Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 226

1

หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต
(หลักสู ตรใหม่ พ.ศ. 2564)

คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
1

หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต
(หลักสู ตรใหม่ พ.ศ. 2564)

คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

คานา

หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต (หลักสู ตรใหม่


พ.ศ. 2564) เปิ ดสอนในคณะอุ ต สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคล
รัตนโกสิ นทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล ประกอบด้วยหัวข้อหลักดังต่อไปนี้ หมวดที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป หมวดที่
2 ข้อมู ล เฉพาะของหลัก สู ตร หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึ ก ษา การดาเนิ นการ และโครงสร้ างของ
หลักสู ตร หมวดที่ 4 ผลการเรี ยนรู ้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการ
ประเมินผลนักศึกษา หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสู ตร หมวดที่ 8
การประเมินและปรับปรุ งการดาเนินการของหลักสู ตร
หลัก สู ต รเป็ นเอกสารส าคัญ ที่ เ อื้ อ ให้ ก ารจัด การเรี ย นการสอนบรรลุ ต ามวัต ถุ ป ระสงค์
คณะกรรมการพัฒนาหลักสู ตรได้ดาเนิ นการอย่างละเอียดรอบคอบ เพื่อให้ผูใ้ ช้สามารถนาไปปฏิบตั ิได้
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์

ปรัชญาการศึกษา

มหาวิท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลรั ต นโกสิ น ทร์ จัด การศึ ก ษาโดยมุ่ ง พัฒ นาก าลัง คนให้ มี
คุณสมบัติพร้อมที่จะประยุกต์และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทย

สารบัญ
หน้ า
1. ชื่อหลักสู ตร 1
2. ชื่อสถาบัน 1
3. หมวดที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป 1
4. หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสู ตร 8
5. หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสู ตร 10
6. หมวดที่ 4 ผลการเรี ยนรู ้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 104
7. หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา 128
8. หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ 130
9. หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสู ตร 131
10. หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุ งการดาเนินการของหลักสู ตร 142
11. เอกสารแนบ 144
1

หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต
(หลักสู ตรใหม่ พ.ศ. 2564)

ชื่ อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์


วิทยาเขตวังไกลกังวล
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี

หมวดที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไป
1. ชื่ อหลักสู ตร
ชื่ อภาษาไทย หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต
ชื่ อภาษาอังกฤษ Bachelor of Engineering
Program in Industrial and Production Engineering

2. ชื่ อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่ อเต็มภาษาไทย วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต)
ชื่ อย่อภาษาไทย วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต )
ชื่ อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Engineering (Industrial and Production Engineering)
ชื่ อย่อภาษาอังกฤษ B.Eng (Industrial and Production Engineering)

3. วิชาเอก
- วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)
- วิศวกรรมการผลิต (Production Engineering)

4. จานวนหน่ วยกิตทีเ่ รียนตลอดหลักสู ตร


148 หน่วยกิต
2

5. รู ปแบบของหลักสู ตร
5.1 รู ปแบบ
หลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี 4 ปี ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริ ญญาตรี สาขา
วิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 และเป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2558
5.2 ประเภทของหลักสู ตร
หลักสู ตรปริ ญญาตรี ทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาทีใ่ ช้
จัดการเรี ยนการสอนเป็ นภาษาไทย
5.4 การรับเข้ าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็ นอย่างดี
5.5 ความร่ วมมือกับสถาบันอื่น
สถาบันการศึกษาจัดการเรี ยนการสอนโดยตรง
5.6 การให้ ปริญญาแก่ ผ้ สู าเร็จการศึกษา
ให้ปริ ญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสู ตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสู ตร
- หลักสู ตรใหม่ พ.ศ. 2564 กาหนดเปิ ดสอนภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2564 เป็ นต้นไป
- ได้ รั บ การพิ จ ารณาอนุ ม ั ติ / เห็ น ชอบหลั ก สู ตร โดยคณะกรรมการ สภาวิ ช าการ
ในการประชุมครั้งที่ ......./2563 วันที่ ......เดือน ............... พ.ศ. 2563
- ได้รับการพิจารณาอนุมตั ิ / เห็นชอบหลักสู ตร โดยคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยฯ ในการ
ประชุม ครั้งที่ ......./2563 วันที่ ...... เดือน ...............พ.ศ. 2563

7. ความพร้ อมในการเผยแพร่ หลักสู ตรคุณภาพและมาตรฐาน


หลัก สู ต รมี ค วามพร้ อ มเผยแพร่ คุ ณ ภาพและมาตรฐานตามเกณฑ์ม าตรฐานหลัก สู ต รระดับ
ปริ ญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2523 ในปี การศึกษา 2564

8. อาชีพทีส่ ามารถประกอบได้ หลังสาเร็จการศึกษา


8.1 วิศวกรอุตสาหการหรื อวิศวกรการผลิต ในสถานประกอบการหรื อหน่วยงานเอกชน
8.2 รับราชการในหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมอุตสาหการหรื อวิศวกรรมการผลิต
8.3 ปฏิบตั ิงานรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมอุตสาหการหรื อวิศวกรรมการผลิต
8.4 นักวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการหรื อวิศวกรรมการผลิต
3

8.5 ประกอบธุ รกิจส่ วนตัวหรื อศึกษาต่อในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น

9. เลขประจาตัวประชาชน ตาแหน่ ง ชื่ อ-สกุล และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ ผ้ รู ับผิดชอบหลักสู ตร

ตาแหน่ ง ปี
รหัส ชื่ อ-นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก สาเร็จการศึกษาจาก
ทางวิชาการ พ.ศ.
1910300005296 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ นายนิวฒั น์ มูเก็ม*, ** วศ.ด. วิศวกรรมอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า 2563
คุณทหารลาดกระบัง
วศ.ม. วิศวกรรมอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า 2553
คุณทหารลาดกระบัง
วศ.บ. วิศวกรรมอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า 2551
คุณทหารลาดกระบัง
3800600561426 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ นายณัฐศักดิ์ พรพุฒิศิริ วศ.ด. วิศวกรรมอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า 2563
คุณทหารลาดกระบัง
วศ.ม. เทคโนโลยีการขึ้นรู ปโลหะ มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอม 2545
เกล้าธนบุรี
คอ.บ. วิ ศ ว ก ร ร ม อุ ต ส า ห ก า ร - สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยา 2540
เครื่ องมือกล เขตภาคใต้ (สงขลา)
372300087746 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ นายคมกริ ช ละวรรณวงษ์ D.Eng Mechanical Engineering Hiroshima University, Japan 2558
วศ.ม. เทคโนโลยีการขึ้นรู ปโลหะ มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอม 2546
เกล้าธนบุรี
อส.บ. วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น 2542
3450100531998 อาจารย์ นายปริ ญญา กวีกิจบัณฑิต D.Eng Mechanical Systems Hiroshima University, Japan 2562
Engineering
วศ.ม. วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2552
วศ.บ. วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2549
1100800299334 อาจารย์ นางสาวภาสุ รีย ์ ล้ าสกุล** Ph.D Mechanical and Loughborough University, UK. 2561
Manufacturing Engineering Asian Institute of Technology
M.Eng Industrial and Manufacturing 2555
Engineering
วศ.บ. วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2552
3800600682291 อาจารย์ นางสาวจิณกมล ลุยจันทร์ ** วศ.ม. วิศวกรรมการผลิต มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอม 2554
เกล้าพระนครเหนือ
วศ.บ. วิศวกรรมวัสดุ สถาบัน เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า 2547
พระนครเหนือ

หมายเหตุ * ประธานหลักสู ตร
** มีประสบการณ์ดา้ นปฏิบตั ิการในสถานประกอบการ
4

10. สถานทีจ่ ัดการเรียนการสอน


คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ วิทยาเขตวัง
ไกลกังวล ถ.เพชรเกษม ต.หนองแก อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 77110

11. สถานการณ์ ภายนอกหรื อการพัฒนาทีจ่ าเป็ นต้ องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสู ตร


11.1 สถานการณ์ หรื อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
สถานการณ์ หรื อการพัฒนาทางเศรษฐกิ จ ที่ จาเป็ นต้องนามาพิ จารณาในการวางแผน
หลักสู ตรขึ้นอยู่กบั แผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560– 2564) ที่กล่าวถึ งการ
เปลี่ ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด รวมถึ งความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ วของวิศวกรรมอุ ตสา
หการและอุตสาหกรรมการผลิต สร้างความเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิ จและสังคม ทั้งในด้านโอกาส
และภัย คุ ก คาม จึ ง จาเป็ นต้องเตรี ย มพร้ อมเพื่อให้ทนั ต่ อการเปลี่ ย นแปลงของเทคโนโลยีดัง กล่ า วใน
อนาคต โดยจะต้องมีการบริ หารจัดการองค์ความรู ้อย่างเป็ นระบบ ทั้งการพัฒนาหรื อสร้างองค์ความรู ้และ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาผสมผสานร่ วมกับจุดแข็งในสังคมไทยกับเป้ าหมายยุทธศาสตร์
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม และแผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลรัตนโกสิ นทร์ ที่เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม ซึ่ งต้องใช้บุคลากรทางวิศวกรรมอุตสาหการและการ
ผลิตที่มีคุณภาพเป็ นจานวนมากเพื่อให้สอดคล้องกับพันธกิจของสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการ
ผลิต และความต้องการที่จาเป็ นสาหรับการพัฒนาประเทศ
11.2 สถานการณ์ หรื อการพัฒนาทางสั งคมและวัฒนธรรม
สถานการณ์หรื อการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมที่จาเป็ นในการวางแผนหลักสู ตร ได้
คานึงถึงการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม ซึ่ งปั จจุบนั ประเทศไทยกาลังเข้าสู่ สังคมผูส้ ู งอายุ เป็ นทั้งโอกาสและ
ภัยคุกคามต่อประเทศ โดยด้านหนึ่งจะมีโอกาสต่อการขยายตลาดสิ นค้าเพื่อสุ ขภาพและการให้บริ การด้าน
อาหารสุ ขภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแพทย์พ้ืนบ้าน สถานที่ท่องเที่ยวและการพักผ่อน จึงนับเป็ นโอกาส
ในการนาเทคโนโลยีม าสนับ สนุ นการพัฒนาภู มิ ปั ญญาท้องถิ่ นและนามาสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ซึ่ ง จะเป็ น
สิ นทรัพย์ทางปั ญญาที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ ในอีกด้านก็จะเป็ นภัยคุกคามในด้านกาลังคนที่มีทกั ษะ
ฝี มือและความเชี่ยวชาญที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้การแพร่ ขยายของ
เทคโนโลยี ทาให้การดูแลและป้ องกันเด็กและวัยรุ่ นจากค่านิ ยมที่ไม่พึงประสงค์เป็ นไปอย่างลาบากมาก
ขึ้ น ตลอดจนปั ญ หาการก่ อ การร้ า ย การระบาดของโรคพัน ธุ ก รรมใหม่ ๆ และการค้า ยาเสพติ ด ใน
หลากหลายรู ปแบบ จึงจาเป็ นต้องให้ความรู ้ ทักษะ และจริ ยธรรมที่ถูกต้องแก่กลุ่มวัยกาลังศึกษา
วิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต เป็ นกลไกหนึ่ งของการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนา
ทุกขั้นตอนที่ตอ้ งใช้ “ความรอบรู ้ ” ในการพัฒนาด้านต่าง ๆ ด้วยความรอบคอบ และเป็ นไปตามลาดับ
ขั้นตอน สอดคล้องกับ วิถีชี วิตของสัง คมไทย รวมทั้ง การเสริ ม สร้ า งศี ล ธรรมและสานึ ก ในคุ ณธรรม
5

จริ ยธรรมในการปฏิบตั ิหน้าที่และดาเนิ นชี วิตด้วยความเพียร อันจะเป็ นภูมิคุม้ กันในตัวที่ดีให้พร้อมเผชิ ญ


การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ
นอกจากนี้ เนื่ องจากปั จจุบนั สังคมโลกาภิวตั น์ เปิ ดโอกาสให้วิศวกรสาขาวิชาอุตสาหการ
ได้ทางานกับบริ ษทั ข้ามชาติ หรื อมีโอกาสไปทางานต่างประเทศมากขึ้น หลักสู ตรจึงควรฝึ กทักษะการ
สื่ อสารด้านภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษให้มากขึ้นเพื่อให้สามารถเรี ยนรู ้ เทคโนโลยีใหม่ๆ
ได้อย่างรวดเร็ วและทางานได้กบั คนทุกชาติ ทุกที่ ทัว่ โลก

12. ผลกระทบจากข้ อ 11.1 และข้ อ 11.2 ต่ อ การพัฒ นาหลัก สู ต รและความเกี่ยวข้ องกับพันธกิจของ


มหาวิทยาลัย
12.1 การพัฒนาหลักสู ตร
ผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอกในการพัฒนาหลักสู ตรจึงจาเป็ นต้องพัฒนาหลักสู ตร
ในเชิงรุ กที่มีศกั ยภาพและสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามวิวฒั นาการของเทคโนโลยี และรองรับ การแข่งขัน
ทางธุ รกิจ โดยอุตสาหกรรมในประเทศ ต้องปรับเปลี่ยนจากการรับจ้างผลิตตามแบบ มามุ่งเน้นเรื่ องการ
ออกแบบ การสร้างนวัตกรรม และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการบริ หารจัดการและการผลิ ต
เพื่อช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการผลิตให้แก่อุตสาหกรรม อีกทั้งยังช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน
ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ ต้องมุ่งสร้างนวัตกรรมจากภูมิปัญญาท้องถิ่น หรื อพัฒนาอุตสาหกรรม
ขนาดกลางและขนาดเล็กที่มีศกั ยภาพ เพื่อให้มีศกั ยภาพในการแข่งขันและส่ งเสริ มให้มีการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่ องและยัง่ ยืน โดยในการผลิ ตบุ คลากรทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิ ต จาเป็ นต้องมีความ
พร้อมที่จะเรี ยนรู ้และสามารถปฏิบตั ิงานได้ทนั ที มีความรู ้เท่าทันต่อเทคโนโลยีในปั จจุบนั และมีศกั ยภาพ
สู งในการพัฒนาตนเองให้เข้ากับลักษณะงานทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
12.2 ความเกีย่ วข้ องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย
หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต วิชาเอก
วิศวกรรมอุตสาหการและวิชาเอกวิศวกรรมการผลิ ต มี ความสอดคล้องกับพันธกิ จของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ ในด้านการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาบนพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของผูร้ ับบริ การ โดยมุ่งเน้นความ
เป็ นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีและการผลิตบัณฑิตนักปฏิบตั ิ ที่สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมือ
อาชีพ สามารถการสร้างงานวิจยั สิ่ งประดิษฐ์ นวัตกรรม บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่
นาไปสู่ การผลิต สามารถถ่ายทอดและสร้างคุณค่าแก่สังคม สามารถปรับเปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลง
ทางเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ ว รวมทั้งส่ งเสริ มด้านคุณธรรมจริ ยธรรมทางวิชาชีพ
6

13. ความสั มพันธ์ กบั หลักสู ตรอื่นที่เปิ ดสอนในคณะ/สาขาวิชาอื่นของมหาวิทยาลัย


รายวิชาที่เปิ ดสอนในหลักสู ตรนี้ นักศึกษาสาขาวิชาอื่นสามารถเลือกเรี ยนได้ในบางรายวิชา ทั้งนี้
ตามความสนใจของแต่ละบุคคล และสามารถเทียบเนื้ อหารายวิชาในบางรายวิชาที่เปิ ดสอนในคณะต่างๆ
ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ โดยเป็ นไปตามหลักเกณฑ์การเทียบโอนของคณะ
เจ้าของรายวิชา
รายวิชาในหมวดศึกษาทัว่ ไป รหัสวิชา ชื่ อวิชา และคาอธิ บายรายวิชาจะมีความสอดคล้องกับ
หลักสู ตรอื่นๆ ที่เปิ ดสอนภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ โดยการบริ หารจัดการ
จะอยูภ่ ายใต้ คณะศิลปศาสตร์
รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือกเสรี นักศึกษาที่ศึกษาในหลักสู ตรนี้ สามารถเลือกเรี ยนได้ตามความสนใจ
ของแต่ ล ะบุ ค คล แต่ ท้ งั นี้ ต้องไปเป็ นตามหลักเกณฑ์และเงื่ อนไขของคณะต่ า งๆที่ เกี่ ยวข้อง โดยการ
บริ หารจัดการจะอยูภ่ ายใต้คณะเจ้าของรายวิชาที่นกั ศึกษาเลือกเรี ยน
13.1 รายวิชาทีต่ ้ องเรียนจากคณะ/สาขาวิชาอื่น
HUM 1013 การเขียนรายงานและสารสนเทศ หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์
HUM 1016 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์
SOC 1019 มนุษย์กบั สังคม หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์
SOC 1021 หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์
ENL 1001 ภาษาอังกฤษทัว่ ไป หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์
ENL 1002 ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพในศตวรรษที่ 21 หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์
ENL 1003 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารในยุคดิจิทลั หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์
ENL 1005 ภาษาอังกฤษเพื่อการสนทนาเชิงโต้ตอบ หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์
THA 1009 การเขียนรายงานทางวิชาชีพ หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์
SCI 1026 เคมีทวั่ ไป หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์
MTH 1016 สถิติทวั่ ไป หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์
REC 1007 นันทนาการเพื่อคุณภาพชีวติ หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์
ENT 1101 แคลคูลสั 1 สาหรับวิศวกร กลุ่มวิชาคณิ ตศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์
ENT 1102 ฟิ สิ กส์ 1 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์
ENT 1103 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 1 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์
ENT 1104 ปฏิบตั ิการเคมีทวั่ ไป กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์
ENT 1105 แคลคูลสั 2 สาหรับวิศวกร กลุ่มวิชาคณิ ตศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์
ENT 1106 ฟิ สิ กส์ 2 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์
ENT 1107 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 2 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์
ENT 2108 แคลคูลสั 3 สาหรับวิศวกร กลุ่มวิชาคณิ ตศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์
7

13.2 รายวิชาทีเ่ ปิ ดสอนเพื่อบริการคณะ/สาขาวิชาอื่น


IPE 1109 การฝึ กพื้นฐานทางวิศวกรรม หลักสู ตร อส.บ. คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
IPE 1110 การเขียนแบบวิศวกรรม หลักสู ตร อส.บ. คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
IPE 2112 วัสดุวศิ วกรรม หลักสู ตร อส.บ. คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
IPE 2115 สถิติวศิ วกรรม หลักสู ตร อส.บ. คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
IPE 2117 กลศาสตร์วศิ วกรรม หลักสู ตร อส.บ. คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี

13.3 การบริหารจัดการ
การจัดการเรี ยนการสอนมีการประสานงานระหว่างคณะ/สาขาวิชา/หลักสู ตรต่างๆ ที่จดั
รายวิชาซึ่ งนักศึ กษาในหลักสู ตรนี้ ไปเรี ยน โดยการวางแผนร่ วมกับผูเ้ กี่ ยวข้องตั้งแต่ผูบ้ ริ หาร อาจารย์
ผูร้ ับผิดชอบหลักสู ตร และอาจารย์ผูส้ อน ซึ่ งอยู่ต่างคณะ/สาขาวิชา/หลักสู ตร เพื่อกาหนดเนื้ อหาสาระ
รายวิชา กลยุทธ์การสอน การวัดและประเมินผล ตลอดจนรายงานผลการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้
ของนักศึ กษา ตามวัตถุ ประสงค์ข องรายวิชานั้นๆ ทั้งนี้ เพื่อให้นักศึ กษาได้บ รรลุ ผลการเรี ยนรู ้ ตามที่
กาหนด
8

หมวดที่ 2 ข้ อมูลเฉพาะของหลักสู ตร
1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ ของหลักสู ตร
1.1 ปรัชญา
ผลิ ต บัณ ฑิ ต วิศ วกรรมอุ ต สาหการและการผลิ ต นัก ปฏิ บ ัติ ร ะดับ ปริ ญ ญาตรี ที่ มี ค วามรู ้
ความสามารถในวิชาชีพสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต ซึ่ งมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ รู ้จกั
ค้นคว้าและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่ อง อย่างมีคุณภาพ คุ ณธรรม จริ ยธรรม สานึ กในจรรยาบรรณแห่ ง
วิชาชีพ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ รับผิดชอบต่อสังคม สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
1.2 ความสาคัญ
หลัก สู ต รวิศ วกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต สาขาวิช าวิศ วกรรมอุ ต สาหการและการผลิ ต เป็ น
หลักสู ตรที่จะพัฒนานักศึกษาให้เป็ นบัณฑิตนักปฏิบตั ิดา้ นวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต ที่มีความรู ้
ความสามารถเกี่ ยวกับการจัดการอุ ตสาหกรรมและโลจิส ติ กส์ รวมทั้ง ระบบการผลิ ตสมัยใหม่ และมี
มาตรฐานวิชาชีพสอดคล้องตามเงื่อนไขของสภาวิศวกร เพื่อเป็ นส่ วนหนึ่งในการสร้างและพัฒนาสังคม
1.3 วัตถุประสงค์ ของหลักสู ตร
1.3.1 เพื่อผลิตวิศวกรปฏิบตั ิการระดับปริ ญญาตรี ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม สามารถปฏิบตั ิงาน
วิศวกรรมอุตสาหการและการผลิตในสภาพปัจจุบนั
1.3.2 เพื่ อผลิ ตวิศ วกรด้า นอุ ตสาหการที่ มี ความสามารถปฏิ บตั ิ งานเฉพาะด้าน สามารถ
วางแผนควบคุ มการผลิ ต การตรวจสอบควบคุ มคุ ณภาพ การศึ กษางานเพื่ อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการ
ทางานทั้งนี้โดยมีความรู ้พ้นื ฐานด้านการออกแบบ การทดสอบ และพัฒนางานอุตสาหกรรม อาทิ การวาง
ผังและการออกแบบโรงงาน วางสายงานผลิต การทดสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ เป็ นต้น
1.3.3 เพื่อให้มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีกิจนิสัยในการค้นคว้า ปรับปรุ งตนเองให้กา้ วหน้า
อยู่เสมอ สามารถวางแผนเพื่ อก าหนดการปฏิ บ ตั ิ ง านและควบคุ ม ที่ ถู ก หลัก วิช าการ ซึ่ ง จะก่ อให้เกิ ด
ผลสัมฤทธิ์ ตามเป้ าหมายอย่างประหยัด รวดเร็ ว ตรงต่อเวลา และคุณภาพ
1.3.4 เพื่ อ ปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรม ความมี ร ะเบี ย บวิ นั ย ตรงต่ อ เวลา ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จริ ต
ขยันหมัน่ เพียร ความสานึกในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และสังคม เป็ นต้น
1.3.5 เพื่อผลิตบัณฑิตที่ มีมนุ ษยสัมพันธ์และมีความสามารถในการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่ น มี
ทักษะในด้านการทางานเป็ นหมู่คณะ สามารถบริ หารจัดการการทางานได้อย่างเหมาะสม และเป็ นผูม้ ี
ทัศนคติที่ดีในการทางาน
1.3.6 เพื่ อผลิ ตบัณฑิ ตที่ มี ค วามสามารถในการติ ดต่ อสื่ อสาร สามารถใช้ภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศ ตลอดจนศัพท์ทางเทคนิ คในการติดต่อสื่ อสาร รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้
เป็ นอย่างดี
9

2. แผนพัฒนาปรับปรุ ง
แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่ งชี้
1. พัฒ นาหลัก สู ต รตามมาตรฐาน 1. ส ารวจเนื้ อหารายวิ ช าของ 1. รายงานสรุ ปเปรี ยบเที ย บ
คุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ ปริ ญญาตรี สาขา
หลักสู ตรเที ยบกับข้อกาหนด รายวิ ช าในหลั ก สู ต รกั บ
วิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 และ ของมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดับ ข้ อ ก าหนดของมาตรฐาน
ให้เป็ นไปตามข้อกาหนดของสภา ป ริ ญ ญ า ต รี ส า ข า คุ ณวุ ฒิ ร ะดั บ ปริ ญญาตรี
วิชาชีพ วิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 วิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553
2. ส ารวจเนื้ อ หาของหลัก สู ต ร 2. รายงานสรุ ปเปรี ยบเที ย บ
เที ย บกับ ข้อก าหนดของสภา หลักสู ตรกับข้อกาหนดสภา
วิชาชีพ วิชาชีพ
3. ปรับปรุ งและพัฒนาหลักสู ตร 3. ได้หลักสู ตรที่สอดคล้องกับ
ให้ ส อดคล้อ งกับ ข้อ ก าหนด ข้ อ ก าหนดของมาตรฐาน
ของมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดับ คุ ณวุ ฒิ ร ะดั บ ปริ ญญาตรี
ป ริ ญ ญ า ต รี ส า ข า สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ.
วิศ วกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 2553 และได้รับการรั บรอง
แ ล ะ ข้ อ ก า ห น ด ข อ ง ส ภ า โดยสภาวิชาชีพ
วิชาชีพ
2. พัฒนาหลักสู ตรให้สอดคล้องกับ 1. ส ารวจความพึ ง พอใจต่ อการ 1. รายงานสรุ ปความพึ งพอใจ
ความต้องการของผูใ้ ช้บณั ฑิต ใช้บณั ฑิต ของผูใ้ ช้บณั ฑิต
2. ปรับปรุ งและพัฒนาหลักสู ตร 2. ได้หลักสู ตรที่สอดคล้องกับ
ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ ง ผูใ้ ช้บณั ฑิต
ของผูใ้ ช้บณั ฑิต
3. พัฒ นาบุ ค ลากร ทรั พ ยากรให้ 1. ส า ร ว จ ค ว า ม พ ร้ อ ม ข อ ง 1. รายงานสรุ ปความพร้อมของ
สอดคล้องกับหลักสู ตร ทรัพยากร ทรัพยากรประกอบการเรี ยน
2. เส นอบรรจุ เข้ า โ ค ร ง ก า ร การสอน
ปรั บปรุ งทรั พ ยากรการเรี ย น 2. โครงการปรับปรุ งทรัพยากร
การสอน การเรี ยนการสอน
3. ส่ ง เสริ ม ให้ บุ ค ลากรเข้า ร่ ว ม 3. บุ ค ลากรเข้ า ร่ วมประชุ ม
อบรมสัมมนาวิชาการ วิชาการ/ฝึ กอบรมอย่างน้อย
ปี ละ 1 ครั้ง
10

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการและโครงสร้ างหลักสู ตร


1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
เป็ นหลักสู ตรปริ ญญาตรี 4 ปี ใช้ระบบทวิภาค โดยแบ่งเวลาศึกษาในปี การศึกษาหนึ่ งๆ
ออกเป็ น 2 ภาคการศึกษาปกติ ซึ่งเป็ นภาคการศึกษาบังคับ คือ
ภาคการศึกษาที่ 1 (First Semester) เริ่ มตั้งแต่เดือนมิถุนายน เป็ นต้นไป มีระยะเวลาศึกษา
ไม่นอ้ ยกว่า 15 สัปดาห์
ภาคการศึกษาที่ 2 (Second Semester) เริ่ มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน เป็ นต้นไป มีระยะเวลา
ศึกษาไม่นอ้ ยกว่า 15 สัปดาห์
1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
มหาวิทยาลัยอาจเปิ ดการศึกษาภาคฤดูร้อน (Summer Semester) ซึ่ งเป็ นภาคการศึกษา ที่
ไม่บงั คับ ใช้เวลาการศึ กษา 6-9 สัปดาห์ โดยเพิ่มชั่วโมงการศึ กษาในแต่ละรายวิชาให้เท่า กับ ภาค
การศึกษาปกติ
1.3 การเทียบเคียงหน่ วยกิตในระบบทวิภาค
ไม่มี

2. การดาเนินการ
2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการจัดการเรียนการสอน
2.1.1 ระยะเวลาการศึกษา
ภาคการศึกษาที่ 1 เริ่ มตั้งแต่เดือนมิถุนายน – เดือนตุลาคม
ภาคการศึกษาที่ 2 เริ่ มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน – เดือนมีนาคม
ภาคการศึกษาฤดูร้อน เริ่ มตั้งแต่เดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม
2.1.2 การลงทะเบียน
(1) จานวนหน่ วยกิต การลงทะเบียน
ให้ลงทะเบียนเรี ยนได้ไม่นอ้ ยกว่า 9 หน่วยกิต และ ไม่เกิน 22 หน่วยกิต สาหรับการ
ลงทะเบียนเรี ยนเต็มเวลา และสาหรับการลงทะเบียนเรี ยนไม่เต็มเวลาให้ลงทะเบียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต
ส่ วนสาหรับการลงทะเบียนภาคฤดู ร้อน ให้ลงทะเบียนได้ไม่เกิ น 9 หน่ วยกิ ต หากลงทะเบียนเรี ยนที่ มี
หน่ ว ยกิ ต แตกต่ า งไปจากข้า งต้น ให้ เ ป็ นไปตามข้อ บัง คับ ของมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคล
รัตนโกสิ นทร์ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2559
11

(2) ระยะเวลาลงทะเบียน
ให้เป็ นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรั ตนโกสิ นทร์ ว่าด้วย
การศึกษาระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2559

2.2 คุณสมบัติของผู้เข้ าศึกษา


2.2.1 ส าเร็ จ การศึ ก ษาไม่ ต่ า กว่ า ระดับ มัธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย (ม.6) แผนการเรี ยน
วิทยาศาสตร์ -คณิ ตศาสตร์ หรื อรับผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาช่ าง
อุตสาหกรรม หรื อเทียบเท่า ที่สาขาวิชาพิจารณาแล้วว่ามีคุณสมบัติที่เหมาะสม
2.2.2 รั บ ผูส้ าเร็ จการศึ ก ษาระดับ ประกาศนี ย บัต รวิ ช าชี พ ชั้นสู ง (ปวส.) สาขาวิช าช่ า ง
อุตสาหกรรม ช่างกลโรงงาน ช่างโลหะ ช่างผลิตเครื่ องมือและแม่พิมพ์ ช่างออกแบบการผลิต ช่างท่อและ
ประสาน ช่างเครื่ องกล ช่างเทคนิ คการผลิต ช่างเขียนแบบเครื่ องกล หรื อเทียบเท่าที่สาขาวิชาฯ พิจารณา
แล้วว่ามีคุณสมบัติที่เหมาะสม โดยวิธีการเทียบโอนผลการเรี ยน ตามข้อบังคับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2559 และเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 การคัด เลื อ กผู เ้ ข้า ศึ ก ษาตามระเบี ย บการคัด เลื อ กเพื่ อ ศึ ก ษาต่ อ ระดับ ปริ ญญาตรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรั ตนโกสิ นทร์ และ/หรื อ ระเบี ยบการสอบคัดเลื อกเพื่อเข้าศึ กษาต่อ
ระดับปริ ญญาตรี ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
2.2.4 คุณสมบัติอื่นตามที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ กาหนด
2.3 ปัญหา/ข้ อจากัดของนักศึกษาแรกเข้ า
นักศึกษามีขอ้ จากัดทางทักษะวิชาชีพ/ภาษา/คณิ ตศาสตร์ /วิทยาศาสตร์ โดยมีพ้ืนฐานความรู ้
ในด้านต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน อีกทั้งการปรับตัวในการศึกษาระดับอุดมศึกษา
2.4 กลยุทธ์ ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้ อจากัดของนักศึกษาตามข้ อ 2.3
2.4.1 จัดกิจกรรม/โครงการปรับพื้นฐานในรายวิชาที่เป็ นข้อจากัดเพื่อปรับพื้นฐานความรู ้
2.4.2 ปรับปรุ งการเรี ยนการสอนโดยเพิ่มภาคปฏิบตั ิเพื่อเสริ มสร้างทักษะและความเข้าใจ
2.4.3 จัด อาจารย์ที่ ป รึ ก ษา/นัก ศึ ก ษารุ่ น พี่ เพื่ อ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ในการปรั บ ตัว ของ
นักศึกษาใหม่
12

