Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 36

บทที่ 7 คลื่นเสียง (Sound wave)

คลื่นเสียง
ความเข้มของคลื่นเสียงในตัวกลาง
การแทรกสอดของคลื่นเสียง
บีตส์
การได้ยนิ
ปรากฎการณ์โดปป์ เลอร์
ซอนิกบูม

1
คลื่ นเสียง

➢ คลื่นเสียงเป็ นคลื่นกลชนิดคลื่นตามยาวซึ่งสามารถเคลื่อน
ผ่านตัวกลางที่เป็ นทั้งของแข็ง ของเหลวและแก๊ส

➢ เมื่อคลื่ นเสียงเคลื่ อนผ่านตัวกลางจะทาให้อนุภาคของตัวกลางสั่น


ซึ่ งทาให้ความหนาแน่นและความดันของตัวกลางเปลี่ยนแปลง

➢ บริเวณที่มีความหนาแน่นและความดันสูงกว่าตาแหน่งสมดุลคือ
ส่วนอัดและบริเวณที่มีความหนาแน่นและความดันต ่ากว่า
ตาแหน่งสมดุลคือ ส่วนขยาย

2
การกระจัดของคลื่ นเสียง
เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ในแนวแกน x การกระจัด
ของอนุภาคที่ตาแหน่ง x และ เวลา t คือ

 ( x, t ) = A cos(kx - t )

A คือ แอมพลิจูด
k คือ เลขคลื่น
 คือ ความถี่เชิงมุม

3
ความดันในของไหลเมื่อคลื่ นเสียงเคลื่ อนที่ผา่ น
➢ เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ่านของไหล ความดันของของไหลจะเปลี่ยน
➢ ถ้า p(x,t) คือความดันของของไหล ณ ตาแหน่ง x และเวลา t และ
Peg คือความดันของของไหลในภาวะสมดุล ความดันที่เปลี่ยนไปคือ
p ( x, t ) = p( x, t ) - peq

➢ ในกรณีของคลื่นฮาร์มอนิก: p( x, t ) = pmax sin(kx - t )

➢ pmax คือ ค่าสูงสุดของความดันที่เปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดขึ้นที่ส่วนอัด


➢ ที่ตาแหน่งส่วนขยายจะได้ p( x, t ) = -pmax sin(kx - t )

4
อัตราเร็วของเสียงในแก๊สอุดมคติ
➢ ในแก๊สอุดมคติอตั ราเร็วของเสียงมีค่า V=
B

เมื่อ  คือความ
หนาแน่นของแก๊ส

B  RT  RT
= ดังนัน้ V=
 M M

เมื่อ R = 8.31 Jmol-1K-1 เป็ นค่าคงตัวเรียกว่า universal gas constant


T คือ อุณหภูมิสมบูรณ์ของแก๊ส
M คือ มวลโมเลกุลของแก๊ส

=Cp/Cv คืออัตราส่วนความร้อนจาเพาะของแก๊สที่ความดัน (p)


และปริมาตร (v) คงตัว
5
อัตราเร็วของเสียงในของแข็ง

Y
➢ อัตราเร็วของเสียงในของแข็งมีค่า V =

เมื่อ Y คือ มอดุลัสของยัง (Young’s modulus)

 คือ ความหนาแน่นของของแข็ง

6
ตัวอย่าง 8ก ในสมัยก่อนอินเดียนแดงสามารถรูไ้ ด้ว่ารถไฟกาลังวิ่งมา
โดยการแนบหูกบั รางรถไฟจะได้ยนิ คลื่นเสียงเคลื่อนที่มา
กับรางรถไฟ ถ้ารางรถไฟเป็ นเหล็กซึ่งมีค่ามอดูลสั ของยัง
(Young’s Modulus) เท่ากับ 2.7 x 1010 นิวตัน/ตารางเมตร
และความหนาแน่นเป็ น 3 x 103 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
จงหาความเร็วของคลื่นเสียงดังกล่าวเป็ นเมตร/วินาที
วิธีทา ∵ ความเร็วของคลื่นเสียงที่เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็ นของแข็ง คือ
y
v= ในที่น้ ี y = 2.7 x 1010 N/m2 ,  = 3 x 103 kg/m3

