Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

佛教史典叢書
Vol. I
ชุ ดวรรณกรรมทางประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนา

異部宗輪論

คัมภีร์สมยเภโทปรจนจักรศาสตร์

พระวสุ มติ ร ประพันธ์


พระติปิฏกาจารย์ เสวียนจั้ง (ยุคถัง แปลจีน)

阿難比丘泰譯
ผู้แปล พระมหาอานนท์ อานนฺโท

๒. มูลเหตุแห่ งการแตกนิกาย

如是傳聞。佛薄伽梵 ดัง ได้ส ดับ มา พระพุ ท ธเจ้า ผูเ้ ป็ น


般涅槃後。百有餘年 องค์ภ ควัน ต์ ห ลัง ปริ นิ พ พานแล้ว
去聖時淹。如日久
๑๐๐ ปี กว่า เป็ นช่วงเวลาที่ห่างไกล
沒。摩竭陀國俱蘇摩
城王號無憂。統攝贍 จากอริ ยกาล ดุ จดวงอาทิ ตย์ลาลับ
部。感一白蓋。化洽 ไ ป ช้ า น า น ณ เ มื อ ง กุ สุ ม ะ
人神。 พระราชานามว่าอโศกแห่ งแคว้น
มคธ ได้ป กครองชมพู ท วี ป ให้
รู ้สึกประหนึ่ งเศวตฉัตรที่กางกั้นแก่
เทพยดาและมนุ ษ ย์ท้ งั หลายได้อยู่
ร่ วมกันโดยสามัคคี ฯ
是時佛法大眾初破。 ค รั้ ง นั้ น แ ล พ ร ะ ธ ร ร ม ใ น
謂因四眾共議大天五 พ ร ะ พุ ท ธศ า ส นา ไ ด้ ถู ก นิ กา ย
事不同。分為兩部。
มหาสังฆิ กะทาลายเป็ นเบื้ องต้น ฯ
一大眾部。二上座
部。四眾者何。一龍 เนื่ องจากสาเหตุที่ ๔ กลุ่ม (สงฆ์) มี
象眾。二邊鄙眾。三 ความเห็นไม่ตรงกันในกรณี วตั ถุ ๕
多聞眾。四大德眾。 ประการของพระมหาเทวะ ฯ จึ ง
ท าให้ แ ตกเป็ น ๒ นิ ก ายคื อ ๑.
นิ ก ายมหาสั ง ฆิ ก ะ ๒. นิ ก ายเถร

วาท ฯ ๔ กลุม่ (สงฆ์ดงั กล่าว) เป็ น


ไฉน ได้แ ก่ ๑. กลุ่ ม นาคริ ก ะ ๒.
กลุ่ มปั จจันติ กะ ๓. กลุ่ มพหุ ส สุ ติ
กะ ๔. กลุ่มมหาเถระ ฯ

其五事者。如彼頌 วัตถุ ๕ ประการ (ของพระมหาเท


言。 วะ) มีกล่าวไว้ในคาถาดังต่อไปนี้ ฯ

餘所誘無知 (๑) (พระอรหันต์) โดนผูอ้ ื่นยัว่ (ให้


猶豫他令入 อสุ จิเคลื่อนได้) (๒) ยังมีความไม่รู้
道因聲故起 ได้ (๓) ยังมี ค วามสงสัย ได้ (๔)
是名真佛教 ถูกแนะนาโดยผูอ้ ื่นได้ (๕) มรรค
นั้ น ต้อ งอาศัย เหตุ แ ห่ ง การเปล่ ง
เสี ยง (จึ งสาเร็ จได้) นี้ ชื่อว่าเป็ นคา
สอนของพระพุทธศาสนาที่ แท้จริ ง
ฯ๑


ประวั ติ พระมหาเทวะโดยย่ อ ตามบั น ทึ กคั ม ภี ร์ มหาวิ
ภาษาศาสตร์ ระบุว่า ก่อนจะบวชได้ทากรรมหนัก ๓ อย่างคือ ฆ่ามารดา
ฆ่าบิ ดาและฆ่าพระอรหันต์ เนื่ องจากบิดาเป็ นพ่อค้าต้องออกเดิ นทางไกล
อยูบ่ ่อยครั้ง จึงทาให้เกิดความสัมพันธ์ที่ไม่เหมาะสมกับมารดา เมื่อบิดา

