Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

เอกสารลาดับที่ 4

สภาพปัจจุบันของโลก
สงครามเย็นและโลกหลังสงครามเย็น
(ค.ศ. 1945-1991)
• สงครามเย็น เป็นสภาพทางการเมืองระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
• ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างสหรัฐอเมริกาผูน้ าฝ่ายโลกเสรี และสหภาพโซ
เวียต ผูน้ าฝ่ายคอมมิวนิสต์
• แข่งขันกันเพื่อชิงอานาจทางทหารและอิทธิพลทางการเมือง ต่อสูท้ างการเมืองระหว่างประเทศ
• การเกิดวิกฤตการณ์ในเบอร์ลิน ค.ศ. 1948 สหรัฐอเมริกาได้ใช้นโยบายสกัดกั้นอานาจของรัสเซียทั้ง
ทางด้านเศรษฐกิจ และการทหาร โดยการประกาศหลักการทรูแมน (Truman Doctrine) การประกาศ
แผนการมาร์แชล (Marshall Plan) ใน ค.ศ.1947 และ ใน ค.ศ.1949 ได้ร่วมก่อตัง้ องค์การสนธิสัญญา
แอตแลนติกเหนือ (NATO) และรัสเซียก็ได้ก่อตั้งองค์การสนธิสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Treaty
Organization) องค์การโคมีคอน (Council for Mutual Economic Assistance and Bomen : COMECON)
• ทศวรรษที่ 50 เกิดวิกฤติการณ์หลายแห่งในเอเชีย เช่น สงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม การขยาย
อิทธิพลของจีนในธิเบต การปฏิวัติในลาว กัมพูชา มาเลเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย เป็นต้น
• การปฏิรูปเศรษฐกิจและการเมือง การปรับเปลี่ยนนโยบายสร้างความไม่พอใจแก่กลุ่มผู้นาคอมมิวนิสต์
หัวเก่า นาไปสู่การปฏิวัติที่ลม้ เหลว และการหมดอานาจของพรรคคอมมิวนิสต์ ประเทศบริวารของ
สหภาพโซเวียตแยกตัวเป็นอิสระทาให้สหภาพโซเวียตล่มสลายลง ใน ค.ศ. 1991
• การล่มสลายของสหภาพโซเวียตนาไปสู่การก้าวขึน้ เป็นมหาอานาจโลกของสหรัฐอเมริกา หลังสงคราม
เย็นสหรัฐอเมริกาได้เข้ามาจัดระเบียบโลกใหม่ด้วยการประกาศใช้ 4 หลักการ คือ การเคารพสิทธิ
มนุษยชน การปกครองแบบประชาธิปไตย การค้าเสรี และการรักษาสภาพแวดล้อม
• ความขัดแย้งที่จะกลายเป็นปัญหา
• ความขัดแย้งด้านเชือ้ ชาติ
• การแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจ
• ปัญหาขบวนการก่อการร้ายระหว่างประเทศ
สังคมโลกร่วมสมัย
• สังคมโลกร่วมสมัยมีความเชื่อมโยงกันโลกาภิวัฒน์อันเป็นยุคของข้อมูลข่าวสาว (Information Age) ไร้
พรมแดน (Borderless World) ยุคที่มีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี การสื่อสาร
และ คมนาคม ทาให้ประเทศต่างๆ ได้เข้ามาใกล้ชิดกันมากขึ้น
• “คอมพิวเตอร์” เป็นกลไกสาคัญ มีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงได้ทั่วทุกมุมโลก ผ่านระบบ
อินเตอร์เนตที่ทันสมัย
• โลกร่วมสมัยได้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจแบบ E-Commerce หรือ การสร้างสังคมโลกใหม่ผา่ นระบบ
ออนไลน์อันทันสมัย ไม่ว่าจะเป็นแพลตฟอร์ม (ระบบปฏิบัติการ) อย่างเช่น Facebook Tweeter
Instagram