2.7 x 1010 N / m2
แทนค่าจะได้ v = = 9 x106 m / s
3 x 103 kg / m3
v = 3x103 m / s
7
ตัวอย่าง 8ข ถ้าประมาณให้ค่าคงตัว = Cp/Cv  1.7 มีค่าเท่ากันสาหรับ
แก๊สทุกชนิด และ R = 8.31 J•mol-1K-1 มวลโมเลกุลของแก๊ส
ฮีเลียมและไนโตรเจนเป็ น 4 และ 28 g•mol-1 จงหาว่าที่
อุณหภูมิหอ้ ง (30°C) ความเร็วของเสียงในฮีเลียมจะ
มากกว่าความเร็วของเสียงในไนโตรเจนกี่เท่า
 RT ในที่น้ ี  = 1.7, R = 8.31 J•mol-1K-1 , T = 30°C
วิธีทา v=
จาก
M , MHe = 4 g•mol-1 , M N = 28 g mol -1
2

(1.7)(8.31)(273 + 30)
แทนค่าจะได้ vHe = −3
→ (1)
4 x10
(1.7)(8.31)(273 + 30)
vN 2 = −3
→ (2)
28 x10

(1) / (2)  vHe


=
28
= 7  vHe = 7 vN2
vN 2 4 8
ความเข้มของคลื่ นเสียงในตัวกลาง
➢ ในขณะที่คลื่ นเสียงเคลื่ อนผ่านตัวกลางจะพาพลังงานไปด้วย โดยมีค่า
เป็ นสัดส่วนกับกาลังสองของแอมพลิจูดของความเข้ม

➢ ความเข้มของคลื่นเสียงจะหาค่าได้จากอัตราการทางานของคลื่นต่อ
ตัวกลางซึ่งมีค่าเท่ากับกาลังของคลื่นเสียงต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ หรือ
P  1  1   
 I= =F = P ( S ) = P = −B
S t S t S t x t
 
= −kA sin ( kx − t ) , =  A sin ( kx − t )
x t

 I = B kA2 sin 2 ( kx − t )
9
ความเข้มเฉลี่ยของคลื่ นเสียงในตัวกลาง
➢ คือค่าเฉลี่ยของความเข้มของคลื่ นเสียงในการสั่น 1 รอบ ซึ่ งมีค่า
1 2
I ave = B kA
2

p = − B = BkA sin( kx − t )  p = BkA
x max
2
( pmax ) 
 I ave =
2 Bk
2
➢ จากความสัมพันธ์  / k = v B = v
และ
I ave =
(p max )
2

2v  10
ตัวอย่าง 8ค จงหาความเข้มเฉลี่ยเป็ นวัตต์ตอ่ ตารางเมตรของคลื่นเสียง
ในแก๊สไฮโดรเจน ซึ่งมีแอมพลิจูดความดันเท่ากับ 0.9
นิวตัน/ตารางเมตร ถ้าความหนาแน่นของแก๊สไฮโดรเจน
เท่ากับ 9x10-2 กิโลกรัม/ลูกบาศก์ เมตร และความเร็วของ
คลื่นเสียงในแก๊สไฮโดรเจนเท่ากับ 1000 เมตร/วินาที
(pmax )2
วิธีทา =
I ave
2v 
จาก
ในที่น้ ี pmax = 0.9 N/m2 , v = 1000 m/s ,  = 9 x 10-2 kg/m3

I ave =
( 0.9 N / m )
2 2

แทนค่า 2(1000 m / s )(9 x10 −2 kg / m3 )

0.081
= = 4.5 x10−3 W / m 2
180
11
ความเข้มเฉลี่ยที่ระยะ r
➢ ถ้า Pave เป็ นกาลังเฉลี่ยของคลื่ นเสียง จะได้ความเข้มเฉลี่ยที่ระยะ r มีค่า
Pave
I ave =
4 r 2

