Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 32

Temperature Mapping of Storage Area

Kittakorn B. (Korn)
31 July 2021

1
Regulatory requirement
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขการกระจายยาแผนปั จจุบนั พ.ศ.2564
3.3.2 ต้องมีการศึกษาและจัดทําแผนผังอุณหภูม ิ (Temperature mapping) ของบริเวณจัดเก็บผลิตภัณฑ์ยาก่อนการใช้งาน
ภายใต้สภาวะทีเ่ ป็ นตัวแทนของสภาวะการจัดเก็บจริง
ทัง้ นี้อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการตรวจวัดหรือติดตามอุณหภูม ิ ต้องมีการติดตัง้ ในตําแหน่งทีเ่ ป็ นจุดวิกฤต ตามผลการศึกษา
และจัดทําแผนผังอุณหภูม ิ และเมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงอย่างมีนยั สําคัญในบริเวณจัดเก็บต้องทําการประเมินความเสีย่ งและศึกษา
แผนผังอุณหภูมขิ องบริเวณจัดเก็บผลิตภัณฑ์ยานัน้ ซํ้า
สําหรับอาคารสถานทีข่ นาดเล็ก (พืน้ ทีป่ ระมาณ 2-3 ตารางเมตร) ทีม่ กี ารควบคุมสภาวะทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ ง โดยใช้เครือ่ ง
ทําความร้อนหรือเครือ่ งปรับอากาศ ต้องมีการประเมินความเสีย่ งและตรวจวัดหรือติดตามอุณหภูมเิ ช่นกัน
Main Reference
Glossary

WHO TRS, No. 863, 1996 Annex 5: Guidelines for stability testing
of pharmaceutical products containing well established drug
substances in conventional dosage forms
Climatic zones
The four zones into which the world is divided based on the
prevailing annual climatic conditions (see section 2).
Temperature Mapping
Temperature Mapping
• จัดทําแผนผังอุณหภูมขิ องบริเวณจัดเก็บโดยไม่มผี ลิตภัณฑ์
(empty load) หรือสภาพจัดเก็บปกติ (normal load)
แนะนําสภาพจัดเก็บเต็มที่ (full load) ด้วยบรรจุภณ
ั ฑ์เปล่า
• จัดทําแผนผัง ฯ ในเหตุการณ์ผดิ ปกติบางอย่าง เช่น การเปิ ด
ประตูคา้ งไว้ การเกิดไฟฟ้ าดับ
• จัดทําแผนผัง ฯ ซํ้าเป็ นระยะ
 ประเมินผลการติดตามอุณหภูมแิ ละความชืน้ ทีท่ าํ อย่างต่อเนื่อง
 เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงอย่างมีนยั สําคัญ
 ผลประเมินการติดตามอุณหภูมแิ ละความชืน้ มีความผันผวนทีไ่ ม่
ทราบสาเหตุDocument mapping exercise
• จัดเก็บผลการศึกษาไว้เป็ นเอกสาร
 แผนการศึกษา (Mapping protocol)
 รายงานผลการศึกษา (Mapping report)
 บันทึกต่างๆทีเ่ กิดขึน้ เช่น การอบรม การสอบเทียบ
Temperature Mapping