2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี
2.5.1 สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต วิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ
1) หลักสู ตร 4 ปี (คุณสมบัติของผูเ้ ข้าศึกษา ข้อ 2.2.1)
จานวนนักศึกษาในแต่ ละปี การศึกษา
ระดับชั้นปี
2564 2565 2566 2567 2568
ชั้นปี ที่ 1 30 30 30 30 30
ชั้นปี ที่ 2 - 30 30 30 30
ชั้นปี ที่ 3 - - 30 30 30
ชั้นปี ที่ 4 - - - 30 30
รวม 30 60 90 120 120
จานวนนักศึกษาที่คาดว่ าจะสาเร็จ - - - 30 30
2) หลักสู ตร 4 ปี โดยวิธีการเทียบโอนผลการเรี ยน (คุณสมบัติของผูเ้ ข้าศึกษาข้อ 2.2.2)
จานวนนักศึกษาในแต่ ละปี การศึกษา
ระดับชั้นปี
2564 2565 2566 2567 2568
ชั้นปี ที่ 1 - - 30 30 30
ชั้นปี ที่ 2 - - - 30 30
ชั้นปี ที่ 3 - - - - 30
รวม - - 30 60 90
จานวนนักศึกษาทีค่ าดว่าจะสาเร็จ - - - - 30

2.5.2 สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต วิชาเอกวิศวกรรมการผลิต


1) หลักสู ตร 4 ปี (คุณสมบัติของผูเ้ ข้าศึกษา ข้อ 2.2.1)
จานวนนักศึกษาในแต่ ละปี การศึกษา
ระดับชั้นปี
2564 2565 2566 2567 2568
ชั้นปี ที่ 1 30 30 30 30 30
ชั้นปี ที่ 2 - 30 30 30 30
ชั้นปี ที่ 3 - - 30 30 30
ชั้นปี ที่ 4 - - - 30 30
รวม 30 60 90 120 120
จานวนนักศึกษาที่คาดว่ าจะสาเร็จ - - - 30 30
13

2) หลักสู ตร 4 ปี โดยวิธีการเทียบโอนผลการเรี ยน (คุณสมบัติของผูเ้ ข้าศึกษาข้อ 2.2.2)


จานวนนักศึกษาในแต่ ละปี การศึกษา
ระดับชั้นปี
2564 2565 2566 2567 2568
ชั้นปี ที่ 1 - - 30 30 30
ชั้นปี ที่ 2 - - - 30 30
ชั้นปี ที่ 3 - - - - 30
รวม - - 30 60 90
จานวนนักศึกษาทีค่ าดว่าจะสาเร็จ - - - - 30

2.6 งบประมาณตามแผน
2.6.1 งบประมาณรายรับ (หน่วย : บาท)
ปี งบประมาณ
รายละเอียดรายรับ
2564 2565 2566 2567 2568
ค่าบารุ งการศึกษาและค่าลงทะเบียนฯ 1,800,000 3,600,000 7,200,000 10,800,000 12,600,000
เงินอุดหนุนจากรัฐบาล (เงินเดือน) 4,320,000 4,536,000 4,762,800 5,000,940 5,250,987
รวม รายรับต่ อปี การศึกษา 6,120,000 8,136,000 11,962,800 15,800,940 17,850,987
2.6.2 งบประมาณรายจ่าย (หน่วย : บาท)
ปี งบประมาณ
หมวดเงิน
2564 2565 2566 2567 2568
ก. งบดาเนินการ
1. ค่าใช้จ่ายบุคลากร (เงินเดือน) 4,320,000 4,536,000 4,762,800 5,000,940 5,250,987
2. ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน (ไม่รวม ข้อ 3) 270,000 540,000 1,080,000 1,620,000 1,890,000
3. ทุนการศึกษา - - - - -
4. รายจ่ายระดับมหาวิทยาลัย 300,000 600,000 1,200,000 1,800,000 2,100,000
(รวม ก) 4,890,000 5,676,000 7,042,800 8,420,940 9,240,987
ข. งบลงทุน
ค่าครุ ภณั ฑ์ 500,000 700,000 900,000 1,200,000 1,500,000
(รวม ข) 500,000 700,000 900,000 1,200,000 1,500,000
รวม (ก) + (ข) 5,390,000 6,376,000 7,942,800 9,620,940 10,740,987
จานวนนักศึกษา 60 120 240 360 420
ค่ าใช้ จ่ายต่ อหัวนักศึกษา 89,833.33 53,133.33 33,095 26,724.83 25,573.78
14

2.7 ระบบการศึกษา
แบบชั้นเรี ยน

2.8 การเทียบโอนหน่ วยกิตรายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ ามมหาวิทยาลัยฯ


เป็ นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ วา่ ด้วยหลักเกณฑ์การ
เทียบโอนผลการเรี ยนระดับปริ ญญา พ.ศ.2557 และค่าธรรมเนียมการเทียบโอนผลการเรี ยนระดับปริ ญญา
และการลงทะเบี ย นข้า มมหาวิ ท ยาลัย ให้ เ ป็ นไปตามข้อ บัง คับ มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคล
รัตนโกสิ นทร์ วา่ ด้วยการศึกษาระดับปริ ญญาตรี พ.ศ.2559 และข้อกาหนดของสภาวิชาชีพ

3. หลักสู ตรและอาจารย์ ผ้ สู อน
หลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี (4 ปี ) มีจานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสู ตรไม่นอ้ ยกว่า 148 หน่วยกิต
สาหรับผูจ้ บการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) และประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
 แบบศึกษาเต็มเวลา ให้ศึกษาได้ไม่เกิน 8 ปี การศึกษา
สาเร็ จการศึกษาได้ไม่ก่อน 6 ภาคการศึกษา
 แบบศึกษาบางเวลา ให้ศึกษาได้ไม่เกิน 12 ปี การศึกษา
สาเร็ จการศึกษาได้ไม่ก่อน 14 ภาคการศึกษา

3.1 หลักสู ตร
3.1.1 จานวนหน่ วยกิตรวมตลอดหลักสู ตรไม่ น้อยกว่า 148 หน่ วยกิต
3.1.2 โครงสร้ างหลักสู ตร
1. หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป 31 หน่ วยกิต
1.1 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต
1.2 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต
1.3 กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต
1.4 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ 6 หน่วยกิต
1.5 กลุ่มวิชาพลศึกษาและนันทนาการ 1 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะ 111 หน่ วยกิต
2.1 วิชาเฉพาะพืน้ ฐาน 47 หน่ วยกิต
2.1.1 กลุ่มวิชาพื้นฐานทางคณิ ตศาสตร์ และ 18 หน่วยกิต
วิทยาศาสตร์
2.1.2 กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม 29 หน่วยกิต
15

2.2 วิชาเฉพาะด้ าน 64 หน่ วยกิต


2.2.1 กลุ่มวิชาบังคับทางวิศวกรรม 42 หน่วยกิต
1) วิชาบังคับร่ วม 26 หน่วยกิต
2) วิชาบังคับของวิชาเอก 16 หน่วยกิต
2.1) วิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ
2.2) วิชาเอกวิศวกรรมการผลิต
2.2.2 กลุ่มวิชาเลือกทางวิศวกรรม 22 หน่วยกิต
1) กลุ่มวิชาฝึ กงานและประสบการภาคสนาม 7 หน่วยกิต
2) กลุ่มวิชาเลือกทางวิศวกรรมของวิชาเอก 15 หน่วยกิต
2.1) วิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ
2.2) วิชาเอกวิศวกรรมการผลิต

3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่ วยกิต


16

3.1.3 รายวิชา
1. หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป 31 หน่ วยกิตประกอบด้ วย
1.1 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่ วยกิต ให้ เลือกศึกษาจากรายวิชาต่ อไปนี้
HUM 1005 ปรัชญาเบื้องต้น 3(3-0-6)
Introduction to Philosophy
HUM 1013 การเขียนรายงานและสารสนเทศ 3(3-0-6)
Report Writing and Information
HUM 1014 จิตวิทยาทัว่ ไป 3(3-0-6)
General Psychology
HUM 1015 จิตวิทยาองค์การ 3(3-0-6)
Organization Psychology
HUM 1016 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ 3(3-0-6)
Personality Development Techniques
หรื อเลือกศึกษารายวิชาอื่นๆ ที่ระบุในเอกสารหลักสู ตรหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป

1.2 กลุ่มวิชาสั งคมศาสตร์ 6 หน่ วยกิต ให้ เลือกศึกษาจากรายวิชาต่ อไปนี้


SOC 1015 กฎหมายในชีวติ ประจาวัน 3(3-0-6)
Law in Daily Use
SOC 1019 มนุษย์กบั สังคม 3(3-0-6)
Human and Society
SOC 1021 หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม 3(2-2-5)
Civic Duty and Morality
SOC 2001 มนุษยสัมพันธ์ 3(3-0-6)
Human Relation
SOC 2002 สังคมกับสิ่ งแวดล้อม 3(3-0-6)
Society and Environment
SOC 2006 อาเซียนศึกษา 3(3-0-6)
ASEAN Studies
หรื อเลือกศึกษารายวิชาอื่นๆ ที่ระบุในเอกสารหลักสู ตรหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป
17

1.3 กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่ วยกิต ให้ เลือกศึกษาจากรายวิชาต่ อไปนี้


ENL 1001 ภาษาอังกฤษทัว่ ไป* 3(3-0-6)
General English
ENL 1002 ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพในศตวรรษที่ 21 3(3-0-6)
English for Career in the 21st Century
ENL 1003 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารในยุคดิจิทลั 3(3-0-6)
English for Digital Communication
ENL 1005 ภาษาอังกฤษเพื่อการสนทนาเชิงโต้ตอบ 3(3-0-6)
English for Interactive Conversation
THA 1006 เทคนิคการสื่ อความหมาย 3(3-0-6)
Communication Techniques
THA 1009 การเขียนรายงานทางวิชาชีพ 3(3-0-6)
Professional Report Writing
หรื อเลือกศึกษารายวิชาอื่นๆ ที่ระบุในเอกสารหลักสู ตรหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป
หมายเหตุ วิชาที่มี * เป็ นวิชาบังคับ

1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 6 หน่ วยกิต ให้ เลือกศึกษาจากรายวิชาต่ อไปนี้


SCI 1026 เคมีทวั่ ไป* 3(3-0-6)
General Chemistry
MTH 1016 สถิติทวั่ ไป 3(3-0-6)
General Statistics
หรื อเลือกศึกษารายวิชาอื่นๆ ที่ระบุในเอกสารหลักสู ตรหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป
หมายเหตุ วิชาที่มี * เป็ นวิชาบังคับ

1.5 กลุ่มวิชาพลศึกษาและนันทนาการ 1 หน่ วยกิต ให้ เลือกศึกษาจากรายวิชาต่ อไปนี้


PED 1034 บาสเกตบอล 1(0-2-1)
Basketball
PED 1035 ฟุตบอล 1(0-2-1)
Football
PED 1036 แบดมินตัน 1(0-2-1)
Badminton
18

REC 1007 นันทนาการเพื่อคุณภาพชีวติ 1(0-2-1)


Recreation for Quality of Life
หรื อเลือกศึกษารายวิชาอื่นๆ ที่ระบุในเอกสารหลักสู ตรหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป

2. หมวดวิชาเฉพาะ 111 หน่ วยกิต


2.1 วิชาเฉพาะพืน้ ฐาน 47 หน่ วยกิต ให้ ศึกษาจากรายวิชาต่ อไปนี้
2.1.1 กลุ่มวิชาพืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 18 หน่ วยกิต
ENT 1101 แคลคูลสั 1 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
Calculus 1 for Engineers
ENT 1102 ฟิ สิ กส์ 1 3(3-0-6)
Physics 1
ENT 1103 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 1 1(0-3-1)
Physics Laboratory 1
ENT 1104 ปฏิบตั ิการเคมีทวั่ ไป 1(0-3-1)
General of Chemistry Laboratory
ENT 1105 แคลคูลสั 2 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
Calculus 2 for Engineers
ENT 1106 ฟิ สิ กส์ 2 3(3-0-6)
Physics 2
ENT 1107 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 2 1(0-3-1)
Physics Laboratory 2
ENT 2108 แคลคูลสั 3 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
Calculus 3 for Engineers

2.1.2 กลุ่มวิชาพืน้ ฐานทางวิศวกรรม 29 หน่ วยกิต


IPE 1109 การฝึ กพื้นฐานทางวิศวกรรม 3(1-6-4)
Basic Engineering Training
IPE 1110 การเขียนแบบวิศวกรรม 3(2-3-5)
Engineering Drawing
IPE 1111 กระบวนการผลิต 3(3-0-6)
Manufacturing Processes
19

IPE 2112 วัสดุวศิ วกรรม 3(3-0-6)


Engineering Materials
IPE 2113 วิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน 3(3-0-6)
Basic Electrical Engineering
IPE 2114 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน 1(0-3-1)
Basic Electrical Engineering Laboratory
IPE 2115 สถิติวศิ วกรรม 3(3-0-3)
Engineering Statistics
IPE 2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3(2-3-5)
Computer Programming
IPE 2117 กลศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6)
Engineering Mechanics
IPE 2118 เทอร์โมไดนามิกส์ของวัสดุ 3(3-0-6)
Thermodynamics of Material
IPE 2119 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องกลพื้นฐาน 1(0-3-1)
Basic Mechanical Engineering Laboratory

2.2 วิชาเฉพาะด้ าน 64 หน่ วยกิต ให้ ศึกษาจากรายวิชาต่ อไปนี้


2.2.1 กลุ่มวิชาบังคับทางวิศวกรรม 42 หน่ วยกิต ให้ ศึกษาจากรายวิชาต่ อไปนี้
1) กลุ่มวิชาบังคับร่ วม 26 หน่ วยกิต ให้ท้ งั สองวิชาเอกศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้
IPE 1201 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมมาตรวิทยา 2(1-3-3)
Metrology Engineering Laboratory
IPE 1202 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องมือกล 3(1-6-4)
Machine Tools Engineering Laboratory
IPE 2203 การศึกษางานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
Industrial Work Study
IPE 2204 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6)
Safety Engineering
IPE 3205 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ 2(1-3-3)
Material Testing Engineering Laboratory
IPE 3206 การควบคุมคุณภาพ 3(3-0-6)
Quality Control
20

IPE 3207 การวางแผนและควบคุมการผลิต 3(3-0-6)


Production Planning and Control
IPE 3208 การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
Industrial Plant Design
IPE 3209 เศรษฐศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6)
Engineering Economy
IPE 3210 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมอุตสาหการ 1(0-3-1)
Industrial Engineering Laboratory

2) วิชาบังคับของวิชาเอก 16 หน่ วยกิต ให้ศึกษาตามวิชาเอกของนักศึกษาดังต่อไปนี้


- กลุ่มวิชาบังคับเอก วิศวกรรมอุตสาหการ
INE 2211 การวิจยั การดาเนินงาน 1 3(3-0-6)
Operations Research 1
INE 2212 วิศวกรรมการบารุ งรักษา 3(2-3-5)
Maintenance Engineering
INE 3213 วิศวกรรมการออกแบบระบบ 3(2-3-5)
System engineering design
INE 3214 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
Feasibility Study of Industrial Projects
INE 3215 การเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ 1(1-0-2)
Industrial Engineering Pre-Project
INE 4216 โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ 3(1-6-4)
Industrial Engineering Project
- กลุ่มวิชาบังคับเอก วิศวกรรมการผลิต
PDE 2217 วิศวกรรมเครื่ องมือ 3(2-3-5)
Tool Engineering
PDE 2218 วิศวกรรมเครื่ องมือกล 3(3-0-6)
Machine Tool Engineering
PDE 3219 วิศวกรรมระบบควบคุมอัตโนมัติ 3(2-3-5)
Automatic Control System Engineering
21

PDE 3220 วิศวกรรมย้อนรอย 3(2-3-5)


Reverse Engineering
PDE 3221 การเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมการผลิต 1(1-0-2)
Production Engineering Pre-Project
PDE 4222 โครงงานวิศวกรรมการผลิต 3(1-6-4)
Production Engineering Project

2.2.2 กลุ่มวิชาเลือกทางวิศวกรรม 22 หน่ วยกิต


1) กลุ่มวิชาฝึ กงานและประสบการณ์ ภาคสนาม 7 หน่ วยกิต*
ให้ เลือกศึกษาจากรายวิชาต่ อไปนี้
IPE 4301 การเตรี ยมสหกิจศึกษาและฝึ กงานทางวิศวกรรม 1(0-2-1)
อุตสาหการและการผลิต
Pre Co-operative Education and Pre Practicum in
Industrial and Production Engineering
IPE 4302 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 6(0-40-0)
Co-operative Education in Industrial and Production
Engineering
IPE 4303 การฝึ กงานทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 3(0-40-0)
Industrial and Production Engineering Practicum
IPE 4304 สัมนาทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 3(3-0-6)
Siminar in Industrial and Production Engineering
หมายเหตุ *
1. ให้ เ ป็ นไปตามเกณฑ์ ข องสหกิ จ ศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคล
รัตนโกสิ นทร์
2. รายวิชา IPE 4302 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต แนะนาให้
ใช้สาหรับนักศึกษาหลักสู ตร 4 ปี ตามคุณสมบัติของผูเ้ ข้าศึกษาตามข้อ 2.2.1
3. รายวิชา IPE 4303 การฝึ กงานทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต แนะนาให้ใช้
สาหรับนักศึกษาหลักสู ตร 4 ปี เทียบโอนรายวิชาตามคุณสมบัติของผูเ้ ข้าศึกษาตามข้อ 2.2.2
22

2) กลุ่มวิชาเลือกทางวิศวกรรมของวิชาเอก 15 หน่ วยกิต


2.1) วิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ ให้ เลือกศึกษาจากรายวิชาต่ อไปนี้
2.1.1) แขนงวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม
INE 2305 การจัดการโครงการทางวิศวกรรม 3(3-0-6)
Engineering Project Management
INE 2306 การจัดการการเพิม่ ผลผลิต 3(3-0-6)
Productivity Management
INE 2307 ระบบการผลิตสาหรับอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
Manufacturing system engineering
INE 2308 การจัดการระบบอัตโนมัติในงานอุตสาหกรรม 3(2-3-5)
Industrial Automatic System Management
INE 3309 การจัดการการผลิตและการดาเนินงาน 3(3-0-6)
Production and Operations Management
INE 3310 การยศาสตร์ 3(3-0-6)
Ergonomics
INE 3311 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ปทางวิศวกรรม 3(2-3-5)
Software Application for Engineering
INE 4312 การออกแบบและตรวจวัดระบบงาน 3(3-0-6)
Design and Measurement of Work Systems
INE 4313 การเป็ นผูป้ ระกอบการเพื่อสร้างธุ รกิจใหม่ 3(2-3-5)
Entrepreneurship for New Venture Creation
2.1.2) แขนงวิชาการวิจัยดาเนินงานและวางแผนการผลิต
INE 3314 วิศวกรรมโลจิสติกส์ 3(3-0-6)
Logistics Engineering
INE 3315 การจาลองสถานการณ์เพื่อการตัดสิ นใจ 3(2-3-5)
Simulation for Decision Making
INE 4316 การพยากรณ์ทางอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
Industrial Forecasting
INE 4317 หลักการหาค่าเหมาะที่สุด 3(3-0-6)
Principle of Optimization
23

INE 4318 การวิจยั การดาเนินงาน 2 3(3-0-6)


Operations Research 2
2.1.3) แขนงวิชาวิศวกรรมคุณภาพ
INE 3319 การออกแบบการทดลองทางวิศวกรรม 3(2-3-5)
Design of Engineering Experiments
INE 3320 วิศวกรรมคุณค่า 3(3-0-6)
Value Engineering
INE 4321 ระบบบริ หารคุณภาพ 3(3-0-6)
Quality Management System
INE 4322 การประกันคุณภาพ 3(3-0-6)
Quality Assurance
INE 4323 การวางแผนและการวิเคราะห์คุณภาพ 3(3-0-6)
Quality Planning and Analysis
2.1.4) แขนงวิชาการจัดการสิ่ งแวดล้อม
INE 2324 ระบบการผลิตที่ยงั่ ยืน 3(3-0-6)
Sustainable Manufacturing System
INE 3325 ระบบการจัดการวัสดุสีเขียว 3(3-0-6)
Green Material Management System
INE 3326 การออกแบบผลิตภัณฑ์อย่างยัง่ ยืน 3(3-0-6)
Sustainable Product Design
INE 4327 การจัดการพลังงานและสิ่ งแวดล้อมในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
Environmental and Energy Management in Industry
INE 4328 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และกฎหมายในงาน 3(3-0-6)
อุตสาหกรรม
Human Resource Development and Industrial Law

2.2) วิชาเอกวิศวกรรมการผลิต เลือกศึกษาได้ จากรายวิชาต่ อไปนี้


2.2.1) แขนงวิชาวิศวกรรมการผลิตและระบบอัตโนมัติ
PDE 2329 คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบ 2 มิติ 3(2-3-5)
Computer Aided Design 2D
24

PDE 2330 วิศวกรรมเครื่ องจักรกลอัตโนมัติเบื้องต้น 3(2-3-5)


Basic Automatic Machine Engineering
PDE 2331 นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ 3(2-3-5)
Pneumatic and Hydraulic
PDE 3332 คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบ 3 มิติ 3(2-3-5)
Computer Aided Design 3D
PDE 3333 คอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบและการผลิต 3(2-3-5)
Computer Aided Design and Manufacturing
PDE 3334 คอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบและงานวิศวกรรม 3(2-3-5)
Computer Aided Design and Engineering
PDE 3335 วิศวกรรมเครื่ องจักรกลอัตโนมัติช้ นั สู ง 3(2-3-5)
Advanced Automatic Machine Engineering
PDE 3336 การออกแบบผลิตภัณฑ์และการผลิตอัตโนมัติ 3(2-3-5)
Products and Automated Production Design
PDE 3337 ระบบอัตโนมัติแบบลีน 3(2-3-5)
Lean Automation
PDE 3338 วิศวกรรมหุ่นยนต์ 3(2-3-5)
Robotics Engineering
PDE 3339 การออกแบบชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกลการผลิต 3(2-3-5)
Design of Production Machine Elements
PDE 4340 การจาลองการขึ้นรู ปโลหะด้วยวิธีการทางไฟไนต์ 3(2-3-5)
เอลิเมนต์
Simulation of Metal Forming by Using Finite Element Method
PDE 4341 ปัญญาประดิษฐ์ 3(3-0-6)
Artificial Intelligence
2.2.2) แขนงวิชาวิศวกรรมเครื่ องมือ
PDE 3342 ไตรบอโลยี 3(2-3-5)
Tribology
PDE 3343 วิศวกรรมการขึ้นรู ปวัสดุ 3(2-3-5)
Material Forming Engineering
25

PDE 3344 วิศวกรรมการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ 3(2-3-5)


Tool and Die Design Engineering
PDE 3345 วิศวกรรมการออกแบบอุปกรณ์นาเจาะและจับงาน 3(2-3-5)
Jig and Fixture Design Engineering
PDE 3346 วิศวกรรมการออกแบบแม่พิมพ์พลาสติก 3(2-3-5)
Plastic Mold Design Engineering
PDE 3347 วิศวกรรมการตัดเฉือนโลหะ 3(3-0-6)
Metal Removal Engineering
PDE 3348 กระบวนการตัดสมัยใหม่ 3(3-0-6)
Modern Machining Processes
PDE 3349 กระบวนการขึ้นรู ปพอลิเมอร์ 3(2-3-5)
Polymer Processing
2.2.3) แขนงวิชาวิศวกรรมวัสดุ
PDE 2350 วิศวกรรมการเชื่อม 3(2-3-5)
Welding Engineering
PDE 3351 โลหะการวิศวกรรม 3(2-3-5)
Engineering Metallurgy
PDE 3352 วิศวกรรมการหล่อโลหะ 3(2-3-5)
Foundry Engineering
PDE 4353 การตรวจสอบและประกันคุณภาพงานเชื่อม 3(2-3-5)
Inspection and Assurance for Welding
PDE 4354 การเลือกวัสดุ 3(3-0-6)
Material Selection
PDE 4355 พฤติกรรมทางกลของวัสดุ 3(2-3-5)
Mechanical Behavior of Materials
PDE 4356 กลศาสตร์ของแข็ง 3(3-0-6)
Solid Mechanics
PDE 4357 วิศกรรมการอบชุบโลหะ 3(2-3-5)
Metal Heat Treatment Engineering
26

PDE 4358 โลหะผสมนอกกลุ่มเหล็ก 3(2-3-5)


Non-ferrous Alloys
PDE 4359 วิศวกรรมพอลิเมอร์ 3(3-0-6)
Polymer Engineering
PDE 4360 การวิเคราะห์ลกั ษณะเฉพาะของวัสดุ 3(2-3-5)
Material Characterization

3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่ วยกิต


ให้นักศึกษาเลื อกเรี ยนจากรายวิชาใดก็ได้ไม่น้อยกว่า 6 หน่ วยกิ ต ที่ เปิ ดสอนในระดับ
ปริ ญญาตรี ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ และต้องไม่เป็ นรายวิชาที่กาหนดให้เรี ยน
โดยไม่นบั หน่วยกิต โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึ กษา และ/หรื อหัวหน้าสาขาวิชา
27

3.1.5 แสดงแผนการศึกษา
แผนการศึกษาเสนอแนะ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต

วิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ
(1) แผนการศึกษาสาหรับการเลือกวิชาสหกิจศึกษา

ปี การศึกษาที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 1
SCI 1026 เคมีทวั่ ไป* 3(3-0-6)
ENT 1104 ปฏิบตั ิการเคมีทวั่ ไป 1(0-3-1)
ENT 1101 แคลคูลสั 1 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
ENT 1102 ฟิ สิ กส์ 1 3(3-0-6)
ENT 1103 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 1 1(0-3-1)
IPE 1109 การฝึ กพื้นฐานทางวิศวกรรม 3(1-6-4)
IPE 1110 การเขียนแบบวิศวกรรม 3(2-3-5)
IPE 1201 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมมาตรวิทยา 2(1-3-3)
รวม 19 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2
ENL 1001 ภาษาอังกฤษทัว่ ไป* 3(3-0-6)
PED XXXX พลศึกษาและนันทนาการ 1 1(X-X-X)
SCI XXXX กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ 2 3(X-X-X)
ENT 1105 แคลคูลสั 2 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
ENT 1106 ฟิ สิ กส์ 2 3(3-0-6)
ENT 1107 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 2 1(0-3-1)
IPE 1111 กระบวนการผลิต 3(3-0-6)
IPE 1202 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องมือกล 3(1-6-4)
รวม 20 หน่ วยกิต
28

ปี การศึกษาที่ 2
ภาคการศึกษาที่ 1
SOC XXXX กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 1 3(X-X-X)
ENL XXXX กลุ่มวิชาภาษา 2 3(X-X-X)
ENT 2108 แคลคูลสั 3 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
IPE 1112 วัสดุวศิ วกรรม 3(3-0-6)
IPE 2113 วิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน 3(3-0-6)
IPE 2114 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน 1(0-3-1)
IPE 2115 สถิติวศิ วกรรม 3(3-0-6)
IPE 2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3(2-3-5)
รวม 22 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2
IPE 2117 กลศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6)
IPE 2118 เทอร์โมไดนามิกส์ของวัสดุ 3(3-0-6)
IPE 2119 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องกลพื้นฐาน 1(0-3-1)
IPE 2203 การศึกษางานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
IPE 2204 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6)
INE 2211 การวิจยั การดาเนินงาน 1 3(3-0-6)
INE 2212 วิศวกรรมการบารุ งรักษา 3(2-3-5)
รวม 19 หน่ วยกิต
29

ปี การศึกษาที่ 3
ภาคการศึกษาที่ 1
ENL XXXX กลุ่มวิชาภาษา 3 3(X-X-X)
IPE 3205 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ 2(1-3-3)
IPE 3206 การควบคุมคุณภาพ 3(3-0-6)
IPE 3207 การวางแผนและควบคุมการผลิต 3(3-0-6)
IPE 3208 การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
IPE 3209 เศรษฐศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6)
IPE 3210 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมอุตสาหการ 1(0-3-1)
INE 3213 วิศวกรรมการออกแบบระบบ 3(2-3-5)
รวม 21 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2
HUM XXXX กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 1 3(X-X-X)
INE 3214 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
INE 3215 การเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ 1(1-0-2)
IPE 4301 การเตรี ยมสหกิจศึกษาและฝึ กงานทางวิศวกรรม 1(0-2-1)
อุตสาหการและการผลิต (วิชาเลือก 1)
INE X3XX วิชาเลือก 2 3(X-X-X)
INE X3XX วิชาเลือก 3 3(X-X-X)
INE X3XX วิชาเลือก 4 3(X-X-X)
XXX XXXX วิชาเลือกเสรี 1 3(X-X-X)
รวม 20 หน่ วยกิต
30

ปี การศึกษาที่ 4
ภาคการศึกษาที่ 1
IPE 4302 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 6(0-40-0)
(วิชาเลือก 5)
รวม 6 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2
HUM XXXX กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 2 3(X-X-X)
ENL XXXX กลุ่มวิชาภาษา 4 3(X-X-X)
SOC XXXX กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 2 3(X-X-X)
INE 4216 โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ 3(1-6-4)
INE X3XX วิชาเลือก 6 3(X-X-X)
INE X3XX วิชาเลือก 7 3(X-X-X)
XXX XXXX วิชาเลือกเสรี 2 3(X-X-X)
รวม 21 หน่ วยกิต
31

วิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ
(2) แผนการศึกษาสาหรับการเลือกวิชาการฝึ กงาน