ความเข้มเฉลี่ยเปรียบเทียบ
➢ ถ้า r1 และ r2 เป็ นตาแหน่งที่ห่างจากแหล่งกาเนินคลื่น 2 ตาแหน่ง จะหา
ความเข้มเฉลี่ยเปรียบเทียบได้จาก
Pave Pave
1ave = , I 2 ave =
4 r1
2 4 r22

ดังนั้น I1 ave / I 2 ave = r / r


2
2
1
2

12
การแทรกสอดของคลื่ นเสียง
➢ เมื่อคลื่ นเสียงจากแหล่งกาเนิด 2 แหล่งพบกันที่จุด ๆ หนึ่ ง การกระจัด
รวมของคลื่ นเสียงทัง้ 2 จะเป็ นไปตามหลักการซ้อนทับกันของคลื่ น
(Principle of Superposition of Waves)
➢ ถ้าคลื่นเสียงเป็ นคลื่นฮาร์มอนิกที่มีความถี่เท่ากัน คลื่นรวมที่ตาแหน่ง
ใด ๆ จะขึ้นอยูก่ บั ความต่างเพส
➢ ถ้าคลื่ นทัง้ 2 มีเฟสเท่ากันจะเกิดการแทรกสอดแบบเสริมกัน ซึ่ งจะ
ได้คลื่ นรวมมีแอมพลิจูดสูงสุด
➢ ถ้าคลื่นทั้ง 2 มีเฟสตรงกันข้ามจะเกิดการแทรกสอดแบบหักล้างกัน
ซึ่งจะได้คลื่นรวมมีแอมพลิจูดเป็ นศูนย์

➢ หลักของการแทรกสอดจะมีประโยชน์ในการออกแบบห้องบันทึ กเสียง
และการสร้างลาโพง
13
บีตส์ (beats)

➢ เป็ นปรากฏการณ์ที่คลื่นสองคลื่นซึ่งมีแอมพลิจูดเท่ากัน แต่มี


ความถี่ตา่ งกันเล็กน้อย เคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกันแล้วรวมกัน
ทาให้คลื่นรวมมีแอมพลิจูดสูง-ต ่าสลับกันไป

➢ ถ้า y1 และ y2 เป็ นคลื่ นที่มีแอมพลิจูด A เท่ากัน แต่ความถี่ f1


และ f2 ต่างกันเล็กน้อย จะเขียนสมการได้เป็ น

y1 = A sin 2 f1t

y2 = A sin 2 f 2 t

14
สมการของคลื่ นรวม: y = y1 + y2
=A sin 2 f1t + A sin 2 f 2t
  f1 + f2   f1 - f2  
=A 2 sin 2   t.cos 2   t
  2   2  
  f1 - f2     f1 + f2  
= 2 A cos 2   t  . sin 2   t
  2     2  

 f1 + f2 
 y = B sin 2  t
 2 
แอมพลิจูดของคลื่ นรวม :  f1 − f2 
B = 2 A cos 2  t
 2 
ความถี่เฉลี่ย :  f1 + f 2 
 
 2 
15
กราฟของการเกิดบีตส์
กราฟของ y1 :

กราฟของ y2 :

กราฟของ (y1+y2) :

กราฟของบีตส์ :

16
การหาค่าบีตส์
➢ เนื่องจากบีตส์ คือ จานวนของค่าแอมพลิจูด (B) ที่สูงสุด หรือ
ต ่าสุด เราอาจหาค่าบีตส์ได้ดงั นี้
➢ เนื่องจากบีตส์เกิดขึ้นเมื่อ B มีค่าสูงสุดหรือต ่าสุด ดังนั้นจะได้
 f1 − f 2 
cos 2   t = 1
 2 

 f1 − f2 
หรือ cos 2   t = cos n , n = 0, 1, 2, 3,
 2 

f −f  n
ดังนั้น 2  1 2  t = n  t =
 2  f1 − f 2
17
1 2
ถ้าให้ n = 1 หรือ n = 2 จะได้ t1 = , t2 =
f1 − f 2 f1 − f 2
2 1 1
ดังนั้น t  t2 − t1 = − =
( f1 − f 2 ) ( f1 − f 2 ) ( f1 − f 2 )
1
 จานวนของค่าสูงสุดใน 1 วินาทีคือ = f1 − f 2
t
ทานองเดียวกัน :
1
จานวนของค่าตา่ สุดใน 1 วินาทีคือ = f1 − f 2
t 