• ขัน้ ตอนการศึกษาและจัดทําแผนผังอุณหภูมขิ องบริเวณจัดเก็บ


ผลิตภัณฑ์ แบ่งเป็ น
 จัดเตรียมแผนการศึกษา (Mapping protocol)
 ดําเนินการศึกษา (Mapping exercise)
 จัดเตรียมรายงานผลการศึกษา (Mapping report)
 ดําเนินการตามข้อแนะนําจากผลการศึกษา (Implement
the recommendation)
• การศึกษาแผนผังอุณหภูมทิ าํ ให้ทราบความสมํ่าเสมอของ
อุณหภูม ิ และจุดวิกฤติ (hot spot and cold spot)
Material and equipment
• EDLM จํานวนทีเ่ พียงพอ และเหมาะสมดังนี้
 คุณสมบัตทิ างเทคนิคทีเ่ หมาะกับลักษณะการศึกษา
 บันทึกค่าอย่างต่อเนื่องและเชือ่ ถือได้
 พิสยั การวัดทีเ่ หมาะสมกับการศึกษา
 เลือกกําหนดระยะเวลาทําการบันทึกได้ เช่น ทุก 15 นาที
 มีหน่วยความทรงจําพอทีจ่ ะทําการวัดได้ตลอกการศึกษา
 ผ่านการสอบเทียบสามจุด และมีความคลามเคลื่อนแต่ละจุด
ไม่เกิน + 0.5 องศาเซลเซียส
 มีซอฟแวร์คาํ นวณทีเ่ ป็ นไปตามข้อกําหนดทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น
21CFR part11
Step 1 of 4 : Mapping Protocol
 จัดเตรียมแผนการศึกษา (Mapping protocol)
 ต้องอนุ มตั แิ ผน ฯ ก่อนเริม่ ดําเนินการ
 หากเปลีย่ นแปลงหลังการอนุ มตั ติ อ้ งมีประวัตกิ ารแก้ไข
Step 1 of 4 : Mapping Protocol
 จัดเตรียมแผนการศึกษา (Mapping protocol)
 นิยามศัพท์หรือคําย่อ
 บรรยายบริเวณทีต่ อ้ งทําการศึกษา และเหตุผลทีต่ อ้ ง
ทําการศึกษา เช่น เพือ่ ให้มนใจได้
ั่ วา่ ผลิตภัณฑ์ทจ่ี ดั เก็บ
ในบริเวณดังกล่าวได้รบั การจัดเก็บตามสภาวะในฉลาก
Step 1 of 4 : Mapping Protocol
 จัดเตรียมแผนการศึกษา (Mapping protocol)
 ขอบเขตของการศึกษา เช่น ความแปรปรวนของอุณหภูม ิ การ
กําหนดบริเวณทีส่ ามารถใช้จดั เก็บได้
 ถ้ามีความแปรปรวนของฤดูกาล ต้องทําการศึกษาในฤดูกาลทีร่ อ้ น
สุด และเย็นสุด
 ระบบทําความเย็นทีไ่ ม่มผี ลจากอุณหภูมภิ ายนอก เช่น Cold room,
Freezer room ก็ไม่ตอ้ งจัดทําการศึกษาในหลายฤดู
Step 1 of 4 : Mapping Protocol
จัดเตรียมแผนการศึกษา (Mapping protocol)
 กําหนดวัตถุประสงค์การศึกษา

 ความแปรปรวนของอุณหภูมภิ ายในบริเวณจัดเก็บ
 ความแปรปรวนของอุณหภูมขิ องแต่ละตําแหน่ง
 ทราบถึงอุณหภูมสิ งู และตํ่า
 ระบุปัญหาในการไหลของอากาศ
 กําหนดบริเวณทีส่ ามารถจัดเก็บผลิตภัณฑ์ได้ และไม่ได้
 กําหนดตําแหน่งในการจัดวางเครือ่ งมือติดตามอุณหภูม ิ
 กําหนดคําแนะนําในการแก้ไขปั ญหาทีพ่ บ
Step 1 of 4 : Mapping Protocol
 จัดเตรียมแผนการศึกษา (Mapping protocol)
Complete prior protocol approval
1) Select EDLMs
2) Designate the mapping team
3) Survey the site
4) Establish acceptance criteria
5) Determine EDLM locations
Detailed in methodology
6) Record EDLMs
7) Label and program EDLMs
8) Fix EDLMs in position
9) Conduct the mapping exercise
10) Download and consolidate the data
Methodology

 Floor plan and HVAC plan is required.

 Acceptance should align with scope.


