตสาหกรรม แต่ได้วางแนวทางการบริหารจัดการด้านการผลิตและจำหน่าย
อย่างมีประสิทธิภาพ ตัง้ แต่การจัดหาวัตถุดบิ จนถึงการทำการตลาดทีส่ ามารถเข้าถึงความต้องการของลูกค้า
ได้เป็ นอย่างดี โดยบริษทั ฯ ได้ทำการสำรวจและศึกษาจนเข้าใจพฤติกรรมการบริโภคของลูกค้าเพือ่ นำมา
พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพและคุณลักษณะของสินค้าให้เป็ นไปตามความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่ม ตลอด
จนวางกลยุทธ์ดา้ นการตลาดเพือ่ ให้ลกู ค้าทุกกลุ่ม โดยเฉพาะลูกค้ารายย่อย ให้สามารถเข้าถึงสินค้าของบริ
ษัทฯ ได้โดยง่าย ทำให้ในปจั จุบนั ผลิตภัณฑ์แป้งมันสำปะหลังของบริษทั ฯ เป็ นทีร่ จู้ กั และได้รบั การยอมรับจาก
ผูบ้ ริโภคในตลาด โดยผลิตภัณฑ์ของบริษทั ฯ มีวางจำหน่ายในหลากหลายประเทศ เช่น ไทย จีน
สหรัฐอเมริกา และยุโรป เป็ นต้น
ปริ มาณการผลิ ตและขายแป้ งมันสำปะหลังของบริ ษทั ฯ ในปี 2558 - 2560
หน่ วย : ตัน 2558 2559 2560
ปริมาณการผลิต 60,660 58,261 102,535
ปริมาณการขาย 67,336 50,253 117,886

ในอนาคตบริษทั ฯ มีแผนทีจ่ ะพัฒนาผลิตภัณฑ์ในกลุ่มแป้งมันสำปะหลังให้มคี วามหลากหลายมากขึน้ และเข้า


ถึงกลุ่มผูบ้ ริโภคทีม่ คี วามต้องการเฉพาะ รวมถึงคิดค้นผลิตภัณฑ์ทม่ี มี ลู ค่า สูง เพือ่ เพิม่ ฐานลูกค้าใหม่และเพิม่
แหล่งรายได้นอกเหนือจากผลิตภัณฑ์ทม่ี อี ยูใ่ นปจั จุบนั เช่น สาคู แป้งข้าวบริสทุ ธิ ์ สารให้ความหวาน และกรด
อะมิโน เป็ นต้น ซึง่ ในปจั จุบนั บริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการเจรจากับองค์กรในต่างประเทศ รวมถึงมีการวิจยั ร่วมกัน
เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว

2.2.2.1 ลักษณะผลิ ตภัณฑ์


แป้ งมันสำปะหลัง
แป้งมันสำปะหลังเป็ นผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหัวมันสำปะหลังสด มีลกั ษณะเป็ นผงสีขาว ผิวสัมผัสของแป้งเนียน
ลื่นมือ เมือ่ ทำให้สกุ จะเหลวเหนียวหนืด เมือ่ พักให้เย็นจะมีลกั ษณะเหนียวคงตัว จึงมีการใช้อย่างแพร่หลายทัง้
ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น ผงชูรส สารให้ความหวาน สาคู ซอสปรุงรส และอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น กระดาษ
และสิง่ ทอ เป็ นต้น
ปจั จุบนั ผลิตภัณฑ์ของบริษทั ฯ สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ เกรดอุตสาหกรรมและเกรดอาหาร โดย
แป้งมันสำปะหลังเกรดอาหารจะต้องมีคุณลักษณะตามข้อกำหนดขององค์การอาหารและยา (อย.) ส่วนเกรด

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 30


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

อุตสาหกรรม จะมีการเติมสารซัลเฟอร์เพิม่ ขึน้ เพือ่ เพิม่ ความขาว ซึง่ โดยส่วนใหญ่จะถูกนำไปใช้ในโรงงานผลิต


กระดาษ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังสามารถผลิตแป้งมันสำปะหลังทีม่ คี ุณสมบัตเิ พิม่ เติมตามความต้องการของ
ลูกค้า ได้แก่ แป้งมันสำปะหลังเกรดพรีเมียม ซึง่ ยังมีความต้องการและมีศกั ยภาพที่จะเติบโตได้อกี มากใน
ตลาดต่างประเทศ

ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติของแป้ งมันสำปะหลังเกรดอาหารและเกรดอุตสาหกรรม
เกณฑ์ หน่ วย เกรดอาหาร เกรดอุตสาหกรรม วิ ธีการในการวิ เคราะห์
1. % แป้ง % ไม่น้อยกว่า 85 ไม่น้อยกว่า 85 EC Method
2. ความชืน้ % ไม่เกิน 13 ไม่เกิน 13 AOAC 1990
3. ความขาว % ไม่น้อยกว่า 90 ไม่น้อยกว่า 90 Kett-c-300
4. ความละเอียด % ไม่น้อยกว่า 99 ไม่น้อยกว่า 99 Sieve pass 100 mesh
5. ความเป็นกรดด่าง - 5.0 – 7.0 5.0 – 7.0 PH Meter
6. กำมะถัน ppm ไม่เกิน 30 ไม่เกิน 100 AOAC 1900
7. ความยืดหยุน่ BU ไม่น้อยกว่า 700 ไม่น้อยกว่า 700 Brabender Viscoamylograph
8. เถ้า % ไม่เกิน 0.25 ไม่เกิน 0.25 As per mill test definition
9. กาก % ไม่เกิน 0.25 ไม่เกิน 0.25 As per mill test definition

ในส่วนของการขาย ส่วนใหญ่บริษทั ฯ จำหน่ายแป้งมันสำปะหลังโดยการส่งออกไปยังต่างประเทศ เช่น จีน


สหรัฐอเมริกา และประเทศในแถบยุโรป แบ่งขนาดของบรรจุภณ ั ฑ์ออกเป็ น 3 ขนาด ได้แก่ ขนาดใหญ่ (Big
Bag) ขนาดเล็ก (Small Bag) และขนาดค้าปลีก (Retail) ซึง่ มีความจุตงั ้ แต่ 0.4 – 850 กิโลกรัม

ตารางแสดงรายละเอียดผลิ ตภัณฑ์แป้ งมันสำปะหลัง


รายละเอียด ขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก ขนาดค้าปลีก
ผลิตภัณฑ์ (เกรด) เกรดอุตสาหกรรมและ เกรดอาหาร เกรดอาหาร
เกรดอาหาร
ความจุ 500 กก.- 850 กก. 25 กก.- 50 กก. 0.4 กก. – 1.00 กก.
กลุ่มลูกค้า โรงงานอุตสาหกรรม ภัตตาคาร/ร้านอาหาร รายย่อย

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 31


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

2.2.2.2 การจัดหาผลิ ตภัณฑ์


(1) โรงงานผลิ ตและกำลังการผลิ ตแป้ งมันสำปะหลัง
โรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังของบริษทั ฯ มี 2 สายการผลิต มีกำลังการผลิตติดตัง้ (Nameplate
Capacity) สายการผลิตละ 350 ตันต่อวัน รวมกำลังการผลิตติดตัง้ 700 ตันต่อวัน โดยบริษทั ฯ ได้สร้าง
สายการผลิตที่ 1 ในปี 2553 และได้เพิม่ สายการผลิตที่ 2 ในปี 2558 ซึง่ มีการเดินเครือ่ งจักรสายการ
ผลิตที่ 2 แบบเต็มประสิทธิภาพในปี 2560
บริษทั ฯ มีอตั ราการใช้กำลังการผลิตเฉลีย่ สูงขึน้ เป็ นผลมาจากการปรับปรุงประสิทธิภาพของ
กระบวนการผลิต โดยมีการเปลีย่ นและปรับปรุงเครือ่ งจักรบางส่วนให้เป็ นมาตรฐานยุโรป เพือ่ เพิม่
ประสิทธิภาพในการทำงาน ลดการสูญเสียของแป้ง และลดการใช้พลังงาน เป็ นต้น
ปริมาณผลผลิตและอัตราการผลิตเฉลีย่ ของโรงงานแป้งมันสำปะหลัง ในปี 2558 - 2560

2558 2559 2560


จำนวนวันทีผ่ ลิตจริง (วัน) 238 235 317
ผลผลิตแป้งมันสำปะหลัง (ตัน) 60,660 58,261 102,535
ร้อยละของการผลิตติดตัง้ 36 35 46
หมายเหตุ : อัตราการผลิตเฉลีย่ คำนวณจากปริมาณการผลิตจริงเป็นอัตราร้อยละของกำลังการผลิตติดตัง้ จากจำนวนวันทีผ่ ลิตจริงเท่านัน้

อุปกรณ์
บริษทั ฯ จัดหาอุปกรณ์สำหรับโรงงานแป้งมันสำปะหลังจากผูผ้ ลิตชัน้ นำในระดับสากล โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
อุปกรณ์ ผูผ้ ลิ ต ประเทศเจ้าของเทคโนโลยี ปี ที่ติดตัง้
Extractor STAMEX เนเธอร์แลนด์ 2558
Separator GEA Westfalia เยอรมัน 2558
Sifter AMKCO แคนาดา 2558
Small bag packer CHRONOS สหรัฐอเมริกา 2558
Retail packer ROVEMA เยอรมัน 2560

การบำรุงรักษา
บริษทั ฯ มีแผนซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครือ่ งจักรประจำปี โดยโรงงานของบริษทั ฯ เดินเครือ่ งจักรอยูท่ ่ี
ประมาณ 290 วันต่อปี และหยุดเดินเครือ่ งเพือ่ ซ่อมบำรุงในช่วงทีไ่ ม่ใช่ฤดูมนั เช่น ช่วงฤดูฝน เนื่องจาก
เป็ นช่วงทีม่ วี ตั ถุดบิ ออกสูต่ ลาดน้อย โดยการวางแผนการซ่อมบำรุงดังกล่าวนอกจากจะเป็ นการช่วยเพิม่
ผลผลิต และบริหารจัดการวัตถุดบิ แล้ว ยังช่วยลดค่าใช้จา่ ยในการผลิตอีกด้วย

(2) กระบวนการผลิ ตแป้ งมันสำปะหลัง


การผลิตแป้งมันสำปะหลังมีหลักการสำคัญ คือ การสกัดแป้งออกจากมันสำปะหลัง จากนัน้ อบแป้งให้
แห้ง และนำไปบรรจุในบรรจุภณั ฑ์แต่ละขนาด โดยขัน้ ตอนการผลิตสามารถแบ่งได้เป็ น 4 ขัน้ ตอนหลัก
ดังนี้

