Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 35

รายงานวิจัย

เรื่อง

การพัฒนาทักษะการอ่านภาษามลายูโดยใช้วีดีโอการสอนสาหรับนักเรียน
ชัน
้ ประถมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนบ้านควน จังหวัดสตูล

Development of Malay reading skills by using video instruction for


grade 5/2 students at Ban Khuan School, Satun Province

นางสาวฮาชีมี ลิเก
602446004

โรงเรียนบ้านควน

รายงานวิจัยชั้นเรียนฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษา1คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

ปีการศึกษา 2564
ชื่อเรื่องวิจัย : การพัฒนาทักษะการอ่านภาษามลายูโดยใช้วด
ี โี อการ
สอนสาหรับนักเรียนชัน
้ ประถมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนบ้านควน จังหวัด
สตูล
ผูว
้ ิจย
ั : นางสาวฮาชีมี ลิเก : 602446001
สาขาวิชา : การสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา
ปีทศ
ี่ ก
ึ ษา : ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
ครูพเี่ ลีย
้ ง : นาง อรวรรณ หิมมา
อาจารย์นเิ ทศก์ : ดร.ซูไรยา จะปะกียา

บทนา
บทที่ 1

1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาวิจย

การเรียนรู้ภาษามลายูเป็นสิ่งจาเป็นและมีความสาคัญต่อการสื่อสารใน
ชีวิตประจาวัน เนื่องจากเป็นเครื่องมือสาคัญในการศึกษา การแสวงหา
ความรู้ การประกอบอาชีพอีกด้วย ภาษาในโลกนี้นับว่ามีความสาคัญกับ
มนุษย์และมนุษย์นามาใช้อย่างแพร่หลายมากมายทั่วไป ภาษาหนึ่งคือ
ภาษามลายู ชึ่งเป็นภาษาที่สาคัญในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มี
ประชากรที่ใช้ภาษามลายูประมาน 300 ล้านคนมีสถานภาพเป็นภาษา
ประจาชาติของประเทศต่างๆในประชาคมอาเซียน ได้แก่ ประเทศมาเลเซีย
อินโดนีเซีย บรูไน อีกทั้งยังเป็นอีกหนึ่งจากบรรดาภาษาทางการใน
ประเทศสิงค์โปรนอกจากนี่ภาษามลายูยังนับเป็นภาษาราชการในอีกหลาย
ประเทศ อาทิ ภาคใต้ ของประเทศไทย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา แอฟริกาใต้และ
ติมอร์ตะวันออกอีกด้วย (อัตถากร หะยีอาแวง ,2554) จากที่ได้สังเกตและ
สอบถามปัญหาการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 ดังนั้น ผู้วิจัย
จาเป็นต้องหาวิธีการสอนที่มีความเหมาะสมและสามารถพัฒนา
กระบวนการอ่านโดยใช้วีดีโอการสอนซึ่งเป็นวีดีโอการศึกษากิจกรรมเสริม
ทักษะการอ่านและได้รู้จักคามากยิ่งขึ้นสามารถนาไปปรับใช้ได้ด้วยตนเอง
และพัฒนาศักยภาพการอ่านได้มากยิ่งขึ้นต่อไป อย่างไรก็ตามการสอน
โดยใช้วีดีโอการสอนและใบงานจะเกิดผลดีได้หากผู้เรียนได้รับการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน ดังนั้น ผู้วิจัยจาเป็นต้องหาวิธีการสอนที่มีความ
เหมาะสม ไปใช้ในการพัฒนา ความสามารถ ด้านการเรียนรู้ความหมาย
ภาษามลายูของนักเรียน และสร้างเครื่องมือการศึกษาที่ น่าสนใจมา
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้การสอนนั้นประสบ
ผลสัมฤทธิ์ตามต้องการ จึงเกิด เป็นแนวทางการนาวิธีการสอนแบบวีดีโอ
และใบงานมาช่วยในการเรียนรู้ความหมายภาษามลายูของผู้เรียน เพื่อให้
ผู้เรียนได้เข้าใจ ความหมายและการออกเสียงที่ถูกต้องในภาษามลายู ซึ่ง
นวัตกรรมที่จะนามาส่งเสริม การเรียนรู้ของผู้เรียนก็ คือ ฝึกทักษะการอ่าน
และได้รู้จักคามากยิ่งขึ้น มีความเข้าใจบทเรียนได้ดีมาก ยิง่ ขึ้น นอกจากนี้
ยังช่วยให้นักเรียนสามารถทบทวนสิ่งที่เรียนไปแล้วได้ด้วยตนเอง และ
ทราบถึง ความก้าวหน้าในการเรียนของตน ดังนั้นผู้วิจัยจึงศึกษาผลของ
การใช้วีดีโอการสอนและใบงานเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ความหมายภาษา
มลายูของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2

จากประสบการณ์การสอนนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5/2 ในรายวิชา


ภาษามลายูของผู้วิจัย พบว่านักเรียนส่วนมากยังขาดทักษะการอ่านและ
การเขียนภาษามลายูอย่างมากสาเหตุที่เกิดขึ้นมากจากการเรียนการสอน
โดยใช้รูปแบบการอ่านสะกดคาต่อคาและการเรียนการสอนแบบผิดวิธี
โดยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงนาวีดีโอการสอนเพื่อการศึกษามาพัฒนาในการอ่าน
ของนักเรียน
ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้า เอกสาร สื่อ ตารา และทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
การเรียนการสอนแบบวีดีโอการสอนภาษามลายู (รูมี) สาหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่5/2

1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจย

1.2.1 เพื่อฝึกพัฒนาการอ่านภาษามาลายูโดยใช้วีดีโอการสอนสาหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5/2โรงเรียนบ้านควน จังหวัดสตูล
1.2.2 เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ด้านการอ่านภาษามลายูของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5/2ก่อนและหลังการสอนโดยใช้วีดีโอการสอน

1.3 สมมุติฐานของการวิจย

1.3.1 นักเรียนได้รับการสอนโดยใช้วีดีโอการสอนการเรียนรู้สูงกว่า
นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยเทคนิคการสอนตามปกติ
1.3.2 นักเรียนได้รับการสอนโดยใช้วีดีโอการสอนมีผลการเรียนรู้หลัง
เรียนสูงกว่าก่อนเรียน

1.4 ขอบเขตของการวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากร ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5
โรงเรียนบ้านควน ตาบลบ้านควนอาเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

กลุ่มตัวอย่าง ในการทาวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5/2
จานวน 10 คนโรงเรียนบ้านควน ตาบลบ้านควน อาเภอเมืองสตูลจังหวัด
สตูล
1.5 ระยะเวลาดาเนินงาน
ระยะเวลาในการทดลองคือในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 เป็น
ระยะเวลา 1 เดือน
สัปดาห์ละ 1 คาบ คาบละ 60 นาที รวม 4 คาบ โดยไม่รวมระยะเวลาการ
ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
และหลังเรียน ซึ่งใช้เวลาสอบอย่างละ 20 นาที

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ
วีดโี อการสอน คือ วีดีโอการสอนของครูที่สร้างขึ้นเองและสอดคล้องกับ
ใบงานที่ให้นักเรียนในแต่ครั้ง ใช้ได้กับทุกขั้นตอนของการสอน แม้วา่
จะเป็นการนาเข้าสู่บทเรียน ขั้นระหว่างการสอน หรือขั้นสรุป

1.7 ประโยชน์ทค
ี่ าดว่าจะได้รบ

1.7.1 ครูผู้สอนสามารถนาวิธีการสอนอ่านโดยวีดีโอการสอนไปปรับ
ใช้กับนักเรียนระดับชั้นอื่นๆ
1.7.2 เป็นแนวทางในการเรียนการสอนนอกห้องเรียนได้โดยใช้
วีดีโอการสอนต่อไป

1.8 กรอบแนวคิดของการวิจัย
ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

kjuh
การพัฒนาทักษะการอ่านของ
วีดีโอการสอน
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6/2
บทที2

เอกสารและงานวิจย
ั ที่เกีย
่ วข้อง
การวิจัยบครั้งนี้เป็นการการพัฒนาทักษะการอ่านภาษามลายูโดยใช้วีดีโอ
การสอนสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนบ้านควน จังหวัด
สตูล ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยแบ่งหัวข้อ
เรื่องดังต่อไปนี้

2.1 หลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐานพุทธศักราช 2551
2.2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึกทักษะ

2.2.1 ความหมายและความสาคัญของแบบฝึกทักษะ

2.2.2 หลักการสร้างแบบฝึกทักษะ

2.2.3 รูปแบบการฝึกทักษะ

2.2.4 ลักษณะของแบบฝึกทักษะ

2.2.5 ประโยชน์ของแบบฝึกทักษะ

2.3 ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับสื่อมัลติมีเดีย

2.3.1 ความหมายของสื่อมัลติมีเดีย

2.3.2 องค์ประกอบของสื่อมัลติมีเดีย

2.4 การอ่าน

2.4.1 ความหมายของการอ่าน
2.4.2 ความสาคัญของการอ่าน

2.4.3 ประเภทของการอ่าน
หลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551ได้ยึดวิสัยทัศนของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐานพุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกาลังของชาติให้
เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้คุณธรรม มีจิตสานึกใน
ความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลกยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีความรู้และทักษะ
พื้นฐานรวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ
การศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า
ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
นอกจากนี้หลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐานพุทธศักราช2551มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนที่มีศรัทธามั่นมีความ
จงรักภักดีตออัลลอฮฺสุบหานะฮุวะตะอาลามีบุคลิกภาพตามแบบอย่างนบี
มุฮัมมัดศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมมีความสมดุลทั้งด้านความรู้คุณธรรม
มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกที่ดีเพื่อพัฒนาตนเอง
ครอบครัว และสังคมก่อให้เกิดสันติสุขทั้งในโลกนี้และโลกหนา
(กระทรวงศึกษาธิการ,2553 : 32-34)
สมรรถนะของผู้เรียน
หลักสูตรมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่งจะ
ช่วยให้ผู้เรียนเกิด สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มี
วัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ
ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้ง
การเจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับ
หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ ความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง
และสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการวิเคราะห์การคิด
สังเคราะห์การคิด อย่าง สร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิด
เป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพื่อการ
ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและ
อุปสรรคต่างๆ ที่ เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลัก
เหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศเข้าใจ ความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้
มาใช้ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ
โดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนา
กระบวนการต่างๆ ไปใช้ใน การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วย
ตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน ด้วยการสร้าง ความสัมพันธ์
อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสม
การปรับตัว ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และ
การรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง ประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและ
ผู้อื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลือกและ
ใช้เทคโนโลยีด้าน ต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการ
พัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้การ สื่อสาร การทางาน การ
แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม
นอกจากนี้หลักสูตรอิสลามศึกษา กาหนดสมรรถนะเพิ่มเติมคือ
ความสามารถในการอ่านอัล-กุรฺอาน เป็นความสามารถของผู้เรียนในการ
อ่านอัล-กุรฺอานตาม หลักการ อันเป็นพื้นฐานสาคัญในการเรียนรู้ ศาสนา
อิสลาม เพื่อการพัฒนาตนเองด้านการยึดมั่น ศรัทธา การปฏิบัติศาสนกิจ
การมีคุณธรรมจริยธรรมอิสลาม และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่าง
เหมาะสม และสันติสุข
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรอิสลามศึกษา มุ่งพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดังนี้ คือ

1. รักการอ่านอัล–กุรอาน
2. รักการละหมาด
3. รักความสะอาด
4. มีมารยาทแบบอิสลาม
5. มีความรับผิดชอบ
สาระการเรียนรู้
มาตรฐาน ย 1 รู้เข้าใจกระบวนการฟัง พูด อ่าน และเขียน มีทักษะและเห็น
คุณค่าในการใช้
ภาษามลายูเพื่อการเรียนรูศึกษาค้นคว้าจากแหล่งวิทยาการเกี่ยวกับศาสนา
อิสลาม และการสื่อสาร อย่าง สร้างสรรค์

2.2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึกทักษะ

2.2.1 ความหมายและความสาคัญของแบบฝึกทักษะ
การฝึกเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ในการเรียนการสอนดังนั้นการฝึก
โดยการใช้แบบฝึกเป็นการจัดสภาพการณ์เพื่อให้ผู้ฝึกเปลี่ยนพฤติกรรมจน
สามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพในการสร้าง
แบบฝึกต้องคานึงถึงหลักการสร้างจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึกลักษณะ
ของแบบฝึกที่ดีประโยชน์ของแบบฝึก หลักการนาไปใช้เป็นต้นจาก
การศึกษาความหมายของแบบฝึกทักษะได้มีผู้ให้ความหมายไว้ต่างๆ กัน
ดังนี้
ราชบัณฑิตยสถาน (2546) แบบฝึก หมายถึง แบบฝึกหัดหรือชุด
การสอนที่เป็นแบบฝึกหัดที่ใช้เป็นตัวอย่างปัญหาหรือค าสั่งที่ตั้งขึ้นให้
นักเรียนตอบ
สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์(2540) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกทักษะไว้
ว่า แบบฝึกทักษะหมายถึง การจัดประสบการณ์ฝึกหัดเพื่อให้นักเรียน
นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและสามารถแก้ปัญหาได้ถูกต้องอย่าง
หลากหลายและแปลกใหม่
สุพรรณี ไชยเทพ (2544) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกทักษะไว้ว่า
แบบฝึกเสริมทักษะ หมายถึง เอกสารหรือแบบฝึกหัดที่ใช้เป็นสื่อ
ประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติ เป็นการช่วยเสริมให้
นักเรียนมีทักษะสูงยิ่งขึ้น
พินิจ จันทร์ซ้าย (2546) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกทักษะไว้ว่า
แบบฝึกทักษะหมายถึงงานกิจกรรมหรือประสบการณ์ที่ผู้สอนจัดให้ผู้เรียน
ได้ฝึกปฏิบัติเพื่อทบทวนความรู้ที่เรียนมาแล้วให้สามารถนาความรู้ที่ได้ไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
อานวย เลื่อมใส (2546) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกทักษะไว้ว่า
หมายถึงแบบตัวอย่างปัญหาหรือคาสั่งให้ผู้เรียนรู้มาแล้ว เพื่อความรู้ความ
เข้าใจ และเป็นการเพิ่มทักษะความชานาญให้แก่ผู้เรียน ทาให้การเรียนมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ไพบูลย์ มูลดี (2546) ให้ความหมายของแบบฝึกทักษะไว้ว่า แบบ
ฝึกทักษะเป็นชุดการเรียนรู้ที่ครูจัดทาขึ้นให้ผู้เรียนได้ทบทวนเนื้อหาที่
เรียนรู้มาแล้วเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจจะช่วยเพิ่มทักษะความชานาญ
และช่วยฝึกทักษะการคิดให้มากขึ้นทั้งยังมีประโยชน์ในการลดภาระให้กับ
ครู อีกทั้งพัฒนาความสามารถของผู้เรียนทาให้ผู้เรียนมองเห็น
ความก้าวหน้าจากผลการเรียนรู้ของตนเองได้

2.2.2 หลักการสร้างแบบฝึกทักษะ
สิง่ สาคัญที่ควรคานึงถึงการสร้างแบบฝึกคือขั้นตอนและหลักในการ
สร้างซึ่งซีลและกลาสโลว์(Seel&Glasgow,1990) ได้เสนอแนะไว้ว่าใน
การจัดสถานการณ์ทางการเรียนการสอนนั้นสามารถกาหนดขอบเขต
เนื้อหาจากหลักสูตร โดยกาหนดจากหน่วยการเรียนย่อยๆไปสู่หน่วยการ
เรียนใหญ่ แต่อย่างไรก็ตามในการออกแบบการสอนหรือการสร้างแบบฝึก
ควรคานึงถึงองค์ประกอบดังต่อไปนี้
1. เนื้อหาที่คัดเลือกมาสร้างแบบฝึกต้องอิงจุดประสงค์รายวิชา
2. กลวิธีทใ
ี่ ช้ในการสอนต้องอิงทฤษฎีและผลการวิจัยที่มีผู้ทาไว้แล้ว
3. การวัดต้องอิงพฤติกรรมการเรียนรู้
4. รู้จักนาเทคโนโลยีมาใช้ประกอบเพื่อให้แบบฝึกมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า

นอกจากนี้ บ็อค (Bock,1993) ได้เสนอหลักในการสร้างแบบฝึกดังนี้


1. ก่อนที่จะสร้างแบบฝึกจะต้องกาหนดโครงร่างคร่าวๆ ก่อนว่าจะเขียน
แบบฝึกเกี่ยวกับเรื่องอะไร มีจุดประสงค์อย่างไร
2. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะใช้สร้างแบบฝึก
3. เขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและเนื้อหาให้สอดคล้องกัน
4. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมออกเป็นกิจกรรมย่อย โดยคานึงถึงความ
เหมาะสมของผู้เรียนและเรียงกิจกรรมหรืองานที่นักเรียนต้องปฏิบัติจาก
ง่ายไปหายาก
5. กาหนดอุปกรณ์ที่จะใช้ในแต่ละตอนให้เหมาะสมกับแบบฝึก
6. กาหนดเวลาที่จะใช้ในแบบฝึกแต่ละตอนให้เหมาะสม
7. ควรประเมินผลก่อนและหลัง