กลับมาเกรงว่าจะทราบความจริ งเข้าจึงร่ วมมือกับมารดาฆ่าบิดาเสี ย จากนั้น


ทั้งคู่ได้พากันหลบหนี จากเมืองมถุราไปยังเมืองปาตลี แคว้นมคธ ได้พบ
พระอรหันต์ที่เคยรู ้จัก เคยถวายความอุปฐากกันมาก่อน เกรงว่าเรื่ องจะ
เปิ ดเผยเรื่ องราวต่างๆ จึงฆ่าทิ้งอีกคน ต่อมามารดาได้คบหาชายอื่นทาให้
บันดาลโทสะฆ่ ามารดาไปเสี ยอี กคนทาอนันตริ ยกรรมอย่า งหนัก ถึ ง ๓
ประการ เมื่อใคร่ ครวญถึงกรรมที่ตนทามาจึ งเกิดความทุกข์ ต่อมาได้ออก
บวชเป็ นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา เมื่อบวชแล้วก็ได้ศึกษาเล่าเรี ยนจนมี
ความสามารถแตกฉานในการแสดงธรรมมีชื่อเสี ยง ได้รับการนิ มนต์ไป
เทศน์โปรดในวังเมืองปาตลีอยูบ่ ่อยครั้ง ต่อมาได้ปฏิญญาณตนว่าเป็ นพระ
อรหันต์ คืนวันหนึ่งเกิดฝันเปี ยกขึ้นมาแล้วให้ลูกศิษย์เอาจีวรไปซักให้ เมื่อ
ลูกศิษย์เกิ ดความสงสัยว่าเหตุใดพระอรหันต์ยงั ฝั นเปี ยก ? จึ งกล่าวว่าพระ
อรหันต์อาจถูกมารยัว่ ให้ปล่อยอสุ จิได้ ต่อมาเพื่อจะเอาใจลูกศิษย์ตวั เองจึง
ได้กล่ าวว่า เธอเป็ นพระอรหันต์แล้ว เมื่ อลู กศิ ษย์ถามว่าธรรมดาว่าพระ
อรหันต์เมื่อบรรลุแล้วย่อมรู ้ได้ดว้ ยตัวเอง แต่เหตุใดตัวเขาเองจึงไม่รู้ ? พระ
มหาเทวะบอกว่าพระอรหันต์ยงั มีความไม่รู้ได้ เมื่อลูกศิษย์ถามว่าเคยได้ฟัง
มาว่าพระอรหันต์น้ นั หมดความสงสัยแล้ว แต่เหตุใดเขาจึงยังมีความสงสัย
ในอริ ยสัจเป็ นต้นอยู่ ? พระมหาเทวะตอบว่าพระอรหันต์ยงั มีความสงสัยได้
เมื่อลูกศิ ษย์ถามว่าพระอรหันต์ลว้ นมีปัญญจักษุรู้แจ้งว่าตนเองบรรลุแล้ว
แต่เหตุใดตนยังต้องอาศัยอาจารย์เป็ นผูก้ ล่าวแจ้งให้ทราบด้วยเล่า ? พระ
มหาเทวะตอบว่าพระอรหันต์ยงั ต้องได้รับคาแนะนาจากผูอ้ ื่นได้ ต่อมาเมื่อ
พระมหาเทวะระลึกถึงบาปกรรมที่ก่อมาในอดีตจึงราพึงออกมาในกลางดึก
ว่า “ทุกข์หนอๆ” ลูกศิษย์ได้ยินเข้าจึงถามว่าอาจารย์สบายดีอยูห่ รื อเมื่อคืน
ได้ยินเสี ยงอาจารย์ราพึงว่าเป็ นทุกข์ ? พระมหาเทวะตอบว่าอริ ยมรรคจะ

