โครงการเกษตรผสมผสานเพื่อการยังชีพ

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 4

โครงการเกษตรผสมผสานเพื่อการยังชีพ

หลักการและเหตุผล
สังคมไทยก้าวสูส่ งั คมทุนนิยมมากขึน้ ทำให้เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม ภาคการ
ค้า และภาคบริการเติบโตขึน้ อย่างรวดเร็ว แต่ภาคการเกษตรได้ลดความสำคัญลง กลุ่มชาวนา
ได้หายไปจากสังคมไทย การผลิตเพือ่ การยังชีพ (เพือ่ อยูเ่ พือ่ กิน) และวิถแี บบชาวนาได้หายไป
การผลิตภาคเกษตรได้ปรับเปลีย่ น เป็ นการผลิตเพือ่ อุตสาหกรรมและการค้า
การเติบโตของสังคมทุนนิยมได้ดงึ ดูดผูค้ นเข้าสูเ่ มือง คนหนุ่มสาว คนวัยทำงานอพยพแรงงาน
เข้าสูภ่ าคอุตสาหกรรมและการค้าเกือบหมดสิน้ ทิง้ ไว้แต่เด็ก คนก่อนวัยชราเพือ่ เลีย้ งหลาน มี
ชีวติ อยูด่ ว้ ยเม็ดเงินส่งกลับอย่างประหยัดและแล้งแคล้น
จากการศึกษาชุมชนชนทบ หมูบ่ า้ นเกษตรกรรม พบว่ามีครอบครัวคนก่อนวัยชรา
จำนวนหนึ่ง (อายุ 50-65 ปี) ถูกทิง้ ให้อยูใ่ นชุมชนโดยลำพัง ไม่มเี งินส่งกลับเพือ่ ยังชีพ
พวกเขาได้ดน้ิ รนเพือ่ อยูร่ อด ใช้ผนื แผ่นดินทีม่ อี ยู่ เพือ่ เลีย้ งตนเองให้อยูร่ อด ทำการเพราะปลูก
เลีย้ งสัตว์ เลีย้ งปลา เป็ ด ไก่ สุกร พวกเขาปลูก และเลีย้ งทุกอย่างทีก่ นิ ได้ กลายเป็ นรูปแบบ
ผลิตผสมผสานเพือ่ การยังชีพ เมือ่ จิตใจของพวกเขามีความพอเพียง มีพออยู่ พอกิน ครอบครัว
ก็สามารถอยูด่ มี สี ขุ ได้เช่นกัน
อย่างไรก็ตามครอบครัวทำการเกษตรผสมผสาน ยังประสบปญั หาอุปสรรค์มากมาย
เช่น ทุนจัดซือ้ พันธุพ์ ชื พันธุส์ ตั ว์ การจัดทำปุ๋ย อาหารสัตว์ รวมถึงการจัดการน้ำ เป็ นต้น ดัง
นัน้ เพือ่ การเกษตรแบบผสมผสานให้มคี วามมันคง ่ และขยายผลสู่ครอบครัวอื่นๆ ให้มากขึน้ จึง
ได้ทำ โครงการเกษตรแบบผสมผสานเพือ่ การยังชีพ
วัตถุประสงค์