สมพร ตอยยีบี (2554) ได้กล่าวไว้ว่า การสร้างแบบฝึกทักษะต้องมี


หลักการและแนวทางต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการกาหนดแบบฝึกที่ชัดเจน
แน่นอนและภาษาที่เข้าใจง่ายเหมาะสมกับวัยควรมีความยากง่ายแตกต่าง
และต้องมีหลายรูปแบบเพื่อให้นักเรียนมีโอกาสในการใช้ภาษาอย่างมี
ประสิทธิภาพและแบบฝึกนั้นมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนมากไม่ว่า
จะเป็นด้านผู้เรียนทาให้เด็กเกิดความเข้าใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้นและใน
ด้านครูผู้สอนเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาที่สอนและกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะของ
นักเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

คณิศร ศรีประไพ (2555) ได้กล่าวไว้ว่าหลักในการสร้างแบบฝึกควร


สร้างให้ตรงกับจุดประสงค์ที่ต้องการฝึกมีความเหมาะสมต่อพัฒนาการของ
ผู้เรียนสนองความสนใจและคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลจัดทาให้
จบเป็นเรื่องๆ การประเมินผลแจ้งผลความก้าวหน้าในการฝึกให้ผู้เรียน
ทราบทันทีทุกครั้ง
2.2.3 รูปแบบการฝึกทักษะ

สมเดช สีแสง, สุนันทา สุนทรประเสริฐ(2543 อ้างถึงใน กุศยา แสง


เดช, 2545) กล่าวว่ารูปแบบของแบบฝึกควรมีความหลากหลายเพื่อป้องกัน
ไม่ให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่ายไม่อยากทาและได้เสนอรูปแบบของแบบ
ฝึกไว้ดังนี้
1. แบบถูกผิดเป็นแบบฝึกที่เป็นประโยคบอกเล่าให้ผู้เรียนอ่านแล้วเลือกใส่
เครื่องหมายถูกหรือผิดตามดุลยพินิจของผู้เรียน
2. แบบจับคู่เป็นแบบฝึกที่ประกอบด้วยคาถามหรือตัวปัญหาซึ่งเป็นตัวยืน
ไว้ในสดมภ์ซ้ายมือโดยมีที่ว่างไว้หน้าข้อเพื่อให้ผู้เรียนเลือกหาคาตอบที่
กาหนดไว้ในสดมภ์ขวามือมาจับคู่กับคาถามให้สอคล้องกันโดยใช้
หมายเลขคาตอบไปวางไว้ที่ว่างหน้าข้อคาถามหรือจะใช้โยงเส้น
3. แบบเติมคาหรือแบบเติมข้อความเป็นแบบฝึกที่มีข้อความไว้ให้แต่จะเว้น
ช่องว่างไว้ให้ผู้เรียนเติมคาหรือข้อความที่ขาดหายไปซึ่งคาที่นามาเติม
อาจให้เติมอย่างอิสระหรือกาหนดตัวเลือกให้เติมก็ได้
4. แบบหลายตัวเลือกเป็นแบบฝึกเชิงแบบทดสอบโดยมี 2 ส่วน คือส่วนที่
เป็นคาถาม ซึ่งจะต้องเป็นประโยคคาถามที่สมบูรณ์ชัดเจน ส่วนที่ 2 เป็น
ตัวเลือก คือคาตอบซึ่งอาจมี3-4 ตัวเลือกก็ได้ตัวเลือกทั้งหมดจะมีตัวเลือกที่
ถูกต้องที่สุดเพียงตัวเดียวส่วนที่เหลือเป็นตัวลวง
5. แบบอัตนัย คือความเรียงเป็นแบบฝึกที่มีตัวคาถามผู้เรียนเขียนบรรยาย
ตอบอย่างเสรีไม่จากัดคาตอบแต่จากัดในเรื่องเวลาอาจใช้ในรูปคาถาม
ทั่วไปหรือเป็นคาสั่งให้เขียนเรื่องราวต่างๆ กาหนดเวลาที่จะใช้ในแบบฝึก
แต่ละตอนให้เหมาะสมก็ได้
2.2.4 ลักษณะของแบบฝึกทักษะ
ในการสร้างแบบฝึกทักษะมีองค์ประกอบหลายประการซึ้งได้มีนักการศึกษา
หลายท่านให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับลักษณะของแบบฝึกที่ดีไว้ดังนี้
กุสยา แสงเดช (2545) ได้กล่าวแนะนาผู้สร้างแบบฝึกให้ยึดลักษณะ
แบบฝึกที่ดีดังนี้
1. แบบฝึกที่ดีควรความชัดเจนทั้งคาสั่งและวิธีทาคาสั่งหรือตัวอย่างแสดง
วิธีทาที่ใช้ไม่ควรยากเกินไปเพราะจะทาความเข้าใจยากควรปรับให้ง่าย
และเหมาะสมกับผู้ใช้เพื่อนักเรียนสามารถเรียนด้วยตนเองได้
2. แบบฝึกที่ดีควรมีความหมายต่อผู้เรียนและตรงตามจุดหมายของการฝึก
ลงทุนน้อยใช้ได้นานทันสมัย
3. ภาษาและภาพที่ใช้ในแบบฝึกเหมาะกับวัยและพื้นฐานความรู้ของ
ผู้เรียน
4. แบบฝึกที่ดีควรแยกฝึกเป็นเรื่องๆ แต่ละเรื่องไม่ควรยาวเกินไปแต่ควรมี
กิจกรรมหลายแบบเพื่อเร้าความสนใจและไม่เบื่อในการทาและฝึกทักษะใด
ทักษะหนึ่งจนชานาญ
5. แบบฝึกที่ดีควรมีทั้งแบบกาหนดคาตอบในแบบและให้ตอบโดยเสรีการ
เลือกใช้คาข้อความรูปภาพในแบบฝึกควรเป็นสิ่งที่นักเรียนคุ้นเคยและตรง
กับความสนใจของนักเรียนก่อให้เกิดความเพลิดเพลินและพอใจแก่ผู้ใช้
ซึ่งตรงกับหลักการเรียนรู้ว่านักเรียนจะเรียนได้เร็วในการกระทาที่ทาให้
เกิดความพึงพอใจ
6. แบบฝึกที่ดีควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเองให้รู้จักค้นคว้า
รวบรวมสิ่งที่พบเห็นบ่อยๆหรือที่ตัวเองเคยใช้จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจเรื่อง
นั้นๆมากยิ่งขึ้นและรู้จักนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้องมี
หลักเกณฑ์และมองเห็นว่าสิ่งที่ได้ฝึกนั้นมีความหมายต่อเขาตลอดไป
7. แบบฝึกที่ดีควรตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลผู้เรียนแต่ละคนมี
ความแตกต่างกันในหลายๆด้านเช่น ความต้องการ ความสนใจ ความ
พร้อมระดับสติปัญญาและประสบการณ์ เป็นต้น ฉะนั้น การทาแบบฝึกแต่
ละเรื่องควรจัดทาให้มากพอและมีทุกระดับตั้งแต่ง่ายปานกลางจนถึงระดับ
ค่อนข้างยากเพื่อว่าทั้งนักเรียนเก่งปานกลางและอ่อนจะได้เลือกทาได้ตาม
ความสามารถทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้ประสบความสาเร็จในการทา
แบบฝึก
8. แบบฝึกที่จัดทาเป็นรูปเล่มนักเรียนสามารถเก็บรักษาไว้เป็นแนวทางเพื่อ
ทบทวนด้วยตนเองต่อไป
9. การที่นักเรียนได้ทาแบบฝึกช่วยให้ครูมองเห็นจุดเด่นหรือปัญหาต่างๆ
ของนักเรียนได้ชัดเจนซึ่งจะช่วยให้ครูดาเนินการปรับปรุงแก้ไขปัญหา
นั้นๆได้ทันท่วงที
10. แบบฝึกที่จัดขึ้นนอกจากมีในหนังสือเรียนแล้วจะช่วยให้นักเรียนได้
ฝึกฝนอย่างเต็มที่
11. แบบฝึกที่จัดพิมพ์ไว้เรียบร้อยแล้วจะช่วยให้ครูประหยัดแรงงานและ
เวลาในการที่จะต้องเตรียมแบบฝึกอยู่เสมอในด้านผู้เรียนไม่ต้องเสียเวลา
ในการลอกแบบฝึกจากตาราเรียนหรือกระดานดา ทาให้มีเวลาและโอกาส
ได้ฝึกฝนทักษะต่างๆได้มากขึ้น
12. แบบฝึกช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายเพราะการพิมพ์เป็นรูปเล่มที่แน่นอน
ลงทุนต่าแทนที่จะใช้พิมพ์ลงกระดาษไขทุกครั้งไปนอกจากนี้ยังมี
ประโยชน์ในการที่ผู้เรียนสามารถบันทึกและมองเห็นความก้าวหน้าของตน
ได้อย่างมีระบบและมีระเบียบ
ปราณี จณิฤทธิ์(2552) ได้กล่าวว่า ลักษณะของแบบฝีกทักษะที่ดี
ต้องสร้างให้เกี่ยวข้องกับบทเรียนที่เป็นแบบฝึกสาหรับเด็กเก่งและใช้ซ่อม
เสริมเด็กอ่อนได้มีความหลากหลายในแบบฝึกชุดนั้นๆ มีคาสั่งที่ชัดเจนเปิด
โอกาสให้ผู้ฝึกได้คิดท้าทายความสามารถมีความเหมาะสมกับวัยใช้เวลา
ฝึกไม่นานผู้ฝึกสามารถนาประโยชน์จากการทาแบบฝึกไปประยุกต์
ปรับเปลี่ยนนามาใช้ในชีวิตประจาวันได้
ประภาพร ถิ่นอ่อง (2553) ได้กล่าวว่า ลักษณะของแบบฝึกทักษะที่ดี
ต้องมีจุดหมายที่แน่นอนจะทาการฝึกทักษะด้านใดควรใช้ภาษาง่ายๆและมี
ความน่าสนใจเรียงลาดับจากง่ายไปหายากให้เหมาะสมกับวัยและ
ความสามารถของผู้เรียนมีเนื้อหาตรงจัดกิจกรรมให้
หลากหลายเพื่อดึงดูดความสนใจและเกิดประสิทธิภาพในการเรียน
คณิศร ศรีประไพ (2555) ได้กล่าวว่า ลักษณะของแบบฝึกที่ดีควร
เป็นแบบฝึกสั้นๆฝึกหลายๆครั้งมีรูปแบบการฝึกควรฝึกเฉพาะเรื่องเดียวและ
ควรเป็นสิ่งที่ผู้เรียนพบเห็นอยู่แล้วคาชี้แจงสั้นๆใช้เวลาเหมาะสมเป็นเรื่องที่
ท้าทายให้แสดงความสามารถเมื่อผู้เรียนได้ฝึกแล้วก็สามารถพัฒนาตนเอง
ได้ดีจึงจะนับว่าเป็นแบบฝึกที่ดีและมีประโยชน์
บุญนา เกษี (2556) ได้กล่าวว่า ลักษณะของแบบฝึกที่ดีควรสร้าง
เพื่อฝึกทักษะเฉพาะอย่างคานึงถึงความเหมาะสมกับวัยความสามารถและ
พัฒนาการของผู้เรียนโดยใช้ภาษาที่ง่ายชัดเจนมีกิจกรรมหลายรูปแบบ
เพื่อเร้าความสนใจของผู้เรียนมีภาพประกอบฝึกตามขั้นเรียงจากง่ายไปหา
ยากใช้เวลาฝึกพอสมควรและมีการประเมินผลใช้แบบฝึกเพื่อให้ผู้เรียนได้
ประเมินความสามารถของตนเอง