ดังนั้นจานวนบีตส์ใน 1 วินาที คือ N = f1 − f 2


18
ตัวอย่าง 8ง เมื่อเคาะส้อมเสียงสองอันทาให้เกิดบีตส์จานวน 4 ครั้ง/วินาที
ถ้าส้อมเสียงอันแรกมีความถี่ 342 Hz และความถี่ของบีตส์
เพิ่มขึ้น เมื่อนาขี้ผึ่งมาติดปลายของส้อมเสียงอันที่สอง จงหา
ความถี่เป็ น Hz ของอันที่สองที่ปราศจากขี้ผึ้งเกาะติดปลาย
วิธีทา f1 − f 2 = N
จาก
เมื่อนาขี้ผึ้งติดส้อมเสียงอันที่สองแล้วทาให้บีตส์เพิ่มขึ้น  f1 = 342 Hz

∵ความถี่ของอันที่สองจะน้อยลง จึงทาให้ f1 − f 2
มากขึ้น
 342 − f 2 = 4
 f 2 = 342 − 4
= 338 Hz

19
การได้ยิน
➢ มนุษย์ได้ยนิ เสียงเมื่อมีคลื่นเสียงเคลื่อนที่มาถึงหู โดยหูจะเปลี่ยนคลื่น
เสียงเป็ นคลื่นที่ประสาทหูรบั รูไ้ ด้แล้วส่งต่อไปยังสมองเพื่อการตีความ

➢ การรับรูเ้ สียงของมนุ ษย์จะขึ้นอยู่กบั ปริมาณ 3 ชนิด คือ ความสูงตา่


(pitch) ความดัง (loudness) และคุณภาพ (quality) ของเสียง
➢ ความสูงต ่าของเสียงจะเกี่ยวพันกับความถีข่ องเสียง

➢ ความดังของเสียงจะเกี่ยวพันกับความเข้มของเสียง
➢ คุณภาพของเสียงขึ้นอยูก่ บั รูปแบบ (waveform) ของเสียง

20
อวัยวะในการรับรูเ้ สียง
Cochle
a

Outer
ear Eardru
m

➢ หูเป็ นอวัยวะที่รบั รูเ้ สียงซึ่งมีส่วนประกอบสาคัญ 3 ส่วน


หูส่วนนอก : ประกอบด้วยใบหู ทาหน้าที่รบั คลื่ นเสียงแล้วส่งไปยังหู
ชัน้ กลาง
หูส่วนกลาง : ประกอบด้วยกระดูกหู (eardrum) ทาหน้าที่ควบคุม
แอมพลิจูดของคลื่นเสียงก่อนส่งต่อไปยังหูส่วนใน
หูส่วนใน : มีระบบประสาทในคอเคลีย (cochlea) ทาหน้าที่
สนองตอบต่อคลื่ นเสียง โดยสามารถรับรูเ้ สียงที่มี
ความถี่ตงั้ แต่ 20Hz – 20 kHz
21
ความเข้มและความดังของคลื่ นเสียง
120 1 Threshold of pain
110 10-1 Rock concert

100 10-2

90 10-3

➢ มนุษย์สามารถได้ยนิ เสียง (ที่ความถี่ 1 kHz) 80

70
10-4

10-5

ด้วยความเข้มตั้งแต่ 10-12 W/m2(threshold of 60 10-6


Conversation

10-7

hearing)ถึง 1 W/m2 (threshold of pain)


50

40 10-8

30 10-9
Whisper
20 10-10

10 10-11
Threshold of hearing
0 10-12

➢ ความดังของเสียงจะขึ้นอยู่กบั ความเข้ม ระดับความดัง (ฟอน) ความเข้ม W/m2

แต่ไม่เป็ นเชิงเส้น และมี ระดับความดัง


ที่ threshold of hearing เป็ น 0 phon และ
ที่ threshold of pain เป็ น 120 phon
22
ระดับความเข้มของเสียง (sound intensity level)