ปี การศึกษาที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 1
SCI 1026 เคมีทวั่ ไป* 3(3-0-6)
ENT 1104 ปฏิบตั ิการเคมีทวั่ ไป 1(0-3-1)
ENT 1101 แคลคูลสั 1 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
ENT 1102 ฟิ สิ กส์ 1 3(3-0-6)
ENT 1103 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 1 1(0-3-1)
IPE 1109 การฝึ กพื้นฐานทางวิศวกรรม 3(1-6-4)
IPE 1110 การเขียนแบบวิศวกรรม 3(2-3-5)
IPE 1201 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมมาตรวิทยา 2(1-3-3)
รวม 19 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2
ENL 1001 ภาษาอังกฤษทัว่ ไป* 3(3-0-6)
PED XXXX พลศึกษาและนันทนาการ 1 1(X-X-X)
SCI XXXX กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ 2 3(X-X-X)
ENT 1105 แคลคูลสั 2 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
ENT 1106 ฟิ สิ กส์ 2 3(3-0-6)
ENT 1107 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 2 1(0-3-1)
IPE 1111 กระบวนการผลิต 3(3-0-6)
IPE 1202 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องมือกล 3(1-6-4)
รวม 20 หน่ วยกิต
32

ปี การศึกษาที่ 2
ภาคการศึกษาที่ 1
SOC XXXX กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 1 3(X-X-X)
ENL XXXX กลุ่มวิชาภาษา 2 3(X-X-X)
ENT 2108 แคลคูลสั 3 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
IPE 1112 วัสดุวศิ วกรรม 3(3-0-6)
IPE 2113 วิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน 3(3-0-6)
IPE 2114 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน 1(0-3-1)
IPE 2115 สถิติวศิ วกรรม 3(3-0-6)
รวม 19 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2
IPE 2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3(2-3-5)
IPE 2117 กลศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6)
IPE 2118 เทอร์โมไดนามิกส์ของวัสดุ 3(3-0-6)
IPE 2119 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องกลพื้นฐาน 1(0-3-1)
IPE 2203 การศึกษางานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
IPE 2204 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6)
INE 2211 การวิจยั การดาเนินงาน 1 3(3-0-6)
รวม 19 หน่ วยกิต
33

ปี การศึกษาที่ 3
ภาคการศึกษาที่ 1
ENL XXXX กลุ่มวิชาภาษา 3 3(X-X-X)
IPE 3205 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ 2(1-3-3)
IPE 3206 การควบคุมคุณภาพ 3(3-0-6)
IPE 3207 การวางแผนและควบคุมการผลิต 3(3-0-6)
IPE 3208 การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
IPE 3209 เศรษฐศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6)
INE 2212 วิศวกรรมการบารุ งรักษา 3(2-3-5)
รวม 20 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2
HUM XXXX กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 1 3(X-X-X)
IPE 3210 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมอุตสาหการ 1(0-3-1)
INE 3213 วิศวกรรมการออกแบบระบบ 3(2-3-5)
INE 3214 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
INE 3215 การเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ 1(1-0-2)
IPE 4301 การเตรี ยมสหกิจศึกษาและฝึ กงานทางวิศวกรรม 1(0-2-1)
อุตสาหการและการผลิต (วิชาเลือก 1)
INE X3XX วิชาเลือก 2 3(X-X-X)
INE X3XX วิชาเลือก 3 3(X-X-X)
รวม 18 หน่ วยกิต

ภาคฤดูร้อน
IPE 4303 การฝึ กงานทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 3 (0-40-0)
(วิชาเลือก 4)
รวม 3 หน่ วยกิต
34

ปี การศึกษาที่ 4
ภาคการศึกษาที่ 1
HUM XXXX กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 2 3(X-X-X)
ENL XXXX กลุ่มวิชาภาษา 4 3(X-X-X)
IPE 4304 สัมนาทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 3(3-0-6)
(วิชาเลือก 5)
INE X3XX วิชาเลือก 6 3(X-X-X)
INE X3XX วิชาเลือก 7 3(X-X-X)
XXX XXXX วิชาเลือกเสรี 1 3(X-X-X)

รวม 18 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

SOC XXXX กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 2 3(X-X-X)


INE 4216 โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ 3(1-6-4)
INE X3XX วิชาเลือก 8 3(X-X-X)
XXX XXXX วิชาเลือกเสรี 2 3(X-X-X)
รวม 12 หน่ วยกิต
35

วิชาเอกวิศวกรรมการผลิต
(1) แผนการศึกษาสาหรับการเลือกวิชาสหกิจศึกษา

ปี การศึกษาที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 1

SCI 1026 เคมีทวั่ ไป* 3(3-0-6)


ENT 1101 แคลคูลสั 1 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
ENT 1102 ฟิ สิ กส์ 1 3(3-0-6)
ENT 1103 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 1 1(0-3-1)
ENT 1104 ปฏิบตั ิการเคมีทวั่ ไป 1(0-3-1)
IPE 1109 การฝึ กพื้นฐานทางวิศวกรรม 3(1-6-4)
IPE 1110 การเขียนแบบวิศวกรรม 3(2-3-5)
IPE 1201 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมมาตรวิทยา 2(1-3-3)
รวม 19 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

ENL 1001 ภาษาอังกฤษทัว่ ไป* 3(3-0-6)


PED XXXX พลศึกษาและนันทนาการ 1 1(X-X-X)
SCI XXXX กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ 2 3(X-X-X)
ENT 1105 แคลคูลสั 2 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
ENT 1106 ฟิ สิ กส์ 2 3(3-0-6)
ENT 1107 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 2 1(0-3-1)
IPE 1111 กระบวนการผลิต 3(3-0-6)
IPE 1202 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องมือกล 3(1-6-4)
รวม 20 หน่ วยกิต
36

ปี การศึกษาที่ 2
ภาคการศึกษาที่ 1

SOC XXXX กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 1 3(X-X-X)


ENL XXXX กลุ่มวิชาภาษา 2 3(X-X-X)
ENT 2108 แคลคูลสั 3 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
IPE 1112 วัสดุวศิ วกรรม 3(3-0-6)
IPE 2113 วิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน 3(3-0-6)
IPE 2114 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน 1(0-3-1)
IPE 2115 สถิติวศิ วกรรม 3(3-0-6)
IPE 2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3(2-3-5)
รวม 22 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

IPE 2117 กลศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6)


IPE 2118 เทอร์โมไดนามิกส์ของวัสดุ 3(3-0-6)
IPE 2119 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องกลพื้นฐาน 1(0-3-1)
IPE 2203 การศึกษางานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
IPE 2204 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6)
PDE 2217 วิศวกรรมเครื่ องมือ 3(2-3-5)
PDE 2218 วิศวกรรมเครื่ องมือกล 3(3-0-6)
รวม 19 หน่ วยกิต
37

ปี การศึกษาที่ 3
ภาคการศึกษาที่ 1

ENL XXXX กลุ่มวิชาภาษา 3 3(X-X-X)


IPE 3205 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ 2(1-3-3)
IPE 3206 การควบคุมคุณภาพ 3(3-0-6)
IPE 3207 การวางแผนและควบคุมการผลิต 3(3-0-6)
IPE 3208 การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
IPE 3209 เศรษฐศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6)
IPE 3210 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมอุตสาหการ 1(0-3-1)
PDE 3219 วิศวกรรมระบบควบคุมอัตโนมัติ 3(2-3-5)
รวม 21 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

HUM XXXX กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 1 3(X-X-X)


PDE 3220 วิศวกรรมย้อนรอย 3(2-3-5)
PDE 3221 การเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมการผลิต 1(1-0-2)
IPE 4301 การเตรี ยมสหกิจศึกษาและฝึ กงานทางวิศวกรรม 1(0-2-1)
อุตสาหการและการผลิต (วิชาเลือก 1)
PDE X3XX วิชาเลือก 2 3(X-X-X)
PDE X3XX วิชาเลือก 3 3(X-X-X)
PDE X3XX วิชาเลือก 4 3(X-X-X)
XXX XXXX วิชาเลือกเสรี 1 3(X-X-X)
รวม 20 หน่ วยกิต
38

ปี การศึกษาที่ 4
ภาคการศึกษาที่ 1

IPE 4302 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 6(0-40-0)


(วิชาเลือก 5)
รวม 6 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

HUM XXXX กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 2 3(X-X-X)


ENL XXXX กลุ่มวิชาภาษา 4 3(X-X-X)
SOC XXXX กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 2 3(X-X-X)
PDE 4222 โครงงานวิศวกรรมการผลิต 3(1-6-4)
PDE X3XX วิชาเลือก 6 3(X-X-X)
PDE X3XX วิชาเลือก 7 3(X-X-X)
XXX XXXX วิชาเลือกเสรี 2 3(X-X-X)
รวม 21 หน่ วยกิต
39

วิชาเอกวิศวกรรมการผลิต
(2) แผนการศึกษาสาหรับการเลือกวิชาการฝึ กงาน

ปี การศึกษาที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 1

SCI 1026 เคมีทวั่ ไป* 3(3-0-6)


ENT 1101 แคลคูลสั 1 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
ENT 1102 ฟิ สิ กส์ 1 3(3-0-6)
ENT 1103 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 1 1(0-3-1)
ENT 1104 ปฏิบตั ิการเคมีทวั่ ไป 1(0-3-1)
IPE 1109 การฝึ กพื้นฐานทางวิศวกรรม 3(1-6-4)
IPE 1110 การเขียนแบบวิศวกรรม 3(2-3-5)
IPE 1201 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมมาตรวิทยา 2(1-3-3)
รวม 19 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

ENL 1001 ภาษาอังกฤษทัว่ ไป* 3(3-0-6)


PED XXXX พลศึกษาและนันทนาการ 1 1(X-X-X)
SCI XXXX กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ 2 3(X-X-X)
ENT 1105 แคลคูลสั 2 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
ENT 1106 ฟิ สิ กส์ 2 3(3-0-6)
ENT 1107 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 2 1(0-3-1)
IPE 1111 กระบวนการผลิต 3(3-0-6)
IPE 1202 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องมือกล 3(1-6-4)
รวม 20 หน่ วยกิต
40

ปี การศึกษาที่ 2
ภาคการศึกษาที่ 1

SOC XXXX กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 1 3(X-X-X)


ENL XXXX กลุ่มวิชาภาษา 2 3(X-X-X)
ENT 2108 แคลคูลสั 3 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
IPE 1112 วัสดุวศิ วกรรม 3(3-0-6)
IPE 2113 วิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน 3(3-0-6)
IPE 2114 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน 1(0-3-1)
IPE 2115 สถิติวศิ วกรรม 3(3-0-6)
รวม 19 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

IPE 2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3(2-3-5)


IPE 2117 กลศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6)
IPE 2118 เทอร์โมไดนามิกส์ของวัสดุ 3(3-0-6)
IPE 2119 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องกลพื้นฐาน 1(0-3-1)
IPE 2203 การศึกษางานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
IPE 2204 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6)
PDE 2217 วิศวกรรมเครื่ องมือ 3(2-3-5)
รวม 19 หน่ วยกิต
41

ปี การศึกษาที่ 3
ภาคการศึกษาที่ 1

ENL XXXX กลุ่มวิชาภาษา 3 3(X-X-X)


IPE 3205 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ 2(1-3-3)
IPE 3206 การควบคุมคุณภาพ 3(3-0-6)
IPE 3207 การวางแผนและควบคุมการผลิต 3(3-0-6)
IPE 3208 การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
IPE 3209 เศรษฐศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6)
PDE 2218 วิศวกรรมเครื่ องมือกล 3(3-0-6)
รวม 20 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

HUM XXXX กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 1 3(X-X-X)


IPE 3210 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมอุตสาหการ 1(0-3-1)
PDE 3219 วิศวกรรมระบบควบคุมอัตโนมัติ 3(2-3-5)
PDE 3220 วิศวกรรมย้อนรอย 3(2-3-5)
PDE 3221 การเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมการผลิต 1(1-0-2)
IPE 4301 การเตรี ยมสหกิจศึกษาและฝึ กงานทางวิศวกรรม 1(0-2-1)
อุตสาหการและการผลิต (วิชาเลือก 1)
PDE X3XX วิชาเลือก 2 3(X-X-X)
PDE X3XX วิชาเลือก 3 3(X-X-X)
รวม 18 หน่ วยกิต

ภาคฤดูร้อน
IPE 4303 การฝึ กงานทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 3 (0-40-0)
(วิชาเลือก 4)
รวม 3 หน่ วยกิต
42

ปี การศึกษาที่ 4
ภาคการศึกษาที่ 1
HUM XXXX กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 2 3(X-X-X)
ENL XXXX กลุ่มวิชาภาษา 4 3(X-X-X)
IPE 4304 สัมนาทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 3(3-0-6)
(วิชาเลือก 5)
PDE X3XX วิชาเลือก 6 3(X-X-X)
PDE X3XX วิชาเลือก 7 3(X-X-X)
XXX XXXX วิชาเลือกเสรี 1 3(X-X-X)
รวม 18 หน่ วยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

SOC XXXX กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 2 3(X-X-X)


PDE 4222 โครงงานวิศวกรรมการผลิต 3(1-6-4)
PDE X3XX วิชาเลือก 8 3(X-X-X)
XXX XXXX วิชาเลือกเสรี 2 3(X-X-X)
รวม 12 หน่ วยกิต
43

3.1.6 การจัดรหัสและหน่ วยกิตรายวิชา


ความหมายของรหัสรายวิชา การจัดรหัสรายวิชา กาหนดด้วยอักษรย่อเป็ นภาษาอังกฤษ 3 ตัว
นาหน้าตามด้วยรหัสตัวเลข 4 หลัก ดังนี้
อั ก ษรย่ อ ภาษ าอั ง กฤ ษส าหรั บ คณะ ห รื อ
สาขาวิชา หรื อกลุ่มวิชาศึกษาทัว่ ไป
ปี ที่ควรศึกษา
หมวดวิชาหรื อกลุ่มวิชา
ลาดับวิชาในกลุ่มวิชา

X X X X X X X

ปี ทีค่ วรศึกษา หมวดวิชา/กลุ่มวิชา หมวดวิชา/กลุ่มวิชา


1 – ปี ที่ 1 (ระดับปริญญาตรี) (ระดับบัณฑิตศึกษา)
2 – ปี ที่ 2 0 – หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป 0 – กลุ่มวิชาปรับพื้นฐาน
3 – ปี ที่ 3 ป .ตรี 1 – กลุ่มวิชาชีพพื้นฐาน 1 – กลุ่มวิชาบังคับ
4 – ปี ที่ 4 2 – กลุ่มวิชาชีพบังคับ 2 – กลุ่มวิชาเอก
5 – ปี ที่ 5 3 – กลุ่มวิชาชีพเลือก 3 – กลุ่มวิชาเลือก
6 – 7 – บัณฑิตศึกษา 4 – กลุ่มวิทยานิพนธ์

หน่ วยกิตและชั่วโมงเรียน
การกาหนดหน่วยกิตและชัว่ โมงเรี ยน จะกาหนดเป็ นตัวเลขตามรหัส ที่มีความหมายดังนี้
หน่วยกิต
ชัว่ โมงเรี ยนทฤษฎี
ชัว่ โมงเรี ยนปฏิบตั ิ
ชัว่ โมงศึกษานอกเวลา

X (X - X - X)
44

3.1.7 คาอธิบายรายวิชา
วิชาบังคับก่อน
การลงทะเบียนเรี ยนรายวิชาที่มีรายวิชาบัง คับก่อน ให้ปฏิบตั ิตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยี ร าชมงคลรั ต นโกสิ น ทร์ ว่ า ด้ ว ยการศึ ก ษาระดับ ปริ ญญาตรี พ.ศ.2559 และประกาศ
มหาวิท ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรั ตนโกสิ นทร์ เรื่ อง เกณฑ์ก ารวัดและประเมินผลการศึก ษาระดับ
ปริ ญญาตรี
1. หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป
1.1 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
HUM 1005 ปรัชญาเบื้องต้ น 3(3-0-6)
Introduction to Philosophy
วิชาบังคับก่อน : ไม่ มี
ความหมายของปรัชญา โครงสร้างของปรัชญา ปัญหาหลัก และแนวคิดทางปรัชญาของ
นักปรัชญา และลัทธิปรัชญา การวิเคราะห์ประเด็นปัญหาบางเรื่ องในเชิงปรัชญา
Prerequisite: None
Meaning of philosophy, philosophical structures, philosophical problems and concepts
of philosophers and philosopher’s creed, and analysis in some philosophical problem

HUM 1013 การเขียนรายงานและสารสนเทศ 3(3-0-6)


Report Writing and Information
วิชาบังคับก่อน : ไม่ มี
ความรู ้ พ้ื น ฐานของสารสนเทศ แหล่ ง สารสนเทศและการใช้ เ ครื่ องมื อ สื บค้ น
สารสนเทศที่เป็ นประโยชน์ การเลื อกและนาสารสนเทศไปใช้ได้อย่างเหมาะสม เพื่อ
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การเขียนรายงานทางวิชาการและบรรณานุกรมอย่างถูกต้อง
Prerequisite : None
Basic knowledge of information, information resources, and information retrieval,
selecting and using appropriate information for self-access learning, writing academic
reports and bibliography
45

HUM 1014 จิตวิทยาทัว่ ไป 3(3-0-6)


General Psychology
วิชาบังคับก่อน : ไม่ มี
ความรู ้ พ้ืนฐานเกี่ ยวกับจิ ตวิทยา ความแตกต่างระหว่างบุ ค คล พัฒนาการในวัยต่ า งๆ
อิทธิ พลของพันธุ กรรมและสิ่ งแวดล้อม สรี ระวิทยาที่มีอิทธิ พลต่อพฤติกรรมของมนุษย์
การรับรู ้การเรี ยนรู ้ เชาวน์ปัญญา อารมณ์ การจูงใจบุคลิกภาพ สุ ขภาพจิต การปรับตัว
และการประยุกต์จิตวิทยาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาชีพและการเปลี่ยนแปลงของกระแส
โลก
Prerequisite : None
Basic knowledge of psychology including personal differences and development
indifferent ages, influence of hereditary and environment, human anatomy influencing
human behavior, perception and learning, intellect, emotion, motivation, personality,
mentality, adjustment and adaptation of psychology among changes of global trend

HUM 1015 จิตวิทยาองค์ การ 3(3-0-6)


Organizational Psychology
วิชาบังคับก่อน : ไม่ มี
ความหมาย ความส าคัญ ของจิ ต วิท ยาองค์ก าร ระบบองค์ก าร วัฒ นธรรมองค์ก าร
พฤติ ก รรมของบุ ค คลในองค์ ก าร แรงจู ง ใจและความพึ ง พอใจในการท างาน
สภาพแวดล้อมในการทางาน การบริ หารจัดการ การทางานเป็ นทีม การสรรหา การ
คัดเลื อก การฝึ กอบรมและการพัฒนาบุ คลากรให้สอดคล้องกับการเปลี่ ยนแปลงของ
กระแสโลก
Prerequisite : None
Meaning and importance of organizational psychology including organizational
systems, organizational cultures, behaviors of organization’s personnel, motivation and
job satisfaction working environment, management, team working, personnel
recruitment, personnel selection, training and personnel development, among changes
of global trend
46

HUM 1016 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ 3(3-0-6)


Personality Development Techniques
วิชาบังคับก่อน : ไม่ มี
ความรู ้ พ้ืนฐานเกี่ ยวกับบุคลิกภาพ ทฤษฎี บุคลิ กภาพ การรับรู ้ เกี่ ยวกับตนเอง ปั จจัยที่มี
อิทธิ พลต่อบุคลิกภาพ อิทธิ พลของมนุ ษยสัมพันธ์กบั บุคลิกภาพ สุ ขภาพจิต การปรับตัว
เทคนิ ควิธีปรับปรุ งบุคลิ กภาพ มารยาทและปฏิ สัมพันธ์ในสั งคมไทย และสากล เพื่อ
นาไปสู่ การพัฒนาบุคลิกภาพที่เหมาะสมตามสาขาวิชาชีพ
Prerequisite : None
Basic knowledge regarding personality, personality theories, self-perception, factors
influencing personality, influence of human relations against personality, mental health,
self-adjustment, personality development techniques, etiquette and interaction in Thai
and international society for the benefit of appropriate personality development for
careers

1.2 กลุ่มวิชาสั งคมศาสตร์


SOC 1015 กฎหมายในชีวติ ประจาวัน 3(3-0-6)
Law in Daily Use
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบตั ิพ้ืนฐานของกฎหมายโดยทัว่ ไปที่มีความสัมพันธ์กบั กฎเกณฑ์
อื่น ๆ ในสังคม การแยกประเภทของกฎหมาย ขอบเขตที่กฎหมายบังคับใช้ สิ ทธิ ข้ นั
พื้ น ฐานตามกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน กระบวนการยุ ติ ธ รรมของไทย
กฎหมายอาญาที่ ค วรรู ้ และกฎหมายว่า ด้วยความสั ม พันธ์ ข องครอบครั วและมรดก
เพื่อให้ทราบถึงสิ ทธิ หน้าที่ และเสรี ภาพ อันพึงได้รับตามกฎหมายตลอดจนสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้
Prerequisite: None
Basic rules and procedures of general law related to other social norms, scope of law,
basic rights under private law and public law, Thai justice system, criminal law, the law
related to relationship on family and inheritance, rights, duties and freedoms obtained
by the law and as well as an application of law in everyday life
47

SOC 1019 มนุษย์ กบั สั งคม 3(3-0-6)


Human and Society
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ความรู ้ เบื้องต้นทางสังคมศาสตร์ ความเป็ นมาของมนุ ษย์และสังคม ปั จจัยที่ก่อให้เกิ ด
การเปลี่ ย นแปลงทางสัง คม วัฒนธรรม ปั ญหาสั ง คม ค่ า นิ ย ม การขัดเกลาทางสังคม
สถาบันทางสังคม ภายใต้กรอบกติกาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม ตลอดจนนา
ความรู ้ ความเข้าใจมาใช้ในชีวติ ประจาวัน ในสังคมยุคการเปลี่ยนแปลงได้
Prerequisite: None
Basic knowledge of social sciences, background of human and society, factors causing
social and culture changes, social problems, values, socialization, social institutions,
under social rules, economics, politics and cultures as well as implementing knowledge
in daily life in the age of social changes

SOC 1021 หน้ าทีพ่ ลเมืองและศีลธรรม 3(2-2-5)


Civic Duty and Morality
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
สิ ทธิ หน้าที่ข้ นั พื้นฐานภายใต้กรอบกติกาของสังคม บทบาทของความเป็ นพลเมือง การ
เรี ยนรู ้ และปฏิ บตั ิตนอย่างรับผิดชอบต่อสังคม คุ ณธรรม จริ ยธรรมและศีลธรรม ที่
สามารถพัฒนาตนเองให้เกิดคุ ณค่าบนวิถีหน้าที่พลเมืองที่ดี ความเป็ นพลเมืองโลกตาม
กรอบเป้ าหมายการพัฒนาที่ ยงั่ ยืน หน้าที่พลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคมในการ
ต่อต้านการทุจริ ตและห่างไกลยาเสพติด
Prerequisite: None
Human rights, basic responsibilities under the rules of society, roles of citizenship,
learning and taking social responsibilities, ethics and morality to improve oneself for
having good value of citizenship, global citizenship within the sustainable development
goals, roles and social responsibilities of citizenship for anti-corruption and staying
drug-free
48

SOC 2001 มนุษยสั มพันธ์ 3(3-0-6)


Human Relations
วิชาบังคับก่อน : ไม่ มี
ความสาคัญ ธรรมชาติ และพฤติ กรรมของมนุ ษย์ หลักจิตวิทยา และทฤษฎี ที่เกี่ ยวข้อง
การสื่ อสารแรงจูงใจสาหรับมนุษยสัมพันธ์ในหน่วยงาน ในสังคม ผูน้ าและผูต้ าม มนุษย
สัมพันธ์ในหน่ วยงานตามพื้นฐานวัฒนธรรมไทยและสากล หลักธรรมทางศาสนาการ
ฝึ กอบรมเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
Prerequisite : None
Importance, nature and behaviors of human beings, principles of psychology and related
theories, motivation communication for human relations in workplaces, human
relations in families, leaders and followers, human relations in workplaces based on
culture, religious principles, and training for human relations

SOC 2002 สั งคมกับสิ่ งแวดล้อม 3(3-0-6)


Society and Environment
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ความรู ้พ้ืนฐานของสังคมและสิ่ งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุ ษย์กบั สิ่ งแวดล้อม
การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม การอนุรักษ์ความ
หลากหลายทางชี ว ภาพในท้อ งถิ่ น ตระหนัก ถึ ง การใช้ท รั พ ยากรอย่า งรู ้ คุ ณ ค่ า การ
วิเคราะห์ระบบสิ่ งแวดล้อม การประเมินผลกระทบและการจัดการสิ่ งแวดล้อมอย่างมี
ระบบแบบแผน สามารถนาไปใช้แก้ไขปั ญหารวมถึงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมได้อย่างยัง่ ยืน
Prerequisite : None
Basic knowledge of society and environment, relationship between humans and
environment, utilization and conservation of natural resources and environment,
conservation of local biodiversity, realizing the use of valuable resources, analyzing of
environmental system, systematic impact assessment and environmental management,
applying knowledge to solve problems as well as sustainable management of natural
resources and environment
49

SOC 2006 อาเซียนศึกษา 3(3-0-6)


ASEAN Studies
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ประวัติศาสตร์ สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี สังคม เศรษฐกิจ
ระบบการจัดการศึกษาของประเทศในกลุ่มประชาคมอาเซี ยนทิศทางการพัฒนาการเข้าสู่
ประชาคมอาเซี ยน และเหตุการณ์ปัจจุบนั ที่เกี่ยวกับประชาคมอาเซี ยน
Prerequisite : None
Histories, landscapes, climates, languages, cultures, traditions, societies and economies
and educational management systems of Association of South East Asian Nations,
development plan for ASEAN community, and current incidences related to ASEAN
community

1.3 กลุ่มวิชาภาษา
ENL 1001 ภาษาอังกฤษทัว่ ไป 3(3-0-6)
General English
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ศัพท์ โครงสร้างไวยากรณ์ และสานวนภาษาอังกฤษในระดับพื้นฐานที่ใช้ในบริ บททาง
สังคมปั จจุบนั ในลักษณะของการบูรณาการทักษะพื้นฐานทั้งสี่ ทกั ษะ การฟั ง การพูด
การอ่าน และการเขียน
Prerequisite: None
Fundamental English vocabulary, structures and expressions used in contextualized
social language, dealing with integration in four basic skills; listening, speaking,
reading, and writing

ENL 1002 ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพในศตวรรษที่ 21 3(3-0-6)


English for Career in the 21st Century
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ศัพท์ โครงสร้าง ไวยากรณ์ และสานวนภาษาอังกฤษ ฝึ กทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และ
การเขียนสาหรับการประกอบอาชีพที่หลากหลายในศตวรรษที่ 21
Prerequisite: None
English vocabularies, structures, expressions, practicing listening, speaking, reading
and writing skills for various careers in the 21st century
50

ENL 1003 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารในยุคดิจิทลั 3(3-0-6)


English for Digital Communication
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ โดยเน้นทักษะทางด้านการฟั ง พูด อ่าน และการเขียนจาก
แหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ทางเทคโนโลยีดิจิทลั
Prerequisite: None
Language skill development with an emphasis on listening, speaking, reading, and
writing from different sources of digital technology

ENL 1005 ภาษาอังกฤษเพื่อการสนทนาเชิงโต้ ตอบ 3(3-0-6)


English for Interactive Conversation
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
คาศัพท์ สานวน รู ปแบบภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสนทนาเชิงโต้ตอบ ทักษะการฟัง และ
การพูด การแนะนาตัวเองและผูอ้ ื่น การสนทนาทางโทรศัพท์ การเชื้ อเชิ ญและการนัด
หมาย การบอกที่ต้ งั และทิศทาง การแสดงความคิดเห็นในสถานการณ์ต่าง ๆ
Prerequisite: None
English vocabulary, idioms, and forms for interactive conversations; listening and
speaking skills; self-introduction, telephoning, making invitations and appointments,
giving locations and directions, and expressing opinions in various situations

THA 1006 เทคนิคการสื่ อความหมาย 3(3-0-6)


Communication Techniques
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ความสาคัญของการสื่ อความหมายในชีวิตประจาวัน กระบวนการและรู ปแบบของการ
สื่ อความหมาย การใช้ภาษาในการสื่ อความหมาย ปั ญหาที่เกิ ดจากการสื่ อความหมาย
ตลอดจนแนวทางแก้ไข
Prerequisite: None
Importance of daily communication, processes and forms of different communications,
language used in communications, problems found in communication and ways to solve
the problems
51

THA 1009 การเขียนรายงานทางวิชาชีพ 3(3-0-6)


Professional Report Writing
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ความสาคัญของการเขียนรายงานทางวิชาชีพ ลักษณะสาคัญของรายงาน ส่ วนประกอบ
และโครงสร้างหลักของรายงาน วิธีการค้นคว้า หาข้อมูลสารสนเทศจากแหล่งวิทยาการ
ต่าง ๆ เพื่อนามาเขียนรายงาน การเขียนโครงร่ างรายงาน บทคัดย่อ อ้างอิง เชิ งอรรถ
บรรณานุกรม และการนาเสนอรายงานเพื่อใช้ในงานอาชีพ
Prerequisite: None
Importance of career reports writing, important features, components and main
structures of reports, information searching methods from different academic sources
to write career report drafts, abstracts bibliography footnote and career presentations

1.4 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์


SCI 1026 เคมีทวั่ ไป 3(3-0-6)
General Chemistry
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
อะตอมและอิเล็กตรอนในอะตอม ระบบพีริออดิ ก พันธะเคมี ปฏิ กิริยาเคมี สารละลาย
แก๊ส ของเหลวและของแข็ง อุณหพลศาสตร์ จลนศาสตร์ เคมี สมดุลเคมี สารละลายอิเล็ก
โทรไลต์และการแตกตัวเป็ นอิออน กรดและเบส สมดุลของอิออน เคมีไฟฟ้า
Prerequisite: None
Atoms and electron in atoms, periodic system, chemical bonds, chemical reactions,
solution, gas, liquid and solid, thermodynamics, chemical kinetics, chemical
equilibrium, electrolyte, and ionization, acids and bases, ion equilibrium,
electrochemistry
52

MTH 1016 สถิติทวั่ ไป 3(3-0-6)


General Statistics
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ ความน่าจะเป็ น การแจกแจงความน่าจะเป็ นของตัวแปรสุ่ ม
การแจกแจงค่าตัวอย่าง การประมาณค่าและการทดสอบสมมติ ฐานสาหรับประชากร
หนึ่ งชุ ด การทดสอบไคกาลังสอง การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอยเชิงเส้นอย่าง
ง่าย
Prerequisite: None
Fundamentals of statistics, probability, probability distribution of random variables,
sampling distribution, estimation and hypothesis testing for one population, chi-squared
tests, correlation analysis and simple linear regression

1.5 กลุ่มวิชาพลศึกษาและนันทนาการ
PED 1034 บาสเกตบอล 1(0-2-1)
Basketball
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ความรู ้และทักษะกีฬาบาสเกตบอล การเล่นเป็ นทีมสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกาย และ
กฎ ระเบียบ กติกา มารยาทการแข่งขันกีฬาบาสเกตบอล
Prerequisite: None
Knowledge and skills of basketball, playing as a team, strengthening physical fitness,
rules, regulations, and etiquette of basketball tournament