2.2.5 ประโยชน์ของแบบฝึกทักษะ
ประโยชน์ของแบบฝึกหากเป็นแบบฝึกที่ดีและมีประสิทธิภาพจะช่วย
ทาให้นักเรียนประสบผลสาเร็จในการฝึกทักษะได้เป็นอย่างดีทาให้ครูลด
ภาระการสอนลงและผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มที่เพิ่มความ
มั่นใจในการเรียนได้เป็นอย่างดีหากได้มีการฝึกบ่อยครั้งจนชานาญและยัง
ช่วยผู้เรียนที่มีปัญหาในการเรียนรู้จาเป็นต้องมีการสอนต่างจากกลุ่ม
ปกติทั่วไปด้วยการเสริมเพิ่มเติมให้เป็นพิเศษ
ยุพา ยิ้มพงษ์ (อ้างใน สุนันทา สุนทรประเสริฐ, 2544 ) ได้กล่าวถึง
ประโยชน์ของแบบฝึกไว้หลายข้อด้วยกันดังต่อไปนี้
1. เป็นส่วนเพิ่มเติมหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะเป็นอุปกรณ์
การสอนที่ช่วยลดภาระครูได้มากเพราะแบบฝึกเป็นสิ่งที่จัดทาขึ้นอย่างเป็น
ระบบและมีระเบียบ
2. ช่วยเสริมทักษะแบบฝึกหัดเป็นเครื่องมือที่ช่วยเด็กในการฝึกทักษะแต่
ทั้งนี้จะต้องอาศัยการส่งเสริมและความเอาใจใส่จากครูผู้สอนด้วย
3. ช่วยในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลเนื่องจากเด็กมีความสามารถ
ทางภาษาแตกต่างกันการให้เด็กทาแบบฝึกหัดที่เหมาะสมกับความสามารถ
ของเขาจะช่วยให้เด็กประสบผลสาเร็จในด้านจิตใจมากขึ้น ดังนั้น
แบบฝึกหัดจึงไม่ใช่สมุดฝึกที่ครูจะให้เด็กลงมือทาหน้าต่อหน้าแต่เป็นแหล่ง
ประสบการณ์เฉพาะสาหรับเด็กที่ต้องการความช่วยเหลือพิเศษและเป็น
เครื่องมือช่วยที่มีค่าของครูที่จะสนองความต้องการเป็นรายบุคคลในชั้น
เรียน
4. แบบฝึกช่วยเสริมทักษะให้คงทนลักษณะการฝึกเพื่อช่วยให้เกิดผล
ดังกล่าวนั้น ได้แก่ ฝึกทันทีหลังจากที่เด็กได้เรียนรู้ในเรื่องนั้นๆ ฝึกซ้า
หลายๆครั้งเน้นเฉพาะในเรื่องที่ผิด
2.3 ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับสื่อมัลติมีเดีย
2.3.1 ความหมายของสื่อมัลติมีเดีย
สุกัญญา บุญอิ่ม ( 2555:14 ) กล่าวว่า หมายถึง การใช้เทคโนโลยี
ทางคอมพิวเตอร์นาเสนอ สื่อต่างๆในลักษณะการผสมผสานระหว่างการ
ทางานของเสียง ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง และวีดีทัศน์ซึ่งเชื่อว่า จะช่วย
ให้ประสิทธิภาพ ในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น ทาให้การเรียนการสอน และการ
นาเสนองานมีชีวิตชีวา ภายใต้การทางานโดยเครื่องคอมพิวเตอร์เพียง
เครื่องเดียว และมีปฏิสัมพันธ์กัน ระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
เฟรเทอร์และพอลลีสเซน ( Frater and Paulissen, 1994, 3 )
กล่าวว่า สื่อมัลติมีเดีย หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ในการรวบรวมสื่อและ
ควบคุมอิเล็กทรอนิกส์หลายชนิด เช่นจอคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์
แบบเลเซอร์ติสก์เครื่องเล่นแผ่นเสียงจากซีดีเครื่องเล่นเสียงดนตรีและ
คาพูด เพื่อสื่อความหมายจากความหมายที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า
มัลติมีเดียหมายถึงการนา
คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรมซอฟต์แวร์ ในการนาเสนอสื่อหลายชนิด
เช่น ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวเสียง วิดีทัศน์และอื่น ๆ ที่นามา
ประยุกต์ร่วมกัน เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ตอบสนอง ต่อคาสั่งและการให้ข้อมูล
ย้อยกลับในรูปแบบต่าง ๆ