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 32


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

Á˜ ¦ ¥̧¤ª ´˜™
»·
— än¨ ³ ­ „—ž
´  jŠ ° ÂžjŠ ¦ ¦ ‹
»ÂžjŠ

­´ Á®ŠoµÂ¨ ³ š‡
ε ª µ¤ -— ¨ ³ änÁž}œœÊεžjŠ Á…‡ŠoµÁ ¦ ºÉ° ­ ¨ ´—œÊε¨ ³ °  ¦ ¦ ‹
»¨Š Ĝ¦ ¦ ‹ »£ ´–” r
­ ³ ° µ— -Â¥ „ „µ„ ¨ ³ Á˜·¤ ž Šj Á¡ ºÉ°Ä®o®o¡ Š ¦ o°¤ …œµ— Ä®n¨ ³ Â¥„
­ µ¦ Á‡¤Á̧¡ ºÉ°Á¡ ·É¤‡ª µ¤ ­ 宦 ´ ¦ ¦ ‹ » ¦ ¦ ‹»Áž}œ… œµ— ˜ nµŠ Ç
Á…oœ…oœ…Šœ° Êεž jŠ n° ­ nŠ
„œ ‹œÎµ® nµ¥

(ก) การเตรียมวัตถุดิบ
หัวมันสำปะหลังทีนำ
่ เข้าสูก่ ระบวนการผลิต จะถูกนำไปล้างทำความสะอาด ก่อนนำไปโม่ โดยจะ
ต้องมีการสับเหง้ามันออก และนำมันสำปะหลังผ่านเครือ่ งตรวจจับโลหะ ร่อนดิน ทราย และเปลือก
ออก จากนัน้ นำไปล้างน้ำอีกครัง้ เพือ่ ไม่ให้มสี งิ่ สกปรกเจือปน ซึง่ เป็ นการช่วยป้องกันการสึกหรอ
ของเครือ่ งจักรในขัน้ ตอนต่อๆ ไป

(ข) การโม่และสกัดแป้ ง
นำมันสำปะหลังทีผ่ า่ นการทำความสะอาด ไปบดและโม่เพือ่ ให้กลายเป็ นน้ำแป้ง จากนัน้ นำน้ำแป้ง
ทีไ่ ด้ไปแยกกากแป้งและกากอ่อนออก ตามลำดับ และเติมสารซัลเฟอร์ (สำหรับเกรดอุตสาหกรรม)
เพือ่ เพิม่ ความขาว จากนัน้ จึงเข้าขัน้ ตอนเพิม่ ความเข้มข้นของน้ำแป้ง ก่อนเข้าสูข่ นั ้ ตอนต่อไป

(ค) การอบแป้ ง
น้ำแป้งทีม่ คี วามเข้มข้นสูงจะถูกนำเข้าเครือ่ งสลัดน้ำ และผ่านเครือ่ งอบแป้ง ตามลำดับ เพือ่ ให้ออก
มาเป็ นผลิตภัณฑ์แป้งมันสำปะหลัง อย่างไรก็ตาม ฝา่ ยผลิตจะต้องตรวจสอบคุณภาพ โดยมีหลัก
เกณฑ์ตามมาตรฐานคุณภาพสินค้าของบริษทั ฯ

(ง) การบรรจุแป้ ง
แป้งมันสำปะหลังทีไ่ ด้คุณภาพตามมาตรฐานจะถูกนำไปบรรจุใส่บรรจุภณ ั ฑ์แต่ละขนาดเพือ่ ส่งขาย
ให้กบั ลูกค้าในประเทศและต่างประเทศ โดยบรรจุภณ
ั ฑ์แบ่งเป็ น 3 ขนาด ได้แก่ 1) ขนาดใหญ่ (Big
Bag) 2) ขนาดเล็ก (Small Bag) และ 3) ขนาดค้าปลีก (Retail)

(3) การจัดหาวัตถุดิบ
ปจั จุบนั บริษทั ฯ จัดหามันสำปะหลังสดซึง่ เป็ นวัตถุดบิ หลักในการผลิตแป้งมันสำปะหลังผ่าน 3 ช่องทาง
ได้แก่ การรับซือ้ จากเกษตรกรโดยตรงหน้าโรงงานและผ่านลานมันสาขาของบริษทั ฯ และซือ้ ผ่านลานมัน
เครือข่ายในจังหวัดอุบลราชธานีและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง โดยมีสดั ส่วนการรับซือ้ ในแต่ละช่องทางในปี 2560
ดังนี้

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 33


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

17%

26% 57%

หน้าโรงงาน ลานมัน สาขา ลานมันเครือข่าย

เกษตรกรส่วนใหญ่จะนำผลผลิตมันสำปะหลังสดมาขายทีห่ น้าโรงงานเป็ นหลัก โดยในปี 2560 บริษทั ฯ


มีการรับซือ้ มันสำปะหลังสดจากเกษตรกรหน้าโรงงานประมาณร้อยละ 57 รับซือ้ โดยตรงทีล่ านมันสาขา
ร้อยละ 26 และรับซือ้ ผ่านลานมันเครือข่ายร้อยละ 17 ตามลำดับ
บริษทั ฯ ได้กำหนดเกณฑ์การรับซือ้ มันสำปะหลังสด ดังนี้
รายละเอียด ค่ามาตรฐาน
%แป้ง > 25%
%ทรายหรือสิง่ เจือปน < 4%

บริษทั ฯ มีนโยบายรับซือ้ มันสำปะหลังสดตลอดทัง้ ปี โดยการรับซือ้ ส่วนใหญ่จะเริม่ ตัง้ แต่เดือนตุลาคม


จนถึงเดือนมีนาคมซึง่ เป็ นช่วงทีผ่ ลผลิตมันสำปะหลังออกสูต่ ลาดมากทีส่ ดุ โดยนโยบายการรับซือ้ และ
การชำระเงินจะเป็ นไปตามรายละเอียดในข้อ 2.2.1.2 การจัดหาผลิตภัณฑ์ ข้อย่อยที ่ (3) การจัดหา
วัตถุดบิ ของธุรกิจผลิตและจำหน่ายเอทานอล

ปริ มาณการรับซื้อมันสำปะหลังสด ในปี 2559-2560

ทีม่ า : ข้อมูลบริษทั

(4) สถานที่จดั เก็บผลิ ตภัณฑ์


ปจั จุบนั บริษทั ฯ มีการคลังสินค้าสำหรับการจัดเก็บแป้งมันสำปะหลังทัง้ หมด 4 แห่ง แบ่งเป็ นคลังสินค้าที่
บริษทั ฯ เป็ นเจ้าของ 1 แห่ง สามารถจัดเก็บวัตถุดบิ ได้ 22,450 ตัน และคลังสินค้าเช่าภายนอก ซึง่ ตัง้ อยู่
พืน้ ทีใ่ กล้กบั ท่าเรือส่งออกอีก 3 แห่ง สามารถจัดเก็บวัตถุดบิ ได้อกี 26,600 ตัน รวมทัง้ สิน้ 49,050 ตัน

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 34


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ทัง้ นี้ คลังสินค้าทัง้ หมดตัง้ อยูใ่ นเขตพืน้ ทีท่ ไ่ี ม่มคี วามเสีย่ งด้านอุทกภัยและมีการทำประกันภัยไว้ทงั ้ หมด
นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้สง่ เจ้าหน้าทีไ่ ปปฏิบตั งิ านประจำอยูใ่ นทุกคลังสินค้า เพือ่ ทำหน้าทีบ่ ริหารพืน้ ทีจ่ ดั
เก็บสินค้า และเบิกสินค้าสำหรับส่งออก ซึง่ จะต้องบันทึกเอกสารลงในระบบคอมพิวเตอร์ เพือ่ ให้สว่ น
กลางสามารถตรวจสอบสถานะของสินค้าคงเหลือได้ตลอดเวลา

(5) พลังงานและสาธารณูปโภค
กระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลังจะใช้ไฟฟ้า น้ำประปา ก๊าซชีวภาพหรือน้ำมันเตา เป็ นพลังงานหลัก
โดยไฟฟ้าจะถูกใช้ในกระบวนการผลิต น้ำประปาจะถูกใช้ในกระบวนการล้างและผลิต และก๊าซชีวภาพ
หรือน้ำมันเตาจะถูกใช้ในกระบวนการอบแป้ง
สำหรับการจัดหาไฟฟ้า บริษทั ฯ จะซือ้ จากกฟภ. ส่วนหนึ่ง และอีกส่วนหนึ่งจะมาจากไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้จาก
โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพของบริษทั ฯ (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในข้อ 2.2.3 ธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพและ
ไฟฟ้า) สำหรับการจัดหาน้ำประปา บริษทั ฯ มีบ่อเก็บน้ำความจุ 1,000,000 ลบ.ม. (ใช้รว่ มกับโรงงานเอ
ทานอล) ซึง่ จะสูบน้ำจากแม่น้ำลำโดมใหญ่ซง่ึ เป็ นแหล่งน้ำธรรมชาติใกล้กบั บริเวณทีต่ งั ้ ของโรงงาน
สำหรับก๊าซชีวภาพ บริษทั ฯ มีระบบ UASB และ CLBR สำหรับผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำทีผ่ า่ น
กระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลัง ซึง่ จะถูกนำกลับมาใช้เป็ นเชือ้ เพลิงในกระบวนการผลิตแป้งมัน
สำปะหลังอีกครัง้ (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในข้อ 2.2.3 ธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพและไฟฟ้า) นอกจากนี้
บริษทั ฯ ยังมีการจัดซือ้ น้ำมันเตาเพือ่ ใช้เป็ นเชือ้ เพลิงเสริมในกระบวนการผลิต

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 35


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

2.2.2.3 การตลาดและการแข่งขัน
(1) ช่องทางการจำหน่ ายและกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย
บริษทั ฯ จำหน่ายผลิตภัณฑ์แป้งมันสำปะหลังให้กบั ลูกค้าทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยมีลกู ค้าหลัก
ในประเทศจีน คิดเป็ นสัดส่วนการขายร้อยละ 56 ของรายได้จากการจำหน่ายแป้งมันสำปะหลังทัง้ หมด
และมีลกู ค้ารายอื่นในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศในแถบยุโรป เป็ นต้น ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มุง่ หวังที่จะ
พัฒนาประเภทสินค้าให้มากขึน้ มีคุณภาพสูงขึน้ เข้าใจและเข้าถึงลูกค้ามากขึน้ รวมถึงการให้บริการ
ลูกค้าทัง้ ก่อนและหลังการขายอย่างมีคุณภาพ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการเติบโตในตลาดแป้ งมันสำปะหลัง
ต่อไป

รายได้และสัดส่วนการขายผลิ ตภัณฑ์แป้ งมันสำปะหลัง แยกตามลูกค้าแต่ละประเทศ ในปี 2558