➢ สมการของระดับความเข้มกับ คือ
I
 = 10 log10
Io
เมื่อ I คือ ความเข้มของเสียง
Io = 10-12 W/m2 คือความเข้มของเสียง เมื่อ  = 0
➢ หน่วยของระดับความเข้มของเสี ยง คือ เดซิ เบล (decibel) แทนด้วย dB

เพื่อเป็ นเกียรติแก่ Alexander Graham Bell


➢ รูปข้างบน แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้ม
ระดับความเข้ม และความถี่ของเสียง ที่มนุษย์รบั รูไ้ ด้
23
ตัวอย่าง 8 จ ในขณะที่อาจารย์กาลังอธิบายในการเรียนวิชาปฏิบตั กิ าร
ฟิ สิกส์ 1 ด้วยเสียงที่มีระดับความเข้มเท่ากับ 60 เดซิเบล
ปรากฏว่านักศึกษาบางคนไม่ค่อยได้ยินเสียงชัดเจนเพราะมี
เสียงรบกวนจากนอกห้องเรียนถ้าเสียงรบกวนมีความเข้ม
เท่ากับ 70 เดซิเบล จงหาระดับความเข้มของเสียงใน
ห้องเรียนนั้นเป็ นเดซิเบล กาหนดให้
log1.1 = 0.04
I
วิธีทา เสียงอาจารย์ : จาก  = 10log 
I1
60 = 10 log −12
Io 10
I1 I1
 log −12
=6  −12
= 10 6
 I1 = 10 −6
10 10
I I2
เสียงรบกวน : จาก  = 10 log  70 = 10log
Io 100
I2 I2
 log −12 = 7  −12
= 10 7
 I 2 = 10 −5
10 10 24
1 
I = I1 + I 2 = 10−6 + 10−5 = 10−5  + 1 = 1.1 x 10−5
 10 
I 1.1x10−5
 = 10log = 10log = 10log1.1x10 7

Io 10−12

= 10 ( log1.1 + log107 )

= 10 ( 0.04 + 7 log10 )

= 10 ( 0.04 + 7 x 1)

= 10 ( 7.04 )

= 70.4 dB

25
ปรากฏการณ์โดปป์ เลอร์ (Doppler effect)

➢ คือปรากฏการณ์ที่ผสู ้ งั เกตได้รบั คลื่นเสียงที่มีความถี่ตา่ งจากค่า


ของแหล่งกาเนิดคลื่นเมื่อผูส้ งั เกตหรือแหล่งกาเนิดมีการ
เคลื่อนที่สมั พัทธ์ตอ่ กัน

➢ ปรากฏการณ์น้ ีเกิดขึ้นได้ทงั้ ในคลื่ นเสียงและคลื่ นแสง

➢ ตัวอย่างหนึ่งของ Doppler Effect คือผูส้ งั เกตยืนริมถนนฟั งเสียง


ไซเรนของรถพยาบาลที่แล่นผ่าน

26
สูตรการคานวณ
1. กรณีผสู ้ งั เกตเคลื่อนที่เข้าหาแหล่งกาเนิดที่อยูน่ ิ่ง

➢ ให้ S เป็ นแหล่งกาเนิดคลื่ นที่อยู่น่ ิง


ส่งคลื่ นความถี่ f ความเร็ว V ออกมา
➢ O เป็ นผูส้ งั เกตที่เคลื่ อนที่เข้าหา S ด้วย
ความเร็ว VO
➢ ความถี่ปรากฏที่ผสู ้ งั เกตได้รบั คือ