ซัยยงค์ พรหมวงศ์ (2540) ได้กล่าว วิดีทัศน์ เป็นสื่อการสอนที่เข้ามามี


บทบาทและอิทธิพลสาคัญยิ่งต่อการศึกษาในปัจจุบันเป็นอย่างมาก ดังนั้น
จึงต้องให้เกิดความเข้าใจของคาว่า วิดิทัศน์ ให้ตรงกันในภาษาอังกฤษคือ
คาว่า Video tape หรือ Audio-Visual Media ได้มีนัก การศึกษาตลอดจน
ผู้รู้แปลเป็นภาษาไทยได้แตกต่างกันคือ แถบบันทึกโทรทัศน์แถบ
บันทึกภาพเทปบันทึกภาพเทปโทรทัศน์ในปี พ.ศ.2530 ราชบัณฑิตสถาน
ได้บัญญัติคาว่า วีดีทัศน์แทนคา Video คาว่า วิดี แปลว่า รื่นรมย์หรือชวน
ให้รื่นรมย์สรุปได้ว่าสื่อวิดิทัศน์เป็นวัตถุแถบบันทึกโทรทัศน์และวิดีโอที่
สามารถใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนการสอน
2.3.2 องค์ประกอบของสื่อมัลติมีเดีย
ลักษณะสาคัญของมัลติมีเดียซึ่งประกอบด้วยส่วนที่สาคัญได้แก่
ข้อความเสียงภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหวภาพวีดีทัศน์และการมีปฏิสัมพันธ์ซึ่ง
แต่ละส่วนประกอบมีรายละเอียดที่สาคัญดังนี้ (สุรีย์ ศรีบุญเรือง, 2552. 17)
มัลติมีเดียสามารถจาแนกองค์ประกอบของสื่อต่างๆ ได้เป็น 5 ชนิด
ประกอบด้วย
1. ข้อความหรือตัวอักษร (Text)
ข้อความหรือตัวอักษรถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญของมัลติมีเดีย
ระบบมัลติมีเดียที่นาเสนอผ่านจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมี
รูปแบบและสีของตัวอักษรให้เลือกมากมายตามความต้องการแล้วยัง
สามารถกาหนดลักษณะของการปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ) ในระหว่างการ
นาเสนอได้อีกด้วย

2. ภาพนิ่ง (Stil Image)


ภาพนิ่งเป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหวเช่นภาพถ่ายภาพวาดและภาพ
ลายเส้นเป็นต้นภาพนิ่งนับว่ามีบทบาทต่อระบบงานมัลติมีเดียมากกว่า
ข้อความหรือตัวอักษร ทั้งนี้เนื่องจากภาพจะให้ผลในเชิงการเรียนรู้หรือ
รับรู้ด้วยการมองเห็นได้ดี กว่านอกจากนี้ยังสามารถถ่ายทอดความหมาย
ได้ลึกซึ่งมากกว่าข้อความหรือตัวอักษรนั่นเอง ซึ่งข้อความหรือตัวอักษรจะ
มีข้อจากัด ทางด้านความแตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพนั้นสามารถสื่อ
ความหมายใต้กับทุกชนชาติภาพนิ่งมักจะแสดงอยู่บนสื่อชนิดต่างๆ เช่น
โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์หรือวารสารวิชาการ เป็นต้น

3. ภาพเคลื่อนไหว (Animation)
ภาพเคลื่อนไหว หมายถึง ภาพกราฟฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดง
ขั้นตอนหรือปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่
ของอะตอมในโมเลกุล หรือการเคลื่อนที่ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เป็นต้น
ทั้งนี้เพื่อสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิดแรงจูงใจจากผู้ชม

4. เสียง (Sound)
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สาคัญของมัลติมีเดียโดยจะถูกจัดเก็บอยู่ในรูป
ของสัญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถเล่นกลับไปกลับมาได้โดยใช้โปรแกรมที่
ออกแบบมาโดยเฉพาะสาหรับทางานด้านเสียงหากในงานมัลติมีเดียมีการ
ใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับเนื้อหาในการนาเสนอจะช่วยให้ระบบ
มัลติมีเดียนั้นเกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้นนอกจากนี้ยังช่วยสร้างความ
น่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆได้เป็นอย่างดีทั้งนี้เนื่องจากเสียงมี
อิทธิพลต่อผู้ใช้มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่งนั่นเอง ดังนั้น เสียงจึงเป็น
องค์ประกอบที่จาเป็นสาหรับมัลติมีเดียซึ่งสามารถนาเข้าเสียงผ่านทาง
ไมโครโฟน แผ่นซีดี ดีวีดี เทปและวิทยุ เป็นต้น

5. ภาพวิดีโอ (Video)
วิดีโอเป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสาคัญเป็นอย่างมาก
เนื่องจากวิดีโอในระบบดิจิตอลสามารถนาเสนอข้อความหรือรูปภาพ
(ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่า
องค์ประกอบชนิดอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการใช้วิดีโอในระบบ
มัลติมีเดียก็คือ การสิ้นเปลืองทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจาเป็น
จานวนมาก เนื่องจากการนาเสนอวิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง

(Real-Time) จะต้องประกอบด้วยจานวนภาพไม่ต่ากว่า 30 ภาพต่อ


วินาที (Frame / Second) ถ้าหากการประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผ่าน
กระบวนการบีบอัดขนาดของสัญญาณมาก่อน การนาเสนอภาพเพียง 1
นาทีอาจต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB ซึ่งจะทาให้ไฟล์มีขนาด
ใหญ่เกินขนาดและมีประสิทธิภาพในการทางานที่ต้อยลงซึ่งเมื่อมีการ
พัฒนาเทคโนโลยีที่สามารถบีบอัดขนาดของภาพอย่างต่อเนื่องจนทาให้
ภาพวิดีโอสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและกลายเป็น
สื่อที่มีบทบาทสาคัญต่อระบบมัลติมีเดีย (Multimedia System)
ดังนั้นจึงเห็นได้ว่าปัจจุบัน สื่อมัลติมีเดียบนเว็บและสื่อมัลติมีเดียในรูปแบบ
ของซีดีรอมกาลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก การออกแบบสื่อมัลติมีเดีย
มีความหลากหลายขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์การใช้งาน เช่นหากออกแบบเพื่อ
การเรียนการสอน เราเรียกว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือ
Computer – Assisted Instruction (CAI) สื่อมัลติมีเดียไม่จาเป็นต้องเป็น
CAI เสมอไปข้อมูลต่าง ๆ ที่เราสืบค้นทางอินเทอร์เน็ตซึ่งมีภาพและเสียงก็
ถือเป็นสื่อมัลติมีเดีย ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาสถาบันการศึกษาเกือบทุกระดับ
ได้เล็งเห็นความสาคัญของสื่อมัลติมีเดีย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง CAI แต่
เนื่องจากสื่อมัลติมีเดียที่จาหน่ายมีราคาค่อนข้างแพง และไม่ค่อยสอดคล้อง
กับของหลักสูตร การลงทุนจึงไม่ค่อยได้ผลเต็มที่ สถาบันการศึกษาหลาย
แห่งแก้ปัญหาด้วยการผลิตสื่อมัลติมีเดียเอง ซึ่งแม้จะเป็นทางออกที่ดี แต่ใน
เชิงปฏิบัติมีอุปสรรคมากพอสมควร

2.4 การอ่าน

2.4.1 ความหมายของการอ่าน
การอ่านเป็นทักษะที่มีความสาคัญอย่างมาก ใช้เป็นเครื่องมือในการ
แสวงหาความรู้จากสื่อต่างๆ ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฝึกฝนการ
อ่านให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งมีผู้รู้ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ดังนี้
พัฒจิรา จันทร์ดา (2547 : 11 ) ได้ให้ความหมายของการอ่านว่า
หมายถึง การแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็นความคิด และนา
ความคิดนั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ตัวอักษรคือเครื่องมือแทนคาพูด และ
คาพูดก็เป็นเพียงเสียงที่ใช้แทนของจริงอีกทีหนึ่ง เพราะฉะนั้นหัวใจของ
การอ่านจึงอยู่ที่การเข้าใจความหมายของคา และจากความหมายนี้การ
อ่านไม่ได้หยุดอยู่แค่การออกเสียงได้ถูกต้อง หรือรู้ส่วนประกอบของคาแต่
ละคา และแปลความหมายได้เท่านั้น แต่จะต้องเก็บเอาความคิดจากการ
อ่านไปใช้ประโยชน์อีกด้วย
ฉวีวรรณ์ ปะนามะสา (2547 : 11 ) ได้สรุปความหมายของการ
อ่านว่า เป็นกระบวนการแปลความหมายจากตัวอักษร สัญลักษณ์ คา
กลุ่มคา หรือวลี ประโยค ออกมาเป็นความคิดอย่างมีเหตุผลโดยอาศัย
ความสามารถในการแปลความหมาย การตีความ การจับใจความสาคัญ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างมีจุดมุ่งหมาย
ดังนั้นสรุปได้ว่า การอ่านเป็นทักษะที่สาคัญเป็นอย่างมาก ซึ่ง
เชื่อมโยงกับทักษะการเขียน ถ้าอ่านไม่ได้เราก็ไม่สามารถเขียนได้ การ
อ่านจึงเป็นการนาเอาตัวอักษร มาแปลเป็นความคิด และนาความคิดนั้นไป
ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง

ศรีรัตน์ เจิงกลิ่นจันทร์ (2542, น. 4) สรุปความหมายของ “การอ่าน” ว่า


การอ่านมิใช่แต่เพียงการออกเสียงตามตัวอักษรอย่างเดียว การอ่านเป็น
กระบวนการถ่ายทอดความหมายจากตัวอักษรออกมาเป็นความคิด และ
จากความคิดที่ได้จากการอ่านผสมผสานกับประสบการณ์เดิมที่มีอยู่เป็น
เครื่องช่วยพิจารณาตัดสินใจนาแนวความคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้
ประโยชน์ต่อไป