๓. การแตกนิกายฝ่ ายมหาสั งฆิกะ


後即於此第二百年。 ถัด มาในช่ ว งศตวรรษที่ ๒ (หลัง
大眾部中流出三部。 พุ ท ธปริ นิ พ พาน) นิ ก ายมหาสั ง ฆิ
一一說部。二說出世

เกิดได้ก็ต่อเมื่อเปล่งอุทานคาว่าทุกข์ออกมา หลังจากนั้นท่านได้เสนอวัตถุ
ทั้ง ๕ ประการข้างต้นนี้ต่อที่ประชุมสงฆ์ในวันอุโบสถ ที่วดั สวนไก่ (雞園
寺 กุกกุฏาราม) เมื่อพระมหาเถระฝ่ ายธรรมวาที ไม่เห็นด้วยจึ งทาการลงมติ
ด้วยการลงคะแนนเสี ยง ปรากฏว่าเสี ยงข้างมากเห็นด้วยกับพระมหาเทวะ
เพราะมีพวกมาก เหล่าพระเถระฝ่ ายธรรมวาที จึงหนี ไปอยู่ทางภาคเหนื อ
จากเหตุการณ์น้ ีพระมหาเทวะได้ทาสังฆเภทเป็ นประการที่ ๔ เหล่านี้ลว้ น
เป็ นบันทึกจากหลักฐานของฝ่ ายสรวาสติวาทซึ่งแตกต่างจากบันทึกบาลี
ในประเด็นเกี่ยวกับวัตถุ ๕ ประการข้างต้นนี้ มีเนื้ อหาปรากฏใน
บาลีอภิธรรมกถาวัตถุในหัวข้อเหล่านี้คือ ๑. ปรู ปหารกถา ๒. อัญญาณกถา
๓. กังขากถา ๔.ปรวิตารณกถา ๕. วจีเภทกถา ๖. ทุกขาหารกถา แต่เนื้อหา
ในบาลีมิได้ระบุว่าเป็ นมติของพระมหาเทวะ โดยอรรถกถาอธิ บายว่า ปรู
ปหารกถา (พระอรหันต์ถูกมารดลบันดาลให้หลัง่ น้ าอสุ จิได้) เป็ นมติ ใน
นิ กายปุพพเสลิยะและอปรเสลิยะ อัญญาณกถา (พระอรหันต์ยงั มีความไม่
รู ้อยู่) เป็ นมติ ในนิ กายปุ พพเสลิ ยะเป็ นต้น กังขากถา (พระอรหันต์ยงั มี
ความสงสัยได้) เป็ นมติของนิกายปุพพเสลิยะเป็ นต้น ปรวิตารณกถา (พระ
อรหันต์ตอ้ งอาศัยผูอ้ ื่นบอกจึงรู ้สิ่งต่างๆ ได้) เป็ นมติของนิ กายปุพพเสลิยะ
เป็ นต้น วจีเภทกถา (คนจะบรรลุอริ ยมรรคได้ตอ้ งเปล่งเสี ยงอุทานว่าทุกข์
หนอ) เป็ นมติของนิกายปุพพเสลิยะเป็ นต้น ทุกขาหารกถา (การเปล่งเสี ยง
ว่าทุกข์เป็ นการเจริ ญในมรรคญาณ) เป็ นมติของนิกายปุพพเสลิยะเป็ นต้น

部。三雞胤部。次後 กะได้แตกออกไปอีกเป็ น ๓ นิ กาย


於此第二百年。大眾 คื อ ๑. นิ ก ายเอกวยหาริ กวาท
部中復出一部。名多
(เอกัพพโยหาริ กวาท) ๒. นิ กายโล
聞部。次後於此第二
百年。大眾部中更出 กุตตรวาท ๓. นิ กายกุกกุฏิกวาท ฯ
一部。名說假部。 ถัด จากนั้น ในปี ที่ ๒๐๐ นิ ก าย
มหาสั ง ฆิ ก ะแตกออกไปอี ก ๑
นิกายคือ นิ กายพหุศรุ ติยวาท (พหุ ส
สุ ติกวาท) ถัดจากนั้นในปี ที่ ๒๐๐
นิกายมหาสังฆิกะได้แตกเพิ่มอีก ๑
นิ กายคื อ นิ กายปรั ช ญั ป ติ วาท
(บัญญัติวาท) ฯ