( v=f)
vo vo f
f= f + = f + ,
 v

 v + vo 
 f= f  
 v  27
2. กรณีผสู ้ งั เกตเคลื่อนออกจากแหล่งกาเนิดเสียง

 v − vo 
จะได้ความถี่ปรากฏ f= f  
 v 

 v  vo 
สูตรการคานวณในกรณีท่ี ผูส้ งั เกตเคลื่ อนที่ : f= f  
 v 
เครื่องหมาย ( + ) แสดงถึง O เคลื่อนที่เข้าหาแหล่งกาเนิดคลื่น S
เครื่องหมาย ( - ) แสดงถึง O เคลื่อนที่ ออกจากแหล่งกาเนิดคลื่น S

28
3. กรณีแหล่งกาเนิดเคลื่อนออกจากผูส้ งั เกต
vf
ความถี่ปรากฏ : f=
v + vs
4. กรณีแหล่งกาเนิดเคลื่อนเข้าหาผูส้ งั เกต
vf
ความถี่ปรากฏ : f=
v − vs
vf
สูตรการคานวณในกรณีท่ีแหล่งกาเนิดเคลื่ อนที่ f=
v vs
เครื่องหมาย ( - ) แสดงถึง S เคลื่อนที่เข้าหา O
เครื่องหมาย ( + ) แสดงถึง S เคลื่อนที่ออกห่าง O
29
ตัวอย่าง 8ฉ รถพยาบาลคันหนึ่งกาลังเปิ ดไซเรนด้วยเสียงที่มีความถี่
1200 เฮิรตซ์ ถ้านักศึกษาคนหนึ่งขี่รถจักรยานยนต์ผ่าน
รถพยาบาลดังกล่าวด้วยความเร็ว 34 เมตร/วินาที เขาจะได้ยนิ
เสียงไซเรนด้วยความถี่ลดลงกี่เปอร์เซ็นต์ กาหนดให้ความเร็ว
ของคลื่นเสียงในอากาศเท่ากับ 340 เมตร/วินาที
 v + vo 
วิธีทา เมื่อเคลื่อนเข้าหา : f เข้า = f   → (1) ,
 v 
 = f 
v − vo 
เมื่อเคลื่อนออกห่าง : fออก  → (2)
 v 
   v + vo   v + vo  2 fvo
(1)-(2) : fเข้า − fออก = f  v  − f  v  = v
   
fเข้า − fออก
 2vo 2(34 m / s )
= = = 0.2
f v 340 m / s

ความถี่ลดลง = 20 % 30
Doppler Effect of Light

➢ คือปรากฏการณ์ที่ความถี่หรือความยาวคลื่นของแสงที่เปล่งออกมา
จากดวงดาวเปลี่ยนไปเมื่อวัดบนพื้นโลก
➢ ถ้าดวงดาวเคลื่ อนเข้าหาโลก ความยาวคลื่ นของเส้นสเปกตรัม
จะลดลงหรือเกิด Violet Shift
➢ ถ้าดวงดาวเคลื่อนออกจากโลก ความยาวคลื่นของเส้นสเปกตรัม

จะเพิ่มขึ้นหรือเกิด Red Shift


  − vs
➢ ความยาวคลื่ นที่เปลี่ยนไปมีค่า = = 
  c

➢ เครื่องหมาย (+/-) แสดงว่าดวงดาวเคลื่อนออกจาก / เข้าหาโลกตามลาดับ


31
ซอนิกบูม (sonic booms)
➢ คือปรากฏการณ์ท่ีหน้าคลื่ นจะ
เปลี่ยนไปเมื่อแหล่งกาเนิดคลื่ น
เคลื่ อนที่เร็วกว่าคลื่ น ซึ่ งจะไม่มี
ปรากฏการณ์โดปป์ เลอร์เกิดขึ้น
แต่จะเกิดคลื่ นกระแทก (shock
wave)
➢ รูปข้างบนแสดงการเกิดคลื่ นกระแทก เมื่อแหล่งกาเนิดคลื่ น s
เคลื่ อนที่ดว้ ยความเร็ว Vs จากจุด S → S ซึ่ งมีลักษณะเป็ นรูปลูกศร
➢ วงกลมคือคลื่นที่เคลื่อนที่ออกจากแหล่งกาเนิด ณ จุดต่างๆ และ
เส้นตรงที่ลากสัมผัสวงกลมคือคลื่นกระแทก
32
ลักษณะคลื่ นกระแทกที่เกิดจากเครื่องบินขับไล่