- 2560

2558 2559 2560

รายได้จาก รายได้จาก รายได้จาก


ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
การขาย การขาย การขาย
ลูกค้า (ล้านบาท ยกเว้นอัตราร้อยละ)
จีน 458.5 49.4 298.2 45.9 741.0 56.5
สหรัฐอเมริกา 152.1 16.4 213.4 32.9 311.0 23.7
ฮ่องกง 81.5 8.8 0.5 0.1 27.0 2.1
ไทย 66.2 7.1 25.1 3.9 152.5 11.6
อื่นๆ 168.7 18.2 112.0 17.3 79.7 6.1
รวม 928.0 100.0 649.2 100.0 1,311.2 100.0

บริษทั ฯ ส่งออกสินค้าไปยังหลายประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็ นบรรจุภณ ั ฑ์ขนาดใหญ่ (Big Bag) ซึง่ เหมาะ


สำหรับการใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม บริษทั ฯ จึงมีนโยบายขายสินค้าผ่านตัวแทนจำหน่าย (Traders) ใน
แต่ละประเทศเพือ่ ความสะดวกในการกระจายสินค้า ทัง้ นี้ การส่งออกสินค้าแป้งมันสำปะหลังจะต้องได้รบั
อนุญาตจากสำนักงานมาตรฐานสินค้า
สำหรับการขายภายในประเทศ บริษทั ฯ มุง่ เน้นในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้ารายย่อยมากขึน้ โดยการเพิม่ การ
ผลิตในส่วนของบรรจุภณ ั ฑ์ขนาดค้าปลีก (Retail) และส่งขายโดยตรงกับร้านค้าปลีก ร้านค้าส่ง รวมถึง
ร้านสะดวกซือ้ โดยเฉพาะในต่างจังหวัด เนื่องจากผลิตภัณฑ์ขนาดค้าปลีกเป็ นขนาดทีส่ ามารถสร้างส่วน
ต่างกำไรได้มากทีส่ ดุ โดยในปจั จุบนั บริษทั ฯ เป็ นเพียงผูเ้ ล่นไม่กร่ี ายในประเทศไทย ทีม่ กี ารผลิตและ
จำหน่ายแป้งมันสำปะหลังขนาดค้าปลีกด้วยตนเอง

(2) การตลาด การส่งเสริ มการขาย และการบริการลูกค้า


บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญของการรักษาความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับลูกค้าทุกราย จึงได้มงุ่ เน้นการ
บริการและเข้าถึงความต้องการของลูกค้าให้มากทีส่ ดุ ทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ มีการสำรวจความต้องการของ
ลูกค้าจากการสังเกตุและสัมภาษณ์ลกู ค้าทัง้ ในเรือ่ งของการบริการและคุณภาพสินค้า เพือ่ นำมาปรับปรุง
และพัฒนาระบบการผลิต การบริการก่อนและหลังการขาย ทำให้ลกู ค้าเกิดความเชือ่ มัน่ และเป็ นคูค่ า้ กับ
บริษทั ฯ มาจนถึงปจั จุบนั
กลยุทธ์หลักของบริษทั คือ การสำรวจตลาดและสำรวจพฤติกรรมการอุปโภคบริโภคของลูกค้าด้วย
ตนเอง โดยส่งทีมการตลาดไปยังประเทศทีม่ กี ารส่งสินค้าไปจำหน่าย หรือแม้แต่ตลาดใหม่ๆ ทีจ่ ะทดลอง

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 36


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ขายสินค้า ทำให้บริษทั ฯ ได้ขอ้ มูลเชิงลึกเกีย่ วกับประเภทหรือคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ทเ่ี หมาะสำหรับ


ผูบ้ ริโภคในประเทศนัน้ ๆ รวมถึง ลักษณะลูกค้า กำลังซือ้ และการเข้าถึงลูกค้า เป็ นต้น โดยทีผ่ า่ นมา แม้
ว่าบริษทั ฯ จะไม่ได้มเี จ้าหน้าทีป่ ระจำการอยูท่ ุกประเทศทีม่ กี ารส่งออกสินค้าไปจำหน่าย แต่บริษทั ฯ ก็
สามารถดูแลและประสานงานกับลูกค้าได้อย่างราบรืน่ มาโดยตลอด
(3) การจัดจำหน่ ายและการขนส่งผลิ ตภัณฑ์
การส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ สามารถแบ่งได้เป็ น 3 แบบ คือ 1) FOB 2) CIF และ 3) CFR ซึง่ ส่วน
ใหญ่จะเป็ นการขายแบบ FOB โดยบริษทั ฯ จะนำสินค้าไปส่งทีท่ า่ เรือแหลมฉบัง จากนัน้ ลูกค้า (ตัวแทน
จำหน่าย) จะติดต่อเรือเพือ่ รับสินค้าเอง ทัง้ นี้ หากเป็ นการซือ้ ขายแบบ CIF หรือ CFR บริษทั ฯ จะติดต่อ
ประสานงานกับบริษทั เดินเรือ ซึง่ จะดูแลทุกขัน้ ตอนในการขนส่งสินค้าไปยังประเทศของผูร้ บั สินค้า โดย
ค่าขนส่งและค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ หมด บริษทั ฯ จะรวมไปกับราคาสินค้า
(4) การควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย
บริษทั ฯ มีนโยบายผลิตแป้งมันสำปะหลังเกรดอาหารให้เป็ นไปตามข้อกำหนดของ อย. GMP HACCP
HALAL KOSHER และ BRC (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในข้อ 2.2.2.4 ใบรับรองและรางวัล) และ
บริษทั ฯ ยังสามารถผลิตสินค้าให้มคี ุณสมบัตอิ ่นื ๆ เพิม่ เติมได้ตามทีล่ กู ค้าต้องการ
นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีมาตรการในการควบคุมคุณภาพสินค้าทัง้ ก่อนการจัดจำหน่ายจนสินค้าถึงมือลูกค้า
โดยบริษทั ฯ ได้รบั การรับรองระบบการจัดการด้านคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO9001:2015 สำหรับการ
ผลิตแป้งมันสำปะหลังเรียบร้อยแล้ว
สำหรับนโยบายด้านความปลอดภัยในการทำงานสำหรับกลุ่มธุรกิจแป้งมันสำปะหลัง (ซึง่ ดำเนินงานโดย
UAE) บริษทั ฯ ได้มกี ารประกาศใช้นโยบายฉบับเดียวกันกับ UBE ซึง่ สามารถศึกษารายละเอียดได้ในข้อ
2.2.1.3 การตลาดและการแข่งขัน ข้อย่อยที่ (4) การควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย ของธุรกิจผลิต
และจำหน่ายเอทานอล

2.2.2.4 ใบรับรองและรางวัล
บริษทั ฯ มีความตัง้ ใจทีจ่ ะปรับปรุงระบบการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561
บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองระบบการบริหารงานคุณภาพ ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้

ใบรับรอง ออกโดย วันที่ออก วันที่สิ้นสุด


ใบรับรองระบบการบริหารงานคุณภาพตาม สำนักงานคณะกรรมการ 29 พฤศจิกายน 2560 28 พฤศจิกายน 2561
มาตรฐาน HALAL เลขที่ C350/2555 กลางอิสลามแห่ง
ประเทศไทย
ใบรับรองระบบการบริหารงานคุณภาพตาม SGS United Kingdom Ltd. 24 พฤษภาคม 2560 22 พฤษภาคม 2561
มาตรฐาน BRC เลขที่ TH17/10192

ใบรับรองระบบการบริหารงานคุณภาพตาม United Registrar of 20 พฤศจิกายน 2559 19 พฤศจิกายน 2562


มาตรฐาน ISO 9001:2008 เลขที่ System Limited
43183/C/0001/UK/En

ใบรับรองระบบการบริหารงานคุณภาพตาม United Registrar of 24 กุมภาพันธ์ 2560 19 พฤศจิกายน 2562


มาตรฐาน ISO 9001:2015 System Limited
เลขที่ 43183/C/0001/UK/En

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 37


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ใบรับรอง ออกโดย วันที่ออก วันที่สิ้นสุด


ใบรับรองระบบการบริหารงานคุณภาพตาม United Registrar of 19 พฤศจิกายน 2559 18 พฤศจิกายน 2562
มาตรฐาน GMP เลขที่ System Limited
43183/B/0001/NA/En

ใบรับรองระบบการบริหารงานคุณภาพตาม United Registrar of 19 พฤศจิกายน 2559 18 พฤศจิกายน 2562


มาตรฐาน HACCP เลขที่ System Limited
43183/A/0001/NA/En

นอกจากนี้ บริษทั ยังได้รบั รางวัลด้านต่างๆ ดังนี้

ปี 2556
 รางวัลธรรมาภิบาลธุรกิจดีเด่น ประจำปี 2556 จากกรมพัฒนาธุรกิจและการค้าจังหวัด
อุบลราชธานี
ปี 2557
 ได้รบั การรับรองมาตรฐานการป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติดในสถานประกอบการประจำปี
2557 จากผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุบลราชธานี
ปี 2558
 โครงการเพิม่ ผลผลิตภาพแรงงานตามความต้องการสถานประกอบกิจการจากกรมพัฒนาฝีมอื
แรงงาน กระทรวงแรงงาน
 รางวัลประกาศเกียรติคุณ โครงการสถานประกอบการความปลอดภัยเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากกระทรวงแรงงาน

2.2.2.5 สิ่ งแวดล้อม


บริษทั ฯ ให้ความสำคัญกับการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม จึงได้ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้อง
อย่างเคร่งครัด ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้

ก. กฎหมายและกฎระเบียบสิ่ งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องซึ่งใช้บงั คับกับธุรกิ จและการดำเนิ นงานของบริ


ษัทฯ
การดำเนินธุรกิจผลิตและจำหน่ายแป้งมันสำปะหลังของบริษทั ฯ อยูภ่ ายใต้บงั คับของกฎหมายและกฎ
เกณฑ์วา่ ด้วยสิง่ แวดล้อมหลายฉบับ ซึง่ เป็ นไปในทิศทางเดียวกับธุรกิจผลิตและจำหน่ายเอทานอล (โปร
ดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในข้อ 2.2.1.5 สิง่ แวดล้อม ของธุรกิจผลิตและจำหน่ายเอทานอล)
อย่างไรก็ตาม ตามกฎเกณฑ์ทป่ี ฏิบตั สำิ หรับธุรกิจผลิตและจำหน่ายแป้งมันสำปะหลัง บริษทั ฯ ต้องทำ
รายงานการรับฟงั ความคิดเห็นของประชาชนโดยรอบ (Public Hearing) ก่อนดำเนินโครงการ

ข. มาตรการคุ้มครองสิ่ งแวดล้อมและการควบคุมมลพิ ษ
โรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังของบริษทั ฯ ก่อให้เกิดผลพลอยได้ ได้แก่ กากมันและน้ำใช้จาก
กระบวนการผลิต ซึง่ บริษทั ฯ ได้มกี ระบวนการนำผลพลอยได้ดงั กล่าวมาผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อนำกลับมา
ใช้เป็ นพลังงานหมุนเวียนในโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลัง (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในข้อ 2.2.3
ธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพและไฟฟ้า)
อย่างไรก็ดี ในปี 2558 เกิดเหตุการณ์คนั ดินของบ่อบำบัดน้ำใช้ของโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังทรุดตัว
ทำให้น้ำใช้จากกระบวนการผลิตไหลลงสูแ่ ม่น้ำลำโดมใหญ่ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้เร่งดำเนินการปรับปรุงและ