第二百年滿時。有一 ในปี ที่ ๒๐๐ พอดี ได้มีพ วกนอก


出家外道。捨邪歸 รี ต หั น กลั บ เ ข้ า สู่ ห ลั ก ธ ร ร มที่
正。亦名大天。大眾
ถูกต้องมีนามว่า “มหาเทวะ” (เขา)
部中出家受具。多聞
精進。居制多山。與 ได้ รั บ กา รอุ ป ส มบ ทใ นนิ กา ย
彼部僧重詳五事。因 มหาสั ง ฆิ ก ะ เป็ นพหู สู ต มี ค วาม
茲乖諍分為三部。一 เพี ย ร อาศั ย อยู่ ที่ เจติ ย บรรพต
制多山部。二西山住 สถานที่ ซ่ ึ งเป็ นที่ ถ กเถี ย งกับเหล่ า
部。三北山住部。
บร รด าภิ กษุ ทั้ ง หล าย ใน ที่ นั้ น

เกี่ ย วกับ รายละเอี ย ดของวัต ถุ ๕


ประการ จนเป็ นเหตุให้แตกเป็ น ๓
นิกายคือ ๑. นิกายไจตยไศลวาท (เจ
ติ ย วาทะ) ๒. นิ ก ายอปรไศลวาท
(อปรเสลิ ย วาท) ๓. นิ กายอุตตร
ไศลวาท (อุตตรเสลิยวาท) ฯ

如是大眾部四破或五 ดังนั้นนิ กายมหาสังฆิกะจึ งแตก ๔


破。本末別說合成九 หรื อ ๕ ครั้ ง พระพุ ท ธศาสนา
部。一大眾部。二一
ดั้งเดิ มและนิ กายอื่นๆ รวมกันเป็ น
說部。三說出世部。
四雞胤部。五多聞 ๙ นิกายคือ ๑. นิกายมหาสังฆิกวาท
部。六說假部。七制 ๒. นิ ก ายเอกวยหาริ กวาท ๓.
多山部。八西山住 นิ กายโลกุตตรวาท ๔. นิ กายกุกกุฏิ
部。九北山住部。 กวาท ๕. นิ กายพหุ ศรุ ติยวาท ๖.
นิกายปรัชญัปติวาท ๗. นิกายไจตย
ไศลวาท ๘. นิ กายนิ กายอปรไศล
วาท (อปรเสลิยวาท) ๙. นิกายอุตตร
ไศลวาท ฯ

๔. การแตกนิกายฝ่ ายเถรวาท

其上座部經爾所時一 นิ กายเถรวาทในเวลานั้น ยังคงสา


味和合。三百年初有 ม า น ส า มั ค คี เ ป็ น อั น ห นึ่ ง อั น
少乖諍。分為兩部。
เดี ย วกัน ดี จนกระทั่ง ในช่ ว งต้น
一說一切有部。亦名
說因部。二即本上座 ศตวรรษที่ ๓ ได้มีความขัดแย้งกัน
部。轉名雪山部。後 เพียงเล็กน้อย โดยแตกออกเป็ น ๒
即於此第三百年。從 นิ ก ายคื อ ๑. นิ ก ายสรวาสติ ว าท
說一切有部流出一 (สัพพัตถิกวาท) หรื อนิกายเหตุวาท
部。名犢子部。
๒. นิ กายเถรวาทเดิมที่เปลี่ยนนาม
ใหม่วา่ นิกายเหมวันตวาท ฯ ถัดมา
ในศตวรรษที่ ๓ นิ กายสรวาทสติ
วาทได้แตกออกไปอีก ๑ นิ กายคือ
นิ ก า ย ว า ต สี ปุ ต รี ย ว า ท ( วั ช ชี
ปุตวาท) ฯ
次後於此第三百年。 ถัดมาในช่วงศตวรรษที่ ๓ นิ กาย
從犢子部流出四部。 วาตสี ปุ ต รี ย วาท ได้แ ตกออกไป
一法上部。二賢胄
เป็ น ๔ นิ ก ายคื อ ๑. นิ ก ายธรรม
部。三正量部。四密
林山部。 โมตตริ ยวาท (ธัมมุตตริ กวาท) ๒.
นิ ก ายภัท รยาณี ย วาท (ภัท รยานิ
๑๐