➢ รูปข้างบนแสดงคลื่ นกระแทกที่มีลักษณะเป็ นรูปลูกศร


➢ คลื่ นกระแทกนี้จะมีพลังงานที่อาจทาให้เกิดความเสียหายต่อ
สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตาแหน่งที่คลื่ นเคลื่ อนผ่าน เช่น กระจกหน้าต่างแตก
➢ อัตราส่วนของความเร็วของเครื่องบินต่อความเร็วเสียง คือ เลขมัค
(mach number)
33
แบบฝึ กหัด
1. ลาโพงสองตัวตั้งอยูห่ ่างกัน 2 เมตร ดังรูป แต่ละตัวเป็ นต้นกาเนิด
เสียงที่มีกาลังเฉลี่ย 126 W ถ้าผูส้ งั เกตยืนอยูร่ ะหว่างกึ่งกลางของ
ลาโพงทั้งสองและได้ยนิ เสียงที่เกิดการแทรกสอด แบบเสริมกัน
จงหาความเข้มและระดับความเข้มของเสียงที่แทรกสอดกั
กาหนดให้ log(2)=0.301

2. รถมอเตอร์ไซด์วิ่งด้วยความเร็ว 30 m/s สวนกับรถกระจายเสียง


ที่กาลังวิ่งด้วยความเร็ว 50 m/s ซึ่งกาลังกระจายเสียงด้วยความถี่
300 Hz คนขับรถกระจายเสียงจะได้ยนิ เสียงที่ความถี่เท่าใด
กาหนดให้ ความเร็วของเสียงในอากาศ = 350 m/s

34
3. กีตาร์ตวั หนึ่งตั้งสายตึงเกินไปทาให้เสียงเพี้ยนเมื่อเล่นโน้ตตัว D
เทียบกับเสียงมาตรฐานที่มีความถี่ 294 Hz พบว่าเกิดบีตส์ 4 ครั้ง/
วินาที ถ้ากาหนดให้ความยาวของสายกีตาร์ = 1.5 เมตร และมีมวล
ต่อความยาว 0.1 g/m จงหาความถี่และแรงตึงของสายกีตาร์ที่เกิด
เสียงเพี้ยน

4. ถ้านักศึกษาคนหนึ่งกาลังทดสอบระบบเสียงจากลาโพงโดย
ตอนแรกยืนห่างจากลาโพง 1 เมตร และเมื่อถอยห่างออกไปเป็ น
ระยะ r เมตร จากลาโพง เขาได้ยนิ เสียงจากลาโพงด้วยระดับความ
เข้มลดลง 40 เดซิเบล จงหาค่าของ r

5. ถ้าต้องการให้ความเร็วของเสียงเพิ่มขึ้น 10 % จากค่าความเร็วเสียง
ที่ 0๐C จะต้องเพิ่มอุณหภูมิเป็ นกี่องศาเซลเซียส
35
6. ระดับความเข้มเสียงของการจราจรเท่ากับ 80 dB ชายสองคนสนทนา
กันด้วยระดับความเข้มเสียง 70 dB ความเข้มเสียงรวมเป็ นเท่าใดใน
หน่วย W/m2

7. แหล่งกาเนิดเสียงกระจายเสียงด้วยกาลัง 100 วัตต์ ระดับความเข้ม


เสียงในหน่วย dB ที่ระยะห่างออกไป 10 m มีค่าเท่าใด

8. ถ้าอัตราเร็วของเสียงในอากาศเท่ากับ 350 m/s รถพยาบาลซึ่งเปิ ด


ไซเรนและวิ่งมาตามถนนด้วยอัตราเร็ว 50 m/s เข้าหาคนฟั งที่ยืนอยู่
ข้างถนน คนฟั งจะได้ยนิ ความถี่ของไซเรนลดลงกี่เปอร์เซ็นต์ เมื่อรถ
วิ่งเลยผ่านไป

36

You might also like