บิดาแห่งรัฐประศาสนศาสตร์

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

บิดาแห่ งรัฐประศาสนศาสตร์ เจ้ าของบทความอันเลือ่ งชื่อ

"The Study of Administration"


ข้ าพเจ้ าเชื่อ วูดโรว์ วิลสั น การบริหารควรแยกออกจากการเมือง (แต่ เมื่อประชาชนอย่างข้ าพเจ้ าต้ องเข้ มแข็ง)

ขออธิบายถึงบุคคลทีอ่ ้างถึง
Woodrow Wilson ประธานาธิบดี คนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกา
เจ้ าของรางวัลโนเบลสาขาสั นติภาพ ปี ค.ศ. 1919
บิดาแห่ งรัฐประศาสนศาสตร์ เจ้ าของบทความอันเลือ่ งชื่อ "The Study of Administration"
เขียนไว้ ในปี ค.ศ. 1887 โดยมีประโยคเด็ดทีโ่ ดนใจผู้เขียนว่ า
" We are in no danger of using them in a foreign way. We borrowed rice but we do not e
at it with chopsticks. We borrowed our whole political language from England but We le
ave the words........................ out of it..."
(ขอเชิญเพื่อนๆ ถอดใจความได้ตอบอัธยาศัย รับรองไม่ยากเหมือนแปลคลิปเสี ยงประเด็นร้อนๆ)
วูดโรว์ วิลสัน บอกว่า การบริ หารควรแยกออกจากการเมือง แสดงว่า วูดโรว์ มองเห็นอะไรใน
การเมือง ที่จะมามีส่วนให้การบริ หารดูสับสน เรื่ องนี้มีมานานกว่า 120 ปี แล้ว
ปัจจุบนั นี้ แม้จะมีแนวการบริ หารภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) NPM เข้ามา
จัดการระบบบริ หารราชการ มีแผนยุทธศาสตร์รองรับ มีการปฏิรูประบบราชการตั้งแต่
ปี พ.ศ. 2540 จนถึงปัจจุบนั แผนยุทธศาสตร์การบริ หารราชการ
ไทย ของ กพร. ปี พศ. 2551 - 2555 โดยใช้หลักธรรมาภิบาล ผูเ้ ขียนในฐานะข้าราชการตัว
เล็กๆ คนหนึ่ง ยังมองว่ามันพัฒนาไปเฉพาะแผนปี ที่ต้ งั ไว้ แต่ตวั ของข้าราชการนั้นยังกระดิกไป
ไหนไม่ออก การเมืองยังแทรกอยูข่ มุ ขน

แม้จะมีการกล่าวว่า "พรรคอะไรทีใหญ่ที่สุดในประเทศไทย" และมีคาเฉลยเล่นๆ คือ


"พรรคข้าราชการไทย" ดูจะไม่เกินความเป็ นจริ งเลย
ข้าราชการไทยที่ยงั ต้องอิงแอบกับนักการเมืองเป็ นหลัก แต่ทาอย่างไรได้ ในเมื่ออานาจในการ
ตัดสิ นใจกาหนดนโยบาย อานาจในการโยกย้าย ก็คือฝ่ ายบริ หารบ้านเมือง นัน่ คือ รัฐบาล รัฐบาล
ที่มีนกั การเมืองเป็ นองค์ประกอบทีสาคัญ นักการเมืองที่มีสิทธิช้ ีชดั อะไรได้หลายประการ
แต่ถา้ หากแนวคิดของวูดโรว์ วิลสัน ที่บอกว่า การบริ หารควรแยกจากการเมือง มาใช้ในยุค
ปัจจุบนั มันคงจะเป็ นเรื่ องที่ซบั ซ้อนพอสมควร

หากข้าราชการมีอานาจเกินไป โดยที่ไม่มีฝ่ายการเมืองมาคานไว้ ผลลัพธ์คงตกกับ ประชาชนตา


ดาๆอย่างแน่นอน เหมือนกับทุกวันนี้ที่ฝ่ายการเมืองมีอานาจอยู่ ประชาชนยังต้องเป็ นผูร้ ับผล
อะไรหลายอย่าง โดยที่ไม่ได้ร้องขอ ข้าราชการก็ไม่เว้นเช่นกัน แต่ขา้ ราชการยังมีโอกาสที่
ดีกว่า หากตามน้ าใครมาก็รับ ยุคไหนๆฉันก็รุ่ง ไม่แคร์สายตาใคร นี่กเ็ ป็ นอีกประเภทหนึ่ง

สาหรับข้ าราชการทีด่ ี ก็คงเป็ นแบบ "คนดีทตี่ ดิ กับ อยู่ในระบบเลว"


ดังนั้น การบริ หารควรแยกจากการเมืองได้ ตามที่วดู โรว์ วิลสัน บอกไว้ คงจะต้องให้ภาค
ประชาชนเข้มแข็ง สามารถตรวจสอบได้ท้ งั ฝ่ ายบริ หารพรรคข้าราชการ หรื อ ฝ่ ายการเมือง
พรรคผูแ้ ทน
แล้ววิธีการล่ะ คงจะมีคนถามในใจกันมากมาย ผูเ้ ขียนยังจนด้วยเกล้า แต่คิดไว้วา่ คงจะต้องมีสัก
วัน แต่มนั เริ่ มง่ายๆ ที่ตวั ของเราก่อนเป็ นอันดับแรก

You might also like