กวาท) ๓. นิ กายสามิตียวาท (สมิ ติ


วาท) ๔. นิกายษาณฑคิริกวาท (ฉัน
นาคาริ กวาท) ฯ

次後於此第三百年。 ถัดมาในช่ วงศตวรรษที่ ๓ นิ กาย


從說一切有部。復出 สรวาสติ วาทได้แตกออกไปอี ก ๑
一部。名化地部。
นิ ก าย ได้แ ก่ นิ ก ายมหี ศ าสกวาท
(มหิ สาสกวาท) ฯ

次後於此第三百年。 ถั ด มาอี ก ในช่ วงศตวรรษที่ ๓


從化地部流出一部。 นิ กายมหี ศาสกวาทได้แตกออกไป
名法藏部。自稱我襲
อี ก ๑ นิ กา ย คื อ นิ ก า ย ธ ร ร ม
採菽氏師。
คุปตวาท โดยกล่าวว่าฝ่ ายตนเป็ นผู ้
สื บทอดมาจากพระโมคคัลยายนะ
(พระโมคคัลลานะ) ฯ
至三百年末。從說一 จนกระทัง่ ในช่ วงท้ายศตวรรษที่ ๓
切有部。復出一部。 นิ กายสรวาสติ วาทได้แตกออกไป
名飲光部。亦名 善歲
อีก ๑ นิ กาย คื อนิ กายกาศยปิ ยวาท
部。至第四百年初。
從說一切有部。復出 (กัสสปิ กวาท) หรื ออีกชื่ อคื อนิ กาย
一部。名經量部。亦 สุ วรษกวาท (สุ วสั สิ กวาท) ฯ จวบ
๑๑

名說轉部。自稱我以 จนกระทัง่ ถึงต้นศตวรรษที่ ๔ นิกาย


慶喜為師。如是上座 สรวาสติ วาทได้แตกออกไปอี ก ๑
部七破或八破。本末
นิ ก ายชื่ อ นิ ก ายเสาตรานติ ก วาท
別說成十一部。一說
一切有部。二雪山 (สุ ตตวาท) หรื ออีกชื่ อว่าสังกรานติ
部。三犢子部。四法 กวาท โดยกล่ า วว่า ฝ่ ายตนเป็ นผู ้
上部。五賢胄部。六 สื บทอดมาจากพระอานนท์ ฯ
正量部。七密林山 ฉะนั้ นนิ ก ายเถรวาทจึ ง ได้ แ ตก
部。八化地部。九法
อ อ ก ไ ป ๗ ห รื อ ๘ ค รั้ ง
藏部。十飲光部。十
一經量部。如是諸 พระพุ ทธศาสนาดั้งเดิ มและนิ กาย
部。本宗末宗同義異 อื่ น ๆ รวมเป็ น ๑๑ นิ ก ายคื อ ๑.
義。我今當說。 นิ กายสรวาสติ วาท ๒. นิ กายเหม
วันตวาท ๓. นิ กายวาตสี ปุตรี ยวาท
๔. นิกายธรรมโมตรี ยวาท ๕. นิกาย
ภัท รยาณี ย วาท ๖. นิ ก ายสามิ ตี
ยวาท ๗. นิ กายษาณฑคิริกวาท ๘.
นิ กายมหี ศาสกวาท ๙. นิ กายธรรม
คุปตวาท ๑๐. นิ กายกาศยปิ ยวาท
๑๑. นิ กายเสาตรานติกวาท ฯ” คา
สอนในทุ กนิ กายนั้น เป็ นค าสอน
ทั้ง แบบดั้ง เดิ ม และแบบหลัง ทั้ง
๑๒

เหมือนกันและแตกต่างกัน ข้าพเจ้า
(วสุ มิตร) จะได้อธิ บายในบัดนี้ ฯ

You might also like