Methodology

 แนะนําติด EDLM ทุก 5-10 เมตรตามแนวกว้าง และแนวยาว (พืน้ ทีข่ นาด


ใหญ่ตดิ ทุก 20-30 เมตร)
 แนะนําติด EDLM 3 ระดับ ถ้าความสูงเพดานไม่ถงึ 3.6 เมตร (หากสูงกว่า
นัน้ ให้ตดิ ระดับกลางเพิม่ ขึน้ )
 กําหนดรหัสของ EDLM แต่ละตําแหน่งของแผนผัง เพือ่ ให้ตรงกับอุปกรณ์
Methodology
Methodology
Methodology

Example of DL-ID number


LL-XXX ; LL = Level (FL = Floor, MD = Middle, TP = top)
XXX = Location in vertical plane
Methodology
 ดําเนินการศึกษาตามระยะเวลาทีเ่ หมาะสม
 คลังสินค้าและพืน้ ทีจ่ ดั เก็บทีไ่ ม่ควบคุมอุณหภูมคิ วรศึกษา
อย่างน้อย 7 วันต่อเนื่องให้ครอบคลุมวันทํางาน และ
วันหยุด
 พืน้ ทีซ่ ง่ึ ไม่เกีย่ วข้องกับอุณหภูมภิ ายนอก เช่น Freezer,
Cold room ควรศึกษาเป็ นระยะเวลาอย่างน้อยในระหว่าง
24 ถึง 72 ชัวโมง ่ (หากระบบทําความเย็นเป็ นแบบทีม่ ี
หลายหน่วยและตัดสลับการทํางาน ก็ตอ้ งศึกษาใน
ช่วงเวลาทีแ่ ต่ละหน่วยทํางานให้ครบด้วย)
Step 1 of 4 : Mapping Protocol
จัดเตรียมแผนการศึกษา (Mapping protocol)
 จัดเตรียมรูปแบบรายงานผลการศึกษาไว้ รวมถึง
เอกสารแนบทีจ่ าํ เป็ นต่างๆ
Step 2 of 4 : Mapping exercise
ดําเนินการศึกษา (Mapping exercise)
 ดําเนินการตามแผน ฯ
 แจ้งพนักงานทีเ่ กีย่ วข้องให้ทราบว่าดําเนินการศึกษาอยู่ เพือ่ เลีย่ ง
การขัดขวางการทํางานของ EDLMs
(กรณีท่ี EDLM สามารถส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายได้ แนะนําให้ดงึ ข้อมูล
ออกมาทํา Preliminary analysis เป็ นระยะ เพือ่ สืบสวนความ
เบีย่ งเบนไปจากแผนฯได้ทนั ที)
 หากไม่มรี ะบบบันทึกเวลาเปิ ดปิ ดประตูในระหว่างดําเนินการศึกษา
จะต้องมีแบบบันทึกการเปิ ดปิ ดประตู และรายชือ่ ผูเ้ ข้าทํางานใน
บริเวณทีศ่ กึ ษาด้วย
(สามารถใช้กล้องวงจรปิ ดได้เช่นกัน)
 การเกิดไฟฟ้ าดับจะต้องมีการบันทึกช่วงเวลาทีไ่ ม่มไี ฟฟ้ าด้วย
เช่นกัน
Step 3 of 4 : Mapping report
จัดเตรียมรายงานผลการศึกษา (Mapping report)
 ใช้รปู แบบตามทีก่ าํ หนดไว้ใน Protocol มาลงข้อมูล และวิเคราะห์ผล
ของการศึกษาแผนผังอุณหภูม ิ
 หัวข้อต่อไปนี้จะแสดงโครงร่างของกระบวนการวิเคราะห์ขอ้ มูลเพือ่
ดําเนินการเขียนรายงาน
1) Preliminary analysis
2) Minimum and maximum temperatures and hot and cold spots
3) Mean temperatures
4) Interpreting the results and making recommendations
5) Report auditing
Preliminary analysis
ประเมินความคงตัวของอุณหภูมโิ ดยรวม และระบุความแปรปรวน เพือ่
เทียบผลการวัดอุณหภูมกิ บั เกณฑ์ยอมรับในแผน ฯ เช่น
 การควบคุมอุณหภูมภิ ายในเกณฑ์ยอมรับ
 พิสยั ของอุณหภูมทิ ผ่ี นั ผวน ของแต่ละตําแหน่งวัด ของระนาบดิง่ ของ
ระนาบตัง้ ฉาก ของจุดทีใ่ กล้และไกลทีส่ ดุ จากแหล่งความร้อน หรือ
ความเย็น
Step 3 of 4 : Mapping report