PED 1035 ฟุตบอล 1(0-2-1)


Football
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ความรู ้ แ ละทัก ษะฟุ ต บอล การเล่ น เป็ นที ม สร้ า งเสริ ม สมรรถภาพทางกาย และกฎ
ระเบียบ กติกา มารยาทในการแข่งขันกีฬาฟุตบอล
Prerequisite: None
Knowledge and skills of football, playing as a team, strengthening physical fitness,
rules, regulations, and etiquette of football league
53

PED 1036 แบดมินตัน 1(0-2-1)


Badminton
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ความรู ้และทักษะกีฬาแบดมินตัน สร้างเสริ มสมรรถภาพทางกาย และกฎ ระเบียบ กติกา
มารยาทการแข่งขันกีฬาแบดมินตัน
Prerequisite: None
Knowledge and skills of badminton, strengthening physical fitness, rules, regulations,
and etiquette of badminton tournament

REC 1007 นันทนาการเพื่อคุณภาพชี วติ 1(0-2-1)


Recreation for Quality of Life
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ความรู ้และทักษะทัว่ ไปเกี่ยวกับกิจกรรมนันทนาการ ฝึ กการจัดกิจกรรมนันทนาการที่
ปลู กฝั งความสามัคคี คุ ณธรรม จริ ยธรรม และความมี น้ าใจเป็ นนักกี ฬา สามารถนา
กิจกรรมนันทนาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ ที่เหมาะสมกับชีวติ ประจาวันได้
Prerequisite: None
Knowledge and general skills of the recreation, practice organizing recreation to
cultivate unity, moral, ethic, and sportsmanship and using recreation activities to
improve the quality of life in daily life

2. หมวดวิชาเฉพาะ
2.1 วิชาเฉพาะพืน้ ฐาน
2.1.1 กลุ่มวิชาพืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
ENT 1101 แคลคูลสั 1 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)
Calculus 1 for Engineers
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
พีชคณิ ตเวกเตอร์ ในสามมิติ ฟั งก์ชนั ลิ มิตและภาวะต่อเนื่ อง อนุ พนั ธ์ การประยุกต์ของ
อนุ พนั ธ์และรู ปแบบยังไม่กาหนด ปริ พนั ธ์ไม่จากัดเขตและเทคนิ คของการหาปริ พ นั ธ์
ปริ พนั ธ์จากัดเขตและการประยุกต์
Prerequisite: None
Vector algebra in the three dimensions, functions, limit and continuity, derivative
applications of the derivative and indeterminate forms, indefinite integral and the
techniques of integration definite integrals and its applications
54

ENT 1102 ฟิ สิ กส์ 1 3(3-0-6)


Physics 1
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
กลศาสตร์ ของอนุ ภาค โมเมนตัมและการดล งานและพลังงาน กลศาสตร์ ของวัตถุ แข็ง
เกร็ ง การเคลื่อนที่แบบแกว่งกวัด คลื่นกลในตัวการยืดหยุน่ และคลื่นเสี ยง ความร้อนและ
อุณหพลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล
Pre-requisite: None
Particles mechanics, pulse and momentum, work and energy, rigid bodies mechanics,
oscillatory motion, properties of matter, wave and sound, heat and thermo-dynamics
and fluid mechanics

ENT 1103 ปฏิบัติการฟิ สิ กส์ 1 1(0-3-1)


Physics Laboratory 1
วิชาบังคับก่อน: ENT 1102 ฟิ สิ กส์ 1 หรื อ ศึกษาควบคู่กนั
ปฏิบตั ิการทดลองเกี่ยวกับ กลศาสตร์ ของอนุ ภาค โมเมนตัมและการดล งานและพลังงาน
กลศาสตร์ ของวัตถุแข็งเกร็ ง การเคลื่อนที่แบบแกว่งกวัด สมบัติเชิงกลของสสาร คลื่นกล
ในตัวการยืดหยุน่ และคลื่นเสี ยง ความร้อนและอุณหพลศาสตร์ กลศาสตร์ ของไหล
Pre-requisite: ENT 1102 Physics 1 or both subjects
Practical experiment on the particles mechanics, pulse and momentum, work and
energy, rigid body mechanics, oscillatory motion, wave theory and sound waves,
properties of matter, heat and thermodynamics and fluid mechanics

ENT 1104 ปฏิบัติการเคมีทวั่ ไป 1(0-3-1)


General of Chemistry Laboratory
วิชาบังคับก่อน: SCI 1026 เคมีทวั่ ไป หรื อ ศึกษาควบคู่กนั
ปฏิบตั ิการให้สอดคล้องกับทฤษฎีในเนื้อหารายวิชา SCI 1026 เคมีทวั่ ไป
Pre-requisite: SCI 1026 General of Chemistry or both subjects
Practical experiment relevant to SCI 1026 General of Chemistry
55

ENT 1105 แคลคูลสั 2 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)


Calculus 2 for Engineers
วิชาบังคับก่อน: ENT 1101 แคลคูลสั 1 สาหรับวิศวกร
พิกดั เชิ งขั้วและสมการอิงตัวแปรเสริ ม ฟั งก์ชนั ค่าเวกเตอร์ ของหนึ่งตัวแปร แคลคูลสั ของ
ฟั งก์ชนั ค่าเวกเตอร์ ของหนึ่ งตัวแปร เส้น ระนาบ และผิวในปริ ภูมิสามมิติ แคลคูลสั ของ
ฟังก์ชนั ค่าจริ งของสองตัวแปรและการประยุกต์ แคลคูลสั ของฟังก์ชนั ค่าจริ งของหลายตัว
แปรและการประยุกต์
Pre-requisite: ENT 1101 Calculus 1 for Engineers
Polar coordinates and parametric equations, vector functions of one variable, calculus
of vector functions of one variable, lines, planes and surfaces in three dimensions,
calculus of real value functions of two variables and its application, calculus of real
value functions of multiple variables and its applications

ENT 1106 ฟิ สิ กส์ 2 3(3-0-6)


Physics 2
วิชาบังคับก่อน: ENT 1102 ฟิ สิ กส์ 1
ไฟฟ้ าสถิ ต แม่เหล็กไฟฟ้ า ไฟฟ้ ากระแสตรงและกระแสสลับ อิ เล็กทรอนิ กส์ เบื้ องต้น
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทัศนศาสตร์ และฟิ สิ กส์ยคุ ใหม่
Pre-requisite: ENT 1102 Physics 1
Static electricity, elements of electromagnetism, DC and AC circuits, fundamental
electronics, electromagnetism wave, optics and modern physics

ENT 1107 ปฏิบัติการฟิ สิ กส์ 2 1(0-3-1)


Physics Laboratory 2
วิชาบังคับก่อน: ENT 1106 ฟิ สิ กส์ 2 หรื อ ศึกษาควบคู่กนั
ปฏิบตั ิการทดลองเกี่ยวกับไฟฟ้ าสถิต แม่เหล็กไฟฟ้ า ไฟฟ้ากระแสตรงและกระแส สลับ
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทัศนศาสตร์ และฟิ สิ กส์ยคุ ใหม่
Pre-requisite: ENT 1106 Physics 2 or both subjects
Practical experiment on the static electricity, elements of electromagnetism, DC and AC
circuits, fundamental electronics, electromagnetism wave, optics and modern physics
56

ENT 2108 แคลคูลสั 3 สาหรับวิศวกร 3(3-0-6)


Calculus 3 for Engineers
วิชาบังคับก่อน: ENT 1105 แคลคูลสั 2 สาหรับวิศวกร
สมการเชิ งอนุ พนั ธ์เบื้องต้นและการประยุกต์ การหาปริ พนั ธ์เชิ งตัวเลข ปริ พนั ธ์ไม่ตรง
แบบ ปริ พนั ธ์ตามเส้นเบื้องต้น อุปนัยเชิ งคณิ ตศาสตร์ ลาดับและอนุกรมของจานวน การ
กระจายอนุกรมเทย์เลอร์ ของฟังก์ชนั มูลฐาน
Pre-requisite: ENT 1105 Calculus 2 for Engineers
Introduction to differential equation and their application, numerical integration,
improper integrals, introduction to line integrals, mathematical induction, sequences
and series of numbers, Taylor series expansions of elementary functions

2.1.2 กลุ่มวิชาพืน้ ฐานทางวิศวกรรม


IPE 1109 การฝึ กพืน้ ฐานทางวิศวกรรม 3(1-6-4)
Basic Engineering Training
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ปฏิ บตั ิ งานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมที่ เกี่ ยวข้องกับเครื่ องมื อวัด เครื่ องมื อกลพื้นฐาน
เครื่ องมืออุปกรณ์ต่างๆ ขั้นตอนการผลิตพื้นฐาน
Pre-requisite: None
Fundamental operations of engineering work related to measuring instruments, basic
machine tools, equipment tools, procedure of basic production

IPE 1110 การเขียนแบบวิศวกรรม 3(2-3-5)


Engineering Drawing
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การเขียนแบบตัวอักษร การสเก็ตภาพ หลักการฉายภาพ การเขียนแบบภาพฉายและภาพ
สามมิติ การกาหนดขนาดและค่าพิกดั ความเผื่อ การเขียนแบบภาพตัดแบบต่างๆ ภาพช่วย
และภาพคลี่ การเขียนแบบภาพประกอบและภาพแยกชิ้น การเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์
เบื้องต้น
Pre-requisite: None
Lettering, freehand sketches, orthographic projection, orthographic drawing and
pictorial drawings, dimensioning and tolerancing, sections, auxiliary views and
development, detail and assembly drawings, basic computer-aided drawing
57

IPE 1111 กระบวนการผลิต 3(3-0-6)


Manufacturing Processes
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการผลิ ต เช่น การหล่อ การขึ้นรู ป การตัดเฉื อนด้วย
เครื่ องจักร และการเชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างวัสดุ และกระบวนการผลิต พื้นฐานของ
ต้นทุนการผลิต
Pre-requisite: None
Theory and concept of manufacturing processes such as casting, forming, machining
and welding, material and manufacturing processes relationships, fundamental of
manufacturing cost

IPE 1112 วัสดุวศิ วกรรม 3(3-0-6)


Engineering Materials
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้ าง คุณสมบัติ กระบวนการผลิ ต และการประยุกต์ใช้วสั ดุ
วิศวกรรมกลุ่มหลัก เช่น โลหะ พอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุคอมโพสิ ต แผนภาพสมดุลวัฏ
ภาคและความหมาย สมบัติทางกลและการเสื่ อมสภาพของวัสดุ
Pre-requisite: None
Relationship between structures, properties, production processes, and applications of
main groups of engineering materials i.e. metals, polymers, ceramics, and composites,
phase equilibrium diagrams and their interpretation, mechanical properties and
materials degradation

IPE 2113 วิศวกรรมไฟฟ้ าพืน้ ฐาน 3(3-0-6)


Basic Electrical Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การวิ เ คราะห์ ว งจรไฟฟ้ า กระแสตรงและไฟฟ้ า กระแสสลับ เบื้ อ งต้น แรงดัน ไฟฟ้ า
กระแสไฟฟ้ าและกาลังไฟฟ้ า หม้อแปลงไฟฟ้ า พื้นฐานเครื่ องจักรกลไฟฟ้ าขั้นแนะนา
เครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ า มอเตอร์ ไฟฟ้ า และการประยุกต์ใช้งาน หลักการของระบบไฟฟ้ า
กาลัง 3 เฟส วิธีการส่ งจ่ายกาลังไฟฟ้า พื้นฐานเครื่ องมือวัดไฟฟ้า
58

Pre-requisite: None
Basic DC and AC circuit analysis, voltage, current and power, transformers,
introduction to electrical machinery, generators, motors and application, concepts of
three-phase systems, method of power transmission, introduction to some basic
electrical instruments

IPE 2114 ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ าพื้นฐาน 1(0-3-1)


Basic Electrical Engineering Laboratory
วิชาบังคับก่อน: INE 2113 วิศวกรรมไฟฟ้ าพืน้ ฐาน หรื อศึกษาควบคู่กนั
ปฏิบตั ิการเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้ ากระแสตรงและไฟฟ้ ากระแสสลับเบื้องต้น แรงดันไฟฟ้ า
กระแสไฟฟ้า กาลังไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า เครื่ องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้ากาลัง 3 เฟส
การส่ งจ่ายกาลังไฟฟ้า พื้นฐานเครื่ องมือวัดไฟฟ้า
Pre-requisite: INE 2113 Basic Electrical Engineering or both subjects
Laboratory experiments on basic DC and AC circuit, voltage, current, power,
transformers, electrical machinery, three-phase systems, power transmission, basic
electrical instruments

IPE 2115 สถิติวศิ วกรรม 3(3-0-6)


Engineering Statistics
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ทฤษฎีความน่าจะเป็ น ตัวแปรสุ่ ม การอนุ มานทางสถิ ติ การทดสอบสมมติฐาน สมการ
ถดถอยและสหสัม พัน ธ์ การวิเ คราะห์ ค วามแปรปรวน การใช้วิธี ก ารทางสถิ ติ เ ป็ น
เครื่ องมือในการแก้ปัญหา
Pre-requisite: None
Introduction to probability theory, random variables, statistical inference, test of
hypotheses, regression and correlation, analysis of variance, using statistical methods
as the tool in problem solving
59

IPE 2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3(2-3-5)


Computer Programming
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
แนวคิดและองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ การอันตรกิ ริยา (Interaction) ระหว่าง
ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ การประมวลผลข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ วิธี การออกแบบและ
พัฒนาโปรแกรม การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสู ง การประยุกต์ใช้โปรแกรมด้วย
ภาษาระดับสู ง การประยุกต์ใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ปทางวิศวกรรม
Pre-requisite: None
Concept and components of computer systems, hardware/ software interactive,
electronic data processing concepts, program design and development, high- level
language programming and its applications, use of programming software for
engineering applications

IPE 2117 กลศาสตร์ วิศวกรรม 3(3-0-6)


Engineering Mechanics
วิชาบังคับก่อน: ENT 1102 ฟิ สิ กส์ 1
หลักการเบื้ องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ของ
ระบบแรง สมดุ ล ของอนุ ภ าคและไดอะแกรมวัต ถุ อิ ส ระ การวิ เ คราะห์ โ ครงสร้ า ง
สถิตยศาสตร์ ของของไหล จลนศาสตร์ และจลนพลศาสตร์ ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ ง
กฎการเคลื่อนที่ขอ้ ที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนตัม
Pre-requisite: ENT 1102 Physics 1
Fundamental principles of mechanics, force and moment of force, force systems and
resultants, equilibrium of particle and free body diagrams, structural analysis, fluid
statics, kinematics and kinetics of particles and rigid bodies, Newton’s second law of
motion, work and energy, impulse and momentum
60

IPE 2118 เทอร์ โมไดนามิกส์ ของวัสดุ 3(3-0-6)


Thermodynamics of Materials
วิชาบังคับก่อน : ไม่ มี
กฎข้อ 1 และ 2 ของเทอร์ โ มไดนามิ ก ส์ เกณฑ์ ก ารเกิ ด สมดุ ล ที่ ร ะดับ ความดัน คงที่
พลังงานอิ สระที่ เปลี่ ยนแปลงตามอุ ณหภูมิ ความดัน และศักยะเคมี การสมดุ ลในก๊าซ
การสมดุลระหว่างภาคควบแน่นและก๊าซ แผนผังพลังงานอิสระ และพฤติกรรมของการ
ละลาย
Pre-requisite: None
First and second laws of thermodynamics, criteria for equilibria in constant processes,
free energy as a function of temperature, pressure and chemical potential, equilibrium
between condensed phases and gas phases, free energy diagram and solution behavior

IPE 2119 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่ องกลพืน้ ฐาน 1(0-3-1)


Basic Mechanical Engineering Laboratory
วิชาบังคับก่อน : ไม่ มี
ปฏิบตั ิการทดลองเกี่ยวกับกลศาสตร์ เทอร์โมไดนามิกส์ของวัสดุ และกลศาสตร์ของไหล
Pre-requisite: None
Basic practice of mechanics, thermodynamics of materials and fluid mechanics

2.2 วิชาเฉพาะด้ าน
2.2.1 กลุ่มวิชาบังคับทางวิศวกรรม
1) วิชาหลักทางวิศวกรรม
IPE 1201 ปฏิบัติการวิศวกรรมมาตรวิทยา 2(1-3-3)
Metrology Engineering Laboratory
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลักการวัดและการตรวจสอบ การใช้เครื่ องมือวัดทางวิศวกรรม หลักการตรวจสอบด้าน
มิ ติ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ส ภ าพ ผิ ว ง าน ห ลั ก ก า ร พื้ น ฐา น ข อ งก า ร ก าห น ด เก ณฑ์
ความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิ ต (GD&T) การประเมินผลการวัดและการตรวจสอบ การ
บารุ งรักษาเครื่ องมือวัด การประยุกต์ใช้ในงานการผลิตในระบบอุตสาหกรรม
61

Pre-requisite: None
Principles of measurement and inspection, measurement tools used in engineering,
principles of dimensional inspection, surface inspection, basic principles of defining
geometric tolerances ( GD&T) , measurement evaluation and inspection, measuring
instruments maintenance, application in industrial production

IPE 1202 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่ องมือกล 3(1-6-4)


Machine Tools Engineering Laboratory
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ฝึ กปฏิบตั ิการเครื่ องมือกลที่เกี่ยวข้องกับ งานกลึง งานกัด งานตัด งานเจาะ งานเจียระไน
การใช้เครื่ องมือวัด และ ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน
Pre-requisite: None
Laboratory of the Machine tools practice related to turning, milling, drilling, grinding,
using of measuring instruments and safety in operation

IPE 2203 การศึกษางานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)


Industrial Work Study
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
องค์ประกอบงาน การวิเคราะห์กระบวนการผลิตโดยแผนภูมิการผลิต แผนภูมิการไหล
แผนภู มิ ค น-เครื่ องจัก ร การศึ ก ษาการเคลื่ อนไหวแบบจุ ลภาค การปรั บปรุ งงานและ
ออกแบบการท างานหลัก เศรษฐศาสตร์ ก ารเคลื่ อ นไหว การก าหนดมาตรฐานการ
ปฏิบตั ิงาน หลักการศึกษาเวลา การศึกษาเวลาโดยตรง ระบบข้อมูลเวลามาตรฐานระบบ
หาเวลาก่อนล่วงหน้าและการสุ่ มการทางาน การหาอัตราความเร็ วในการทางานและค่า
เผือ่ การใช้เวลามาตรฐานในการสร้างระบบค่าแรงจูงใจ
Pre-requisite: None
Elements of works, analysis production process by using of production process chart,
flow process chart, man-machine chart, micro-motion study, work improvement and
job design, principles of motion economy, standardization of works operations, time
study principles, direct time study, standard time data system, predetermined time
system and work sampling, determinations of performance rating and allowance factor,
use of standard time in establishing
62

IPE 2204 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6)


Safety Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลักการการป้ องกันความสู ญเสี ย การออกแบบ การวิเคราะห์ และการควบคุมภัยอันตราย
ในสถานที่ทางาน องค์ประกอบของมนุ ษย์ เทคนิ คความปลอดภัยของระบบ หลักการ
บริ หารความปลอดภัย การประเมินความเสี่ ยง การออกแบบระบบความปลอดภัย การ
ออกแบบระบบดับเพลิง และกฎหมายความปลอดภัย
Pre-requisite: None
principles of loss prevention, design, analysis and control of workplace hazards, human
element, system safety techniques, principles of safety management, risk assessment,
safety system design, fire extinguishing systems design, and safety laws

IPE 3205 ปฏิบัติการวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ 2(1-3-3)


Material Testing Engineering Laboratory
วิชาบังคับก่อน : ไม่ มี
สมบัติ ท างกลของวัส ดุ ภ ายใต้แ รงกระท า หลัก การของการทดสอบวัส ดุ ปฏิ บ ัติ งาน
ทดสอบวัสดุ การวิเคราะห์ผลการทดสอบ
Pre-requisite: None
Mechanical properties of material with applied force, principles of material testing,
material testing practice, analysis of testing results

IPE 3206 การควบคุมคุณภาพ 3(3-0-6)


Quality Control
วิชาบังคับก่อน: IPE 2115 สถิติวศิ วกรรม
แนวคิดทางคุณภาพ วิวฒั นาการของวิธีการควบคุมคุณภาพ การจัดการควบคุมคุณภาพ
การวางแผนและควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิ ต เทคนิ คการควบคุมคุณภาพ การ
ควบคุมคุณภาพทางสถิติ แผนภูมิควบคุม สมรรถภาพของกระบวนการ การตรวจสอบ
ทางคุณภาพ การชักตัวอย่างและเครื่ องมือปรับปรุ งคุณภาพ วิศวกรรมความเชื่อถือได้ใน
การผลิต การประกันคุณภาพ วิศวกรรมคุณภาพและมาตรฐานคุณภาพที่เกี่ยวข้อง
63

Pre-requisite: IPE 2115 Engineering Statistics


Quality concepts, evolution of quality control methods, quality control management,
quality planning and control in production process, quality control techniques, statistical
quality control, control charts, process capability, quality inspection, sampling, and
quality improvement tools, reliability engineering in manufacturing, quality assurance,
quality engineering and related quality standards

IPE 3207 การวางแผนและควบคุมการผลิต 3(3-0-6)


Production Planning and Control
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต เทคนิคการพยากรณ์ การจัดการวัสดุคงคลัง การ
วางแผนการผลิต การวางแผนความต้องการวัสดุ การกาหนดตารางการผลิต การควบคุม
การผลิต เทคนิคสมัยใหม่ ในการวางแผนและควบคุมการผลิต
Pre-requisite: None
Production planning and control system, forecasting techniques, inventory management,
production planning, material requirements planning, production scheduling, production
control, modern technique in production planning and control

IPE 3208 การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)


Industrial Plant Design
วิชาบังคับก่อน: IPE 2203 การศึกษางานอุตสาหกรรม
การออกแบบโรงงานขั้นแนะนา การวิเคราะห์เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบโรงงาน การ
จัดวางผังและการวางแผนสิ่ งอานวยความสะดวก การขนถ่ ายวัสดุ ลักษณะของปั ญหา
ด้านการจัดวางผังโรงงาน การเลื อกทาเลที่ต้ งั การวิเคราะห์ผลิ ตภัณฑ์ ประเภทพื้นฐาน
ของผังโรงงานเบื้องต้นและหน้าที่ประกอบ
Pre-requisite: IPE 2203 Industrial Work Study
Introduction to plant design, preliminary analysis of plant design, layout and facilities
planning, material handling, nature of plant layout problems, plant location, product
analysis, basic types of layout service and auxiliary functions
64

IPE 3209 เศรษฐศาสตร์ วศิ วกรรม 3(3-0-6)


Engineering Economy
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การวิเคราะห์เชิ งเศรษฐศาสตร์ เพื่อการตัดสิ นใจทางวิศวกรรมภายใต้ความแน่นอน ความ
ไม่แน่ นอนและความเสี่ ยงของสถานการณ์ วิธีการวัดค่าเที ยบเท่าโดยการวิเคราะห์ เงิ น
ลงทุนรวมและการวิเคราะห์เงิ นลงทุนส่ วนเพิ่ม การประยุกต์การวิเคราะห์ทดแทน การ
วิเคราะห์จุดคุม้ ทุนและการประมาณการผลภาษีเงินได้และเงินเฟ้อ
Pre-requisite: None
Economic analysis for engineering decisions under certainty, uncertainty and risk
situations, methods of measurement of equivalent value based on total investment
analysis and incremental investment analysis, applications of replacement analysis,
break-even analysis and estimating income tax consequences and inflation

IPE 3210 ปฏิบัติการวิศวกรรมอุตสาหการ 1(0-3-1)


Industrial Engineering Laboratory
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ปฏิ บตั ิการทดลองเกี่ ยวกับการศึกษาการเคลื่ อนไหวและเวลาทางาน การยศาสตร์ การ
วางแผนและควบคุมการผลิต การควบคุมคุณภาพ การวางผังโรงงาน สถิติวศิ วกรรม และ
ความปลอดภัย
Pre-requisite: None
Laboratory experiments of motion and time study, ergonomics, production planning
and control, quality control, plant design, engineering statistics and safety

2) วิชาบังคับของวิชาเอก
2.1) วิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ
INE 2211 การวิจัยการดาเนินงาน 1 3(3-0-6)
Operations Research 1
วิชาบังคับก่อน: IPE 2115 สถิติวศิ วกรรม
เทคนิคการแก้ปัญหาเชิงกาหนด การสร้างแบบจาลองทางคณิ ตศาสตร์ กาหนดการเชิงเส้น
และปั ญหาคู่ควบ แบบจาลองพัสดุ คงคลัง ปั ญหาการขนส่ งและการส่ งผ่าน และปั ญหา
การมอบหมายงาน เทคนิคการแก้ที่ไม่เป็ นปั ญหาเชิงกาหนด การตัดสิ นใจภายใต้ความไม่
แน่นอนและความเสี่ ยง ทฤษฎีเกมส์ ทฤษฎีแถวคอยและแบบจาลองเพื่อการตัดสิ นใจ
65

Pre-requisite: IPE 2115 Engineering Statistics


Techniques for solving deterministic problems, mathematical modeling, linear
programming and dual problems, inventory models, transportation and transshipment
problems, assignment problems, Techniques for solving non-deterministic problems,
decision making under uncertainty and risk, games theory, queuing theory, simulation
model for decision making

INE 2212 วิศวกรรมการบารุ งรักษา 3(2-3-5)


Maintenance Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การบ ารุ ง รั ก ษาเชิ ง อุ ตสาหกรรม และหลัก การการบ ารุ ง รั ก ษาแบบทวีผล สถิ ติความ
เสี ยหาย ความน่าเชื่ อถือ ความสามารถในการบารุ งรักษา การวิเคราะห์สภาพความพร้อม
การทางาน การหล่อลื่น ระบบการบารุ งรักษาเชิงป้ องกันและเทคโนโลยีการติดตามสภาพ
การท างาน การควบคุ ม การบ ารุ ง รั ก ษาและระบบการสั่ ง งาน การจัดองค์ก ารงานการ
บารุ งรักษา งานบุคคลและงานจัดหา ระบบจัดการการบารุ งรักษาด้วยคอมพิวเตอร์ การ
จัดการวงจรชี วิตของเครื่ องจักร การรายงานผลและดัชนี ช้ ี วดั สมรรถนะในการบารุ งรักษา
การพัฒนาระบบการบารุ งรักษา
Pre-requisite: None
Industrial maintenance and total productive maintenance ( TPM) concepts, failure
statistics, reliability, maintainability and availability analysis, lubrication, preventive
maintenance system and condition monitoring technologies, maintenance control and
work order system, maintenance organization, personnel and resources, computerized
maintenance management system (CMMs), life cycle management, maintenance reports
and key performance indexes, maintenance system development
66

INE 3213 วิศวกรรมการออกแบบระบบ 3(2-3-5)


System Engineering Design
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลักการพื้นฐานของระบบ กระบวนการการออกแบบระบบตามข้อกาหนดมาตรฐาน
ISO 15288 การออกแบบกรอบความคิด การออกแบบระบบเบื้องต้น การออกแบบและ
การพัฒนารายละเอียด การทดสอบ และประเมินระบบ การออกแบบเพื่อความน่าเชื่ อถื อ
การออกแบบเพื่อความสามารถในการซ่อมบารุ ง การออกแบบเพื่อความสามารถในการ
สนับสนุ น การออกแบบเพื่ อมนุ ษยปั จจัย และการออกแบบเพื่ อความเป็ นไปได้ท าง
เศรษฐศาสตร์
Pre-requisite: None
Principles of systems engineering, process of system design based on ISO 15288,
conceptual system design, preliminary system design, detailed design and development,
system testing and evaluation, design for reliability, design for maintainability, design
for supportability, design for human factor and design for economic feasibility

INE 3214 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการอุตสาหกรรม 3(3-0-6)


Feasibility Study of Industrial Projects
วิชาบังคับก่อน: IPE 3209 เศรษฐศาสตร์ วศิ วกรรม
องค์ค วามรู ้ พ้ื นฐานส าหรั บ การเตรี ย ม การวิเคราะห์ และการประเมิ นการศึ กษาความ
เป็ นไปได้ข องโครงการอุ ต สาหกรรมด้า นการตลาด เทคนิ ค การจัด การ การเงิ น
เศรษฐศาสตร์ และผลกระทบของโครงการ
Pre-requisite: IPE 3209 Engineering Economy
Basic knowledge for preparation, analysis, and appraisal of feasibility study of industrial
projects in various aspects including marketing, technique, management, financing and
economic as well as project impacts
67

INE 3215 การเตรียมโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ 1 (1-0-2)


Industrial Engineering Pre-Project
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การสื บค้นข้อมูลตามหัวข้อที่สนใจ การวิเคราะห์ปัญหาและนาเสนอแนวทางแก้ไขปั ญหา
การวางแผนการดาเนินโครงงาน การออกแบบการทดลอง การเลือกใช้วสั ดุอุปกรณ์ และ
เ ค รื่ อ ง มื อ ท ด ล อ ง ที่ เ ห ม า ะ ส ม ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร า ค า ก า ร เ ขี ย น ร า ย ง า น
การนาเสนอโครงงาน
Pre-requisite: None
Data research on interested topics, problem analysis and suggesting methods to solve
problems, project planning, experimental design, suitable use of experimental
equipment, budget estimation, report writing, presentation

INE 4216 โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ 3(1-6-4)


Industrial Engineering Project
วิชาบังคับก่อน: INE 3215 การเตรียมโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ
การวางแผนการดาเนินโครงการ ปฏิบตั ิการในโครงการตามที่ได้รับอนุมตั ิ วิเคราะห์การ
ปฏิบตั ิงาน ปั ญหาและกาหนดวิธีการแก้ปัญหา นาเสนอผลการดาเนิ นงานโครงการ จัดทา
รายงานโครงการที่สมบูรณ์และนาเสนอผลการดาเนินงานในขั้นสุ ดท้าย
Pre-requisite: INE 3215 Industrial Engineering Pre-Project
Project planning, operate on approved projects, operational analysis, identify problem
and specify solution, presentation of project results periodically, completed project
report and present final performance
68