1. เพือ่ พัฒนารูปแบบการผลิตการเกษตรแบบผสมผสานเพือ่ การยังชีพให้เกิดความ


มันคง

2. เพือ่ ให้รปู แบบการเกษตรผสมผสานเพือ่ การยังชีพเป็ นทางเลือก และทางออกของ


เกษตรกรในยุคแห่งการล้มสลาย
ความสอดคล้องกับยุทธ์ศาสตร์การพัฒนา

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางปรัชญา เศรษฐกิจพอ


เพียงไปสู่ความยังยื
่ น
แนวทางการพัฒนา

1. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการขับเคลื่อนแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง
2. การสร้างและพัฒนาการรวมกลุ่ม
3. การส่งเสริมการเกษตรทฤษฎีใหม่
4. การสร้างภูมคิ มุ้ กันของระบบเศรษฐกิจ
เป้ าหมาย
เชิ งคุณภาพ
- เพือ่ พัฒนาเกษตรกรให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจถึงการเกษตรผสมผสานและสามารถนำความ
รูเ้ พือ่ ไปเป็ นทางเลือกในยุคแห่งการล้มละลาย
- เพือ่ ให้เกษตรกรมีความมันคงทางอาชี
่ พการเกษตรมากขึน้
เชิ งปริ มาณ
- เกษตรกรรายย่อยภายใน เทศบาลตำบลท่าข้าวเปลือก อำเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย
จำนวน 14 หมูบ่ า้ น
วิ ธีดำเนิ นการ

1. ระยะเริม่ ต้นโครงการ (6 เดือนแรก) นำครอบครัวต้นแบบของแต่ละหมูบ่ า้ น


จำนวน 14 หมูบ่ า้ น หมูบ่ า้ นละ 15 ครอบครัวเข้าสูก่ ระบวนการเรียนรู้ เพือ่
พัฒนาการผลิตอย่างต่อเนื่อง
2. ระยะทีส่ อง (6 เดือนหลัง) นำครอบครัวตัวอย่างของแต่ละหมูบ่ า้ นมาขยายผลจำนวน
๑๕ ครอบครัว/หมูบ่ า้ น เข้าร่วมกระบวนการแลกเปลีย่ นเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่อง
3. ยกระดับเครือข่ายแลกเปลีย่ นเรียนรู้ สูค่ วามเป็ นองค์กรทีม่ นคง
ั ่ และเป็ นทีย่ อมรับของ
ทุกคนในเทศบาลตำบลท่าข้าวเปลือก
ระยะเวลาในการดำเนิ นการ

พฤษภาคม 2564 ถึง มิถุนายน 2566


สถานที่ดำเนิ นการ

- หอประชุมโรงเรียนบ้านแม่ลวั หมูท่ ่ี 1 เทศบาลตำบลท่าข้าวเปลือก อำเภอแม่จนั


จังหวัดเชียงราย
่ี เกษตรอินทรียใ์ นเขตเทศบาลตำบลท่าข้าวเปลือก จำนวน 14 หมูบ่ า้ น
- พืน้ ทีท่ ทำ
งบประมาณดำเนิ นการ

รวมทัง้ สิ้ น 540,200 บาท โดยจัดสรรงบประมาณดังนี้

1.งบดำเนินงาน 420,000 บาท เป็ นค่าใช้จา่ ยในการดำเนินงาน ค่าบริหารจัดการ


ค่าสนับสนุ นอุปกรณ์

2.งบจัดประชุม 122,00 บาท เป็ นค่าใช้จา่ ยการจัดอบรมสัมมนา การประสาน


ติดตามงาน
ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ
สำนักปลัดเทศบาล

ตัวชี้วตั /การติ ดตามประเมินผล


เชิงปริมาณ : จำนวนพืน้ ทีใ่ นเขตเทศบาลตำบลไชยปราการ จำนวน 20 หมูบ่ า้ น ได้
รับการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรแบบผสมผสาน

เชิงคุณภาพ : เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการเกษตรผสมผสานเพือ่ การยังชีพในเขต


เทศบาลตำบลท่าข้าวเปลือกได้นำความรูไ้ ปปฏิบตั ใิ ช้ในการผลิตได้ถกู ต้องตามมาตรฐาน
รูบแบบการเกษตรแบบผสมผสาน
ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั

1. ได้พฒ
ั นารูปแบบการผลิตเกษตรผสมผสานเพือ่ การยังชีพ ทำให้เกษตรกรมีความ
มันคงทางด้
่ านอาหาร ลดค่าใช้จา่ ยในการดำรงชีพได้จริง

2. เกษตรกรผูเ้ ข้าร่วมโครงการมีความมันใจว่
่ าการทำเกษตรผสมผสานเพือ่ การยังชีพ
เป็ นทางรอดและเกิดความมันคงในครอบครั
่ ว เพิม่ รายได้ลดรายจ่ายได้จริง

You might also like