Minimum and maximum temperatures and hot and cold spots


 ความฝั นผวนของอุณหภูมจิ ะระบุได้ถงึ จุดทีพ่ บอุณหภูมติ ่าํ ทีส่ ดุ (minimum
และ จุดทีพ่ บอุณหภูมสิ งู ทีส่ ดุ (maximum) ในบริเวณจัดเก็บ
 Cold spot คือ จุดทีพ่ บอุณหภูมติ ่าํ ทีส่ ดุ และยังคงผ่านเกณฑ์ยอมรับ
 Hot spot คือ จุดทีพ่ บอุณหภูมสิ งู ทีส่ ดุ และยังคงผ่านเกณฑ์ยอมรับ
 การระบุ Hot spot และ Cold spot นัน้ เพือ่ กําหนดตําแหน่งในติดตัง้ เครือ่ ง
ติดตามอุณหภูม ิ
 นอกจากการพบว่าจุดนัน้ มีอุณหภูมติ ่าํ ทีส่ ดุ หรือสูงทีส่ ดุ แล้ว การพิจารณา
แนวโน้มของอุณหภูมทิ จ่ี ุดนัน้ ๆ ก็มสี ว่ นในการตัดสินว่าจุดใด คือ Hot spot
และ Cold spot ดังนัน้ ค่าเฉลีย่ จึงเป็ นตัวแทนของแนวโน้มนี้
Step 3 of 4 : Mapping report

Mean temperatures
 ค่าเฉลีย่ อุณหภูมขิ องทัง้ บริเวณทีท่ าํ การศึกษา มีประโยชน์ในการประเมินรูปแบบความผันผวนของอุณหภูมทิ เ่ี กิดขึน้ ในบริเวณจัดเก็บ และความ
แปรปรวนทีเ่ กิดจากอุณหภูมใิ นบางตําแหน่ง
 ค่าเฉลีย่ อุณหภูมขิ องแต่ละตําแหน่ง มีประโยชน์ในการเทียบกับค่าค่าเฉลีย่ ของทัง้ บริเวณ เพือ่ ระบุแนวโน้มความแตกต่างของอุณหภูม ิ
 ต้องไม่นําค่าเฉลีย่ มาใช้แทนค่าอุณหภูมจิ ริง เพราะไม่สามารถพบการเกิดอุณหภูมเิ กินไปจากช่วงพิสยั อุณหภูมใิ นการจัดเก็บ
Step 3 of 4 : Mapping report
Interpreting the results and making recommendations
ร่างการประเมินผล และการใช้ผลการศึกษาประกอบข้อแนะนํา
 จัดทําเอกสารแสดงความแปรปรวนของอุณหภูมใิ นบริเวณจัดเก็บ
 วิเคราะห์ผลอุณหภูมเิ พือ่ ประเมินความคงตัวโดยรวมของอุณหภูม ิ เทียบ
กับเกณฑ์ยอมรับ
 ประเมินอุณหภูมโิ ดยรวมเพือ่ ระบุอุณหภูมสิ งู ทีส่ ดุ และตํ่าทีส่ ดุ ของบริเวณ
จัดเก็บ
 เรียบเรียงรายการทีอ่ ธิบายถึงความแปรปรวนทีพ่ บ (อุณหภูมภิ ายนอก
โครงสร้างสถานทีจ่ ดั เก็บ ประสิทธิภาพของระบบควบคุมอุณหภูม)ิ
 ประเมินความสมํ่าเสมอ หรือไม่สมํ่าเสมอของอุณหภูมติ ่อการจัดเก็บ
ผลิตภัณฑ์
 อ้างอิงจากความผันผวนของอุณหภูมใิ นบริเวณทีศ่ กึ ษา และจัดทํา
ข้อแนะนําต่อการจัดเก็บผลิตภัณฑ์ในบริเวณทีศ่ กึ ษา เช่น ให้เก็บ
ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั ผลกระทบตํ่า
 อ้างอิงจากความผันผวนของอุณหภูมใิ นบริเวณทีศ่ กึ ษา และแนะนํา
ตําแหน่งติดตัง้ เครือ่ งติดตามอุณหภูม ิ รวมถึงเซนเซอร์ควบคุมระบบปรับ
อากาศ
Step 3 of 4 : Mapping report
Report auditing
 เนื้อหาของรายงาน และเอกสารแนบควรผ่านการตรวจประเมินด้วย
บุคลากรท่านอืน่ ทีม่ คี วามสามารถ โดยลงลายเซนต์อนุมตั ิ
Step 4 of 4 : Implement the recommendation
ดําเนินการตามข้อแนะนําจากผลการศึกษา
(Implement the recommendation)
 ตัวอย่างข้อแนะนําจากการศึกษาแผนผังอุณหภูม ิ มีดงั นี้
 รูปวาดหรือแผนผังแสดงบริเวณทีอ่ นุญาตให้จดั เก็บผลิตภัณฑ์
 กําหนดระบบจัดการคลังให้ระบุประเภทผลิตภัณฑ์ของแต่ละช่อง
จัดเก็บตามอุณหภูมทิ ส่ี อดคล้องกัน
 ย้ายตําแหน่งเครือ่ งติดตามอุณหภูม ิ และหรือเซนเซอร์ควบคุมระบบ
อุณหภูม ิ
 ปรับช่องระบายอากาศเพือ่ ลดการแยกชัน้ ของอุณหภูม ิ หรือลดการ
เกิด Cold and hot spot
 ปรับปรุงระบบกลไกเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการควบคุมอุณหภูม ิ
 การตัดสินใจใช้บริเวณจัดเก็บเพือ่ วัตถุประสงค์อ่นื เนื่องจากไม่
เหมาะสมต่อการจัดเก็บผลิตภัณฑ์
QUESTION?
THANK YOU