2.2) วิชาเอกวิศวกรรมการผลิต
PDE 2217 วิศวกรรมเครื่ องมือ 3(2-3-5)
Tool Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
เครื่ อ งมื อ กลเพื่ อ ช่ ว ยสนับ สนุ น การผลิ ต ในต าแหน่ ง ที่ ต้อ งการ รวมถึ ง การคงที่ ข อง
ตาแหน่งและการเคลื่อนที่ของเครื่ องมือในเส้นทางที่ตอ้ งการ เพื่อช่วยในการตัด การวัด
การประกอบ การเชื่ อมหรื ออุ ป กรณ์ จบั ยึด การออกแบบเครื่ อ งมื อจากขนาดและค่ า
ความคลาดเคลื่ อนที่ ย อมรั บ ได้เพื่ อหลี ก เลี่ ย งการผิดพลาดของขนาดและรู ป ร่ า งของ
ชิ้นงานสาเร็ จ ค่าความคลาดเคลื่อนสะสม การเลือกและการคานวณเกี่ยวกับชิ้นส่ วนทาง
กลต่าง ๆ เพื่อใช้สาหรับการส่ งผ่านแรง ซึ่ งประกอบไปด้วย ลิ่ม, ลูกเบี้ยว, สกรู , ทอคเกิล
เป็ นต้น ตัวอย่างเช่น อุปกรณ์นาเจาะและจับยึด
Pre-requisite: None
Mechanical devices to support for manufacturing to desired position, including fixed
position and moving in desired pathway, to assist in cutting, measuring, assembling,
welding processes or handling equipment, tools designed from work piece dimensions
and their tolerances to avoid errors of dimensions and shape tolerances, stacking
tolerances, selections and calculations of various mechanical components to use for
force transmissions e.g. wedge effect, cams, screws, toggles etc., complete samples such
as jigs and fixture

PDE 2218 วิศวกรรมเครื่ องมือกล 3(3-0-6)


Machine Tool Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ชนิ ด ของเครื่ องมื อ กลและการใช้ ง าน เช่ น เครื่ องมื อ กลในงานหล่ อ งานขึ้ นรู ป
กระบวนการตัดเฉื อนวัสดุ และเครื่ องมือกลพิเศษสาหรับงานเฉพาะทาง โครงสร้างของ
เครื่ องมือกล ชุ ดขับเคลื่อนและส่ งกาลัง อุปกรณ์นาเลื่อนแบบเส้นตรงและแบบหมุนและ
แบริ่ ง การปรับตั้งเครื่ องมือกล ระบบควบคุมเครื่ องมือกล เช่น ซี เอ็นซี (CNC), โปรแกรม
เมเบิลลอจิกคอนโทรล (PLC)
69

Pre-requisite: None
Types of machine tools and their applications i. e. machine tools for casting, metal
forming, material removal processes and specialized machine tools for other specific
tasks, structure of machine tools, machine drives and transmission units, linear and
rotary guides and bearings, machine tools set-up, machine tools control systems i.e.
CNC, PLC

PDE 3219 วิศวกรรมระบบควบคุมอัตโนมัติ 3(2-3-5)


Automatic and Control System Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
พื้นฐานระบบควบคุมอัตโนมัติและการใช้งาน การควบคุมด้วยกลไกทางกล การควบคุม
ด้วยไฟฟ้ า การควบคุมด้วยระบบนิ วเมติกส์ และไฮดรอลิกส์ การควบคุมแบบป้ อนกลับ
โปรแกรมเมเบิ ลลอจิ กคอนโทรล (PLC) เซ็ นเซอร์ แบบอนาลอค ไบนารี่ และดิ จิตอล
เครื่ องจักรกลซีเอ็นซี (CNC) ระบบการผลิตแบบยืดหยุน่ หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม
Pre-requisite: None
Fundamental of control techniques and their applications, mechanical control, electrical
control, pneumatics controls, hydraulics control, feedback control, PLC, analog binary
sensor and digital, CNC machine tools, flexible manufacturing, industrial robots

PDE 3220 วิศวกรรมย้อนรอย 3(2-3-5)


Reverse Engineering
วิชาบังคับก่อน : IPE 1110 การเขียนแบบวิศวกรรม
หลักการของวิศวกรรมย้อนรอย กระบวนการวิศวกรรมย้อนรอยสาหรับเครื่ องจัก รกล
และชิ้นส่ วนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ การทดสอบสมบัติวสั ดุ การเลือกใช้ระบบวิศวกรรม
ย้อนรอย ความสัมพันธ์ ระหว่างวิศ วกรรมย้อนรอยและเทคโนโลยีการสร้ า งต้น แบบ
รวดเร็ ว การประยุกต์ใช้วศิ วกรรมย้อนรอยในอุตสาหกรรม
Pre-requisite : IPE 1110 Engineering Drawing
Fundamental of reverse engineering, reverse engineering process of machine and
mechanical parts via computer, processes of material property testing, selecting a reverse
engineering system, relationship between reverse engineering and rapid prototype
technology, application of reverse engineering in industry
70

PDE 3221 การเตรียมโครงงานวิศวกรรมการผลิต 1(1-0-2)


Production Engineering Pre-Project
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การสื บค้นข้อมูลตามหัวข้อที่สนใจ การวิเคราะห์ปัญหาและนาเสนอแนวทางแก้ไขปั ญหา
การวางแผนการดาเนินโครงงาน การออกแบบการทดลอง การเลือกใช้วสั ดุอุปกรณ์และ
เครื่ องมือทดลองที่เหมาะสม การประเมินราคา การเขียนรายงาน การนาเสนอโครงงาน
Pre-requisite: None
Data research on interested topics, problem analysis and suggesting methods to solve
problems, project planning, experimental design, suitable use of experimental
equipment, budget estimation, report writing, presentation

PDE 4222 โครงงานวิศวกรรมการผลิต 3(1-6-4)


Production Engineering Project
วิชาบังคับก่อน: PDE 3221 การเตรียมโครงงานวิศวกรรมการผลิต
การวางแผนการดาเนินโครงการ ปฏิบตั ิการในโครงการตามที่ได้รับอนุมตั ิ วิเคราะห์การ
ปฏิบตั ิงาน ปั ญหาและกาหนดวิธีการแก้ปัญหา นาเสนอผลการดาเนิ นงานโครงการ จัดทา
รายงานโครงการที่สมบูรณ์และนาเสนอผลการดาเนินงานในขั้นสุ ดท้าย
Pre-requisite: PDE 3221 Production Engineering Pre-Project
Project planning, operate on approved projects, operational analysis, identify problem
and specify solution, presentation of project results periodically, completed project
report and present final performance

2.2.2 กลุ่มวิชาเลือกทางวิศวกรรมของวิชาเอก (Major Elective Courses in Engineering)


1) กลุ่มวิชาฝึ กงานและประสบการณ์ ภาคสนาม
IPE 3301 การเตรี ยมสหกิจศึกษาและฝึ กงานทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 1(0-2-1)
Pre Co-operative Education and Pre Practicum in Industrial
and Production Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลักการและแนวคิดเกี่ ยวกับสหกิ จศึกษาและฝึ กงานทางวิศวกรรมอุตสาหการและการ
ผลิต กระบวนการและขั้นตอนของสหกิจศึกษาและฝึ กงาน ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
กับสหกิจศึกษาและฝึ กงาน ความรู ้พท้นฐานและเทคนิคในการสมัครงาน การเลือกสถาน
71

ประกอบการ วิธีการเขียนจดหมายสมัครงานและสัมภาษงาน ความรู ้ พ้ืนฐานที่ จาเป็ น


สาหรับการปฏิบตั ิงานในสถานประกอบการ เทคนิ คการนาเสนอโครงงานหรื อผลงาน
และการเขียนรายงานวิชาการ การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อสังคมการทางาน การเตรี ยมความ
พร้อมสู่ ความสาเร็ จ
Pre-requisite: None
Principles and concept of co-operation education/practicum in industrial and production
engineering, processes and procedures of co-operative education, regulations related to
co-operative education, basic knowledge and techniques to apply for jobs, business
enterprise selection, procedure of writing the letter, and job interview, basic knowledge
required for working in bussiness enterprise, technical presentation for project or work,
and technical papers academics report, personality development for social work,
preparation for success

IPE 4302 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 6(0-40-0)


Co-operative Education in Industrial and Production Engineering
วิชาบังคับก่อน: IPE 3301 การเตรี ยมสหกิจศึกษาและฝึ กงานทางวิศวกรรมอุตสาหการ
และการผลิต
ปฏิ บ ัติ ง านในสถานประกอบการเสมื อ นหนึ่ ง เป็ นพนัก งานของสถานประกอบการ
ในตาแหน่ งที่เกี่ ยวข้องกับวิศวกรรมอุ ตสาหการและเหมาะสมกับความรู ้ ความสามารถ
เป็ นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ ปฏิบตั ิตนตามระเบียบการบริ หารงานบุคคลของ
สถานประกอบการในระหว่างปฏิบตั ิงาน มีหน้าที่รับผิดชอบแน่นอนและรับผิดชอบงาน
ที่ได้รับมอบหมายจากสถานประกอบการอย่างเต็มความสามารถ มีผนู ้ ิเทศงาน การติดตาม
และการประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านอย่ า งเป็ นระบบตลอดระยะเวลาปฏิ บ ัติ ง านของ
นักศึ กษา ทาให้เกิ ดการพัฒนาตนเอง และมี ประสบการณ์ จากการปฏิ บตั ิ งานในสถาน
ประกอบการก่อนสาเร็ จการศึกษา
หมายเหตุ การวัดและประเมินผลการศึกษา ให้ระดับคะแนนตัวอักษร ต่อไปนี้
พ.จ. หรื อ S หมายถึง พอใจ (Satisfactory)
ม.จ. หรื อ U หมายถึง ไม่พอใจ (Unsatisfactory)
Pre-requisite: IPE 3301 Pre Co-operative Education and Pre Practicum in Industrial
and Production Engineering
Practice in a workplace as employees in relevant positions that related to industrial
engineering and abilities in a period of no less than 16 weeks, under supervision of an
72

assigned job supervisor from the workplace, students take responsibility for a particular
role which has a systematic evaluation and follow up process throughout the course in
order for students to improve themselves and gain professional experience before they
graduate
Remarks: The measurement and evaluation of the study, give the following character
rating levels:
S : Satisfactory
U : Unsatisfactory

IPE 4303 การฝึ กงานทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 3(0-40-0)


Industrial and Production Engineering Practicum
วิชาบังคับก่อน: IPE 3301 การเตรี ยมสหกิจศึกษาและฝึ กงานทางวิศวกรรมอุตสาหการ
และการผลิต
ฝึ กปฏิ บ ัติ ง านจริ ง ในหน่ ว ยงานของรั ฐ รั ฐ วิ ส าหกิ จ หรื อ สถานประกอบการ ด้า น
วิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต อย่างมีระบบตลอดระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน
หรื อไม่น้อยกว่า 270 ชัว่ โมง ทาให้เกิ ดประสบการณ์ ตรงด้านวิศวกรรมอุตสาหการและ
การผลิต ก่อนที่จะสาเร็ จการศึกษา โดยวัดผลการศึกษาเป็ น S หรื อ U
Pre-requisite: IPE 3301 Pre Co-operative Education and Pre Practicum in Industrial
and Production Engineering
Actual working as a full time staff in industrial and production engineering in government
sectors, government enterprises or workplaces systemically during a summer semester or
not less than 270 hourse, educational assessment with S or U

IPE 4304 สั มนาทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต 3(3-0-6)


Siminar in Industrial and Production Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
เลื อกหัวข้อที่ น่าสนใจในสาขาวิชาวิศวกรรมอุ ตสาหการและการผลิ ต ศึ กษา นาเสนอ
บทความ และเข้าร่ วมสัมมนา การวัดผลการศึกษาเป็ น S หรื อ U
Pre-requisite: None
Selecting industrial engineering topic, study, presentation and discussion in selected
topic, education assessment with S or U
73

2) กลุ่มวิชาเลือกทางวิศวกรรมของวิชาเอก
2.1) วิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ
1.1) แขนงวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม
INE 2305 การจัดการโครงการทางวิศวกรรม 3(3-0-6)
Engineering Project Management
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลักการของการจัดการโครงการ หน้าที่และลักษณะของผูน้ าในองค์กรต่างๆ การบริ หาร
จัดการแหล่งข้อมูล และทรัพยากรขององค์กร การคัดเลือกโครงการ การวางแผนโครงการ
การดาเนินงานและการควบคุมโครงการ การจัดการความเสี่ ยง การติดตามและประเมินผล
กรณี ศึกษาการประยุกต์ใช้ความรู ้การบริ หารโครงการกับงานด้านวิศวกรรมอุตสาหการ
Pre-requisite: None
Principles of project management, functions and characteristics of leadership in
organizations, management information, and resource, selection of projects, project
planning, risk management, Implementation and control, the monitoring and evaluation,
a case study related to industrial engineering

INE 2306 การจัดการการเพิม่ ผลผลิต 3(3-0-6)


Productivity Management
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การจัดการองค์กรเพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิ ต เทคนิ คการเพิ่มความสามารถในการ
ผ ลิ ต ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ เ พื่ อ เ พิ่ ม ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ผ ลิ ต
การปรับปรุ งการงาน การวางแผนการผลิตและควบคุมคุณภาพ ระบบบริ หารงานคุณภาพ
มาตรฐาน ISO มาตรฐานอุตสาหกรรม
Pre-requisite: None
Organization management for productivity improvement, productivity improvement
techniques, human resource development for productivity improvement, work
improvement, production planning and quality control, quality management system, ISO
standard, industrial standards
74

INE 2307 ระบบการผลิตสาหรับอุตสาหกรรม 3(3-0-6)


Manufacturing System Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลัก การของระบบการผลิ ตส าหรั บอุ ตสาหกรรม กระบวนการระบบการผลิ ต การ
จัดการระบบการผลิต เศรษฐศาสตร์ ของระบบการผลิต ระบบการผลิตแบบลีน ระบบ
การผลิตแบบอัตโนมัติและการผลิตแบบผสมผสานด้วยคอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศ
ทางการผลิต
Pre-requisite: None
Principle of manufacturing systems, manufacturing system processes, manufacturing
systems management, economics of manufacturing systems, lean manufacturing
system, automatic manufacturing systems and computer- integrated manufacturing,
manufacturing information systems

INE 2308 การจัดการระบบอัตโนมัติในงานอุตสาหกรรม 3(2-3-5)


Industrial Automatic System Management
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
เทคนิคของระบบควบคุม การควบคุมทางไฟฟ้า ไฮดรอลิกส์และนิวแมติกส์ การควบคุม
แบบป้ อนกลับ ชุดควบคุมโปรแกรมเซ็นเซอร์ และอุปกรณ์ตรวจวัดชนิดต่างๆ
Pre-requisite: None
Control system techniques, electrical control, hydraulic and pneumatic, feedback control,
sensor control programming, and measuring instruments

INE 3309 การจัดการการผลิตและการดาเนินงาน 3(3-0-6)


Production and Operations Management
วิชาบังคับก่ อน: IPE 3207 การวางแผนและควบคุมการผลิต
การวางแผนการจั ด องค์ ก ร การจั ด การการผลิ ต การออกแบบระบบการผลิ ต
การควบคุ ม การผลิ ต ทั้ง ในเชิ ง คุ ณ ภาพและเชิ ง ปริ มาณ การแก้ ปั ญ หาในการผลิ ต
การประยุกต์ใช้การจัดการที่เหมาะสม
Pre-requisite: IPE 3207 Production Planning and Control
Organization planning, production management, manufacturing systems design,
qualitative and quantitative production control, solving problem in production,
applications of proper management
75

INE 3310 การยศาสตร์ 3(3-0-6)


Ergonomics
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
แนวคิดของการออกแบบผลิตภัณฑ์และการบริ การ การออกแบบกระบวนการ การป้องกัน
บาดเจ็บ และการออกแบบสถานที่ ท างาน หลัก การของการวัด ขนาดร่ า งกาย ระบบ
ประสาทรับความรู ้สึกของมนุษย์ สรี รวิทยาและจิตวิทยาของมนุษย์เน้นลูกค้าและพนักงาน
ขององค์การทั้งระดับปฏิบตั ิการและบริ หาร
Pre-requisite: None
Concepts of products and services designs, process design, injury prevention and
workplace design, principles of anthropometry, human sensory system, physiology and
psychology of human being emphasis on customers and blue-collar and white-collar
workers in organizations

INE 3311 การประยุกต์ ใช้ โปรแกรมสาเร็จรู ปทางวิศวกรรม 3(2-3-5)


Software Application for Engineering
วิชาบังคับก่อน: IPE 2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การประยุ ก ต์ ใ ช้ ค อมพิ ว เตอร์ ใ นงานอุ ต สาหกรรมขั้น แนะน า การพัฒ นาและการ
ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ ในการวางแผนทรั พยากรสาหรั บวิสาหกิ จ การพยากรณ์ การ
วางแผนทรัพยากรในการผลิต การวางแผนวัสดุในการผลิ ต การวางแผนความต้องการ
กาลังการผลิ ต การประมวลผลคาสั่งผลิตและคาสั่งซื้ อ การจัดการคลังสิ นค้า การจัดการ
ขนส่ งและกระจายสิ นค้า การจัดการคลังข้อมูล การจาลองระบบ การควบคุมการผลิตและ
คุณภาพ และกรณี ศึกษาในงานอุตสาหกรรม
Pre-requisite: IPE 2116 Computer Programming
Introduction to computer applications in industry, development and applications of
computer in enterprise resource planning (ERP), forecasting, manufacturing resource
planning (MRP II), material requirement planning (MRP), production capacity planning
( CRP) , production and purchasing order processing, inventory management,
transportation and distribution management, data warehouse management, simulation,
production and quality control, and case studies in industrial applications
76

INE 4312 การออกแบบและตรวจวัดระบบงาน 3(3-0-6)


Design and Measurement of Work Systems
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
แนวคิดและเทคนิคในการออกแบบการทางาน การปรับปรุ งความสามารถในการทางาน
ความสั ม พันธ์ ระหว่า งคนและเครื่ องจัก ร การจัดขั้นตอนการท างาน การประยุก ต์ใ ช้
สรี รวิทยาเพื่อเพิม่ ผลิตภาพ
Pre-requisite: None
Basic concepts and techniques of working design, work improvement, man-machine
relationship, work arrangement, applied physiology for productivity improvement

INE 4313 การเป็ นผู้ประกอบการเพื่อสร้ างธุรกิจใหม่ 3(2-3-5)


Entrepreneurship for New Venture Creation
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
คุณลักษณะ ทักษะ บทบาทและความรับผิดชอบของการเป็ นผูป้ ระกอบการ รู ปแบบของ
การประกอบธุ ร กิ จ กฎหมายหรื อ ระเบี ย บที่ ค วรทราบในการประกอบธุ ร กิ จ ความ
รับผิดชอบต่อสังคมและจริ ยธรรมของผูป้ ระกอบการ การจัดทาแผนธุ รกิจ ประกอบด้วย
การวิเ คราะห์ ส ภาพแวดล้อ ม การวางแผนเชิ ง กลยุท ธ์ แผนการตลาด แผนการผลิ ต
แผนการบริ หารจัดการ และแผนการเงิ น โดยศึกษาค้นคว้าและนาเสนอแผนงานหรื อ
โครงการ เพื่อเตรี ยมความพร้อมในการสร้างธุ รกิจและการเป็ นผูป้ ระกอบการ
Prerequisite: None
Characteristics, skills, roles and responsibility of entrepreneurship, pattern of business
activities, business laws and regulations, social responsibility and ethics of
entrepreneurs, business planning includes environment analysis, strategic planning,
marketing plan, production plan, management plans and financial plan by study and
presentation of planning or projects to preparation for business building and
entrepreneurs
77

1.2) แขนงวิชาการวิจัยดาเนินงานและวางแผนการผลิต
INE 3314 วิศวกรรมโลจิสติกส์ 3(3-0-6)
Logistics Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
องค์ประกอบของการจัดการโลจิสติกส์ และโซ่ อุปทาน แบบจาลองโครงข่ายโลจิสติกส์
แบบไปข้างหน้าและแบบย้อนกลับ การจัดหา กลยุทธ์การกระจาย การขนส่ ง ต้นทุ น
ของโลจิสติกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบขนส่ งอัจฉริ ยะสาหรับโซ่ อุปทาน โลจิ
สติกส์อย่างยัง่ ยืน โลจิสติกส์ระดับโลก
Prerequisite: None
Elements of logistics and supply chain management, forward and reverse logistics
network models, procurement, distribution strategies, transportation, logistics costs,
information technology and intelligent transportation system for the supply chain,
sustainable logistics, global logistics

INE 3315 การจาลองสถานการณ์เพื่อการตัดสิ นใจ 3(2-3-5)


Situation Simulation for Decision
วิชาบังคับก่อน: INE 2211 การวิจัยการดาเนินงาน 1
แนวคิดการจาลองสถานการณ์ การจาลองเหตุการณ์แบบช่วงและแบบต่อเนื่ อง โปรแกรม
เลขสุ่ ม การตรวจสอบ และยืนยันความถู กต้องของแบบจาลอง การวิเคราะห์ ผ ลลัพ ธ์
เทคนิคการลดความแปรปรวน สถิติที่เกี่ยวข้องกับการจาลองสถานการณ์
Prerequisite: INE 2211 Operations Research 1
Simulation concept, discrete and continuous event simulation, random number
generators, model validation and verification, output analysis, variance reduction
techniques, and statistical issues related to simulation

INE 4316 การพยากรณ์ ทางอุตสาหกรรม 3(3-0-6)


Industrial Forecasting
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
แนวคิดของการพยากรณ์ การวิเคราะห์ถดถอย อนุกรมเวลา เทคนิคการพยากรณ์เชิง
วิเคราะห์ วิธีปรับเรี ยบ วิธีบอ๊ กซ-์ เจนกินส์ และกรณี ศึกษา
78

Prerequisite: None
Concept of forecasting, regression analysis, time series, analytical forecasting
techniques, smoothing methods, box-Jenkins method and case studies

INE 4317 หลักการหาค่ าเหมาะทีส่ ุ ด 3(3-0-6)


Principle of Optimization
วิชาบังคับก่อน: INE 2211 การวิจัยการดาเนินงาน 1
การหาค่าเหมาะที่ สุ ดขั้นต้น การหาค่าเหมาะที่ สุดของฟั งก์ชันหนึ่ งตัวแปร การหาค่ า
เหมาะที่สุดของฟั งก์ชนั หลายตัวแปรโดยไม่มีเงื่อนไขบังคับ และมีเงือนไขบังคับการหา
ค่าเหมาะที่สุดด้วยขั้นตอนและวิธีการพิเศษ
Pre-requisite: INE 2211 Operations Research 1
Introduction to optimization, single-variable optimization, multi-variable optimization
without constraints, multi- variable optimization with constraints, optimization with
special algorithm

INE 4318 การวิจัยการดาเนินงาน 2 3(3-0-6)


Operations Research 2
วิชาบังคับก่อน: INE 2211 การวิจัยการดาเนินงาน 1
ก าหนดการเชิ ง จ านวนเต็ ม เทคนิ ค การขยายและจ ากัด เขต ก าหนดการเชิ ง พลวัต
แบบจาลองโครงข่าย ปั ญหาการบริ หารโครงการและวิถีวิกฤต ปั ญหาการเดิ นทางของ
พนักงาน ขายและบุรุษไปรษณี ยจ์ ีน เทคนิคการแก้ปัญหาที่มีความน่าจะเป็ น กระบวนการ
มาร์ คอฟ และแนวทางการหาคาตอบแบบวิทยาการศึ กษาสานึ ก เทคนิ คการแก้ปัญหา
กาหนดการที่ไม่เป็ นเชิงเส้น
Pre-requisite: INE 2211 Operations Research 1
Integer programming, branch and bound technique, dynamic programming, network
models, project management problem and critical path method, traveling salesman
problem and Chinese postman problem, techniques for solving probabilistic problems,
Markov processes and heuristic approaches, techniques for solving a non- linear
programming problem
79

1.3) แขนงวิชาวิศวกรรมคุณภาพ
INE 3319 การออกแบบการทดลองทางวิศวกรรม 3(2-3-5)
Design of Engineering Experiments
วิชาบังคับก่อน: IPE 2115 สถิติวศิ วกรรม
สถิติข้ นั แนะนา การทดสอบสมุติฐาน การออกแบบการทดลองทางวิศวกรรมขั้นแนะนา
การทดลองที่ มี ปั จ จัย เชิ ง เดี่ ย ว การออกแบบบล็ อ กสุ่ ม สมบู ร ณ์ จัตุ รั ส ละติ น และการ
ออกแบบที่เกี่ ยวข้อง การทดลองแบบแฟคตอเรี ยล การทดลองแบบแฟคตอเรี ยลทัว่ ไป
การถดถอยเชิ งเส้ นและระเบียบวิธีพ้ืนผิวผลตอบสนองขั้นแนะนา การฝึ กใช้โปรแกรม
ส าเร็ จรู ป ในการวิเคราะห์ ต่า ง ๆ เช่ น จานวนการทดลอง ระดับ ความเชื่ อมัน่ ของการ
ทดลอง ช่วงความเชื่อมัน่ การพยากรณ์แบบถดถอย
Pre-requisite: IPE 2115 Engineering Statistics
Introduction to statistics, hypothesis testing, introduction to design of engineering
experiments, experiments with a single factor, randomized complete block designs, latin
squares and related designs, factorial designs, fractional factorial designs, regression and
response surface methodology, practice the parameter analysis by commercial software
i.e. sample size, experimental confidence, confidence interval multiple regression

INE 3320 วิศวกรรมคุณค่ า 3(3-0-6)


Value Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
กระบวนการของวิศวกรรมคุ ณค่า การวิเคราะห์ผลิ ตภัณฑ์ การออกแบบผลิ ตภัณฑ์และ
กระบวนการผลิ ต การเลื อกวัสดุ และการลดต้นทุนโดยปราศจากการสู ญเสี ยคุ ณค่าของ
ผลิตภัณฑ์ กรณี ศึกษา
Pre-requisite: None
Process of value engineering, product analysis, product design and manufacturing
processes, selection of materials and cost reduction without loss of product value, case
studies
80

INE 4321 ระบบบริหารคุณภาพ 3(3-0-6)


Quality Management System
วิชาบังคับก่อน : IPE 3206 การควบคุมคุณภาพ
แนวคิดเกี่ยวกับคุ ณภาพ หลักการพื้นฐานและกลยุทธ์สาหรับระบบบริ หารคุ ณภาพ การ
วางแผนคุ ณภาพ ภาวะผูน้ าสาหรับการออกแบบระบบบริ หารคุ ณภาพ ความมีส่วนร่ วม
ของพนัก งานในการส่ ง เสริ ม ระบบบริ หารคุ ณภาพ การให้ค วามส าคัญกับ ลู ก ค้า การ
บริ หารข้อมูลเพื่อการตัดสิ นใจ การสร้างความสัมพันธ์กบั ผูส้ ่ งมอบระบบบริ หารคุ ณภาพ
ในการจัดซื้ อ การปรับปรุ งอย่างต่อเนื่ อง มาตรฐานสากลสาหรับระบบบริ หารคุ ณภาพ
ตัวอย่างการประยุกต์ระบบบริ หารคุณภาพในอุตสาหกรรมบริ การ
Pre-requisite : IPE 3206 Quality Control
Concepts of quality, basic principles and strategies for quality systems management,
quality planning, leadership for system design of a quality management, employee
participation in promoting the quality management system, customer focus, information
management for decision making, establishing relationships with suppliers of quality
management systems in procurement, The continuous improvement, International
standards for quality management systems, Examples for application of quality
management systems in the service industry

INE 4322 การประกันคุณภาพ 3(3-0-6)


Quality Assurance
วิชาบังคับก่อน : IPE 3206 การควบคุมคุณภาพ
หลัก การการประกัน คุ ณ ภาพ แนวคิ ด เกี่ ย วกับ คุ ณ ภาพ อนุ ก รมขององค์ก รระหว่ า ง
ประเทศ ว่าด้วยมาตรฐาน 9000 การจัดการคุ ณภาพทัว่ ทั้งองค์กร รางวัลคุ ณภาพระบบ
การประกันคุ ณภาพทางการศึกษา แนวทางในการตรวจประเมินระบบการบริ หารงาน
คุณภาพ เทคนิคการตรวจประเมิน การบริ หารผลการดาเนินงาน การเทียบเคียงและความ
เป็ นเลิศ
Pre-requisite : IPE 3206 Quality Control
Principles of quality assurance, quality concepts, international organization for
standardization 9000 series, total quality management (TQM), quality award, quality
assurance in education system, guidelines for quality management systems auditing,
audit techniques, performance management, benchmarking and best practice
81

INE 4323 การวางแผนและการวิเคราะห์ คุณภาพ 3(3-0-6)


Quality Planning and Analysis
วิชาบังคับก่อน : IPE 3206 การควบคุมคุณภาพ
แนวความคิ ดเบื้ องต้นเกี่ ยวกับการวางแผนคุ ณภาพ และประเมิ นสถานะโดยรวมของ
คุ ณภาพองค์กร กระบวนการวางแผนคุ ณภาพ แนวความคิ ดเกี่ ยวกับลู กค้าและการทา
ความเข้าใจถึงความต้องการ ของลูกค้า การแปรหน้าที่ดา้ นคุณภาพ
Pre-requisite : IPE 3206 Quality Control
Basic concept of quality planning, company quality assessment, quality planning
procedure, customer concept and understanding of customer requirement, quality and
function deployment

1.4) แขนงวิชาการจัดการสิ่ งแวดล้อม


INE 2324 ระบบการผลิตที่ยงั่ ยืน 3(3-0-6)
Sustainable Manufacturing System
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ผลกระทบของพฤติ ก รรมระบบการผลิ ตต่ อสิ่ ง แวดล้อม กฎหมายและมาตรฐานด้า น
สุ ขภาพ ความปลอดภัย สิ่ งแวดล้อมและการจัดการขยะในอุตสาหกรรมไทยและต่างชาติ
แนวคิดของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน หลักการเบื้องต้นของการออกแบบเชิ งนิ เวศเศรษฐกิ จ
และการประเมิ น วัฏ จัก รชี วิ ต ผลิ ต ภัณ ฑ์ การรี ไ ซเคิ ล และการบริ ก าร การอนุ รั ก ษ์
ทรัพยากร ระบบการบริ หารจัดการการผลิตที่ยงั่ ยืนและเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม
Prerequisite: None
The impact of manufacturing system on the environment, health and safety,
environmental and waste disposal legislation in the thailand and globalization and the
need for sustainable manufacturing, the concepts of sustainable development, ecodesign
and life cycle assessment, recycling and serviceability, resource conservation, business
management issues, including environmental management system standards and
sustainable business models
82

INE 3325 ระบบการจัดการวัสดุสีเขียว 3(3-0-6)


Green Material Management System
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลักการพื้นฐานในการใช้วสั ดุที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมสาหรับในอุตสาหกรรมการผลิ ต
ซึ่ งเกี่ ยวข้องกับกลยุทธ์ในการใช้วสั ดุ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ: หลักการกาจัดวัสดุ การลด
วัสดุดว้ ยการบริ การ การลดความหลากหลายของวัสดุ ผลิ ต การลดการใช้วสั ดุ ดว้ ยการ
ปรับโครงสร้าง การใช้วสั ดุทดแทน รวมทั้งกระบวนการและเทคโนโลยียงั่ ยืนสาหรับการ
ผลิ ต วัส ดุ ที่ เ ป็ นมิ ต รต่ อ สิ่ งแวดล้ อ ม การเพิ่ ม มู ล ค่ า วัส ดุ เ หลื อ ใช้ การจัด การขยะ
อุตสาหกรรมและหลักการขยะเป็ นศูนย์
Prerequisite: None
Fundamental environmental-friendly use of material in manufacturing industry, material
efficient design strategies: material elimination, dematerialize product service,
consolidation of material variety, material minimization ( reduction and restructure) ,
material substitution, sustainable
process and technology for environmental-friendly material and value-added material
waste, manufacturing waste management and zero waste