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 38


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ซ่อมแซมเพื่อเพิม่ ความแข็งแรงของคันดินของบ่อบำบัดดังกล่าว โดยสร้างแนวกำแพง Soil Cement


Column เสริมในคันดิน ซึง่ ให้ความแข็งแรงสูงกว่ามาตรฐานทีก่ ฎหมายกำหนดไว้ อีกทัง้ ได้มกี ารชำระ
ค่าเสียหาย แก้ไขและฟื้นฟูสภาพแม่น้ำลำโดมใหญ่รว่ มกับหน่วยงานภาครัฐ เพือ่ ให้ประชาชนในบริเวณ
ดังกล่าวสามารถใช้ชวี ติ ได้อย่างปกติสขุ หลังจากเหตุการณ์ในครัง้ นัน้ บริษทั ฯ ได้เพิม่ ความเข้มงวดใน
การเฝ้าระวัง และมีการตรวจสอบในทุกขัน้ ตอนของกระบวนการผลิต และบ่อบำบัดเพือ่ ไม่ให้เกิด
เหตุการณ์ดงั กล่าวซ้ำอีก

2.2.2.6 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน
ข้อมูลในส่วนนี้ประกอบไปด้วยข้อมูลและสถิตเิ กีย่ วกับภาคอุตสาหกรรมและภาคอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วเนื่องกัน
ของบริษทั ฯ โดยข้อมูลส่วนหนึ่งอ้างอิงมาจากฐานข้อมูลจากหน่วยงานภาครัฐ สิง่ พิมพ์เกีย่ วกับอุตสาหกรรม
และหน่วยงานวิจยั อิสระ โดยข้อมูลทัง้ หมดเป็ นข้อมูลซึง่ เผยแพร่ต่อสาธารณะ

ก. อุตสาหกรรมแป้ งมันสำปะหลังในตลาดโลก
ภาพรวมอุตสาหกรรม
แป้งมันสำปะหลังถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทัวโลกทั ่ ง้ เกรดอุตสาหกรรมและเกรดอาหาร โดยประเทศที่
ถือเป็ นผูบ้ ริโภคหลัก คือประเทศจีน ซึง่ ส่วนมากจะนำไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร โดยประเทศทีถ่ อื เป็ น
ผูผ้ ลิตแป้งมันสำปะหลังทีสำ ่ คัญ ได้แก่ ประเทศไนจีเรีย ซึง่ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 26.89 ของการผลิต
แป้งมันสำปะหลังทัวโลก ่
ทัง้ นี้ อุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลังธรรมดา (Native Starch) เป็ นอุตสาหกรรมทีม่ มี านาน และการ
บริโภคเริม่ คงที่ อีกทัง้ ยังเป็ นอุตสาหกรรมทีม่ ผี เู้ ล่นจำนวนมากในตลาด เนื่องจากกระบวนการผลิตทีง่ า่ ย
เน้นการขายในปริมาณมาก สินค้าเป็ นมาตรฐานเดียวกัน (Standardized Product) จึงมีการแข่งขันสูง
โดยโรงงานผลิตหรือประเทศทีไ่ ด้เปรียบเรือ่ งของต้นทุนการผลิตก็จะได้เปรียบในอุตสาหกรรมดังกล่าว
อย่างไรก็ตาม ในปจั จุบนั แนวโน้มการบริโภคแป้งมันสำปะหลังในรูปแบบอื่นๆ เริม่ เป็ นทีส่ นใจในกลุ่ม
ประเทศแถบอเมริกา และยุโรป หรือประเทศในแถบเอเชียทีม่ กำ ี ลังซือ้ สูง เช่น ญีป่ ุน่ และเกาหลีใต้ โดยมี
กลุ่มลูกค้าทีช่ ดั เจน หากแต่ยงั ขาดผูผ้ ลิตเพือ่ เติมเต็มความต้องการเหล่านัน้ โดยในอนาคต อุตสาหกรรม
แป้งมันสำปะหลัง มีแนวโน้มทีจ่ ะพัฒนาต่อยอดเป็ นผลิตภัณฑ์ทม่ี มี ลู ค่าสูงขึน้ คุณภาพดีขน้ึ ตอบสนอง
ความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่มได้มากขึน้ ซึง่ ถือเป็ นก้าวสำคัญของการเติบโตของอุตสาหกรรมนี้อกี
ครัง้ หนึ่ง
อย่างไรก็ตาม นอกจากสภาวะเติบโตของอุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลัง อุตสาหกรรมแป้งข้าวโพดถือ
เป็ นปจั จัยสำคัญทีจ่ ะบ่งชีท้ ศิ ทางของอุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลังได้ เนื่องจากแป้งมันสำปะหลังและ
แป้งข้าวโพดถือเป็ นสินค้าทดแทนกัน โดยหากราคาแป้งข้าวโพดเพิม่ สูงขึน้ ผูบ้ ริโภคจะหันมาบริโภค
แป้งมันสำปะหลังแทน

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 39


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ข. ภาวะอุตสาหกรรมในไทย
ภาพรวมอุตสาหกรรม
ตลาดแป้งมันสำปะหลังในประเทศไทยมีการเติบโตแบบธรรมชาติ (Organic Growth) มาอย่างยาวนาน
ซึง่ ผลิตภัณฑ์แป้งมันสำปะหลังส่วนใหญ่จะถูกนำไปแปรรูปในอุตสาหกรรมอาหาร ซึง่ เป็ นไปในลักษณะ
เดียวกันกับในประเทศจีน โดยในปี 2560 สัดส่วนการบริโภคแป้งมันสำปะหลังภายในประเทศ คิดเป็ น
ประมาณร้อยละ 26 ในปี 2560 ทีเ่ หลือจะส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศ โดยประเทศทีม่ กี ารส่งออก
ไปมากทีส่ ดุ คือประเทศจีน คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 52 ในปี 2560
สัดส่วนการขายภายในประเทศและการส่งออกแป้ งมันสำปะหลังของประเทศไทย ในปี 2555 -
2560

ทีม่ า : สมาคมแป้งมันสำปะหลังไทย
หมายเหตุ : ปริมาณการขายแป้งมันสำปะหลังคำนวณจากช่วงฤดูมนั

รายละเอียดการส่งออกแป้ งมันสำปะหลัง แยกรายประเทศ ในปี 2558 - 2560

2558 2559 2560

ปริ มาณ ร้อยละ ปริ มาณ ร้อยละ ปริ มาณ ร้อยละ


การส่งออก การส่งออก การส่งออก
ลูกค้า (ล้านตัน ยกเว้นอัตราร้อยละ)
จีน 1.32 45.8 1.56 48.5 1.59 52.1
อินโดนีเซีย 0.55 19.1 0.59 18.2 0.35 11.5
ไต้หวัน 0.28 9.5 0.29 8.9 0.31 10.2
มาเลเซีย 0.22 7.6 0.22 6.8 0.21 6.9
ญีป่ ุน่ 0.13 4.3 0.13 4.0 0.14 4.6
อื่นๆ 0.39 13.7 0.44 13.6 0.45 14.7
รวม 2.89 100.0 3.22 100.0 3.05 100.0
ทีม่ า : กรมศุลกากร

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 40


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ปจั จุบนั ผูผ้ ลิตแป้งมันสำปะหลังในประเทศมีจำนวนมากกว่า 100 ราย มีกำลังการผลิตติดตัง้ รวมทัง้ สิน้


10.9 ล้านตันต่อปี อัตราการผลิตเฉลีย่ ประมาณร้อยละ 53-60 ของกำลังการผลิตติดตัง้ ทัง้ หมด ในปี
2555 – 2559 ทัง้ นี้ ในปี 2560 ประเทศไทยมีผลผลิตแป้งมันสำปะหลังประมาณ 5.95 ล้านตันต่อปี คิด
เป็ นอัตราการผลิตประมาณร้อยละ 55 ของกำลังการผลิตติดตัง้ ทัง้ หมด

กำลังการผลิ ตติ ดตัง้ และปริ มาณการผลิ ตแป้ งมันสำปะหลังของประเทศไทย ในปี 2555 - 2560

ทีม่ า : สมาคมแป้งมันสำปะหลังไทย

ทีผ่ า่ นมาอุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลังธรรมดา (Native Starch) จะมีการแข่งขันกันสูง เนื่องจากผูเ้ ล่นที่


สามารถแข่งขันได้มกั จะเป็ นผูเ้ ล่นรายใหญ่ซง่ึ เน้นการขายปริมาณมาก จะมีความได้เปรียบในเรือ่ งของ
ต้นทุนการผลิตและการประหยัดจากขนาด ในปจั จุบนั อุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลังได้มกี ารพัฒนาไปสู่
ผลิตภัณฑ์ทม่ี มี ลู ค่าสูงขึน้ เช่น สาคู (Pearl) หรือแป้งดัดแปร (Modified Starch) เป็ นต้น และกำลังจะ
พัฒนาไปสูส่ นิ ค้าทีม่ มี ลู ค่าสูงขึน้ อีก เช่น สารให้ความหวาน ซึง่ เป็ นไปตามแนวโน้มของอุตสาหกรรมใน
ต่างประเทศ โดยแนวโน้มดังกล่าวจะส่งผลดีต่อผูเ้ ล่นในอุตสาหกรรม เนื่องจากจะไม่ได้แข่งขันกันทีร่ าคา
สินค้าเพียงอย่างเดียว แต่จะแข่งขันกันทีค่ ุณลักษณะพิเศษของสินค้า (Specialty Product) ความเข้าใจ
ตลาดและความต้องการของลูกค้า (Customized) ถือเป็ นโอกาสสำคัญสำหรับผูผ้ ลิตแป้งมันสำปะหลังใน
ไทยทีต่ อ้ งการจะขยายตลาด โดยเฉพาะผูเ้ ล่นรายเล็ก ทีม่ ศี กั ยภาพในการปรับตัวสูง จะสามารถต่อยอด
ธุรกิจ เพิม่ โอกาสในการแข่งขัน เพิม่ ความมันคงให้ ่ กบั รายได้ สามารถแข่งขันกับผูเ้ ล่นรายใหญ่และอยู่
รอดในอุตสาหกรรมนี้ได้อย่างยังยื ่ น

วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิ ต
วัตถุดบิ หลักทีใ่ ช้ในการผลิตแป้งมันสำปะหลัง คือ มันสำปะหลังสด โดยในปจั จุบนั ประเทศไทยมีพน้ื ที่
สำหรับการปลูกมันสำปะหลังประมาณ 8.5 ล้านไร่ คิดเป็ นผลผลิตมันสำปะหลังทัง้ ประเทศประมาณ 30
ล้านตันต่อปี (หรือประมาณ 3.5 ตันต่อไร่) โดยจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลังประมาณ
ร้อยละ 70 อย่างไรก็ตาม ในบางพืน้ ที่ เช่น จังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดใกล้เคียง เกษตรกรสามารถ
ทำผลผลิตมันสำปะหลังได้ถงึ 4 ตันต่อไร่ ขึน้ อยูก่ บั ชนิดของหัวมัน สภาพอากาศ และการดูแลรักษา
เป็ นต้น ทัง้ นี้ มันสำปะหลังสดส่วนหนึ่งจะถูกนำไปแปรรูปเป็ นมันสำปะหลังเส้น เพือ่ ใช้ในอุตสาหกรรมเอ
ทานอลหรือส่งออกเป็ นวัตถุดบิ ในการผลิตเอทานอลในประเทศจีน อีกส่วนหนึ่งจะถูกนำไปใช้ใน
อุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลัง โดยทีผ่ า่ นมา ประเทศไทยไม่เคยประสบปญั หาเรือ่ งการขาดแคลน
วัตถุดบิ สำหรับผลิตแป้งมันสำปะหลังแต่อย่างใด (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับราคาซือ้ ขายมัน
สำปะหลังสดได้ในข้อ 2.2.1.6 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ข้อย่อย ข. ภาวะอุตสาหกรรมในไทย
ของธุรกิจผลิตและจำหน่ายเอทานอล)

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 41


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ปริ มาณผลผลิ ตและการใช้มนั สำปะหลังในอุตสาหกรรมแป้ งมันของไทย ในปี 2555 - 2560

ทีม่ า : สมาคมแป้งมันสำปะหลังไทย
หมายเหตุ : คำนวณปริมาณมันสำปะหลังสำหรับใช้ในอุตสาหกรรมแป้งมัน อัตราส่วน 4 กิโลกรัมมัน ต่อ 1 กิโลกรัมแป้ง

โครงสร้างราคา
ราคาแป้งมันสำปะหลังทีข่ ายภายในประเทศ อ้างอิงราคาทีป่ ระกาศโดยสมาคมแป้งมันสำปะหลังไทย
(“TTSA”) ซึง่ ราคาดังกล่าวเป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับราคาส่งออก

ราคาขายภายในประเทศและราคาส่งออกของแป้ งมันสำปะหลัง ในปี 2558 - 2560

ทีม่ า : สมาคมแป้งมันสำปะหลังไทย

ราคาส่งออกของแป้งมันสำปะหลังทีผ่ ลิตในประเทศไทย จะอ้างอิงจากราคาแป้งข้าวโพดในประเทศจีน


เนื่องจากแป้งมันสำปะหลังทีผ่ ลิตในไทยกว่าร้อยละ 23 จะถูกส่งออกไปยังประเทศจีน โดยตลาดใหญ่ของ
การใช้แป้งในประเทศจีน คือ แป้งข้าวโพด อีกทัง้ แป้งข้าวโพดและแป้งมันสำปะหลังถือเป็ นสินค้า
ทดแทนกัน ดังนัน้ แป้งข้าวโพดจึงเป็ นตัวแปรสำคัญทีส่ ง่ ผลต่อราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลังของ
ประเทศไทยย่างมีนัยสำคัญ กล่าวคือ หากปริมาณสต๊อกข้าวโพดในประเทศจีนสูงขึน้ ผลผลิตแป้ง
ข้าวโพดมีปริมาณมากขึน้ ราคาแป้งข้าวโพดจะต่ำลง และส่งผลให้ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลังของ
ประเทศไทยต่ำลงด้วยเช่นกัน ในทางกลับกัน หากปริมาณสต๊อกข้าวโพดในประเทศจีนลดต่ำลง ผลผลิต
แป้งข้าวโพดมีปริมาณน้อยลง ราคาแป้งข้าวโพดจะเพิม่ สูงขึน้ และส่งผลให้ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง
ของประเทศไทยเพิม่ สูงขึน้ และแนวโน้มของปริมาณการส่งออกแป้งมันสำปะหลังก็จะเพิม่ ขึน้ ด้วยเช่นกัน

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 42


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ราคาแป้ งข้าวโพด แป้ งมันสำปะหลังในจีน และปริ มาณสต๊อกข้าวโพดในจีน ในปี 2557-2560

ทีม่ า : www.strach.sci.com

2.2.2.7 ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิ จแป้ งมันสำปะหลัง


(1) ใบอนุญาตประกอบกิ จการ
ในการดำเนินธุรกิจผลิตและจำหน่ายแป้งมันสำปะหลัง บริษทั ฯ จำเป็ นจะต้องได้รบั ใบอนุญาตทีเ่ กีย่ วข้อง
กับการประกอบธุรกิจดังกล่าว
ทัง้ นี้ ใบอนุญาตประกอบธุรกิจ และหนังสือรับรองฉบับปจั จุบนั ทีสำ
่ คัญของบริษทั ฯ สรุปได้ดงั นี้
หน่ วยงานผูอ้ อก
ใบอนุญาต รายละเอียดใบอนุญาต วันที่ออก วันที่สิ้นสุด
ใบอนุญาต
ใบอนุญาตประกอบ ผลิตแป้งมันสำปะหลัง (กำลัง 17 มกราคม 1 มกราคม กระทรวง
กิจการโรงงาน การผลิต 600 ตันแป้ง) 2551 2563 อุตสาหกรรม

หนังสือรับรอง รับรองว่าบริษทั ฯ ได้จดทะเบียน 11 มกราคม - กรมพัฒนาธุรกิจ


เป็ นนิตบิ ุคคล ตามประมวลแพ่ง 2560 การค้า กระทรวง
และพาณิชย์ ทะเบียนนิตบิ ุคคล พาณิชย์
เลขที่ 0345549000218

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 43


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

(2) การส่งเสริ มการลงทุน


บริษทั ฯ ได้รบั สิทธิประโยชน์จากการได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
ตามพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมได้ในข้อ 2.2.5 ทรัพย์สนิ
ทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจ)

(3) ข้อกำหนดเกี่ยวกับมาตรฐานการส่งออกแป้ งมันสำปะหลัง


ประกาศกระทรวงพาณิชย์ ว่าด้วยการส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร (ฉบับที่ 50) ซึง่ มีผลบังคับใช้
ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2560 กำหนดให้การส่งผลิตภัณฑ์มนั สำปะหลังออกไปนอกราชอาณาจักร จะเป็ น
ไปตามเงือ่ นไข ดังนี้

 การส่งผลิตภัณฑ์มนั สำปะหลังออกไปนอกราชอาณาจักร จะพิจารณาอนุญาตให้สง่ ออกได้โดย


ไม่จำกัดปริมาณ
 ให้ผทู้ ป่ี ระสงค์จะขอรับใบอนุญาตส่งผลิตภัณฑ์มนั สำปะหลังออกไปนอกราชอาณาจักรยืน่ คำขอ
พร้อมแนบหลักฐานแสดงการซือ้ ขายได้เฉพาะทีสำ ่ นักบริการการค้าต่างประเทศ

(4) ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณสมบัติของแป้ งมันสำปะหลังเกรดอุตสาหกรรม


เพือ่ เป็ นการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพสินค้าแป้งมันสำปะหลังของไทยให้มมี าตรฐาน เป็ นทีเ่ ชือ่ ถือและ
ยอมรับของผูซ้ อ้ื ในต่างประเทศ อันจะเอือ้ ประโยชน์ต่อการค้าและขยายตลาดแป้งมันสำปะหลังไทยให้
เป็ นทีแ่ พร่หลาย กรมการค้าต่าประเทศจึงกำหนดรายละเอียดเกีย่ วกับมาตรฐานแป้งมันสำปะหลังไทย
ไว้ดงั ต่อไปนี้

 แป้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 โดยน้ำหนัก

 ความชืน้ ไม่เกินร้อยละ 13 โดยน้ำหนัก


 เถ้า ไม่เกินร้อยละ 0.20 โดยน้ำหนัก
 เยือ่ ไม่เกิน 0.20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ต่อน้ำหนักแป้ง 50 กรัม
 ความเป็ นกรด-ด่าง ตัง้ แต่ 5.0 ถึง 7.0
 สีขาว
 ความเหนียว (Viscosity) ไม่น้อยกว่า 550 B.U. (โดยเครือ่ ง Brabender ทีค่ วามเข้มข้นแป้ง
ร้อยละ 6 จากตัวอย่างแป้งทีอ่ บแห้งแล้ว ปริมาณ 450 ลูกบาศก์เซนติเมตร โดยใช้ Standard
Spring 700 cmg.)

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 44


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

2.2.3 ธุรกิ จผลิ ตก๊าซชีวภาพและไฟฟ้ า

บริษทั ฯ ประกอบธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพและไฟฟ้า โดยใช้วตั ถุดบิ ซึง่ เป็ นผลพลอยได้ทไ่ี ด้จากกระบวนการ


ผลิตเอทานอลและแป้งมันสำปะหลัง ปจั จุบนั บริษทั ฯ มีโรงงานผลิตก๊าซชีวภาพทัง้ หมด 3 โรง ได้แก่ 1) โรง
ผลิตก๊าซชีวภาพระบบ MUR หรือ Methane Upflow Reactor (ดำเนินงานโดย UBE) 2) โรงผลิตก๊าซชีวภาพ
ระบบ UASB หรือ Upflow Anaerobic Sludge Blanket และโรงผลิตกระแสไฟฟ้าขนาด 1.9 เมกะวัตต์ (ดำเนิ
นงานโดย UBG) และ 3) โรงผลิตก๊าซชีวภาพระบบ CLBR หรือ Cover Lagoon Bio-Reactor และโรงผลิต
กระแสไฟฟ้าขนาด 5.6 เมกะวัตต์ (ดำเนินงานโดย NPE) ซึง่ เป็ นการนำผลพลอยได้กลับมาใช้เป็ นพลังงาน
หมุนเวียน เกือ้ หนุนธุรกิจหลักในการช่วยลดค่าใช้จา่ ยในกระบวนการผลิต และยังช่วยเพิม่ รายได้ให้กบั บริษทั ฯ
อีกทางหนึ่งด้วย
ปริมาณการผลิตก๊าซชีวภาพและกระแสไฟฟ้าของบริษทั ฯ ในปี 2558 – 2560 มีรายละเอียดดังนี้
2558 2559 2560
ก๊าซชีวภาพ (Nm )
3
9,051,739 26,641,221 38,720,970
กระแสไฟฟ้า (kWh) 236,383 381,042 373,397

ในอนาคต บริษทั ฯ มีแผนทีจ่ ะสร้างโรงงานผลิตก๊าซชีวภาพเพิม่ อีก 1 โครงการ พร้อมโรงผลิตกระแสไฟฟ้า