31
Reference on EDLM placement
Reference on EDLM placement
7. QUESTION: CONCERNING CHAPTER 3 – PREMISES AND EQUIPMENT, 3.2.1,
HOW MANY PROBES ARE NECESSARY TO MONITOR THE TEMPERATURE?
Answer: The number of probes and their placement depend on the risk analysis performed on the site and the
placement should be in agreement with the mapping results.

8. QUESTION: CONCERNING CHAPTER 3 – PREMISES AND EQUIPMENT, 3.2.1.(2),


WHAT IS MEANT BY INITIAL TEMPERATURE MAPPING?
Answer: An initial temperature mapping is an exercise in which temperature sensors are placed on the points
identified as most critical through a risk analysis (e.g. at different heights, near a sunny window, next to the doors,
etc.). Once placed, a measurement is taken over a period of time and with the results obtained, the temperature
sensors will be places where greater fluctuation occurred. The mapping should be performed in different seasons where
highest and lowest temperatures are reached.
Contributing factors to temperature variability
USP General Chapter 〈1079〉 GOOD STORAGE AND DISTRIBUTION PRACTICES FOR
DRUG PRODUCT (effective until 30 Nov 2020)
Facility temperature mapping: The following factors, which may contribute to temperature variability,
should be considered during the process of temperature mapping storage locations: (1) size oft he
space; (2) location of HVAC equipment, space heaters, and air conditioners; (3)sun-facing walls; (4)
low ceilings or roofs; (5) geographic location of the area being mapped; (6) airflow inside the
storage location; (7) temperature variability outside the storage location; (8) workflow variation and
movement of equipment (weekday vs. weekend); (9) loading or storage patterns of product; (10)
equipment capabilities(e.g., defrost mode, cycle mode); and (11) SOPs.
QUESTION?
THANK YOU

45

You might also like