INE 3326 การออกแบบผลิตภัณฑ์ อย่างยัง่ ยืน 3(3-0-6)


Sustainable Product Design
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลักการพื้นฐานของการออกแบบผลิ ตภัณฑ์อย่างยัง่ ยืน การออกแบบผลิ ตภัณฑ์ที่ เป็ น
มิตรต่อสิ่ งแวดล้อม การออกแบบเชิ งนิ เวศเศรษฐกิ จ การออกแบบเพื่อการแยกชิ้ นส่ วน
การประเมิ นวัฏ จักรชี วิตผลิ ตภัณฑ์ ตัวชี้ วดั ในการประเมิ นด้า นสิ่ งแวดล้อม หลัก การ
ออกแบบอย่ า งยัง่ ยื น อื่ น ๆ รวมทั้ง กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ ความรั บ ผิ ด ชอบทาง
สิ่ งแวดล้อมและสังคมของอุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์ การประยุกต์ใช้เครื่ องมือและ
กลยุทธ์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์อย่างยัง่ ยืน กรณี ศึกษาและโครงงาน
Prerequisite: None
Fundamental of sustainable product design, design for the environment, eco- design,
design for disassembly, life cycle assessment, eco-Indicator, quantitative and qualitative
design guides, producer responsibility legislation, application of design tools and
sustainable product design strategies, case studies, and project-oriented activities
83

INE 4327 การจัดการพลังงานและสิ่ งแวดล้ อมในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)


Environmental and Energy Management in Industry
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ความรู ้ ท ั่ว ไปของมลพิ ษ ทางอุ ต สาหกรรม ผลกระทบของมลพิ ษ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม
แหล่งกาเนิดมลพิษทางอากาศจากกระบวนการผลิตและการจาแนกมลพิษทางอากาศ การ
ตรวจสอบและการบาบัดมลพิษทางอากาศ แหล่งกาเนิ ดมลพิษทางน้ าจากกระบวนการ
ผลิตและการจาแนกมลพิษทางน้ า การตรวจสอบและการบาบัดมลพิษทางน้ า กากของเสี ย
จากกระบวนการทางอุตสาหกรรม การจัดการกากของเสี ยและการป้ องกันการเกิดปั ญหา
มลพิ ษ การใช้พ ลัง งาน แหล่ ง พลัง งาน พลัง งานในรู ป แบบต่ า งๆ และระบบการจัด
การพลัง งานในอุ ต สาหกรรม กฎหมายเกี่ ย วกับ สิ่ ง แวดล้อ มและการควบคุ ม มลพิ ษ
มาตรฐานระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม
Prerequisite: None
General knowledge of industrial pollution, effects of pollution on the environment, air
pollution sources from the manufacturing process and the classification of air pollution,
monitoring and air pollution treatment, water pollution sources from the production
process and classification of water pollution, monitoring of water pollution treatment,
waste from industrial processes, waste management and prevention of pollution, energy
consumption, source of energy, energy in various forms and energy management systems
in the industrial, environmental law and pollution control, environmental management
system standards

INE 4328 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และกฎหมายในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)


Human Resource Development and Industrial Law
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
แนวคิ ดและหลัก การพัฒนาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ บทบาทและหน้าที่ ของวิศวกรในฐานะ
ผูบ้ ริ หาร หลักการบริ หารเชิ งกลยุทธ์ กระบวนการในการพัฒนาและบริ หารทรัพยากร
มนุษย์ การพัฒนาระดับบุคคลและองค์กร กฎหมายโรงงาน กฎหมายการลงทุน กฎหมาย
แรงงานและการประกันสั ง คม สุ ข วิท ยาในโรงงานอุ ตสาหกรรม การประกันภัย ทาง
อุตสาหกรรม พระราชบัญญัติการขนส่ ง พระราชบัญญัติโรงงาน
84

Pre-requisite: None
Concept and principles of human resource development, role and duty of an engineer in
a position of manager, strategic management principles, process of human resource
development and management, personal and organization development, industrial law,
investment law, labor law and social security, industrial hygiene, industrial insurance,
transportation act, factory act

2) วิชาเอกวิศวกรรมการผลิต
2.1) แขนงวิชาวิศวกรรมการผลิตและระบบอัตโนมัติ
PDE 2329 คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบ 2 มิติ 3(2-3-5)
Computer Aided Design 2D
วิชาบังคับก่อน: IPE 1110 การเขียนแบบวิศวกรรม
หลักการทัว่ ไปในการออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ คาสั่งพื้นฐานในการเขียน
แบบ การเขียนภาพ 2 มิติ การเขียนภาพไอโซเมตริ กและภาพฉายออโธกราฟฟิ ก การบอก
ขนาด การเขียนตัวอักษร การเขียนแบบแม่พิมพ์หรื อชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกลและแบบสั่งงาน
การจัดเก็บข้อมูลและแสดงผลทางเครื่ องพิมพ์
Pre-requisite: IPE 1110 Engineering Drawing
Principles of computer aided design and drafting for 2D drawing, basic commands, 2D
drawing, isometric and orthographic drawing, dimensioning, tools and dies parts drawing,
or machine parts drawing data store and plotting

PDE 2330 วิศวกรรมเครื่ องจักรกลอัตโนมัติเบื้องต้ น 3(2-3-5)


Basic Automatic Machine Engineering
วิชาบังคับก่อน : IPE 1202 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่ องมือกล
เครื่ องจักรกลอัตโนมัติที่ทางานด้วยระบบควบคุมเชิ งตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์ หลักการ
ทางานเบื้องต้นของเครื่ องกลึงและเครื่ องกัดที่ควบคุมเชิ งตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์ ลาดับ
ขั้นในการเขียนและการใช้คาสั่งเชิงตัวเลขสาหรับควบคุมเครื่ องจักรกลอัตโนมัติในการ
ผลิตชิ้นงานเบื้องต้น
85

Pre-requisite: IPE 1202 Machine Tools Engineering Laboratory


Automatic machines that operate with computer numerical control ( CNC) , basic
principles of CNC lathes and CNC milling machines, steps to write and use numerical
control for control the auto machine in cutting parts

PDE 2331 นิวแมติกส์ และไฮดรอลิกส์ 3(2-3-5)


Pneumatic and Hydraulic
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลัก การท างานของระบบนิ ว แมติ ก ส์ แ ละไฮดรอลิ ก ส์ ชิ้ น ส่ ว นอุ ป กรณ์ ต่ า งๆ และ
สัญลักษณ์ การคานวณหาแรงดันและปริ มาณการไหลของของไหล การควบคุมระบบนิว
แมติกส์และไฮดรอลิกส์แบบต่างๆ การออกแบบวงจรควบคุม
Pre-requisite: None
Principles of pneumatic and hydraulic parts and accessories and symbols, calculation of
pressure and flow rate of the fluid, the pneumatic control system and hydraulic models,
control circuits design

PDE 3332 คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบ 3 มิติ 3(2-3-5)


Computer Aided Design 3D
วิชาบังคับก่อน: PDE 2329 คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบ 2 มิติ
หลักการทัว่ ไปในการออกแบบและเขียนแบบภาพจาลอง 3 มิติดว้ ยคอมพิวเตอร์ คาสั่ง
พื้นฐานในการเขียนแบบภาพจาลอง 3 มิติการเขียนภาพจาลอง 3 มิติแบบต่าง ๆ การเขียน
ภาพจาลองชุดแม่พิมพ์หรื อชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกลการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
Pre-requisite: PDE 2329 Computer Aided Design 2D
Principles of computer aided design and drafting for 3D modeling, basic commands,
modeling types tools and dies modeling or machine parts modeling simulation and data
store
86

PDE 3333 คอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบและการผลิต 3(2-3-5)


Computer Aided Design and Manufacturing
วิชาบังคับก่อน: PDE 2329 คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบ 2 มิติ
หลักการของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาหรับการเขียนแบบออกแบบและช่ วยในการผลิ ต
การเขี ย นแบบและออกแบบ 2 มิ ติ และ 3 มิ ติ ในลัก ษณะทรงตัน ลัก ษณะพื้ นผิวและ
ลักษณะโครงลวด วิธีการจัดทาทางเดินเครื่ องมือตัดในโปรแกรมส่ วนที่ช่วยในการผลิต
การจัด การข้อ มู ล และการถ่ า ยโอนข้อ มู ล เพื่ อ น าไปใช้ใ นการควบคุ ม เครื่ อ งจัก รกล
อัตโนมัติที่ควบคุมเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์
Pre-requisite: PDE 2329 Computer Aided Design 2D
Principles of computer programs for use to drawing and design manufacturing, drawing
and designing in 2D and 3D solid, surface and wireframe, solution of tool path creating
in CAM and data management for transfer to CNC machine

PDE 3334 คอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบและงานวิศวกรรม 3(2-3-5)


Computer Aided Design and Engineering
วิชาบังคับก่อน: PDE 2329 คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบ 2 มิติ
หลักการและแนวคิดในการออกแบบ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาหรับการออกแบบ
ชิ้ นส่ วนและอุปกรณ์ ต่างๆ การวิเคราะห์ทางวิศวกรรม และการวิเคราะห์ผลกระทบจาก
การออกแบบ การจาลองการผลิตโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Pre-requisite: PDE 2329 Computer Aided Design 2D
Principles and concepts for using computers aided design parts and accessories,
engineering analysis and analyze the impact of the design, production simulation by
computer software
87

PDE 3335 วิศวกรรมเครื่ องจักรกลอัตโนมัติช้ ั นสู ง 3(2-3-5)


Advanced Automatic Machine Engineering
วิชาบังคับก่อน: PDE 2330 วิศวกรรมเครื่ องจักรกลอัตโนมัติเบื้องต้ น
ฝึ กปฏิ บ ัติ เ กี่ ย วกับ หลัก การท างานของเครื่ อ งจัก รกลอัต โนมัติ ส าหรั บ เครื่ อ งจัก รกล
อัตโนมัติช้ ันสู งในงานอุ ตสาหกรรม เครื่ องกัดกร่ อนโลหะด้วยกระแสไฟฟ้ า (EDM)
เครื่ องตัดโลหะด้วยลวดไฟฟ้ า (Wire-cut) การวางแผนการทางาน การเขียนโปรแกรม
การควบคุมการทางานของเครื่ องกัดโลหะด้วยกระแสไฟฟ้ าและเครื่ องตัดโลหะด้วยลวด
ไฟฟ้า ตลอดจนความปลอดภัยในการทางาน
Pre-requisite: PDE 2330 Basic Automatic Machine Engineering
Laboratory of automatic machine for the advance automatic machine in industry, the
electrically discharge machine (EDM), the metal wire cut machine (Wire-cut), the work
planning and program writing, the operation control for electrical discharge machine
and the metal wire cut machine and working safety

PDE 3336 การออกแบบผลิตภัณฑ์ และการผลิตอัตโนมัติ 3(2-3-5)


Products and Automated Production Design
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ ข้อกาหนดและประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ การสเก๊ต การเลือก
วัส ดุ การสร้ า งแบบจาลองของผลิ ต ภัณฑ์ การออกแบบกระบวนการผลิ ต ด้วยระบบ
อัตโนมัติ การสร้ างแบบจาลองการผลิ ตระบบอัตโนมัติ การสร้ างต้นแบบอย่างรวดเร็ ว
และการพิมพ์สามมิติ
Pre-requisite: None
Principles of product design, product specifications and benefits, sketching, material
selection, production modeling, automatic manufacturing process design, automatic
manufacturing modeling, rapid prototyping and 3D printing
88

PDE 3337 ระบบอัตโนมัติแบบลีน 3(2-3-5)


Lean Automation
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลักการและแนวคิดของการผลิตแบบลีน-ซิ กซ์ซิกม่า เครื่ องมือและเทคนิ คต่างๆ ของการ
ผลิตแบบลีน-ซิ กซ์ซิกม่า พื้นฐานระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ การประยุกต์ใช้ระบบการ
ผลิ ตแบบอัตโนมัติใ นการผลิ ตแบบลี น -ซิ ก ซ์ ซิ ก ม่า การวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
อัตโนมัติแบบลีน การจาลองระบบอัตโนมัติแบบลีน
Pre-requisite: None
Lean- six sigma production principles and concept, tools and techniques of lean- six
sigma production, basic automated production systems, application of automated
production systems in lean-six sigma production, lean automation analysis and design,
simulation of lean automation

PDE 3338 วิศวกรรมหุ่นยนต์ 3(2-3-5)


Robotics Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
พื้นฐานของเทคโนโลยีหุ่นยนต์ ประวัติการพัฒนาวิทยาการหุ่ นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม การ
จาแนกหุ่ นยนต์ การแนะนาหุ่ นยนต์อุตสาหกรรม การใช้งานหุ่ นยนต์อุตสาหกรรม การ
เคลื่ อนไหวของหุ่ นยนต์ข้ นั พื้ นฐาน ประเภทของระบบขับเคลื่ อน การเขี ยนโปรแกรม
หุ่ นยนต์และภาษาการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์ การเลือกและออกแบบกริ ปเปอร์ เซ็นเซอร์
ในหุ่ น ยนต์ การวิ เ คราะห์ ก ารเคลื่ อ นที่ ข องหุ่ น ยนต์ ระบบการมองของหุ่ น ยนต์ การ
ประมวลและวิเคราะห์ผลภาพ การประสานกันของฮาร์ ดแวร์ การจาลองแบบกราฟิ กของ
หน่วยการผลิตด้วยหุ่นยนต์ การใช้หุ่นยนต์ในการผลิต
Pre-requisite: None
Fundamentals of robot technology, history and classification of robotics, industrial
robotics, applications for industrial robots, basic robot motion, types of drive systems,
programming the robot and robot programming language, gripper selection and design,
sensors in robotics, robot motion analysis, robot vision systems, image processing and
analysis, hardware interfacing, graphical simulation of robotic work cell, robot
applications in manufacturing
89

PDE 3339 การออกแบบชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกลการผลิต 3(2-3-5)


Design of Production Machine Elements
วิชาบังคับก่อน: IPE 2117 กลศาสตร์ วศิ วกรรม
ขั้นตอนในการออกแบบชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกลการผลิ ต การวิเคราะห์แรงและความเค้นที่
เกิดขึ้นในการชิ้นส่ วนที่อยูภ่ ายใต้ภาระการส่ งถ่ายกาลังของชิ้นส่ วนเครื่ องจักรที่ใช้ในงาน
ผลิ ต เลื อกใช้วสั ดุ ให้เหมาะสมกับชิ้นส่ วนที่ออกแบบ การออกแบบและคานวณชิ้ นส่ วน
และอุ ป กรณ์ อื่น ๆ การเลื อกใช้ชิ้ นส่ วนเครื่ องจัก รกล การวิเคราะห์ ค วามเสี ย หายของ
ชิ้นส่ วนโดยใช้โปรแกรมในการออกแบบวิเคราะห์แรงที่กระทา การคานวณหาขนาดต้น
กาลังในการขับเคลื่อนชิ้นส่ วนของเครื่ องจักร
Pre-requisite: IPE 2117 Engineering Mechanics
Process of design of production machine elements, force analysis and stresses in the
parts under the load transfer capacity of machine element, material selection appropriate
for the design, design and calculations of parts and accessories, machine parts selection,
analysis of component damage by using computer software for force analysis design,
calculation of power source to drive parts of the machine

PDE 4340 การจาลองการขึน้ รู ปโลหะด้ วยวิธีการทางไฟไนต์ เอลิเมนต์ 3(2-3-5)


Simulation of Metal Forming by Using Finite Element Method
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
สมการไฟไนต์เอลิเมนต์สาหรับการขึ้นรู ปโลหะ การวิเคราะห์ความแข็งแรงของแม่พิมพ์
การทาแบบจาลองเพื่อการวิเคราะห์ ฐานข้อมูลวัสดุสาหรับสมการประกอบ การวิเคราะห์
การเปลี่ยนแปลงรู ปร่ าง ระบบเชิงเส้น การเปลี่ยนแปลงอิลาสโตพลาสติก พลาสติกขนาด
ใหญ่ การประยุกต์ใช้ไฟไนต์เอลิ เมนต์ในกระบวนการตัดโลหะแผ่น การดัดขึ้นรู ป การ
ขึ้นรู ปลึก
Pre-requisite: None
Finite element equations for metal forming, analysis of die strength, the model for
analysis, materials database for constitutive equations, analysis of elastic deformation in
linear system, elastoplastic deformation, plasticity deformation, application of finite
element, blanking process, bending and deep drawing
90

PDE 4341 ปัญญาประดิษฐ์ 3(3-0-6)


Artificial Intelligence
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
บทนาเกี่ยวกับปั ญญาประดิษฐ์ การแทนความรู ้ การค้นหา การให้เหตุผลเชิ งตรรกะ การ
ให้เหตุผลเชิงน่าจะเป็ น กลจักรการเรี ยนรู ้ กลจักรวิทศั น์ ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ
Pre-requisite: None
Introduction to artificial intelligence, knowledge representation, search, logical reasoning,
probabilistic reasoning, machine learning, machine vision, expert systems

2.2) แขนงวิชาวิศวกรรมเครื่ องมือ


PDE 3342 ไตรบอโลยี 3(2-3-5)
Tribology
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ศาสตร์ ทางด้านไตรบอโลยี ความเสี ยดทาน แรงเสี ยดทาน การหล่อลื่น และการสึ กหรอ
เทคนิคการวัดความเสี ยดทาน วิธีการหล่อลื่น การป้ องกันการสึ กหรอ กรณี ศึกษาทางด้าน
ไตรบอโลยี การประยุกต์ใช้ไตรบอโลยีในงานวิศวกรรม ฝึ กปฏิ บตั ิการทดสอบความ
เสี ยดทานขณะที่ผิวสัมผัสมีสารหล่ อลื่ น ความเสี ยดทานของผิวสัมผัสโลหะเมื่อความ
หยาบผิวแตกต่างกัน ความเสี ยดทางของผิวคู่สัมผัสที่มีค่าความแข็งแตกต่างกัน อิทธิ พล
ของโหลดที่ส่งผลต่อแรงเสี ยดทาน การสึ กหรอในงานแม่พิมพ์ตดั
Pre-requisite: None
Tribology science, friction, friction force, lubrication and wear, lubrication mechanisms,
lubrication type, wear type, friction measurement, lubrication method, wear protection,
case study of tribology, application of tribology for engineering, practice of the friction
on the surface with lubrication, friction of metal contact with different surface roughness,
friction of metal contact with different hardness, influence of load to the friction force,
wear in blanking die
91

PDE 3343 วิศวกรรมการขึน้ รู ปวัสดุ 3(2-3-5)


Material Forming Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
คุณสมบัติของวัสดุสาหรับการขึ้นรู ปโลหะและการขึ้นรู ปพลาสติก การขึ้นรู ปโลหะแผ่น
การขึ้นรู ปชิ้นงานก้อน พื้นฐานกระบวนการขึ้นรู ปด้วย การตีข้ ึนรู ป การรี ดขึ้นรู ป การอัด
ขึ้ นรู ป การลากขึ้นรู ป การขึ้ นรู ปโลหะผง การขึ้ นรู ปโพลิ เมอร์ การขึ้ นรู ปเซรามิค และ
กระบวนการฉี ดพลาสติก ตัวแปรและเครื่ องมือในการขึ้นรู ปโลหะและกระบวนการฉี ด
พลาสติก
Pre-requisite: None
Material properties for metal forming and plastic forming, sheet metal forming, bulk
forming, fundamental of metal forming processes, forging, rolling, extrusion, drawing,
powder metallurgy, polymer, ceramic and plastic injection processes, factors and tools
involving metal forming and plastic injection processes

PDE 3344 วิศวกรรมการออกแบบแม่ พิมพ์โลหะ 3(2-3-5)


Tool and Die Design Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การออกแบบแม่พิมพ์ตดั แม่พิมพ์ลากขึ้นรู ปถ้วย แม่พิมพ์ต่อเนื่ อง แม่พิมพ์พบั ขึ้นรู ปและ
แม่พิมพ์ผสม กาหนดขั้นตอนและหลักการทางานของแม่พิมพ์ การคานวณแรงที่ใช้ในการ
ขึ้ นรู ปและการตัดเจาะ การเลื อกขนาด ชนิ ดและหลักการทางานของเครื่ องปั๊ ม การทา
แม่พิมพ์ การเลือกใช้วสั ดุและชิ้นส่ วนมาตรฐานในการทาแม่พิมพ์
Pre-requisite: None
Blanking die design, deep drawing, progressive die, bending die and compound die,
planning of die design, blanking force calculation, selection of press machine, die
making, materials selection and standard parts of die making
92

PDE 3345 วิศวกรรมการออกแบบอุปกรณ์ นาเจาะและจับงาน 3(2-3-5)


Jig and Fixture Design Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
หลักการออกแบบเครื่ องมื อ องค์ประกอบการจับงาน การทางานของชิ้ นส่ วนต่างๆ ที่
ประกอบชิ้ นเป็ นอุ ปกรณ์ นาเจาะและจับงาน การออกแบบอุ ปกรณ์ นาเจาะและจับ งาน
อุปกรณ์นาเจาะและจับงานประเภทต่าง ๆ
Pre-requisite: None
Principles of tool design, Jig and Fixture element, operation of parts assembled as an
equipment to drill and hold, jig and fixture design, types of jig and fixture

PDE 3346 วิศวกรรมการออกแบบแม่ พิมพ์พลาสติก 3(2-3-5)


Plastic Mold Design Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ชนิดและโครงสร้างพลาสติก กรรมวิธีผลิตภัณฑ์พลาสติก วัสดุและเครื่ องจักรที่ใช้ใ นการ
ผลิตแม่พิมพ์พลาสติก การออกแบบและวิเคราะห์แม่พิมพ์ฉีด และแม่พิมพ์อดั ขึ้นรู ปตาม
แบบงานที่ให้มา
Pre-requisite: None
Type and structure of plastics, manufacturing processes of plastic products, materials and
machines for plastic mold, design and analysis of injection mold and compression mold

PDE 3347 วิศวกรรมการตัดเฉื อนโลหะ 3(3-0-6)


Metal Removal Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
กลศาสตร์ การตัดเฉื อนโลหะ กลไกการเกิดเศษโลหะ การหาแรงตัดที่เกิดขึ้นในทิศทาง
ต่าง ๆ เครื่ องมือวัดแรงตัดเฉือน การสึ กหรอ อายุการใช้งานของเครื่ องมือตัด คุณภาพผิว
งาน เศรษฐศาสตร์ของการตัดโลหะ และการออกแบบเครื่ องมือตัด
Pre-requisite: None
The mechanics of shearing metal, chip formation mechanism, determining cutting force
occurring in directions, shear instrument, wear, cutting tool life, surface quality,
economics of cutting metal and cutting tool design
93

PDE 3348 กระบวนการตัดสมัยใหม่ 3(3-0-6)


Modern machining processes
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
บทนาเกี่ ยวกับกระบวนการตัดสมัยใหม่ กระบวนการตัดที่ใช้พลังงานกล กระบวนการ
ตัดที่ใช้พลังงานความร้อน กระบวนการตัดที่ใช้พลังงานไฟฟ้าเคมี กระบวนการตัดที่ใช้
พลังงานเคมี กรณี ศึกษาของกระบวนการตัดสมัยใหม่
Pre-requisite: None
Introduction to modern machining processes, mechanical energy processes, thermal
energy processes, electrochemical energy processes, chemical energy processes, case
studies of modern machining processes

PDE 3349 กระบวนการขึน้ รู ปพอลิเมอร์ 3(2-3-5)


Polymer Processing
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การแปรรู ปพอลิเมอร์ กระบวนการผสม สารเติมแต่งพลาสติก กระบวนการขึ้นรู ปพอลิ
เมอร์ การอัด รี ด การฉี ด การเป่ า การอัด การพิ ม พ์ส ามมิ ติ และเทคนิ ค การแปรรู ป
สมัยใหม่อื่น ๆ สาหรับพลาสติกและยาง
Prerequisite: None
Polymer processing, mixing process, plastic additives, polymer processing, extrusion,
injection molding, blow molding, compression molding, 3D printing, and other modern
polymer processing techniques for plastics and rubber

2.3) แขนงวิชาวิศวกรรมวัสดุ
PDE 2350 วิศวกรรมการเชื่ อม 3(2-3-5)
Welding Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การเชื่ อมแบบหลอมละลาย การเชื่ อมแบบสถานะของแข็ง การบัดกรี การแล่นประสาน
การเตรี ยมรอยต่อและการเตรี ยมพื้นผิว โลหะวิทยาของงานเชื่ อม ความแข็งแรงของรอย
เชื่อมและการตรวจสอบรอยเชื่อม
94

Pre-requisite: None
Fusion welding, solid- state welding, soldering, brazing, welding joint and surface
preparation, welding metallurgy, strength of welding joint and welding inspection

PDE 3351 โลหะการวิศวกรรม 3(2-3-5)


Engineering Metallurgy
วิชาบังคับก่อน: IPE 3205 ปฏิบัติการวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ
อุปกรณ์และเครื่ องมือที่ใช้ในทางโลหะวิทยา คุณสมบัติเชิงกลของโลหะ โครงสร้างของ
โลหะและการเกิดผลึก การเปลี่ยนรู ปของโลหะ คุณสมบัติของโลหะผสมไดอะแกรมของ
เหล็ก-เหล็กคาร์ไบด์ การอบชุบของเหล็ก กรรมวิธีชุบแข็ง
Pre-requisite: IPE 3205 Material Testing Engineering Laboratory
Metallurgical equipment and instruments, mechanical properties of metal, structure of
metal and crystallization, deformation of metal, properties of alloy, Fe- Fe3C phase
diagram, heat treatment of steel, hardening process

PDE 3352 วิศวกรรมการหล่อโลหะ 3(2-3-5)


Foundry Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
พื้นฐานการหล่อโลหะ กระบวนการทาแบบหล่อสาหรับการหล่อทราย การหล่อทราย
การหล่อด้วยแม่พิมพ์ถาวร การหล่อด้วย การฉี ดเข้าแม่พิมพ์การหล่อแบบอัด การหล่อ
ขี้ผ้ ึงหาย การหล่อโฟมหาย การหล่อสภาวะกึ่ งแข็ง การหล่อทรายคาร์ บอนไดออกไซด์
เหล็กหล่อ การเกิดออกซิ เดชันของน้ าโลหะ กลศาสตร์ การไหลและการออกแบบระบบ
ป้ อนน้ าโลหะ การแข็งตัวของโลหะ จุดบกพร่ องในงานหล่อ การศึกษาค้นคว้าในหัวข้อ
การหล่อโลหะผสมอลูมิเนียม
Pre-requisite: None
Basic foundry, Molding process for sand casting, sand casting, permanent mold casting,
die casting, squeeze casting, lost wax casting, lost foam casting, semi-solid casting, CO2
sand casting, cast iron, cast aluminum, fluid mechanics and gating design, solidification
of metals, casting defects, selected topics on casting of aluminum alloys
95

PDE 4353 การตรวจสอบและประกันคุณภาพงานเชื่ อม 3(2-3-5)


Inspection and Assurance for Welding
วิชาบังคับก่อน: PDE 2346 วิศวกรรมงานเชื่ อม
กรรมวิธีการตรวจสอบงานเชื่อม มาตรฐานในการทดสอบแบบไม่ทาลายและการทดสอบ
แบบทาลาย การวิเคราะห์ สรุ ปผล และการบันทึกผลการตรวจสอบ หลักการและแนวทาง
ประกันคุ ณภาพงานเชื่ อม ระบบควบคุ มคุ ณภาพ ข้อกาหนดและมาตรฐานเกี่ ยวกับการ
ควบคุ ม คุ ณ ภาพงานเชื่ อ ม การก าหนดแผนงานและขั้น ตอนการสอบงานเชื่ อ ม การ
ประเมินผลงานตามหลักสถิติ การควบคุม การรับรองคุณสมบัติและคุณวุฒิของบุคลากรที่
เกี่ยวข้องกับงานเชื่ อมตามหลักสากล การควบคุมความปลอดภัยของบุคลากรในสายงาน
เชื่อมและเก็บรักษาข้อมูล
Pre-requisite: PDE 2346 Welding Engineering
Welding inspection method, non-destructive and destructive testing standards, analysis,
conclusion and recording inspection results, welding assurance methods and principles,
quality control systems, specification and standards involving welding quality control,
plans and procedures determination for welding inspection, evaluation results by
statistic, controlling, qualifying personnel involving international welding, safety
controlling of welding personnel, and record keeping

PDE 4354 การเลือกวัสดุ 3(3-0-6)


Material selection
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การเลือกวัสดุบนพื้นฐานของสมบัติที่ตอ้ งการ การออกแบบชิ้นส่ วนและผลิตภัณฑ์ การ
พิจารณาความเหมาะสมทางเศรษฐศาสตร์ การเลือกกระบวนการผลิตและการขึ้นรู ปวัสดุ
กรณี ศึกษาสาหรับการเลือกวัสดุและกระบวนการ
Prerequisite: None
Material selection based on the required properties, part and product design, economic
consideration, manufacturing process selection and material forming, case studies on
material and manufacturing process selection
96

PDE 4355 พฤติกรรมทางกลของวัสดุ 3(2-3-5)


Mechanical Behavior of Materials
วิชาบังคับก่อน: IPE 3205 ปฏิบัติการวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ
สมบัติทางกลของวัสดุ ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้น-ความเครี ยดของโลหะ เซรามิก
และพอลิเมอร์ การทดสอบแรงดึง ความแข็ง การบิด การกระแทก ความล้า และการคืบ
ทฤษฎี การเคลื่ อน กลไกการเพิ่มความแข็งแรงและความแข็งของวัส ดุ กรณี ศึกษาการ
ประยุกต์กลไกการเพิ่มความแข็งแรงในกรรมวิธีทางวัสดุ การผิดรู ปในช่วงพลาสติกของ
วัสดุผลึกเดี่ยวและพหุ ผลึ ก การผิดรู ปของวัสดุที่ไม่เป็ นผลึ ก การผิดรู ปที่อุณหภูมิสูงของ
วัสดุที่เป็ นผลึก การแตกหักและกลศาสตร์การแตกหักของวัสดุ
Pre-requisite: IPE 3205 Material Testing Engineering Laboratory
Material properties, Stress – strain relationship of metal ceramic and polymer,
mechanical property testing, tension, hardness, torsion, impact, fatigue, creep,
dislocation theory, mechanism of strength and hardness of materials, case study in the
application of mechanism of strength in materials processing, plastic deformation of
single crystalline material and multi crystalline, deformation of non- crystalline
materials, high temperature deformation of crystalline materials, fracture and fracture
mechanic of materials

PDE 4356 กลศาสตร์ ของแข็ง 3(3-0-6)