ขนาด 10 เมกะวัตต์ เพือ่ ใช้ภายในบริษทั ฯ หรือจำหน่ายให้กบั การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคขึน้ อยูก่ บั ความคุม้ ค่าของ
ผลตอบแทนทีบ่ ริษทั จะได้รบั โดยใช้วตั ถุดบิ หลัก คือ หญ้าเนเปี ยร์และกากหมัก ซึง่ เป็ นผลพลอยได้ทไ่ี ด้จาก
กระบวนการผลิตเอทานอล โดยมีเป้าหมายเพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานสำหรับกระบวนการผลิตเอทานอล
และแป้งมันสำปะหลัง ต่อยอดรายได้อย่างมันคง ่ ตลอดจนเพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันให้กบั ธุรกิจหลักของบริ
ษัทฯ ได้อย่างยังยื
่ น (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในส่วนที่ 2.2.6 โครงการในอนาคต)

2.2.3.1 ลักษณะผลิ ตภัณฑ์

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 45


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ก๊าซชีวภาพเกิดจากกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ ด้วยแบคทีเรียชนิดไม่อาศัยออกซิเจน (Anaerobic)


โดยในขณะทีย่ อ่ ยสลาย แบคทีเรียจะปล่อยก๊าซออกมา เรียกว่า ก๊าซชีวภาพ ซึง่ มีสว่ นประกอบหลักคือ ก๊าซ
มีเทน (CH4) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และอื่นๆ โดยมีคุณสมบัตติ ดิ ไฟได้ดี จึงเหมาะสำหรับนำมาใช้แทน
น้ำมันเชือ้ เพลิง ในปจั จุบนั วัตถุดบิ หลักทีใ่ ช้ในการผลิต คือ น้ำใช้จากกระบวนการผลิตเอทานอลและแป้งมัน
สำปะหลัง และกากมัน ซึง่ วัตถุดบิ แต่ละชนิดจะถูกส่งไปยังโรงผลิตก๊าซชีวภาพทีแ่ ตกต่างกัน โดยก๊าซชีวภาพ
ทีผ่ ลิตได้จะถูกนำกลับไปใช้แทนเชือ้ เพลิงสำหรับหม้อต้มน้ำ (Boiler) ในหอกลันของโรงงานผลิ
่ ตเอทานอล
และเป็ นเชือ้ เพลิงสำหรับเครือ่ งอบแป้งในโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลัง ก๊าซชีวภาพทีผ่ ลิตได้สว่ นทีเ่ หลือจะถูก
นำไปผลิตกระแสไฟฟ้า ปจั จุบนั บริษทั ฯ มีโรงผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพทัง้ หมด 2 โรง กำลังการผลิตรวม
7.5 เมกะวัตต์ แบ่งเป็ น 1) โรงไฟฟ้าขนาด 1.9 เมกะวัตต์ ซึง่ มีสญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟ้ากับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (
โปรดดูรายละเอียดในข้อ 2.2.3.5 สัญญาทีเ่ กีย่ วข้อง ของธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพ) และ 2) โรงไฟฟ้าขนาด 5.6
เมกะวัตต์ สำหรับผลิตกระแสไฟฟ้าไว้ใช้ภายในกลุ่มบริษทั

2.2.3.2 การจัดหาผลิ ตภัณฑ์


(1) โรงงานผลิ ตและกำลังการผลิ ตก๊าซชีวภาพ
รายละเอียด ระบบ MUR ระบบ UASB ระบบ CLBR
ผูดำ
้ เนินการสร้าง GWE บริษทั ปภพ จำกัด Advanced Energy
Technologies /
Renewables Plus
(บริษทั ผูอ้ อกแบบ)
วัตถุดบิ หลักในการผลิต น้ำทีผ่ า่ นกระบวนการผลิต น้ำทีผ่ า่ นกระบวนการผลิต น้ำทีผ่ า่ นกระบวนการผลิต
จากโรงงานเอทานอล จากโรงงานผลิตแป้งมัน และกากมันจากโรงงานผลิต
สำปะหลัง แป้งมันสำปะหลัง
กำลังการผลิตต่อวัน 98,000 ลบ.ม.ก๊าซชีวภาพ 36,000 ลบ.ม.ก๊าซชีวภาพ 78,000 ลบ.ม.ก๊าซชีวภาพ
หรือ 132,122 ลบ.ม.ก๊าซ
ชีวภาพ (หลังจากปรับปรุง)
ขนาดของบ่อบำบัด 60,000 ลบ.ม. 6,300 ลบ.ม. 129,000 ลบ.ม.

โรงงานผลิตก๊าซชีวภาพทัง้ 3 โรงของบริษทั ฯ ใช้หลักการเดียวกันทัง้ หมดในการผลิตก๊าซชีวภาพ โดยใช้


แบคทีเรียในการย่อยสลายวัตถุดบิ ซึง่ เป็ นสารอินทรีย์ ในสภาวะทีไ่ ม่มอี อกซิเจน โดยในกระบวนการย่อย
สลายจะเกิดก๊าซชีวภาพซึง่ จะนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป ทัง้ นี้ โรงงานผลิตก๊าซชีวภาพแต่ละระบบ สามารถ
รองรับวัตถุดบิ ได้แตกต่างกัน เนื่องจากความแตกต่างของระบบบำบัด ทำให้ลกั ษณะทางกายภาพของ
แบคทีเรียแตกต่างกัน ซึง่ ส่งผลให้ความสามารถในการย่อยสลายสารอินทรียม์ คี วามแตกต่างกัน และใช้
เวลาในการย่อยสลายไม่เท่ากัน
ในปจั จุบนั บริษทั ฯ ได้วา่ จ้างบริษทั GWE เพือ่ บริหารจัดการ บำรุงรักษา รวมถึงดูแลกระบวนการผลิต
ก๊าซชีวภาพให้กบั บริษทั ฯ เพือ่ ช่วยทำให้ระบบผลิตก๊าซชีวภาพมีเสถียรภาพมากขึน้ เนื่องจาก บริษทั
GWE เป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะทางเกีย่ วกับการสร้างและบริหารการดำเนินงานของโรงผลิตก๊าซชีวภาพ
มากว่า 30 ปี และเป็ นทีย่ อมรับในระดับสากล (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในส่วนที่ 2.2.5 ทรัพย์สนิ ที ่
ใช้ในการประกอบธุรกิจ)

(2) กระบวนการผลิ ตก๊าซชีวภาพ


ก. โรงผลิ ตก๊าซชีวภาพระบบ MUR
โรงผลิตก๊าซชีวภาพระบบ MUR มีวตั ถุดบิ หลักทีใ่ ช้ในการผลิตก๊าซชีวภาพ คือ น้ำใช้จาก
กระบวนการผลิตเอทานอล เนื่องจากเป็ นระบบทีถ่ ูกสร้างขึน้ พร้อมกับโรงงานผลิตเอทานอล จึงมี
การออกแบบมาเพือ่ รับน้ำทีผ่ า่ นกระบวนการผลิตจากโรงงานผลิตเอทานอลเพียงอย่างเดียว

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 46


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ขัน้ ตอนแรก น้ำใช้จากกระบวนการผลิตจะถูกส่งผ่านไปยังบ่อพักน้ำ (Pre-Treatment Tank) เพือ่


ทำการแยกกากออก และปรับสภาพน้ำให้เหมาะกับสภาพของแบคทีเรียในบ่อบำบัด ซึง่ จะช่วย
ทำให้แบคทีเรียย่อยสลายได้ดขี น้ึ จากนัน้ น้ำใช้จากกระบวนการผลิตจะถูกส่งไปยังบ่อบำบัดเพือ่ ให้
แบคทีเรียทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ ทำการย่อยสลายสารอินทรียใ์ นน้ำและปล่อยก๊าซชีวภาพ ใน
ขณะเดียวกัน น้ำดังกล่าวจะถูกบำบัดและไหลออกสูบ่ ่อผึง่ ซึง่ มีทงั ้ หมด 6 บ่อ เพือ่ บำบัดตาม
ธรรมชาติ โดยน้ำทีบำ ่ บัดแล้วจะถูกส่งต่อให้กบั เกษตรกรไว้ใช้ทำการเกษตร และใช้สำหรับปลูก
หญ้าเนเปียร์ของบริษทั ฯ ซึง่ ในปจั จุบนั บริษทั ฯ มีการขายหญ้าเนเปียร์ให้กบั โรงงานผลิตอาหาร
สัตว์ แต่ในอนาคต บริษทั ฯ มีแผนจะนำหญ้าเนเปียร์กลับมาใช้เป็ นวัตถุดบิ สำหรับโรงงานผลิตก๊าซ
ชีวภาพโครงการใหม่ (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในส่วนที่ 2.2.6 โครงการในอนาคต) โดย
กระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพของระบบ MUR จะใช้เวลาทัง้ สิน้ 3 วัน
ปจั จุบนั โรงงานผลิตก๊าซชีวภาพระบบ MUR มีกำลังการผลิต 98,000 Nm3 ต่อวัน ทัง้ นี้ ในอนาคต
บริษทั ฯ มีแผนทีจ่ ะเพิม่ อัตราการผลิตก๊าซชีวภาพ โดยปรับปรุงระบบแยกกากในขัน้ ตอนแรกให้มี
ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ โดยจะต้องสามารถแยกน้ำออกมาจากกากหมักให้ได้มากขึน้ เพือ่ จะได้มี
น้ำใช้จากกระบวนการผลิตสำหรับผลิตก๊าซชีวภาพเพิม่ มากขึน้ และเพิม่ ขนาดท่อรับน้ำทีผ่ า่ น
กระบวนการผลิตให้ใหญ่ขน้ึ เพือ่ เพิม่ ความเข้มข้นของน้ำใช้จากกระบวนการผลิตในระบบให้มาก
ขึน้ และสามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้มากขึน้

2558 2559 2560


กำลังการผลิตติดตัง้ ก๊าซชีวภาพ (ลบ.ม.ต่อปี ) 24,776,00 26,144,000 26,372,000
ปริมาณการผลิตก๊าซชีวภาพจริง (ลบ.ม.ต่อปี ) 5,828,850 8,026,378 19,943,851
อัตราการผลิตก๊าซชีวภาพจริง (%) 23.5 30.7 75.6

อุปกรณ์
บริษทั ฯ ได้ตดิ ตัง้ อุปกรณ์สำหรับโรงงานผลิตก๊าซชีวภาพโดยผูผ้ ลิตชัน้ นำในระดับสากล โดยมีราย
ละเอียดดังนี้
ประเทศเจ้าของ
อุปกรณ์ ผูผ้ ลิ ต ปี ที่ติดตัง้
เทคโนโลยี
ระบบบำบัดน้ำใช้จากกระบวนการผลิต GWE เบลเยีย่ ม 2556
ระบบแยกกาก GWE เบลเยีย่ ม 2559

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 47


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ข. โรงผลิ ตก๊าซชีวภาพระบบ UASB