2.4.2 ความสาคัญของการอ่าน
การอ่านหนังสือของแต่ละบุคคลนั้น จะแตกต่างกันออกไปตาม
ความมุ่งมายของการอ่านเป็นประการสาคัญ ดังที่ผู้รู้ได้กล่าวไว้ดังนี้ห
จิรัฐิติกาล ไชยธวัช (2549 : 19 ) ได้กล่าวถึงความสาคัญ
ของการอ่านว่า การอ่านมีความสาคัญต่อชีวิตประจาวันมาก เพราะการ
อ่านเป็นการช่วยพัฒนาตนเองให้เกิดความรู้ ความคิด และความสามารถที่
จะตัดสินใจได้ถูกต้อง มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้การอ่านยังช่วย
พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของชาติด้วย ดังนั้น บิดา มารดา ครูและ
ผู้ปกครอง ตลอดจนหน่วยงานต่างๆ ของรัฐ จึงควรตระหนักถึงความสาคัญ
และส่งเสริมให้นักเรียนได้เห็นถึงความสาคัญของการอ่านให้มากที่สุดด้วย
พัฒจิรา จันทร์ดา (2547 : 14-15) ได้กล่าวถึงความสาคัญ
ของการอ่านซึ่งมีทั้งหมด 7 ประการ ดังนี้คือ
1. เพราะอยากรู้เรื่อง
2. เพราะต้องการศึกษา
3. เพราะต้องการปรับปรุงอาชีพการงาน
4. เพราะต้องการพักผ่อนเพลิดเพลิน
5. เพราะต้องการแก้ปัญหาในใจ
6. เพราะต้องการชดเชยอารมณ์ และความปราถนา
7. เพราะต้องการให้เป็นที่ยอมรับในวงสังคม
จากข้อความที่กล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า การอ่านมีความสาคัญมาก
เพราะการอ่านทาให้ผู้อ่านมีความรู้ เกิดความคิดต่างๆ ที่สามารถนามาใช้
ในชีวิตประจาวันได้

สมถวิล วิเศษสมบัติ (2528 : 73) ได้กล่าวถึงทักษะการอ่านไว้


สรุปได้ว่า การอ่านเป็นทักษะที่สาคัญ และใช้มากในชีวิตประจาวัน ผู้ที่มี
นิสัยรักการอ่านและมีทักษะในการอ่านมีอัตราเร็วในการอ่านสูง ย่อม
แสวงหาความรู้และการศึกษาเล่าเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนา
ความรู้ที่ได้จากการอ่านไปใช้ในการพูดและการเขียนได้เป็นอย่างดี

ยุพร แสงทักษิณ (2531 : 1) กล่าวว่า “การอ่านหนังสือ เป็นเรื่อง


จาเป็นสาหรับมนุษย์ การอ่านทาให้เราสามารถก้าวตามโลกได้ทัน เพราะ
โลกปัจจุบันนี้ไม่ได้หยุดนิ่ง มีความก้าวหน้าเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทั้ง
ในด้านวัตถุ วิทยาการ ความคิด ฯลฯ ด้วยเหตุที่เราต้องมีความสัมพันธ์กับ
สังคมและสิ่งแวดล้อม เราจึงควรต้องปรับตัวเราให้สอดคล้องไปด้วย
มิฉะนั้นเราจะกลายเป็นคนโง่ ล้าหลัง อาจประพฤติปฏิบัติผิด ๆ พลาด ๆ ก็
ได้ ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์”

อัมพร สุขเกษม (2542 : 1) ได้กล่าวถึง การอ่านหนังสือว่า มี


ความสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ และมีความสาคัญต่อการ
พัฒนาประเทศด้วย เพราะการอ่านหนังสือช่วยให้ผู้อ่านรู้จักวิธีบารุงรักษา
สุขภาพของตน รู้จักวิธีการใหม่ ๆ สาหรับใช้พัฒนาอาชีพ ช่วยผ่อนคลาย
ความเครียด มีความเพลิดเพลิน เกิดความคิดสร้างสรรค์ เข้าใจความ
เคลื่อนไหวทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม สามารถรับรู้และปรับตัวให้
เข้ากับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งล้วนแต่เป็น
ประโยชน์ทงั้ สิ้น

2.4.3 ประเภทของการอ่าน
ในการแบ่งประเภทของการอ่านนั้น มีหลากหลายแตกต่างกันออกไป
แล้วแต่บุคคลนั้นจะอ่านในแนวไหน และได้มีผู้รู้ได้แบ่งประเภทของการ
อ่านไว้ดังนี้

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2545 : 28 ) ได้แบ่งประเภทของ


การอ่านไว้เป็น 2 ประเภท คือ

1.การอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน ได้แก่ การอ่านนิทาน นิยาย หรือเรื่องที่


สนุกสนาน ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4 เน้นการอ่านประเภทนี้มาก ทั้งนี้
เพื่อยั่วยุให้นักเรียนอยากรู้อยากเรียนอยากอ่านหนังสือแล้วถือโอกาสสอน
วิธีอ่านไปในตัว จึงนาเรื่องราวที่สนุกมาอ่านให้ฟัง ให้อ่านต่อหรือให้อ่าน
เองก่อน แล้วจึงฝึกการแจกลูกสะกดคาที่อ่านไม่ได้ภายหลัง เมื่อนักเรียน
เห็นประโยชน์ และคุณค่าของการฝึกแจกลูกก็อยากจะเรียน การแจกลูก
สะกดตัวที่น่าเบื่อหน่ายด้วยความเต็มใจ เด็กอยากรู้เรื่องก็จะอ่านหนังสือ
เองโดยไม่ต้องรอครูสอนเมื่ออ่านมากขึ้นจะให้เกิดนิสัยรักการอ่าน มีเจต
คติต่อการเรียนภาษาและวรรณคดีโดยไม่รู้สึกตัว และเป็นโอกาสของครูจะ
สอดแทรกจุดประสงค์ของการอ่านอื่นๆ และให้อ่านสิ่งที่ยากและไม่น่าสนุก
ต่อไปได้ การอ่านประเภทนี้จะเป็นการอ่านคร่าวๆ อ่านผ่านๆ ไม่เน้น
ความคิดหรือรายละเอียดมากนักจึงฝึกให้อ่านเร็ว และรู้เรื่องหรือจับความ
ได้ดี

2. การอ่านเพื่อความรู้ ได้แก่ การอ่านตารา หนังสือวิชาการ หรือการอ่าน


ที่ต้องการรายละเอียดจากการอ่าน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4 ก็มีการฝึก
วิธีการอ่านเพื่อหาความรู้มาแล้ว แต่เป็นการสอนสอดแทรกอยู่กับการอ่าน
เพื่อความเพลิดเพลิน หรือการกาหนดให้อ่านค้นคว้า จากหนังสือต่างๆ
เพื่อเป็นพื้นฐานในการอ่านหาความรู้ต่อไปซึ่งจะสอนเน้นมากขึ้น ในชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5-6 การอ่านประเภทนี้จะอ่านอย่างละเอียดถี่ถ้วน อาจต้อง
อ่านซ้า เพราะบางครั้งต้องการหลักฐาน ข้อเท็จจริง จึงต้องวิพากษ์วิจารณ์
บางทีต้องจาทุกคาในประโยคหรือจาบทร้อยกรองทั้งบท และมิใช่เพียง
อ่านเนื้อหาของเรื่องราวแต่จะต้องอ่านทั้งคานาและส่วนอื่นๆ เพื่อนาไปใช้
อ้างอิง หรือรายงานต่อไป เช่น รู้ว่าเป็นหนังสืออะไร ใครแต่ง มี
จุดประสงค์หรือความคิดอย่างไร พิมพ์ที่ไหน เมื่อไหร่เป็นต้น ถ้าฝึกฝน
การอ่านประเภทนี้ได้ดีพอ นักเรียนก็สามารถนาไปใช้ในการศึกษาต่อหรือ
ศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ และความเป็นอยู่ของตนและสังคมต่อไปอย่างมี
ประสิทธิภาพตลอดชีวิต
ฉวีวรรณ์ ปะนามะสา ( 2547 : 12-13 ) ได้แบ่งการอ่านเป็น 2
ประเภท คือ

1.การอ่านในใจ เป็นการอ่านเงียบ ผู้อ่านต้องมีความสามารถด้านภาษา


และความคิด สามารถเก็บความคิดจากข้อความที่อ่านได้ การอ่านในใจที่
มีประสิทธิภาพมีลักษณะดังนี้