• กระแสโต้กลับ ความตื่นตัวเรื่องชาตินยิ มใหม่ (Neo-Nationalism) หรือ ท้องถิ่นนิยม (Localism) ที่
กลับมาทบทวนสถานะของตนเองในกระแสโลก
แนวคิดที่ส่งผลต่อโลกร่วมสมัย
แนวคิดของ คาร์ล ฟอน คลอสเซวิตส์ (Karl Von Clausewitz)
• คาร์ล ฟอน คลอสเซวิตส์ (Karl Von Clausewitz : ค.ศ. 1781-1831) ปรมาจารย์ทางการทหารชาว
เยอรมันในศตวรรษที่ 19
• “On War” ตีพมิ พ์เมื่อ ค.ศ. 1833 On War ยังคงเป็นหนังสือที่ทันสมัย ยังถูกพิมพ์ออกมาเพื่อใช้เป็น
ตาราเรียนในโรงเรียนทหารและอ้างอิงกันอยู่เสมอ
• “Small War” พิมพ์ขึ้นเมื่อ ค.ศ.1966 ซึ่งเป็นที่นยิ มของบรรดานักรบแบบกองโจร (Guerrilla Warfare) ทั่ว
โลกจนกระทั่งทุกวันนี้
แนวคิดสันตินิยม (Pacifism)
• แนวคิดต่อต้านและประณามสงครามและการใช้ความรุนแรงทางกายภาพต่อมนุษยชาติ
• กลุ่มนีจ้ ะไม่ใช้วิธีการรุนแรงในการต่อต้าน (Non-violent resistance) เพื่อเป็นหนทางบรรลุจุดหมายของ
ตน
• ในสมัยโบราณ คาสอนของเล่าจือ้ (Lao-Tza) และขงจือ้ (Confucius) จัดอยู่ในแนวคิดนี้ รวมทั้งแนวคิดใน
โลกตะวันตกอย่าง Judaism และ Christianity แต่มีเงื่อนไขบางอย่างที่ให้ใช้ความรุนแรงและสงครามได้
• นักสันตินยิ ม (Pacifists) ที่มชี ื่อเสียงมากที่สุด คือ มหาตมะ คานธี (Mohandas K Ghandi : 1869-1948)
ลัทธิความเชื่อถือ (Ideolgies)
• หลักการ คาสอน และ สัญลักษณ์
• ขับเคลื่อนโดยรัฐ สงครามครูเสด ลัทธินาซี
• ขับเคลื่อนโดยกลุ่มที่เป็นปฏิปักษ์ตอ่ รัฐ
• การแปลงความเชื่อให้เป็นทุน – สุพรรณกัลยา
• ความเชื่อเรื่องโลกแตก
แนวคิด Existialism หรือ แนวคิดแบบอัตถิภาวนิยม
• ชอง พอล ซาร์ทร์ (Jean-Paul Sartre : 21 June 1905 – 15 April 1980)
• พยายามค้นหาปัญหาของการดารงอยู่ของมนุษย์ การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่าง being และ
nothingness และสรุปว่ามนุษย์โดยตัวเองไม่มอี ะไรมากไปกว่าประสาทสัมผัส
• “มนุษย์คอื อะไร” ทรรศนะของซาร์ทร์เป็นแบบอเทวนิยม มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความว่างเปล่า ไม่มี
ผูส้ ร้าง ไม่มีส่งิ เหนือธรรมชาติใดๆ มาลิขิต
• “มนุษย์คอื เสรีภาพที่จะเป็นอะไรๆ ด้วยตัวของมนุษย์เอง”
• มนุษย์สูญเสียตัวตนเป็นทาสสิ่งของ
แนวคิด Post Modern
• แนวคิดที่เกิดขึ้นราว ค.ศ. 1960 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
• ช่วงเวลาแห่งการต่อต้านและทาลายรูปแบบของสมัยก่อนหน้า เป็นกระแสที่เน้นการวิพากษ์ ตั้งคาถาม
ต่อแนวคิดภาวะทันสมัยที่เป็นกระแสของการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
• วิพากษ์ถึงกระบวนทัศน์ "การพัฒนา" ว่าได้ก้าวสู่จุดจบของ "สังคมสมัยใหม่" (modern sociality)
• "สังคมอุดมคติ" (utopia) ของกลุ่มสังคมนิยมเป็นเรื่องที่ไม่เป็นจริง
• แนวคิด Post Modern จึงเป็นเพียงพืน้ ที่ว่างที่จะเติมความคิด ความเห็น
• Post Modern จึงมีความกากวม ไม่มคี วามหมายที่แน่ชัด

You might also like