โรงผลิตก๊าซชีวภาพระบบ UASB มีวตั ถุดบิ หลักทีใ่ ช้ในการผลิตก๊าซชีวภาพ คือ น้ำใช้จาก
กระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลัง เนื่องจากระบบนี้ถูกสร้างขึน้ มาพร้อมกับโรงงานผลิตแป้งมัน
สำปะหลังตัง้ แต่แรก จึงมีการออกแบบมาเพื่อรับน้ำทีผ่ า่ นกระบวนการผลิตจากโรงงานแป้งมัน
สำปะหลังเพียงอย่างเดียว
ขัน้ ตอนแรก น้ำใช้จากกระบวนการผลิตจะถูกส่งผ่านไปยังเครือ่ งกรองเพือ่ ดักกากแป้งมันออกจาก
น้ำ จากนัน้ จะถูกส่งไปยังบ่อบำบัดเพือ่ ให้แบคทีเรียทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ ทำหน้าทีย่ อ่ ยสลาย
สารอินทรียใ์ นน้ำและปล่อยก๊าซชีวภาพ ในขณะเดียวกัน น้ำดังกล่าวจะถูกบำบัด และไหลออกสูบ่ ่อ
ผึง่ ซึง่ มีทงั ้ หมด 4 บ่อ เพือ่ บำบัดตามธรรมชาติ จากนัน้ น้ำทีบำ
่ บัดแล้วจะถูกส่งต่อไปให้เกษตรกร
ไว้ใช้ทำการเกษตร และส่งไปใช้สำหรับปลูกหญ้าเนเปียร์ของบริษทั ฯ โดยกระบวนการผลิตก๊าซ
ชีวภาพของระบบ UASB จะใช้เวลาทัง้ หมด 2 วัน
อย่างไรก็ตาม ระบบ UASB มีความเสีย่ งทีแ่ บคทีเรียจะหลุดออกไปจากบ่อบำบัด ซึง่ ส่งผลให้ระบบ
ล่มและไม่สามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงได้ปรับปรุงระบบการทำงานโดยเพิม่
เครือ่ งดักจับแบคทีเรียไว้อกี ชัน้ หนึ่งบริเวณปากบ่อบำบัด เพือ่ ดักจับแบคทีเรียให้เข้าสูบ่ ่อบำบัด
และทำการย่อยสลายอินทรียต์ ่อไปได้ ทำให้ในปจั จุบนั ระบบ UASB สามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้
เป็ นอย่างดี แม้วา่ จะเป็ นระบบทีอ่ ่อนไหวทีส่ ดุ ก็ตาม
ปจั จุบนั โรงงานผลิตก๊าซชีวภาพระบบ UASB มีกำลังการผลิต 36,000 Nm3 ต่อวัน อย่างไรก็ดี ใน
ช่วง 1-2 ปีทผ่ี า่ นมา ระบบ UASB ดำเนินการผลิตก๊าซชีวภาพไม่มากนัก เนื่องจากโรงแป้งมัน
สำปะหลัง สายการผลิตที่ 2 อยูใ่ นระหว่างการปรับปรุงและพัฒนา ทำให้ไม่สามารถเดินเครือ่ งจักร
เพือ่ ผลิตแป้งมันสำปะหลังได้เต็มที่ ส่งผลให้มวี ตั ถุดบิ สำหรับการผลิตก๊าซชีวภาพในปริมาณทีไ่ ม่
มากนัก
2558 2559 2560
กำลังการผลิตติดตัง้ ก๊าซชีวภาพ (ลบ.ม.ต่อปี ) 11,484,000 8,568,000 11,412,000
ปริมาณการผลิตก๊าซชีวภาพจริง (ลบ.ม.ต่อปี ) 2,158,623 3,330,558 5,123,037
อัตราการผลิตก๊าซชีวภาพจริง (%) 18.8 38.9 44.9

อุปกรณ์
บริษทั ฯ ได้ตดิ ตัง้ อุปกรณ์สำหรับโรงงานผลิตก๊าซชีวภาพโดยผูผ้ ลิตชัน้ นำในระดับสากล โดยมีราย
ละเอียดดังนี้

อุปกรณ์ ผูผ้ ลิ ต ประเทศเจ้าของเทคโนโลยี ปี ที่ติดตัง้


ระบบบำบัดน้ำใช้จากกระบวนการผลิต ปภพ ไทย 2553
Carifier (ระบบตกตะกอน), Super Sep
GWE เบลเยีย่ ม 2559
(ระบบดักแบคทีเรีย)

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 48


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ค. โรงผลิ ตก๊าซชีวภาพระบบ CLBR


โรงผลิตก๊าซชีวภาพระบบ CLBR มีความสามารถในการรองรับวัตถุดบิ ได้หลายประเภท ทัง้ กาก
มันสำปะหลังและน้ำใช้จากกระบวนการผลิต เนื่องจากบ่อบำบัดมีขนาดใหญ่และกว้าง ดังนัน้
วัตถุดบิ หลักทีใ่ ช้ในการผลิตก๊าซชีวภาพ คือผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตทัง้ หมดทีเ่ หลือจาก
การนำไปใช้เป็ นวัตถุดบิ ของระบบ MUR และ UASB
ขัน้ ตอนแรก น้ำใช้จากกระบวนการผลิต และกากมันจะถูกส่งไปยังบ่อบำบัดเพือ่ ให้แบคทีเรียย่อย
สลายสารอินทรียใ์ นน้ำ และปล่อยก๊าซชีวภาพ ในขณะเดียวกัน น้ำดังกล่าวจะถูกบำบัด และไหล
ออกสูบ่ ่อผึง่ ซึง่ มีทงั ้ หมด 6 บ่อ เพือ่ บำบัดตามธรรมชาติ จากนัน้ น้ำทีบำ
่ บัดแล้วจะถูกส่งไปให้
เกษตรกรทำการเกษตร และใช้สำหรับปลูกหญ้าเนเปี ยร์ของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ เนื่องจากระบบ CLBR มี
การย่อยกากมันทำให้การย่อยสลายเป็ นไปได้ชา้ แต่แบคทีเรียทีม่ ลี กั ษณะดังกล่าวจะสามารถคงอยู่
ในบ่อบำบัดได้นานและย่อยสลายสารอินทรียท์ ม่ี คี วามแข็งได้ โดยกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพ
ของระบบ CLBR จะใช้เวลาทัง้ สิน้ ประมาณ 20 วัน
ปจั จุบนั โรงงานผลิตก๊าซชีวภาพระบบ CLBR มีกำลังการผลิต 78,000 Nm3 ต่อวัน ซึง่ ในปจั จุบนั
บริษทั ฯ อยูใ่ นระหว่างการปรับปรุงระบบ เพือ่ ให้ผลิตก๊าซชีวภาพได้ถงึ 132,122 Nm3

2558 2559 2560


กำลังการผลิตติดตัง้ ก๊าซชีวภาพ (ลบ.ม.ต่อปี ) 2,325,000 26,925,000 26,025,000
ปริมาณการผลิตก๊าซชีวภาพจริง (ลบ.ม.ต่อปี ) 1,064,266 15,284,285 13,654,083
อัตราการผลิตก๊าซชีวภาพจริง (%) 45.8 56.8 52.5

อุปกรณ์
บริษทั ฯ ได้ตดิ ตัง้ อุปกรณ์สำหรับโรงงานผลิตก๊าซชีวภาพโดยผูผ้ ลิตชัน้ นำในระดับสากล โดยมีราย
ละเอียดดังนี้
ประเทศเจ้าของ
อุปกรณ์ ผูผ้ ลิ ต ปี ที่ติดตัง้
เทคโนโลยี
ระบบบำบัดน้ำใช้จาก Advanced Energy ไทย 2558
กระบวนการผลิต Technologies / Renewables
Plus
ปรับปรุงระบบผสมกากมัน GWE เบลเยีย่ ม 2560
ถุงเก็บก๊าซชีวภาพ

(3) การควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย
UBG และ NPE ได้รบั การรับรองระบบบริหารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO9001:2015 สำหรับการผลิต
ก๊าซชีวภาพและกระแสไฟฟ้าเป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว
สำหรับนโยบายด้านความปลอดภัยในการทำงานสำหรับกลุ่มธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพและกระแสไฟฟ้า
บริษทั ฯ ได้มกี ารประกาศใช้นโยบายฉบับเดียวกันกับ UBE เพือ่ ให้มมี าตรการด้านความปลอดภัยเป็ นไป
ในทิศทางเดียวกัน (โปรดดูรายละเอียดได้ในข้อ 2.2.1.3 การตลาดและการแข่งขัน หัวข้อที่ (4) การ
ควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย ของธุรกิจผลิตและจำหน่ายเอทานอล)

2.2.3.3 ใบรับรองและรางวัล
บริษทั ฯ มีค วามตัง้ ใจทีจ่ ะปรับปรุงระบบการบริหารจัดการอย่า งต่อเนื่อ ง โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561
บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 49


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ใบรับรอง ออกโดย วันที่ออก วันที่สิ้นสุด


ใบรับรองระบบการบริหารงานคุณภาพตาม United Registrar of 28 พฤศจิกายน 2560 20 พฤศจิกายน 2563
มาตรฐาน ISO 9001:2015 (UBG) เลขที่ System Limited
47987/A/0001/UK/EN
ใบรับรองระบบการบริหารงานคุณภาพตาม SGS United Kingdom 17 กุมภาพันธ์ 2560 17 กุมภาพันธ์ 2563
มาตรฐาน ISO 9001:2015 (NPE) Ltd.
เลขที่ TH17/10035

นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้รบั รางวัลด้านต่างๆ ดังนี้

ปี 2556
 รางวัลธรรมาภิบาลสิง่ แวดล้อมดีเด่น ประจำปี 2556 จากอุตสาหกรรมจังหวัดอุบลราชธานี
ปี 2557
 ได้รบั การรับรองมาตรฐานการป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติดในสถานประกอบการประจำปี
2557 จากผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุบลราชธานี
ปี 2558
 รางวัลเกียรติบตั ร โครงการธรรมาภิบาลสิง่ แวดล้อม กระทรวงอุตสาหกรรม
 รางวัลประกาศเกียรติคุณ โครงการสถานประกอบการความปลอดภัยเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากกระทรวงแรงงาน

2.2.3.4 สิ่ งแวดล้อม


บริษทั ฯ ให้ความสำคัญกับการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม จึงได้ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้อง
อย่างเคร่งครัด ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้
ก. กฎหมายและกฎระเบียบสิ่ งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องซึ่งใช้บงั คับกับธุรกิ จและการดำเนิ นงานของบริ
ษัทฯ
การดำเนินธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพและกระแสไฟฟ้าของบริษทั ฯ อยูภ่ ายใต้บงั คับของกฎหมายและกฎ
เกณฑ์วา่ ด้วยสิง่ แวดล้อมหลายฉบับ ซึง่ เป็ นไปในทิศทางเดียวกับธุรกิจผลิตและจำหน่ายเอทานอล (สาม
ารถศึกษารายละเอียดเพิม่ เติมได้ในข้อ 2.2.1.5 สิง่ แวดล้อม ของธุรกิจผลิตและจำหน่ายเอทานอล)
อย่างไรก็ตาม ตามกฎเกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพและไฟฟ้า บริษทั ฯ จะต้องจัดทำ
รายงานเกีย่ วกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิง่ แวดล้อมและความ
ปลอดภัย (ESA) และรายงานการรับฟงั ความคิดเห็นของประชาชนโดยรอบ (Public Hearing) ก่อน
ดำเนินโครงการ โดยไม่จำเป็ นจะต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม (EIA) เนื่องจาก
กำลังการผลิตไฟฟ้าของบริษทั ฯ ไม่ถงึ 10 เมกะวัตต์

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 50


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

ข. มาตรการคุ้มครองสิ่ งแวดล้อมและการควบคุมมลพิ ษ
โรงงานผลิตก๊าซชีวภาพและกระแสไฟฟ้าของบริษทั ฯ เกิดจากการนำผลพลอยได้ของโรงงานผลิตเอทา
นอลและแป้งมันสำปะหลังมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยจะได้ผลิตภัณฑ์ 3 ชนิด ได้แก่ ก๊าซชีวภาพ กระแส
ไฟฟ้า และน้ำทีผ่ า่ นการบำบัดแล้ว ทัง้ นี้ ก๊าซชีวภาพและกระแสไฟฟ้าจะถูกนำไปใช้เป็ นพลังงาน
หมุนเวียนภายในบริษทั ฯ สำหรับน้ำทีผ่ า่ นการบำบัดแล้วนัน้ บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะนำออกแจกจ่ายให้
แก่เกษตรกรสำหรับทำการเพาะปลูก หรือส่งไปปลูกหญ้าเนเปียร์ของบริษทั ฯ โดยไม่ได้มกี ารปล่อยลงสู่
แหล่งน้ำสาธารณะแต่อย่างใด จะเห็นได้วา่ บริษทั ฯ ให้ความสำคัญอย่างยิง่ กับการรักษาสิง่ แวดล้อม โดย
ได้มกี ารวางแผนอย่างเป็ นระบบ ทัง้ การบริหารจัดการผลพลอยได้จากโรงงานผลิต และการนำมาใช้ให้
เกิดประโยชน์สงู สุด

2.2.3.5 สัญญาที่เกี่ยวข้อง
สัญญาทีเ่ กีย่ วข้องกับการประกอบธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพและกระแสไฟฟ้า ได้แก่ สัญญาว่าจ้าง บริษทั GWE
ในการดูแล บำรุงรักษา และซ่อมแซมระบบผลิตก๊าซชีวภาพ สัญญาสำรองไฟฟ้ากับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค
และสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้ากับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค
ั ญาซือ้ ขายไฟฟ้ากับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ซึง่ มีสาระสำคัญดังนี้
ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษทั ฯ มีสญ
เลขทีส่ ญ
ั ญา VSPP-PEA-061/2553
ประเภทสัญญา Non-firm (ไม่กำหนดปริมาณรับซือ้ ขัน้ ต่ำ)
วันทีทำ
่ สัญญา 24 มกราคม 2554
ผูข้ าย UBG
ผูซ้ อ้ื การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค
วันเริม่ จำหน่ายไฟฟ้า 15 มีนาคม 2554
ระยะเวลา 5 ปี และต่อเนื่องครัง้ ละ 5 ปี โดยอัตโนมัติ
กำลังไฟฟ้า สูงสุด 2 เมกะวัตต์ ทีร่ ะดับแรงดัน 22,000 โวลท์
ส่วนเพิม่ ราคารับซือ้ (Adder) 0.30 บาทต่อหน่วย จนถึงวันที่ 14 มีนาคม 2561

2.2.3.6
2.2.3.6 ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิ จผลิ ตก๊าซชีวภาพและกระแสไฟฟ้ า
(1) ใบอนุญาตในการประกอบกิ จการ
ในการดำเนินธุรกิจผลิตก๊าซชีวภาพและกระแสไฟฟ้า บริษทั ฯ จำเป็ นจะต้องได้รบั ใบอนุญาตกับการ
ประกอบธุรกิจดังกล่าว ทัง้ นี้ ใบอนุญาตและหนังสือรับรองฉบับปจั จุบนั ทีสำ
่ คัญของบริษทั ฯ สรุปได้ดงั นี้
หน่ วยงานผูอ้ อก
ใบอนุญาต รายละเอียดใบอนุญาต วันที่ออก วันที่สิ้นสุด
ใบอนุญาต
ใบอนุญาตประกอบ ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ 21 มกราคม 1 มกราคม กระทรวง
กิจการโรงงาน (UBG) กำลังการผลิต 1.9 เมกะวัตต์ 2554 2564 อุตสาหกรรม

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 51


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

หน่ วยงานผูอ้ อก
ใบอนุญาต รายละเอียดใบอนุญาต วันที่ออก วันที่สิ้นสุด
ใบอนุญาต
ใบอนุญาตประกอบ ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิง 4 พฤศจิกายน 1 มกราคม กระทรวง
กิจการโรงงาน (NPE) ก๊าซชีวภาพ กำลังการผลิต 5.652 2558 2564 อุตสาหกรรม
เมกะวัตต์

หนังสือรับรอง (UBG) รับรองว่าได้จดทะเบียนเป็ น 11 มกราคม - กรมพัฒนาธุรกิจ


นิตบิ ุคคล ตามประมวลกฎหมาย 2560 การค้า กระทรวง
แพ่งและพาณิชย์ ทะเบียนนิตบิ ุคคล พาณิชย์
เลขที่ 0345550000536

หนังสือรับรอง (NPE) รับรองว่าได้จดทะเบียนเป็ น 11 มกราคม - กรมพัฒนาธุรกิจ


นิตบิ ุคคล ตามประมวลกฎหมาย 2560 การค้า กระทรวง
แพ่งและพาณิชย์ ทะเบียนนิตบิ ุคคล พาณิชย์
เลขที่ 0105554129934

(2) การส่งเสริ มการลงทุน


บริษทั ฯ ได้รบั สิทธิประโยชน์จากการได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
ตามพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในส่วนที่ 2.2.5
ทรัพย์สนิ ทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจ)

2.2.3.7 การส่งเสริ มจากภาครัฐ


สำนักนโยบายและแผนพลังงาน ได้จดั ทำโครงการส่งเสริมเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพ สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม
เพือ่ ช่วยเหลือผูป้ ระกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม ในการตัดสินใจลงทุนก่อสร้างระบบผลิตก๊าซชีวภาพจาก
น้ำทีผ่ า่ นกระบวนการผลิต และนำก๊าซชีวภาพทีผ่ ลิตได้มาใช้เป็ นพลังงานทดแทน โดยใช้เงินจากกองทุนฯ มา
ช่วยลดภาระความเสีย่ งในการลงทุนเพราะเป็ นเทคโนโลยีใหม่ ทีย่ งั ไม่มกี ารใช้เป็ นทีแ่ พร่หลายในประเทศไทย
โดยโครงการผลิตก๊าซชีวภาพของบริษทั ฯ เป็ นหนึ่งในโครงการทีไ่ ด้รบั เงิน สนับสนุนดังกล่าวในการก่อสร้าง
ระบบผลิตก๊าซชีวภาพ ซึง่ รายละเอียดของสัญญามีดงั ต่อไปนี้

สัญญารับเงิ นสนับสนุนจากกองทุนเพื่อส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน โครงการส่งเสริ มเทคโนโลยีกา๊ ซ


ชีวภาพสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม กับบริ ษทั เอ็นพี ไบโอ เอนเนอร์ยี่ จำกัด

ผูไ้ ด้รบั เงินสนับสนุ น บริษทั เอ็นพี ไบโอ เอนเนอร์ย่ี จำกัด


ประเภทอุตสาหกรรม โรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลัง
ระยะเวลาของสัญญา 4 เมษายน 2555 – 3 เมษายน 2557
ขอบเขตการดำเนินงาน จัดสร้างระบบผลิตก๊าซชีวภาพด้วยเทคโนโลยี ระบบ UASB เพือ่
บำบัดน้ำใช้จากกระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลัง
การใช้พลังงานทดแทน จะต้องนำก๊าซชีวภาพทีผ่ ลิตได้ไปใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า 19,400
ลูกบาศก์เมตรมาตรฐาน/วัน โดยอ้างอิงปริมาณพลังงานตามสัดส่วน
%CH4 ในก๊าซชีวภาพที่ 60%

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 52


บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด (มหาชน)

วงเงินสนับสนุน ไม่เกิน 10 ล้านบาท แบ่งจ่ายงวดละ


1) จ่ายร้อยละ 30 ของเงินสนับสนุ นทัง้ หมด
2) จ่ายร้อยละ 75 ของเงินสนับสนุ นทีเ่ หลือจากข้อ 1)
3) จ่ายร้อยละ 25 ของเงินสนับสนุ นทีเ่ หลือจากข้อ 1)
ระยะเวลาโครงการ 2 ปีนบั ตัง้ แต่วนั ทีล่ งนามในสัญญารับเงินสนับสนุน

ผูไ้ ด้รบั เงินสนับสนุ น บริษทั เอ็นพี ไบโอ เอนเนอร์ย่ี จำกัด


ประเภทอุตสาหกรรม ESCO
ระยะเวลาของสัญญา 4 เมษายน 2555 – 3 เมษายน 2557
ขอบเขตการดำเนินงาน จัดสร้างระบบผลิตก๊าซชีวภาพด้วยเทคโนโลยี ระบบ ABR เพือ่ บำบัด
น้ำใช้จากกระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลัง
การใช้พลังงานทดแทน ก๊าซชีวภาพทีผ่ ลิตได้จะถูกนำไปป้อนเครือ่ งยนต์ก๊าซเพือ่ ผลิตไฟฟ้า
ขนาด 4 เมกะวัตต์ ซึง่ จะสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ปริมาณ
32,085,900 กิโลวัตต์ ต่อปี
วงเงินสนับสนุน ไม่เกิน 10 ล้านบาท แบ่งจ่ายงวดละ
1) จ่ายร้อยละ 30 ของเงินสนับสนุ นทัง้ หมด
2) จ่ายร้อยละ 75 ของเงินสนับสนุ นทีเ่ หลือจากข้อ 1)
3) จ่ายร้อยละ 25 ของเงินสนับสนุ นทีเ่ หลือจากข้อ 1)
ระยะเวลาโครงการ 2 ปีนบั ตัง้ แต่วนั ทีล่ งนามในสัญญารับเงินสนับสนุน

ส่วนที่ 2.2.2 หน้า 53

You might also like