1.1 อ่านได้เร็ว หมายถึง ใช้เวลาอ่านน้อยแต่อ่านได้มาก

1.2 อ่านได้ความ หมายถึง จับใจความได้

1.3 อ่านตีความ หมายถึง บอกความหมายของข้อความที่อ่าน

1.4 อ่านวิเคราะห์ หมายถึง สามารถแยกแยะส่วนต่างๆ เพื่อพิจารณาทา


ความเข้าใจ

1.5 อ่านขยายความ หมายถึง การอธิบายเพิ่มเติมได้ละเอียด

1.6 อ่านอย่างมีวิจารณญาณ หมายถึง ใช้ปัญญาพิจารณาหาเหตุผล

2.การอ่านออกเสียง หมายถึง การอ่านโดยเปล่งเสียงตามตัวหนังสือ การ


อ่านออกเสียงแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

2.1 การอ่านเสียงปกติ

2.2 การอ่านทานองเสนาะ
จากความหมายประเภทของการอ่านสรุปได้ว่า การอ่านนั้นขึ้นอยู่กับว่า
จะเลือกอ่านแบบใด ซึ่งการอ่านที่นิยมมีดังนี้

1. การอ่านออกเสียง
2. การอ่นในใจ

งานวิจย
ั ทีเ่ กีย
่ วข้อง
งานวิจย
ั ภายในประเทศ
อานวยพร ภูกุดแก้ว (2551) ได้ทาการวิจัยการใช้สื่อของจริงในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม เป็นกลุ่ม
ทดลองจานวน 24คน และนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองแสงเป็นกลุ่มควบคุม
จานวน 19 คน ผลการวิจัยพบว่า
1. นักเรียนที่ใช้ใช้สื่อของจริงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชา
ภาษาอังกฤษมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทักษะด้านการแก้โจทย์ปัญหาสูง
กว่านักเรียนที่ใช้หนังสือเรียนวิชาภาษาอังกฤษอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ระดับ .05
2. นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ใช้สื่อของจริงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นร้อยละ
28.97 ของคะแนนเต็มในขณะที่กลุ่มควบคุมเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.44 ของ
คะแนนก่อนเรียนหรือร้อยละ 7.38 ของคะแนนเต็มจากผลการศึกษาและ
แนวความคิดที่เกี่ยวข้องพบว่าแบบฝึกทักษะเป็นเครื่องมือที่จะช่วย
เพิ่มพูนความรู้ในกลุ่มวิชาที่ต้องฝึกทักษะผู้ศึกษาจึงสนใจและศึกษา
แนวทางที่จะใช้แบบฝึกทักษะให้มีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความ
เข้าใจ และทักษะโดยใช้แบบฝึกทักษะเรื่องการแปลความหมายของพาด
หัวข่าวภาษาอังกฤษในวิชา ภาษาอังกฤษจากหนังสือพิมพ์เพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นต่อไป
นารีนารถ ห่อไธสง (2553) ได้ทาการวิจัยโดยใช้ภาพยนตร์เพื่อ
พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ:การวิจัยปฏิบัติการรูปแบบวงจรลาดับเวลาของ
เจมส์ แมคเคอร์แนน (James McKernan)กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย
คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 โรงเรียนบ้านผือ พิทยาสรรค์ อาเภอ
บ้านผือ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 4 ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2553ผลการวิจัยพบว่า
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ภาพยนตร์ช่วยพัฒนาทักษะการฟัง
พูด อ่านและเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ภาพยนตร์นั้นทาให้นักเรียนเกิดความรู้สึกผ่อน
คลาย แหวกแนวจากการเรียนแบบเดิมๆ เป็นกระตุ้นให้ผู้เรียนกล้า
แสดงออกทั้งทางด้านความคิดการพูดและการเขียนทาให้นักเรียนเปิดใจ
รับสิ่งใหม่ ๆ ประสิทธิภาพการทางานของสมองเพิ่มขึ้นเป็นผลให้การ
จัดการเรียนสอนเป็นไปอย่างสนุกสนานผู้เรียนมีความสุข
ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษนักเรียนเข้าใจและสามารถน า
ภาษาอังกฤษไปใช้อย่างถูกต้องและสามารถจาได้นานเนื่องจากนักเรียน
ได้ดูเรื่องราวได้เรียนรู้จากการปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง
2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นสอดคล้องกับผลงานวิจัยของ
อัศวพร แสงอรุณ
เลิศ (2551 : 46) พบว่า ภาพยนตร์ช่วยเร้าความสนใจของผู้เรียนได้เป็น
อย่างดีและเมื่อนามาใช้ประกอบกับคาถามปลายเปิด เช่น why กับ how ซึ่ง
ช่วยกระตุ้นความคิดตลอดจนปิดโอกาสให้ผู้เรียนถ่ายทอดความคิดเห็น
และเรียบเรียงความคิดก่อนที่จะเขียนบรรยายออกมาก่อนเมื่อนักเรียนคิด
เป็นก็สามารถใช้ผลจากการคิดมาเป็นข้อมูลในการเขียนได้สอดคล้องกับ
แนวคิดของ Wendt และ Butts ที่กล่าวว่าความสามารถในการเรียนจาก
ภาพยนตร์ถ้าได้มีการฝึกปฏิบัติเพิ่มอีกจะทาให้ผลการเรียนรู้ได้ดีขึ้นและ
ผู้เรียนหรือผู้รับการฝึกจะเรียนรู้ได้ดีขึ้นถ้าหากว่าได้มีคู่มือใช้ก่อนและหลัง
การฝึก
3. การศึกษาผลการประเมินทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ในครั้งนี้เป็นการศึกษาผลการใช้
กระบวนการวิจัยปฏิบัติการวงจรปฏิบัติการช่วงเวลาเวลาในขั้นพัฒนา
แผนปฏิบัติและขั้นการปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ ผู้วิจัยได้กาหนดกิจกรรม
การพัฒนาเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 กิจกรรมน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 2
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและขั้นที่ 3 กิจกรรมความคิดรวบยอดผลปรากฏว่า
นักเรียนมีพัฒนาการมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นจานวนนักเรียนที่อยู่
ในระดับคุณภาพดีมากมีเพิ่มขึ้นจากวงจรที่ 1 ถึงวงจรที่ 3 ตามลาดับส่วน
ใหญ่อยู่ในระดับดีถึงระดับดีมากส่วนนักเรียนที่ได้ระดับคุณภาพระดับ
ปรับปรุงมีจานวนน้อยลงจนถึงไม่มีเลยในวงจรสุดท้ายผลการทดสอบหลัง
เรียนทั้ง 3 วงจรสูงกว่าก่อนเรียนทั้งนี้เป็นผลจากกระบวนการวิจัย
ปฏิบัติการตามแนวคิดของเจมส์ แมค เคอร์แนน (James McKernan) และ
การใช้ภาพยนตร์เป็นสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้นามาใช้ในขั้น
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ซึ่งการนาภาพยนตร์มาใช้จัดกิจกรรมการ
เรียนรู้นั้นนอกจากจะช่วยพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียนแล้วการ
ใช้ภาพยนตร์ยังทาให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคิด
เพชรรัตน์ สุริยา (2550) ได้ทาการวิจัยโดยใช้นวัตกรรมชุดฝึกการ
ออกเสียงภาษาอังกฤษEnglish Pronunciation Sets นี้มีวัตถุประสงค์ คือ
สร้างและพัฒนาการออกเสียงภาษาอังกฤษด้วยชุดฝึกการออกเสียง
EnglishPronunciation Sets ให้มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน 80 / 80
ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการออกเสียงภาษาอังกฤษของนักเรียนด้วยชุดฝึกการ
ออกเสียง English Pronunciation Sets และศึกษาความเชื่อมั่นในการพูด
ภาษาอังกฤษของตนเองประชากรสาหรับการทดลองครั้งนี้คือนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 40 คน ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา
ภาษาอังกฤษเพิ่มเติมวิชาภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน ในภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ผลการใช้ชุดฝึกการ
ออกเสียงภาษาอังกฤษ English Pronunciation Sets พบว่า

1. ชุดฝึกการออกเสียง English Pronunciation Sets สามารถพัฒนาการ


ออกเสียงภาษาอังกฤษได้สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด คือ 80 / 80
โดยประสิทธิภาพของชุดฝึกการออกเสียงภาษาอังกฤษเท่ากับ 85.41 และ
ประสิทธิภาพของการทาแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนทั้งหมดเท่ากับ
86.33
2. ผลสัมฤทธิ์ในการออกเสียงภาษาอังกฤษของนักเรียนด้วยชุดฝึกการ
ออกเสียง English Pronunciation Sets มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมทั้ง 6 ชุด
อยู่ในระดับดีและความเชื่อมั่นในการพูดภาษาอังกฤษของตนเองหลังการ
ใช้ชุดฝึกการออกเสียง English Pronunciation Sets มีระดับความเชื่อมั่น
มากการสัมภาษณ์หลังการใช้ชุดฝึกและการพูดภาษาอังกฤษตามหัวข้อที่
กาหนดไว้มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับดี
งานวิจย
ั ต่างประเทศ

Alan F.Smeaton & Paul Browne (2005) การแยกรูปแบบการ


เรียนการสอนด้วยวิดีโอสั้น ๆ วิดีโอเป็นลักษณะของข้อความรูปและเสียง
วิดีโอในรูปแบบดิจิตอลที่เพิ่งได้รับความสนใจมากขึ้นมีการใช้เทคโนโลยี
เข้ามาช่วยปรับแต่งแก้ไขบีบอัดไฟล์การส่งไฟล์การสร้างรูปวิดีโอทาให้
ได้ผลลัพธ์มากมายในรูปของไฟล์วิดีโอการจัดการไฟล์วิดีโอเพื่อให้เหมาะ
กับการประมวลผลโดยอัตโนมัติได้อย่างมีประสิทธิภาพการเก็บและการ
ดูแลเอกสารเป็นเวลานาน ๆ เป็นลักษณะพื้นฐานที่ดีต่อการจัดเก็บเพื่อให้
เกิดความสะดวกต่อการค้นหาพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพมีความถูกต้องสิ่ง
ที่น่าสนใจในการพัฒนาวิดีโอดิจิตอลคือการตรวจสอบบทสนทนาภายใต้
การประเมินมีข้อเสนอความคิดเห็นและพัฒนาวิธีใหม่ ๆ สาหรับแก้ไขไฟล์
วิดีโอเป็นการวิเคราะห์และหาแนวทางเทคนิคการแก้ไขไฟล์วิดีโอ

พาเดลฟอร์ด (Padelford, 1984) ได้ศึกษาวิธีการสอนเพื่อให้เกิด


ทักษะปฏิบัติในวิชาช่างเทคนิคโดยได้เสนอว่าทักษะปฏิบัติเป็นสิ่งที่จาเป็น
มากในการสอนในวิชาต่างๆของสถาบันช่างเทคนิคผู้เรียนบางคนเรียนรู้
ทักษะได้ง่ายซึ่งก็ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติทางด้านร่างกายของผู้เรียนแต่ละคน
ก่อนที่ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทักษะปฏิบัติทางอาชีพพวกเขาจะได้รับการ
ประเมินคุณสมบัติและความสามารถที่จะเรียนทักษะปฏิบัติในการสอน
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะปฏิบัติมีขั้นตอนที่สาคัญ 4 ขั้นด้วยกันคือการรับรู้
การจูงใจการเลียนแบบและการฝึกฝนโดยผู้เรียนสามารถกระทาขั้นตอน
ทั้งขั้นนี้กลับไปกลับมาได้ในระหว่างกระบวนการของการเรียนรู้ครูวิชาชีพ
สามารถช่วยให้ผู้เรียนปรับปรุงการเรียนรู้เพื่อให้ได้มาซึ่งทักษะปฏิบัติได้ 2
แนวทางด้วยกันคือผู้สอนสามารถกาหนดคุณสมบัติที่ต้องการให้เกิดทักษะ
ปฏิบัติและคิดหาวิธีการที่จะช่วยให้ผู้เรียนเพิ่มพูนคุณภาพขาคุณสมบัติ
เหล่านั้นและผู้สอนควรจะเพิ่มขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการที่จะทาให้เกิด
ทักษะปฏิบัติ

คาร์เนอร์ (Carner, 1962, Abstract) ได้ประเมินผลการสอนอ่านทาง


โทรทัศน์ระบบวงจรปิดโดยทดลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6
โรงเรียนคอร์ทแลนด์ (Cortland Puvblic School) นักเรียนเหล่านี้ได้เรียน
วิธีการอ่านจากโทรทัศน์ทุกวันเพื่อฝึกฝนทักษะในการอ่านและให้เข้าใจ
คาศัพท์ผลการทดลองพบว่านักเรียนที่มีความสามารถในการอ่านอยู่ใน
ระดับต่าได้รับความรู้ในการอ่านเพิ่มขึ้นมากกว่าการเรียนในชั้นธรรมดา
บทที่ 3
วิธด
ี าเนินการศึกษา
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านภาษามลายูโดยใช้วีดีโอการ
สอนสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนบ้านควน จังหวัด
สตูล ผู้วิจัยได้ดาเนินการศึกษาดังนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3. การสร้างเครื่องมือในการวิจัย
4. การรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียน
บ้านควน ตาบลบ้านควนอาเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
กลุ่มตัวอย่าง ในการทาวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5/2
จานวน 10 คนโรงเรียนบ้านควน ตาบลบ้านควน อาเภอเมืองสตูลจังหวัด
สตูล
เครื่องมือทีใ
่ ช้ในการวิจย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย
1.แบบทดสอบ ก่อนเรียน – หลังเรียน
2.วีดีโอการสอน ภาษามลายู
3.แบบประเมินการอ่าน จานวน 5 ชุด

การสร้างเครือ
่ งมือในการวิจย

1. ศึกษาสภาพปัญหาและคัดเลือกนักเรียนที่มีปัญหาในด้านทักษะการ
อ่าน
2. ศึกษาเกี่ยวกับการอ่านภาษามลายู การสร้างแบบทดสอบก่อนเรียน
หลังเรียน การสร้างแบบประเมินทักษะด้านการอ่านภาษามลายู โดยใช้
วีดีโอการสอน เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษามลายู
3. จัดสร้างแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน และแบบประเมินทักษะด้าน
การอ่านภาษามลายู
4. นาแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน และแบบประเมินทักษะด้านการ
อ่านภาษามลายูไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ความถูกต้องเหมาะสมเพื่อ
ปรับปรุงแก้ไข
5. ทดสอบทักษะการอ่านของนักเรียนก่อนการเรียนรู้ ทักษะการอ่าน
ภาษามลายูแล้วบันทึกผล
6. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการอ่านภาษามลายูให้กับนักเรียนที่มี
ปัญหาด้านทักษะการอ่าน
7. ทดสอบทักษะการอ่านของนักเรียนหลังการเรียนรู้ ทักษะการอ่าน
ภาษามลายูแล้วบันทึกผล
8. วิเคราะห์ข้อมูลโดยนาผลที่ได้จากการบันทึกในแบบประเมิน มา
เปรียบเทียบแล้วสรุปผลการวิจัย เพื่อนาเสนอ
การรวบรวมข้อมูล
การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงทดลองมีขั้นตอนในการเก็บ
รวบรวมข้อมูลดังต่อไปนี้
1. ดาเนินการทดสอบก่อนเรียน โดยใช้แบบทดสอบทักษะการอ่าน
2. ดาเนินการสอนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
3. ดาเนินการทดสอบหลังเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ เป็นสถิติต่าร้อยละที่
ได้จากการบันทึกผลการทดสอบการอ่านก่อนเรียนและหลังเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติจาก
แบบประเมินที่ได้จากการทดสอบการอ่านก่อนเรียนและหลังเรียน แล้ว
นามาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การอ่านหลังเรียน ซึ่งผู้ศึกษาได้ดาเนินการ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ (Parcentage)
เป็นสถิติในการวิจัย ซึ่งในการคานวณหาค่าร้อยละจะใช้ตัวเลขที่เรา
ต้องการมาเปรียบเทียบหารด้วยจานวนเต็มของสิ่งนั้น แล้วคูณด้วย 100
หลังจากนั้นจึงนาค่าที่ได้ไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์คุณภาพ
ซึ่งได้กาหนดไว้ ดังนี้
ระดับคะแนน (ร้อยละ) ต่ากว่า
80 - 100 ดีมาก

60 - 79 ดี

40 - 59 พอใช้
ต่ากว่า ควรปรับปรุง
ร้อยละ (Percentage) เป็นค่าสถิติที่นิยมใช้กันมาก โดยเป็นการ
เปรียบเทียบความถี่ หรือจานวนที่
𝒇
𝐩 = × 𝟏𝟎𝟎
𝑵

ต้องการกับความถี่หรือจานวนทั้งหมดที่เทียบเป็น 100 จะหาค่าร้อยละจาก


สูตรต่อไปนี้

เมื่อ P แทน ค่าร้อยละ

f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นค่าร้อยละ

N แทน จานวนความถี่ทั้งหมด
ค่าร้อยละจะแสดงความหมายของค่าสามารถนาค่าที่ได้ไปเปรียบเทียบได้

You might also like