Solid Mechanics
วิชาบังคับก่อน: IPE 2117 กลศาสตร์ วศิ วกรรม
บทนาของแรงภายใน ความสัมพันธ์ของความเค้นและความเครี ยด แรงเฉือนและความเค้น
อัด การบิดของเพลา การเขียนไดอะแกรมของแรงเฉือนและโมเมนต์ดดั ในคาน ความเค้น
ผสม การวิเคราะห์ความเค้นและความเครี ยด ทฤษฎีของวัฎจักรมอร์ (Mohr’ Circle) การ
โก่งของคานและเสาสู ง พลังงานความเครี ยด
Pre-requisite: IPE 2117 Engineering Mechanics
Introduction to intrinsic forces, relationship of stress and strain, compressive and shear
stress, torsion of the shaft, writing shear diagram and bending moment in beams, stress
combination, stress and strain analysis, theory of the cycle Morgan (Mohr ‘circle),
deflection of beam and height antenna, strain energy
97

PDE 4357 วิศวกรรมการอบชุ บโลหะ 3(2-3-5)


Metal Heat Treatment Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
กรรมวิธีทางความร้อนของเหล็กกล้า การอบชุ บผิวแข็งของเหล็กกล้า เครื่ องมือที่ใช้ใน
กรรมวิธีทางความร้อน การควบคุมกระบวนการและคุณภาพ กรรมวิธีทางความร้อน ของ
เหล็กหล่อ เหล็กเครื่ องมื อ เหล็กกล้าไร้ สนิ มและเหล็กกล้าทนความร้ อน กรรมวิธี ทาง
ความร้อนของโลหะผสมนอกกลุ่มเหล็ก
Pre-requisite: None
Heat treatment of steel, surface hardening of steel, heat treatment equipment, process
and quality control, heat treatment of cast iron, tool steel, stainless steel and hot work
tool steel, heat treatment of non-ferrous

PDE 4358 โลหะผสมนอกกลุ่มเหล็ก 3(2-3-5)


(Non-ferrous Alloys)
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
รายละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้างจุลภาค กรรมวิธีการผลิต และสมบัติของโลหะผสมนอก
กลุ่มเหล็ก อะลู มิเนี ยม ทองแดง ไทเทเนี ยม นิ กเกิ ล แมกนี เซี ยม กลไกการทาให้โลหะ
ผสมนอกกลุ่มเหล็กแข็งแรงขึ้น การศึกษาค้นคว้าในหัวข้อการรี ไซเคิลโลหะผสมนอก
กลุ่มเหล็ก
Prerequisite: None
Detailed information on microstructure, processing and properties of nonferrous alloys,
aluminum, copper, titanium, nickel, magnesium, strengthening mechanisms in non-
ferrous alloys, selected topics on recycle of non-ferrous alloys

PDE 4359 วิศวกรรมพอลิเมอร์ 3(3-0-6)


Polymer Engineering
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
ชนิดและการจาแนกประเภทของพอลิเมอร์ การสังเคราะห์พอลิเมอร์ โครงสร้างโมเลกุล
และสมบัติของพอลิเมอร์ พอลิ เมอร์ ผสม พอลิ เมอร์ คอมโพสิ ต พลาสติกชี วภาพ การ
เลือกใช้และกระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ ผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อม
98

Prerequisite: None
Type and classification of polymers, polymerization, molecular structures and
properties of polymers, polymer blends, polymer composites, bioplastics, selection and
production process of polymer products, environmental impact

PDE 4360 การวิเคราะห์ ลกั ษณะเฉพาะของวัสดุ 3(2-3-5)


Material Characterization
วิชาบังคับก่อน: ไม่ มี
การทดสอบและการวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพ ทางเคมี ทางกล และทางความร้อนของ
วัสดุ การวิเคราะห์พ้ืนฐานทางเคมี วิธีทางสเปกโทรสโคปี เทคนิคเอกซเรย์ เทคนิคไมโค
รสโคปี
Prerequisite: None
Testing and analysis of physical, chemical, mechanical, and thermal properties of
materials, basic chemical analysis, spectroscopic methods, X- ray technique,
microscopic technique
99

3.2 ชื่ อตาแหน่ งและคุณวุฒิของอาจารย์


3.2.1 อาจารย์ ผ้ รู ับผิดชอบหลักสู ตร
ตาแหน่ ง ภาระการสอน ชม./ปี การศึกษา
รหัส ชื่ อ-สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถาบันที่สาเร็จการศึกษา ปี พ.ศ.
วิชาการ 2564 2565 2566 2567 2568
1910300005296 ผูช้ ่วย นายนิวฒั น์ มูเก็ม*,** วศ.ด. วิศวกรรมอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 2563 300 300 300 300 300
ศาสตราจารย์ เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วศ.ม. วิศวกรรมอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 2553
เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วศ.บ. วิศวกรรมอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 2551
เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3800600561426 ผูช้ ่วย นายณัฐศักดิ์ วศ.ด. วิศวกรรมอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 2563 300 300 300 300 300
ศาสตราจารย์ พรพุฒิศิริ เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วศ.ม. เทคโนโลยีการขึ้นรู ป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ 2545
โลหะ จอมเกล้าธนบุรี
ค.อ.บ. วิ ศ ว ก ร ร ม อุ ต ส า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 2540
หการ-เครื่ องมือกล วิทยาเขตภาคใต้
372300087746 ผูช้ ่วย นายคมกริ ช D.Eng Mechanical Hiroshima University, Japan 2558 300 300 300 300 300
ศาสตราจารย์ ละวรรณวงษ์ Engineering มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
วศ.ม. เทคโนโลยีการขึ้นรู ป จอมเกล้าธนบุรี 2546
โลหะ
อส.บ. วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น 2542
3450100531998 อาจารย์ นายปริ ญญา D.Eng Mechanical Systems Hiroshima University, Japan 2562 300 300 300 300 300
กวีกิจบัณฑิต Engineering
วศ.ม. วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2552
วศ.บ. วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2549
1100800299334 อาจารย์ นางสาวภาสุรีย ์ PhD. Mechanical and Loughborough University, 2561 300 300 300 300 300
ล้ าสกุล** Manufacturing UK.
Engineering
M.Eng Industrial and Asian Institute of Technology 2555
Manufacturing
Engineering
วศ.บ. วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2552
3800600682291 อาจารย์ นางสาวจิณกมล วศ.ม. วิศวกรรมการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ 2554 300 300 300 300 300
ลุยจันทร์** จอมเกล้าพระนครเหนือ
วศ.บ. วิศวกรรมวัสดุ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 2547
เกล้าพระนครเหนือ

หมายเหตุ * ประธานหลักสู ตร
** มีประสบการณ์ดา้ นปฏิบตั ิการในสถานประกอบการ
100

3.2.2 อาจารย์ ประจาหลักสู ตร


ตาแหน่ ง ภาระการสอน ชม./ปี การศึกษา
รหัส ชื่ อ-สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถาบันที่สาเร็จการศึกษา ปี พ.ศ.
วิชาการ 2564 2565 2566 2567 2568
อาจารย์ นายวิชยั พุม่ จันทร์ วศ.ม. วิศวกรรมการผลิต มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยีราช 2553 150 150 150 150 150
มงคลธัญบุรี
วศ.บ. วิ ศ ว ก ร ร ม อุ ต ส า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 2539
หการ-การผลิต
ผูช้ ่วย นายเฉลิมพล วศ.ม. วิศวกรรมโลหะการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ 2549 150 150 150 150 150
ศาสตราจารย์ คล้ายนิล จอมเกล้าธนบุรี
คอ.บ. วิ ศ ว ก ร ร ม อุ ต ส า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 2540
หการ-เครื่ องมือกล วิทยาเขตภาคใต้ (สงขลา)
อาจารย์ นางสาวปิ ยะวรรณ วศ.ม. การจัดการวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2550 150 150 150 150 150
สูนาสวน วศ.บ. วิศวกรรมอุตสา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2542
หการ
ผูช้ ่วย นางสาวอุไรวรรณ วศ.ด. วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2556 150 150 150 150 150
ศาสตราจารย์ พงสา วศ.บ. วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยศิลปากร 2551
ผูช้ ่วย นางอรจิตร วศ.ม. วิ ศ ว ก ร ร ม อุ ต ส า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2551 150 150 150 150 150
ศาสตราจารย์ แจ่มแสง หการ มงคลธัญบุรี
วศ.บ. วิศวกรรมสิ่ งทอ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 2547
ผูช้ ่วย นายประสาน วศ.ม. วิ ศ ว ก ร ร ม อุ ต ส า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2553 150 150 150 150 150
ศาสตราจารย์ แสงเขียว หการ มงคลธัญบุรี
อส.บ. เ ท ค โ น โ ล ยี อุ ต สา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2548
หการ มงคลรัตนโกสิ นทร์
อาจารย์ นายพิสิทธิ์ เมืองน้อย วศ.ด. วิศวกรรมวัสดุ*** มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ 2564 150 150 150 150 150
จอมเกล้าพระนครเหนือ
วศ.ม. วิศวกรรมวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ 2556
จอมเกล้าพระนครเหนือ
วศ.บ. วิศวกรรมวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ 2552
จอมเกล้าพระนครเหนือ
อาจารย์ นายทวี หมัดส๊ะ ปร.ด. วิศวกรรมศาสตร์*** มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2566 150 150 150 150 150
มงคลกรุ งเทพ
วศ.ม. วิศวกรรมการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2556
มงคลธัญบุรี
บธ.บ. ก า ร จั ด ก า ร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 2547
อุตสาหกรรม วข.วังไกลกังวล
อาจารย์ นายพงศกร วศ.ม. วิศวกรรมการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2555 150 150 150 150 150
หลีตระกูล มงคลธัญบุรี
อส.บ. เ ท ค โ น โ ล ยี อุ ต สา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2551
หการ มงคลรัตนโกสิ นทร์
101

ตาแหน่ ง ภาระการสอน ชม./ปี การศึกษา


รหัส ชื่ อ-สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถาบันที่สาเร็จการศึกษา ปี พ.ศ.
วิชาการ 2564 2565 2566 2567 2568
อาจารย์ นายภูเมศวร์ วศ.ม. วิ ศ ว ก ร ร ม อุ ต ส า สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 2558 150 150 150 150 150
แสงระยับ หการ เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
อส.บ. เทคโนโลยีวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2555
อุตสาหการ มงคลรัตนโกสิ นทร์
อาจารย์ นางสาวพิมพ์มาศ วศ.ด. วิ ศ ว ก ร ร ม ก า ร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ 2566 150 150 150 150 150
กาละวงศ์ ผลิต*** จอมเกล้าพระนครเหนือ
วศ.ม. วิศวกรรมการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ 2562
จอมเกล้าพระนครเหนือ
อส.บ. เทคโนโลยีวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2559
ก า ร อ อ ก แ บ บ มงคลรัตนโกสิ นทร์
แม่พิมพ์
อาจารย์ นางสาวทิพสุดา วศ.ด. วิ ศ ว ก ร ร ม อุ ต ส า สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 2567 150 150 150 150 150
รักเพ็ชร หการ*** เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วศ.ม. วิ ศ ว ก ร ร ม อุ ต ส า สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 2563
หการ เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
อส.บ. เทคโนโลยีวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2560
อุตสาหการ มงคลรัตนโกสิ นทร์
หมายเหตุ *** อยูร่ ะหว่างการศึกษาต่อระดับปริ ญญาเอก

4. องค์ ประกอบเกีย่ วกับประสบการณ์ภาคสนาม (สหกิจศึกษา)


4.1 ผลการเรียนรู้ ของประสบการณ์ ภาคสนาม
1. มีระเบียบวินยั ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ
2. บูรณาการองค์ความรู ้ที่เรี ยนมาเพื่อนาไปแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริ ง
3. ทักษะในการปฏิบตั ิงานจากสถานประกอบการ
4. มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ดี
4.2 ช่ วงเวลา
1. กรณี สหกิจศึกษา ปี การศึกษาที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1
2. กรณี การฝึ กงาน ปี การศึกษาที่ 3 ภาคการศึกษาฤดูร้อน
4.3 การจัดเวลาและตารางสอน
1. กรณี สหกิจศึกษา จัดเต็มเวลาใน 1 ภาคการศึกษา
2. กรณี การฝึ กงาน ไม่นอ้ ยกว่า 270 ชัว่ โมง
102

5. ข้ อกาหนดเกีย่ วกับการทาโครงงานหรื องานวิจัย


5.1 คาอธิบายโดยย่อ
การเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการผลิต การเตรี ยมงานและวางโครงงาน
วิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการผลิต กาหนดเป้ าหมายและจุดประสงค์ของโครงงาน การวางแผน
ดาเนินงาน ตลอดจนจัดหาวัสดุและอุปกรณ์ การนาเสนอข้อเสนอโครงงาน
โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการผลิต เป็ นการเขียนโครงงานวิศวกรรมอุตสา
หการและวิศวกรรมการผลิต ต่อเนื่ องจากการเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการ
ผลิต การศึกษาค้นคว้าข้อมูลสาหรับใช้ทาโครงงาน การปฏิบตั ิงานโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการและ
วิศวกรรมการผลิต การตั้งแนวความคิดในการแก้ปัญหาตลอดจนผลที่ได้รับ วิเคราะห์ วิจารณ์ผล สรุ ปผล
การศึกษาพร้อมนาเสนอโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการผลิต
5.2 ผลมาตรฐานการเรียนรู้
1. ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ
2. บูรณาการองค์ความรู ้ที่เรี ยนมาเพื่อนาไปแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริ ง
3. ทักษะในการประยุกต์ใช้องค์ความรู ้ ที่ได้ศึกษาอย่างเป็ นระบบโดยผ่านกระบวนการ
วิเคราะห์
4. สังเคราะห์องค์ความรู ้
5. มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ดี
6. มีทกั ษะในการนาเสนอผลการดาเนินงานตามรู ปแบบ วิธีการต่าง ๆ
5.3 ช่ วงเวลา
1. การเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการผลิต ปี การศึกษาที่ 3
ภาคการศึกษาที่ 2
2. โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการผลิต ปี การศึกษาที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2
5.4 จานวนหน่ วยกิต
1. การเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการผลิต จานวน 1 หน่วยกิต
2. โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการผลิต จานวน 3 หน่วยกิต
5.5 การเตรียมการ
1. มีการกาหนดรู ปแบบ รายละเอียดของการจัดทาโครงงาน
2. แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึ กษาในการจัดทาโครงงานของนักศึกษาเป็ นรายบุคคล หรื อรายกลุ่ม
3. กาหนดช่วงเวลาและช่องทางในการให้คาแนะนาเชิงวิชาการและเชิงเทคนิคแก่นกั ศึกษา
103

5.6 กระบวนการประเมินผล
1. โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการผลิต ประเมินผลจากความก้าวหน้าใน
การทาโครงงาน และการนาเสนอหัวข้อและโครงร่ างของโครงงานโดยคณะกรรมการสอบโครงร่ างอย่าง
น้อย 3 คน จากอาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสู ตรหรื ออาจารย์ประจาหลักสู ตร
2. โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการผลิ ต ประเมินผลจากปริ ญญานิ พนธ์
การนาเสนอโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมการผลิต โดยคณะกรรมการสอบโครงร่ างอย่าง
น้อย 3 คน จากอาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสู ตรหรื ออาจารย์ประจาหลักสู ตร
104

หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์ การสอนและการประเมินผล


1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา
คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรื อกิจกรรมของนักศึกษา
1. ทักษะในการวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา 1. ส่ งเสริ มการทาโครงงานรายวิชา หรื อแก้โจทย์ปัญหาจาก
และการลงมือปฏิบตั ิงาน กรณี ศึกษา
2. ส่ งเสริ มกิจกรรมทางทักษะวิชาชีพ
3. ยกระดับมาตรฐานโครงการสหกิจศึกษา
2. ความสามารถในการถ่ายทอด 1. ส่ งเสริ มการทาโครงงานร่ วมกับชุมชน และสถานประกอบการ
เทคโนโลยีสู่ชุมชน 2. ส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมกิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่
ชุมชน
3. บุคลิกภาพที่ดี 1. สอดแทรกเรื่ องการแต่งกาย การเข้าสังคม เทคนิคการเจรจา
สื่ อสาร การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และการวางตัวในการทางาน
ในรายวิชาที่เกี่ยวข้องและในกิจกรรมต่างๆ
4. ภาวะผูน้ าและความรับผิดชอบ 1. กาหนดให้นกั ศึกษาทางานเป็ นกลุ่มในรายวิชาต่างๆ
ตลอดจนมีวนิ ยั ในตนเอง 2. ส่ งเสริ มให้นกั ศึกษาทากิจกรรมต่างๆ
3. กาหนดให้เข้าเรี ยนหรื อส่ งงานตรงตามเวลา
5. จริ ยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ 1. ให้ความรู ้ถึงผลกระทบต่อสังคม
2. ให้ความรู ้ถึงข้อกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป
2.1. ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
2.1.1 ผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม
คุณธรรม จริ ยธรรมเป็ นพื้นฐานที่สาคัญของมนุ ษย์ทุกคนและทุกวิชาชี พ หากบุคคลใด
หรื อวิชาชี พใดไม่มีจริ ยธรรมเป็ นหลักยึดเบื้องต้นแล้วก็ยากที่จะก้าวไปสู่ ความสาเร็ จแห่ งตนและวิชาชี พ
นั้น ๆ ที่ยิ่งกว่านั้นก็คือ การขาดจริ ยธรรมทั้งในส่ วนบุคคลและในวิชาชี พ อาจมีผลร้ายต่อตนเอง สังคม
และวงการวิชาชี พในอนาคตอีกด้วย ดังจะพบเห็นได้จากวิกฤตศรัทธาในวิชาชีพหลายแขนงในปั จจุบนั
ทั้งในวงการวิชาชี พครู แพทย์ ตารวจ ทหาร นักการเมือง เป็ นต้น จึงมีคากล่าวว่า เราไม่สามารถสร้างครู ดี
บนพื้นฐานของคนไม่ดี และไม่สามารถสร้ างแพทย์ ตารวจ ทหาร นักการเมื อง และนักธุ รกิ จที่ ดี ถ้า
บุคคลเหล่านั้นมีพ้ืนฐานทางนิ สัยและความประพฤติที่ไม่ดี นักศึกษาก็เช่นเดียวกันจาเป็ นอย่างยิ่งต้องมี
คุ ณธรรม จริ ยธรรม เพื่อให้สามารถดารงตนได้อย่างเหมาะสม ใช้ชีวิตร่ วมกับผูอ้ ื่ นในสังคมได้อย่า ง
ราบรื่ น และเป็ นประโยชน์ ต่ อ ตนเองและส่ วนรวม เป็ นการช่ ว ยจรรโลงสั ง คมให้ น่ า อยู่ม ากยิ่ง ขึ้ น
105

อาจารย์ผูส้ อนในแต่ละรายวิชาจึงต้องพยายามสอดแทรกคุ ณธรรม จริ ยธรรม เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถ


พัฒนาตนเองทั้งด้านคุ ณธรรม จริ ยธรรมพร้ อม ๆ กับวิทยาการสมัยใหม่ อาจารย์ตอ้ งมีคุณสมบัติข อง
ความเป็ นอาจารย์ ประพฤติตนเป็ นแบบอย่าง มีคุณธรรม จริ ยธรรมอย่างน้อยตามที่ระบุไว้ ดังนี้
1) กตัญญูกตเวที ซื่อสัตย์ สุ จริ ต และตระหนักในคุณธรรม จริ ยธรรม
2) มีความเสี ยสละ เคารพในกฎระเบียบสังคม เพื่อประโยชน์ของสังคมและส่ วนรวม
3) สามารถนาหลัก คุ ณธรรม จริ ย ธรรมไปปฏิ บตั ิ ใ นการคิ ดวิเคราะห์ ตัดสิ นใจ และ
แก้ปัญหาได้อย่างมีเหตุมีผล
4) ดารงวัฒนธรรมไทย เข้าใจวัฒนธรรมนานาชาติ สามารถดาเนินชีวติ ในสังคมได้
อย่างเหมาะสม
5) รับฟังความคิดเห็น และเคารพสิ ทธิของผูอ้ ื่นตามหลักสิ ทธิมนุษยชน
นอกจากนี้ ยงั ต้องมีการสอดแทรกเนื้ อหาคุ ณธรรม จริ ยธรรมในทุกกลุ่มรายวิชาให้แก่
นักศึกษาได้ศึกษา ผูส้ อนต้องจัดให้มีการวัดมาตรฐานในด้านคุณธรรม จริ ยธรรมทุกภาคการศึกษา ซึ่งการ
วัดมาตรฐานไม่จาเป็ นต้องเป็ นข้อสอบ อาจใช้วิธีการสังเกตพฤติกรรมระหว่างทากิจกรรมของนักศึกษา
ตามที่กาหนดให้ เช่น การทากิจกรรมกลุ่มร่ วมกับบุคคลอื่น เป็ นต้น
2.1.2 กลยุทธ์ การสอนทีใ่ ช้ พฒ
ั นาการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม
หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์ มีการปลู กฝังให้นกั ศึกษาเรี ยนรู ้ ระเบียบวินยั มี
หลักในการประพฤติปฏิบตั ิ มุ่งเน้นให้มีความเสี ยสละเพื่อประโยชน์ของส่ วนรวม มีความซื่ อสัตย์ท้ งั ต่อ
ตนเองและสังคม นักศึกษาต้องปฏิบตั ิตามระเบียบวินยั ขั้นพื้นฐาน เช่ น การเข้าเรี ยนตามเวลาที่กาหนด
การทางานตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบ ปฏิบตั ิตนเป็ นสมาชิ กของกลุ่มที่ดีสอดคล้องกับ
บทบาทหน้าที่ของตนเอง การยอมรับฟั งความคิดเห็น และเคารพสิ ทธิ ของบุคคลอื่น มีความซื่ อสัตย์
สุ จริ ตทั้งต่อตนเองและบุคคลอื่น ไม่ทุจริ ตในการสอบ ไม่ทาการลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผูอ้ ื่น
โดยปราศจากการอ้างอิง ดังนั้น อาจารย์ผสู ้ อนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่ องคุณธรรม จริ ยธรรมในการสอน
ทุ กรายวิชาให้มีความเหมาะสมกลมกลื นกับเนื้ อหาที่ สอน รวมถึ งการประพฤติ ตนเป็ นแบบอย่างที่ ดี
อาจารย์อาจมีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มคุณธรรม จริ ยธรรม เช่น การประกาศเกียรติคุณยกย่องนักศึกษาที่ทา
ความดี มีความเสี ยสละ และสร้างคุณประโยชน์แก่สังคม
2.1.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1) ประเมินจากการเข้าชั้นเรี ยน การส่ งงานตรงเวลา และครบถ้วน
2) ประเมินจากการปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ
3) ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงออกของผูเ้ รี ยนด้านมารยาท การแต่งกาย
4) ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงออกซึ่ งความซื่ อสัตย์ สุ จริ ต เช่ น การไม่คดั ลอกงาน
ผูอ้ ื่น
106

5) ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงออกซึ่ งความมีน้ าใจความช่วยเหลือและการรู ้คุณ


6)ประเมินจากผลการเข้าร่ วมกิจกรรมและปฏิบตั ิงานได้ตามที่ได้รับมอบหมาย
7) ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงออกซึ่ งความรับผิดชอบ ต่อตนเอง ผูอ้ ื่นและสังคม
8) ประเมินจากการปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ

2.2 ด้ านความรู้
2.2.1 ผลการเรียนรู้ ด้ านความรู้
นักศึกษามีความรอบรู ้ อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์กว้างไกล เข้าใจและเห็ นคุ ณค่า ของ
ตนเอง ผูอ้ ื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ ดังนั้นมาตรฐานความรู ้จึงต้องครอบคลุมในสิ่ งต่อไปนี้
1) มี ค วามรู ้ ความเข้ า ใจในตนเอง สั ง คม และเห็ น คุ ณ ค่ า ของศิ ล ปวัฒ นธรรม
สิ่ งแวดล้อมและธรรมชาติ
2) มีความรู ้ ความเข้าใจในบทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีและประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจาวัน
3) มีความรู ้ในการเปลี่ยนแปลง ความเป็ นไปของสังคมไทย สังคมโลกและสามารถ
ปรับตัวเองและดาเนินชีวติ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
4) มีความรู ้ในหน้าที่และมีบทบาทของการเป็ นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
5) สามารถบูรณาการศาสตร์ ต่าง ๆ โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ อย่างมีวสิ ัยทัศน์
2.2.2 กลยุทธ์ การสอนทีใ่ ช้ พฒ ั นาการเรียนรู้ ด้านความรู้
การจัดกิจกรรมเรี ยนการสอนที่มีความหลากหลาย มีกิจกรรมส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้โดยเน้น
ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ดังต่อไปนี้
1) สอนโดยการบรรยายโดยใช้สื่อประกอบ
2) การสอนผ่าน e-Learning
3) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ให้ผเู ้ รี ยนศึกษาด้วยตนเองและจากประสบการณ์
4) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เน้นการปฏิบตั ิเพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดความเข้าใจได้อย่างแท้จริ ง
5) จัดให้มีการเรี ยนรู ้จากสถานที่จริ ง โดยการศึกษาดูงาน ณ แหล่งเรี ยนรู ้
6) จัดหาวิทยากรที่มีความรู ้ความสามารถมาให้ความรู ้
7) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้จากการใช้กรณี ศึกษา
8) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ และกิจกรรมกลุ่ม
9) จัดกิจกรรมบูรณาการความรู ้
2.2.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและการปฏิบตั ิในด้านต่างๆ เช่น
107

1) การทดสอบย่อย
2) การทดสอบกลางภาคเรี ยนและปลายภาคเรี ยน
3) การนาเสนอรายงานในชั้นเรี ยน
4) ประเมินจากรายงาน/บันทึกการเรี ยนรู ้ของนักศึกษา/โครงการ/อื่น ๆ ที่นกั ศึกษา
จัดทา

2.3 ด้ านทักษะทางปัญญา
2.3.1 ผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา
นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเองให้มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริ ง ทาความ
เข้าใจและสามารถประเมิ นข้อมู ลแนวคิ ดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่ งข้อมู ลที่ หลากหลาย และใช้
ข้อมูล ที่ได้ในการแก้ปัญหาและงานอื่นๆ ด้วยตนเอง สามารถศึกษาปั ญหาที่ ค่อนข้างซับซ้อนและ
เสนอแนะแนวทางในการแก้ไ ขได้อย่า งเหมาะสมและสร้ า งสรรค์ โดยค านึ งความรู ้ จากภาคทฤษฎี
ประสบการณ์ ทางภาคปฏิ บ ตั ิ และผลกระทบจากการตัดสิ นใจ ดัง นั้นอาจารย์ผูส้ อนต้องเน้นให้
นักศึกษาสามารถคิดเป็ น ทาเป็ น และหาแนวทางใหม่ในการแก้ไขปั ญหาได้อย่างเหมาะสม ซึ่ งนักศึกษา
ต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ จากการสอนเพื่อให้เกิดทักษะทางปั ญญา ดังนี้
1) สามารถวางแผนงานและปฏิบตั ิการตามแผนที่วางไว้ได้ของตนเองและส่ วนรวม
2) สามารถแสวงหาความรู ้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและประยุกต์ใช้ความรู ้ได้
อย่างเหมาะสม
3) สามารถคิดเชิงเหตุผล วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าอย่างเป็ นระบบ
4) สามารถคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
5) สามารถคิดแบบองค์รวม
การวัด มาตรฐานในข้อ นี้ สามารถท าได้ใ นชั้น เรี ย น เช่ น การมอบหมายงาน ให้ คิ ด
วิเคราะห์แก้ไขปั ญหา การตั้งคาถาม การให้ขอ้ มูลป้ อนกลับ การมีส่วนร่ วมในชั้นเรี ยน หรื อการสอบ
ประจารายวิชาในแต่ละภาคการศึกษา เป็ นต้น
2.3.2 กลยุทธ์ การสอนทีใ่ ช้ ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา
1) มอบหมายงานที่ให้มีการประยุกต์ใช้ความรู ้จากห้องเรี ยน
2) จัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนได้วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และตัดสิ นใจ แก้ปัญหาใน
งานที่ได้รับมอบหมาย
3) จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนคิดวิเคราะห์อย่างมีวจิ ารณญาณ
4) จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนคิดแบบองค์รวม
5) ให้ฝึกทักษะการวางแผนจากการทากิจกรรมกลุ่ม
108

6) จัดกิจกรรมให้นกั ศึกษาได้ใช้ความคิด ริ เริ่ ม และสร้างสรรค์และต่อยอดความรู ้


7) จัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนได้สรุ ปสาระความรู ้ แนวคิด และข้อคิดจากจัดการเรี ยนรู ้ท้ งั ใน
ห้องเรี ยน นอกสถานที่ และจากผูม้ ีประสบการณ์ตรง
8) ให้ศึกษา ค้นคว้า เพิ่มเติม และแสวงหาความรู ้ใหม่ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
2.3.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา
ประเมิ นตามความเป็ นจริ ง จากผลงานและการปฏิ บ ตั ิ ของนักศึ กษา เช่ น แบบฝึ กหัด
รายงานการวิเคราะห์แก้ไขปั ญหา ตรวจเนื้ อหาของรายงานการค้นคว้า และการอ้างอิงเอกสารในรายงาน
การค้นคว้าการใช้ภาษาในเอกสารรายงาน การใช้สื่ออิเล็กทรอนิ กส์ ในการนาเสนอผลงาน สังเกตการ
อภิปรายการแสดงความคิดเห็น การตอบคาถาม หรื อการใช้แบบทดสอบ เป็ นต้น

2.4 ด้ านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ


2.4.1 ผลการเรียนรู้ ด้านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ
หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์เป็ นการศึกษาในลักษณะแบบบูรณาการจากหลากหลายสาขาวิชา
เพื่อให้นกั ศึกษาได้มีความรู ้อย่างกว้างขวาง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชี วิต เช่น มีส่วน
ต่อการแก้ปัญหาในกลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์ ไม่วา่ จะเป็ นผูน้ าหรื อสมาชิกของกลุ่ม สามารถแสดงออกซึ่ ง
ภาวะผูน้ า เรี ยนรู ้การใช้นวัตกรรมใหม่ๆ ในการแก้ปัญหา มีความคิดริ เริ่ มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่าง
เหมาะสมบนพื้ น ฐานของตนเองและของกลุ่ ม อาจารย์ผู ้ส อนจึ ง ต้อ งสอดแทรกความรู ้ ทั้ง ด้ า น
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความรับผิดชอบ ความเป็ นผูน้ าและการเป็ นสมาชิ กของกลุ่มที่ดี รู ้จกั หลัก
ในการพัฒนาตนเอง ซึ่ งผูศ้ ึกษาจะได้รับ ดังนี้
1) มีบุคลิกภาพที่ดี
2) แสดงออกซึ่งภาวะผูน้ า ผูต้ ามที่ดี และสามารถทางานเป็ นทีม
3) มีจิตอาสาและมีสานึกสาธารณะ
4) ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม เคารพและเห็นคุณค่าของตนเองและผูอ้ ื่น
5) เป็ นพลเมืองที่ดีและมีคุณค่าของสังคมไทยและสังคมโลก
2.4.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ ในการพัฒนาการเรี ยนรู้ ด้านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุ ค คล
และความรับผิดชอบ
1) จัดให้มีการทากิ จกรรมกลุ่ ม โดยมี การหมุ นเวีย นการเป็ นผูน้ าและผูต้ ามในฐานะ
สมาชิกกลุ่ม
2) กาหนดให้มีการแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างชัดเจนภายในกลุ่ม
3) กาหนดกิจกรรมที่ให้ผเู ้ รี ยนแสดงออกซึ่ งการมีมนุษยสัมพันธ์ บุคลิกภาพ ภาวะผูน้ า
และผูต้ าม ที่เหมาะสม
109

4) จัดกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนกล้าแสดงออก แสดงความคิดเห็น เคารพสิ ทธิ และรับ


ฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น โดยการจัดอภิปรายและเสวนาในงานที่ได้รับมอบหมาย
5) จัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนแสดงออกซึ่ งการมีจิตอาสาและสานึกสาธารณะ
6) จัดกิจกรรมที่ส่งเสริ มการเป็ นพลเมืองที่ดีของสังคมไทย และสังคมโลก
7) จัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ให้ผูเ้ รี ยนเคารพและเห็ นคุ ณค่าของตนเอง ผูอ้ ื่นและยอมรั บ
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรม
2.4.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรี ยนรู้ ด้านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุ คคลและความ
รับผิดชอบ
1) ประเมินจากงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย
2) ประเมินพฤติกรรมที่แสดงออกซึ่งภาวะผูน้ า ผูต้ ามที่ดี และความรับผิดชอบ
3) ประเมินจากแบบประเมินตนเองและกลุ่มเพื่อน
4) ประเมินความพึงพอใจจากผูท้ ี่ได้รับประโยชน์จากการจัดกิจกรรมจิตอาสาและสานึก
สาธารณะ
5) ประเมิ นพฤติ กรรมการแสดงออกซึ่ งการปรั บตัว จากการเรี ยนรู ้ ที่จะอยู่ร่วมกันใน
สังคม
6) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกซึ่งความเป็ นพลเมืองดี

2.5 ด้ านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ


2.5.1 ผลการเรี ยนรู้ ด้ า นทัก ษะการวิเคราะห์ เชิ งตั ว เลข การสื่ อ สาร และการใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่ อสาร การสื บค้นข้อมูล รวบรวมคัดกรอง วิเคราะห์
อย่างรู ้เท่าทัน
2) มีทกั ษะในการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อวิเคราะห์สถิติพ้นื ฐานต่อการแก้ไขปั ญหาต่างๆ ได้
อย่างสร้างสรรค์
3) มี ท ัก ษะด้า นการสื่ อ สารทั้ง การพู ด การฟั ง การอ่ า น การเขี ย นทั้ง ภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศ
4) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุ ปประเด็นเนื้ อหา และจัดทาพร้ อมนาเสนองานทั้ง
ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศโดยใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
2.5.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ ในการพัฒนาการเรี ยนรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิ งตัวเลข การ
สื่ อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
110

1) จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกปฏิบตั ิการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ


พื้นฐานที่จาเป็ นต่อการเรี ยนรู ้ในระดับอุดมศึกษา
2) จัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนโดยให้ผูเ้ รี ยนได้มีโอกาสวิเคราะห์ขอ้ มูลต่าง ๆ ใน
รู ป แบบที่ หลากหลาย โดยใช้โปรแกรมคอมพิ วเตอร์ ใ นการวิเคราะห์ ข้อมู ล สถิ ติ
พื้นฐาน
3) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสสื บค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีเพื่อรวบรวม
คัดกรอง วิเคราะห์ ข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมกับความต้องการ และให้
ความสาคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
4) จัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนได้รู้เท่าทันสื่ อ และเลือกใช้ขอ้ มูลจากสื่ อดิ จิทลั ต่าง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม
5) จัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนให้ผูเ้ รี ยนได้แสดงออกถึ งทักษะการสื่ อสาร การพูด
การฟัง การอ่าน การเขียน ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
6) ให้ผเู ้ รี ยนจัดทาและนาเสนองานที่ได้รับมอบหมาย ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่าง
เหมาะสม
2.5.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรี ยนรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิ งตัวเลข การสื่ อสาร และ
การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1) ประเมินผลจากความรู ้และทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2) ประเมินผลจากเทคนิคการนาเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
3) ประเมินผลจากทักษะการสื่ อสาร การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน
4) ประเมินผลการแก้ปัญหาโจทย์ทางคณิ ตศาสตร์

3. การพัฒนาผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ
3.1 คุณธรรม จริยธรรม
3.1.1 ผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1) เข้า ใจและซาบซึ้ งในวัฒ นธรรมไทย ตระหนั ก ในคุ ณ ค่ า ของระบบคุ ณ ธรรม
จริ ยธรรม เสี ยสละ และซื่อสัตย์สุจริ ต
2) มีวินยั ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ
ต่างๆ ขององค์กร และสังคม
3) มี ภาวะความเป็ นผู น้ าและผู ต้ าม สามารถท างานเป็ นหมู่ ค ณะ สามารถแก้ไ ขข้อ
ขัดแย้งตามลาดับความสาคัญ เคารพสิ ทธิ และรับฟั งความคิดเห็ นของผูอ้ ื่น รวมทั้ง
เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์
111

4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู ้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล
องค์กร สังคม และสิ่ งแวดล้อม
5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชี พ และมีความรับผิดชอบในฐานะผูป้ ระกอบ
วิชาชี พรวมถึ งเข้าใจถึงบริ บททางสังคมของวิชาชี พวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่
อดีตจนถึงปัจจุบนั
3.1.2 กลยุทธ์ การสอนทีใ่ ช้ พฒ
ั นาการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม
กาหนดให้มีวฒั นธรรมองค์กรเพื่อเป็ นการปลู กฝั งให้นกั ศึกษามีระเบียบวินยั โดยเน้น
การเข้าชั้นเรี ยนให้ตรงเวลา แต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความรับผิดชอบในการทางานกลุ่ม
โดยฝึ กให้รู้หน้าที่ของการเป็ นผูน้ ากลุ่มและการเป็ นสมาชิ กกลุ่ม มีความซื่ อสัตย์ โดยต้องไม่กระทาการ
ทุ จริ ตในการสอบหรื อลอกการบ้าน ส่ งเสริ มให้นักศึ กษาเป็ นผูท้ ี่มีความเสี ยสละ และทาประโยชน์แก่
ส่ วนรวม ปลูกฝังจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพในทางสร้างสรรค์
3.1.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรมจริยธรรม
1) สังเกตพฤติกรรมการมีสัมมาคารวะ และการเข้าร่ วมกิจกรรมสื บสานวัฒนธรรมไทย
2) พิจารณาจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรี ยน การส่ งงานตามกาหนด
ระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่ วมกิจกรรม
3) สังเกตจากการมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
4) ตรวจสอบสถิติรายงานการทุจริ ตในการสอบ และสังเกตจากการตรวจการบ้าน
5) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

3.2 ความรู้
3.2.1 ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้
1) มี ความรู ้ และความเข้าใจทางคณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน วิศวกรรม
พื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กบั งานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ที่
เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2) มี ความรู ้ และความเข้าใจเกี่ ยวกับ หลักการที่ สาคัญทั้งในเชิ ง ทฤษฎี และปฏิ บ ัติใ น
เนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
3) สามารถบูรณาการความรู ้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู ้ในศาสตร์ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
4) สามารถวิเคราะห์ และแก้ไขปั ญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึ งการประยุกต์ใช้
เครื่ องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
5) สามารถใช้ความรู ้และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปั ญหาในงาน
จริ งได้
112

3.2.2 กลยุทธ์ การสอนทีใ่ ช้ พฒ


ั นาการเรียนรู้
ใช้การสอนในหลากหลายรู ปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุก ต์ใ ช้ ท าง
ปฏิบตั ิดว้ ยการทดลองในห้องปฏิ บตั ิการ ทั้งนี้ ให้เป็ นไปตามลักษณะของรายวิชา ตลอดจนเนื้ อหาสาระ
ของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้ ควรจัดให้มีการเรี ยนรู ้ จากสถานการณ์ จริ ง โดยการศึกษาดูงาน หรื อเชิ ญ
ผูเ้ ชี่ ย วชาญที่ มี ป ระสบการณ์ ต รงมาเป็ นวิทยากรพิ เศษเฉพาะเรื่ อง ตลอดจนฝึ กปฏิ บ ั ติงานในสถาน
ประกอบการ
3.2.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและการปฏิบตั ิของนักศึกษาในด้านต่างๆ คือ
1) การทดสอบย่อย
2) การสอบกลางภาคเรี ยนและปลายภาคเรี ยน
3) ประเมินจากรายงานที่นกั ศึกษาจัดทา
4) ประเมินจากโครงงานที่นาเสนอ
5) ประเมินจากการนาเสนอรายงานในชั้นเรี ยน
6) ประเมินในรายวิชาสหกิจศึกษา

3.3 ทักษะทางปัญญา
3.3.1 ผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา
1) มีความคิดอย่างมีวจิ ารณญาณที่ดี
2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์และสรุ ปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้
ข้อมูลประกอบการตัดสิ นใจในการทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
4) มีจินตนาการและความยืดหยุน่ ในการปรับใช้องค์ความรู ้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม
ในการพัฒนานวัตกรรมหรื อต่อยอดองค์ความรู ้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
5) สามารถสื บค้นข้อมูลและแสวงหาความรู ้เพิ่มเติมได้ดว้ ยตนเอง เพื่อการเรี ยนรู ้ ตลอด
ชีวติ และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู ้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.3.2 กลยุทธ์ การสอนทีใ่ ช้ ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา
กาหนดกรณี ศึกษาเพื่อให้มีการสื บค้นข้อมูล และการประยุกต์ใช้ทกั ษะทางวิศวกรรม
รวมถึงการอภิปรายในกลุ่ม เพื่อนาความรู ้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ไปสู่ ผลลัพธ์ที่สร้างสรรค์
3.3.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา
1) ประเมินจากข้อสอบที่ให้นกั ศึกษาแสดงความคิด
2) ประเมินจากโครงงานที่นาเสนอ
113

3) ประเมินในรายวิชาสหกิจศึกษา

3.4 ทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ


3.4.1 ผลการเรียนรู้ ด้านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ
1) สามารถสื่ อสารกับกลุ่ ม คนที่ หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ
ภาษาต่ า งประเทศได้อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ สามารถใช้ความรู ้ ใ นสาขาวิชาชี พมา
สื่ อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
2) สามารถเป็ นผูร้ ิ เริ่ มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิ งสร้างสรรค์ท้ งั ส่ วนตัว
และส่ วนรวม พร้ อมทั้ง แสดงจุ ดยื น อย่า งพอเหมาะทั้ง ของตนเองและของกลุ่ ม
รวมทั้งให้ความช่ วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ไขปั ญหาสถานการณ์
ต่างๆ
3) สามารถวางแผนและรั บ ผิ ด ชอบในการพัฒ นาการเรี ยนรู ้ ทั้ง ของตนเองและ
สอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4) รู ้ จกั บทบาทหน้าที่ และมี ความรั บผิดชอบในการทางานตามที่ ม อบหมาย ทั้งงาน
บุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นทั้งในฐานะผูน้ าและผู ้
ตามได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
5) มี จิ ต ส านึ ก ความรั บ ผิ ด ชอบด้า นความปลอดภัย ในการท างานและการรั ก ษา
สภาพแวดล้อมต่อสังคม
3.4.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ ในการพัฒนาการเรี ยนรู้ ด้านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคล
และความรับผิดชอบ
กาหนดการเรี ยนการสอนให้มีกิจกรรมทางานเป็ นกลุ่ มเพื่อให้นักศึ กษาได้มีโอกาส
แสดงความคิดเห็น ประสานงาน หาข้อมูล วางแผนร่ วมกับบุคคลอื่นในหลายๆ ด้าน โดยคาดหวังผลใน
การเรี ยนรู ้ ทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความรับผิดชอบในรายวิชา ความปลอดภัยในการทางาน
และตระหนักถึงการรักษาสภาพแวดล้อม
3.4.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรี ยนรู้ ด้านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความ
รับผิดชอบ
1) พิจารณาจากกระบวนการ ขั้นตอน และวิธีการนาเสนอผลงานกลุ่ม
2) สังเกตจากพฤติกรรมการใช้เครื่ องมือเครื่ องจักรอย่างปลอดภัย รวมถึ งมีการรักษา
สภาพแวดล้อมในการทางาน
114

3.5 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขการสื่ อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ


3.5.1 ผลการเรี ยนรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิ งตัวเลขการสื่ อสารและการใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1) มีทกั ษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สาหรับการทางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชี พได้เป็ นอย่าง
ดี
2) มี ท กั ษะในการวิเ คราะห์ ข้อ มู ล สารสนเทศทางคณิ ต ศาสตร์ ห รื อการแสดงสถิ ติ
ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
3) สามารถประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สารที่ ท ัน สมัย ได้ อ ย่ า ง
เหมาะสม และมีประสิ ทธิภาพ
4) มีทกั ษะในการสื่ อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่ อความหมาย โดยใช้
สัญลักษณ์
5) สามารถใช้เครื่ องมือการคานวณและเครื่ องมือทางวิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพใน
สาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
3.5.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ ในการพัฒนาการเรี ยนรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิ งตัวเลข การ
สื่ อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
แนะนาการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิ วเตอร์ เ พื่ อจาลองหลักการทางาน และการ
วิ เ คราะห์ ข ้อ มู ล เชิ ง ตัว เลขในสาขาวิ ศ วกรรมที่ เ กี่ ย วข้อ ง สนับ สนุ น ให้ นัก ศึ ก ษาสื บ ค้น ข้อ มู ล ทาง
อินเทอร์ เน็ต และเปิ ดโอกาสให้นกั ศึกษานาเสนอผลงานในชั้นเรี ยน
3.5.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรี ยนรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิ งตัวเลข การสื่ อสาร และ
การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1) การทดสอบ หรื อการประเมินจากงานที่มอบหมาย
2) ประเมินจากวิธีการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอ

4. แผนที่แสดงการกระจายความรั บผิดชอบมาตรฐานการเรี ยนรู้ จากหลักสู ตรสู่ รายวิชา (Curriculum


Mapping) ผลการเรียนรู้ ในตารางมีความหมายดังนี้
4.1 หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป
ด้ านที่ 1 คุณธรรม จริยธรรม
1) กตัญญูกตเวที ซื่อสัตย์ สุ จริ ต และตระหนักในคุณธรรม จริ ยธรรม
2) มีความเสี ยสละ เคารพในกฎระเบียบสังคม เพื่อประโยชน์ของสังคมและส่ วนรวม
3) สามารถนาหลักคุ ณธรรม จริ ยธรรมไปปฏิ บตั ิในการคิดวิเคราะห์ ตัดสิ นใจ และ
แก้ปัญหาได้อย่างมีเหตุมีผล
115

4) ดารงวัฒนธรรมไทย เข้าใจวัฒนธรรมนานาชาติ สามารถดาเนิ นชี วิตในสังคมได้


อย่างเหมาะสม
5) รับฟังความคิดเห็น และเคารพสิ ทธิของผูอ้ ื่นตามหลักสิ ทธิมนุษยชน
ด้ านที่ 2 ความรู้
1) มี ค วามรู ้ ความเข้า ใจในตนเอง สั ง คม และเห็ น คุ ณ ค่ า ของศิ ล ปวัฒ นธรรม
สิ่ งแวดล้อมและธรรมชาติ
2) มีความรู ้ ความเข้าใจในบทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีและประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจาวัน
3) มีความรู ้ในการเปลี่ยนแปลง ความเป็ นไปของสังคมไทย สังคมโลกและสามารถ
ปรับตัวเองและดาเนินชีวติ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
4) มีความรู ้ในหน้าที่และมีบทบาทของการเป็ นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
5) สามารถบูรณาการศาสตร์ ต่าง ๆ โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ อย่างมีวสิ ัยทัศน์
ด้ านที่ 3 ทักษะทางปัญญา
1) สามารถวางแผนงานและปฏิบตั ิการตามแผนที่วางไว้ได้ของตนเองและส่ วนรวม
2) สามารถแสวงหาความรู ้ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่ องและประยุกต์ใช้ความรู ้ ได้
อย่างเหมาะสม
3) สามารถคิดเชิงเหตุผล วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าอย่างเป็ นระบบ
4) สามารถคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
5) สามารถคิดแบบองค์รวม
ด้ านที่ 4 ทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ
1) มีบุคลิกภาพที่ดี
2) แสดงออกซึ่งภาวะผูน้ า ผูต้ ามที่ดี และสามารถทางานเป็ นทีม
3) มีจิตอาสาและมีสานึกสาธารณะ
4) ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม เคารพและเห็นคุณค่าของตนเองและผูอ้ ื่น
5) เป็ นพลเมืองที่ดีและมีคุณค่าของสังคมไทยและสังคมโลก
ด้ านที่ 5 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1) ใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศในการสื่ อ สาร การสื บ ค้น ข้อ มู ล รวบรวมคัด กรอง
วิเคราะห์อย่างรู ้เท่าทัน
2) มีทกั ษะในการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อวิเคราะห์สถิติพ้นื ฐานต่อการแก้ไขปั ญหาต่างๆ
ได้อย่างสร้างสรรค์
116

3) มี ทกั ษะด้านการสื่ อสารทั้งการพู ด การฟั ง การอ่าน การเขี ยนทั้ง ภาษาไทยและ


ภาษาต่างประเทศ
4) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุ ปประเด็นเนื้ อหา และจัดทาพร้อมนาเสนองานทั้ง
ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศโดยใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม

4.2 หมวดวิชาเฉพาะ
ผลการเรียนรู้ ในตารางมีความหมายดังนี้
ด้ านที่ 1 คุณธรรม จริ ยธรรม
(1) เข้า ใจและซาบซึ้ งในวัฒ นธรรมไทย ตระหนัก ในคุ ณ ค่ า ของระบบคุ ณ ธรรม
จริ ยธรรม เสี ยสละ และซื่อสัตย์สุจริ ต
(2) มีวนิ ยั ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ
ต่างๆ ขององค์กร และสังคม
(3) มี ภาวะความเป็ นผูน้ าและผูต้ าม สามารถทางานเป็ นหมู่ค ณะ สามารถแก้ไ ขข้อ
ขัดแย้งตามลาดับความสาคัญ เคารพสิ ทธิ และรับฟั งความคิดเห็นของผูอ้ ื่น รวมทั้ง
เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์
(4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู ้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล
องค์กร สังคม และสิ่ งแวดล้อม
(5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมี ความรับผิดชอบในฐานะผูป้ ระกอบ
วิชาชี พรวมถึงเข้าใจถึงบริ บททางสังคมของวิชาชี พวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่
อดีตจนถึงปัจจุบนั
ด้ านที่ 2 ความรู้
(1) มีความรู ้ และความเข้าใจทางคณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน วิศวกรรม
พื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กบั งานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ที่
เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
(2) มีความรู ้ และความเข้าใจเกี่ ยวกับหลักการที่สาคัญทั้งในเชิ งทฤษฎี และปฏิ บ ตั ิ ใน
เนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
(3) สามารถบูรณาการความรู ้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู ้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
(4) สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปั ญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้
เครื่ องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
(5) สามารถใช้ความรู ้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปั ญหาใน
งานจริ งได้
117

ด้ านที่ 3 ทักษะทางปัญญา
(1) มีความคิดอย่างมีวจิ ารณญาณที่ดี
(2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์และสรุ ปประเด็นปัญหาและความต้องการ
(3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปั ญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการ
ใช้ขอ้ มูลประกอบการตัดสิ นใจในการทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
(4) มีจินตนาการและความยืดหยุน่ ในการปรับใช้องค์ความรู ้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม
ในการพัฒนานวัตกรรมหรื อต่อยอดองค์ความรู ้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
(5) สามารถสื บค้นข้อมูล และแสวงหาความรู ้ เพิ่มเติ มได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรี ย นรู ้
ตลอดชีวติ และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู ้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
ด้ านที่ 4 ทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) สามารถสื่ อสารกับกลุ่มคนที่ หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สามารถใช้ความรู ้ ในสาขาวิชาชี พมา
สื่ อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
(2) สามารถเป็ นผู ร้ ิ เ ริ่ ม แสดงประเด็ นในการแก้ไ ขสถานการณ์ เชิ ง สร้ า งสรรค์ท้ งั
ส่ วนตัวและส่ วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของ
กลุ่ ม รวมทั้ง ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ และอ านวยความสะดวกในการแก้ไ ขปั ญ หา
สถานการณ์ต่างๆ
(3) สามารถวางแผนและรั บ ผิ ด ชอบในการพัฒ นาการเรี ย นรู ้ ทั้ง ของตนเองและ
สอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
(4) รู ้ จกั บทบาทหน้าที่และมีความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมาย ทั้งงาน
บุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นทั้งในฐานะผูน้ าและผู ้
ตามได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
(5) มี จิ ต ส านึ ก ความรั บ ผิ ด ชอบด้า นความปลอดภัย ในการท างานและการรั ก ษา
สภาพแวดล้อมต่อสังคม
ด้ านที่ 5 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) มี ทกั ษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สาหรั บการทางานที่ เกี่ ยวข้องกับวิชาชี พ ได้เป็ น
อย่างดี
(2) มีทกั ษะในการวิเคราะห์ ข้อมูลสารสนเทศทางคณิ ตศาสตร์ หรื อการแสดงสถิ ติ
ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
(3) สามารถประยุก ต์ใ ช้เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสารที่ ทนั สมัย ได้ อ ย่ า ง
เหมาะสม และมีประสิ ทธิภาพ
118

(4) มีทกั ษะในการสื่ อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่ อความหมาย โดย


ใช้สัญลักษณ์
(5) สามารถใช้เครื่ องมือการคานวณและเครื่ องมือทางวิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชี พ
ในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
119

แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรี ยนรู้ จากหลักสู ตรสู่ รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป


 ความรับผิดชอบหลัก o ความรับผิดชอบรอง
5. ทักษะการ
มาตรฐานผลการเรียนรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ วิเคราะห์ เชิงตัวเลข
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่ างบุคคลและความ การสื่ อสาร และ
รับผิดชอบ เทคโนโลยี
ระดับผลการเรียนรู้ รายวิชา สารสนเทศ
1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
1.1 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
HUM 1005 ปรัชญาเบื้องต้น                        
HUM 1013 การเขียนรายงานและสารสนเทศ                        
HUM 1014 จิตวิทยาทัว่ ไป                        
HUM 1015 จิตวิทยาองค์การ                        

119
HUM 1016 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ                        
1.2 กลุ่มวิชาสั งคมศาสตร์
SOC 1015 กฎหมายในชีวิตประจาวัน                        
SOC 1020 มนุษย์กบั สังคม                        
SOC 1021 หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม                        
SOC 2001 มนุษยสัมพันธ์                        
SOC 2002 สังคมกับสิ่ งแวดล้อม                        
SOC 2006 อาเซียนศึกษา                        
1.3 กลุ่มวิชาภาษา
ENL 1001 ภาษาอังกฤษทัว่ ไป                        
ENL 1002 ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพในศตวรรษที่ 21                        
120
5. ทักษะการ
มาตรฐานผลการเรียนรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ วิเคราะห์ เชิงตัวเลข
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่ างบุคคลและความ การสื่ อสาร และ
รับผิดชอบ เทคโนโลยี
ระดับผลการเรียนรู้ รายวิชา สารสนเทศ
1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4
ENL 1003 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารในยุคดิจิทลั                        
ENL 1005 ภาษาอังกฤษเพื่อการสนทนาเชิงโต้ตอบ                        
THA 1006 เทคนิคการสื่ อความหมาย                        
THA 1009 การเขียนรายงานทางวิชาชีพ                        
1.4 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์
SCI 1026 เคมีทวั่ ไป                        

120
MTH 1016 สถิติทวั่ ไป                        
1.5 กลุ่มวิชาพลศึกษาและนันทนาการ
PED 1034 บาสเกตบอล                        
PED 1035 ฟุตบอล                        
PED 1036 แบดมินตัน                        
REC 1007 นันทนาการเพื่อคุณภาพชี วิต                        
121

แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรี ยนรู้ จากหลักสู ตรสู่ รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาเฉพาะ


 ความรับผิดชอบหลัก o ความรับผิดชอบรอง
มาตรฐานผลการเรียนรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิง
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคล ตัวเลข การสื่ อสาร และ
และความรับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ระดับผลการเรียนรู้ รายวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
2. หมวดวิชาเฉพาะ
2.1 วิชาเฉพาะพืน้ ฐาน
2.1.1 กลุ่มวิชาพืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
ENT 1101 แคลคูลสั 1 สาหรับวิศวกร            
ENT 1102 ฟิ สิ กส์ 1               
ENT 1103 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 1                     
ENT 1105 แคลคูลสั 2 สาหรับวิศวกร            

121
ENT 1104 ปฏิบตั ิการเคมีทวั่ ไป                     
ENT 1106 ฟิ สิ กส์ 2               
ENT 1107 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ 2                     
ENT 2108 แคลคูลสั 3 สาหรับวิศวกร            
2.1.2 กลุ่มวิชาพืน้ ฐานทางวิศวกรรม
IPE 1109 การฝึ กพื้นฐานทางวิศวกรรม                
IPE 1110 การเขียนแบบวิศวกรรม                    
IPE 1111 กระบวนการผลิต                      
IPE 1112 วัสดุวิศวกรรม                  
IPE 2113 วิศวกรรมไฟฟ้ าพื้นฐาน                      
IPE 2114 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน                    
122

มาตรฐานผลการเรียนรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิง


1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคล ตัวเลข การสื่ อสาร และ
และความรับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ระดับผลการเรียนรู้ รายวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
IPE 2115 สถิติวิศวกรรม                    
IPE 2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์                      
IPE 2117 กลศาสตร์วิศวกรรม                    
IPE 2118 เทอร์โมไดนามิกส์ของวัสดุ                    
IPE 2119 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องกลพื้นฐาน                      
2.2 วิชาเฉพาะด้ าน
2.2.1 กลุ่มวิชาบังคับทางวิศวกรรม
1) วิชาหลักทางวิศวกรรม
IPE 1201 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมมาตรวิทยา                      

122
IPE 1202 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องมือกล                      
IPE 2203 การศึกษางานอุตสาหกรรม                    
IPE 2204 วิศวกรรมความปลอดภัย                    
IPE 3205 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ                      
IPE 3206 การควบคุมคุณภาพ                    
IPE 3207 การวางแผนและควบคุมการผลิต                    
IPE 3208 การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม                      
IPE 3209 เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม                    
IPE 3210 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมอุตสาหการ                      
2) วิชาบังคับของวิชาเอก
2.1) วิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ
INE 2211 การวิจยั การดาเนินงาน 1                    
123

มาตรฐานผลการเรียนรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิง


1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคล ตัวเลข การสื่ อสาร และ
และความรับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ระดับผลการเรียนรู้ รายวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
INE 2212 วิศวกรรมการบารุ งรักษา                      
INE 3213 วิศวกรรมการออกแบบระบบ                      
INE 3214 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ
อุตสาหกรรม
                     
INE 3215 ก า ร เ ต รี ย ม โ ค ร ง ง า น วิ ศ ว ก ร ร ม
อุตสาหการ
                        
INE 4216 โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ                         
2.2) วิชาเอกวิศวกรรมการผลิต

123
PDE 2217 วิศวกรรมเครื่ องมือ                         
PDE 2218 วิศวกรรมเครื่ องมือกล                         
PDE 3219 วิศวกรรมระบบควบคุมอัตโนมัติ                         
PDE 3220 วิศวกรรมย้อนรอย                         
PDE 3221 การเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมการผลิต                         
PDE 4222 โครงงานวิศวกรรมการผลิต                         
2.2.2 กลุ่มวิชาเลือกทางวิศวกรรมของวิชาเอก
1) กลุ่มวิชาฝึ กงานและประสบการณ์ ภาคสนาม
IPE 4301 การเตรี ยมสหกิจศึกษาและฝึ กงานทาง
วิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต
                        
IPE 4302 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมอุตสาหการ
และการผลิต
                        
124

มาตรฐานผลการเรียนรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิง


1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคล ตัวเลข การสื่ อสาร และ
และความรับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ระดับผลการเรียนรู้ รายวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
IPE 4303 การฝึ กงานทางวิศวกรรมอุตสาหการ
และการผลิต
                        
IPE 4304 สัมนาทางวิศวกรรมอุตสาหการและ
การผลิต
              
2) กลุ่มวิชาเลือกทางวิศวกรรมของวิชาเอก
2.1) วิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ
INE 2305 การจัดการโครงการทางวิศวกรรม               
INE 2306 การจัดการการเพิ่มผลผลิต               
INE 2307 ระบบการผลิตสาหรับอุตสาหกรรม               
INE 3308 การจั ด การระบบอั ต โนมั ติ ในงาน
อุตสาหกรรม
                   

124
INE 3309 การจัดการการผลิตและการดาเนินงาน                    
INE 3310 การยศาสตร์                    
INE 3311 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ปทาง
วิศวกรรม
                   
INE 4312 การออกแบบและตรวจวัดระบบงาน                     
INE 4313 การเป็ นผูป้ ระกอบการเพื่อสร้างธุรกิจ
ใหม่
                   
INE 3314 วิศวกรรมโลจิสติกส์                    
INE 3315 การจาลองสถานการณ์เพื่อการตัดสิ นใจ                    
INE 4316 การพยากรณ์ทางอุตสาหกรรม                    
125

มาตรฐานผลการเรียนรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิง


1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคล ตัวเลข การสื่ อสาร และ
และความรับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ระดับผลการเรียนรู้ รายวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
INE 4317 หลักการหาค่าเหมาะที่สุด                       
INE 4318 การวิจยั การดาเนินงาน 2                    
INE 3319 การออกแบบการทดลองทางวิศวกรรม                    
INE 3320 วิศวกรรมคุณค่า                    
INE 3321 ระบบบริ หารคุณภาพ                    
INE 3322 การประกันคุณภาพ                    
INE 3323 การวางแผนและการวิเคราะห์คุณภาพ                    
INE 2324 ระบบการผลิตที่ยงั่ ยืน                     
INE 3325 ระบบการจัดการวัสดุสีเขียว                     

125
INE 3326 การออกแบบผลิตภัณฑ์อย่างยัง่ ยืน                      
INE 4327 การจัดการพลังงานและสิ่ งแวดล้อมใน
งานอุตสาหกรรม
                     
INE 4328 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และกฎหมาย
ในงานอุตสาหกรรม
                   
2.2) วิชาเอกวิศวกรรมการผลิต
PDE 2329 คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบ 2 มิติ                     
PDE 2330 วิศวกรรมเครื่ องจักรกลอัตโนมัติ
เบื้องต้น
                    
PDE 2331 นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์                        
PDE 3332 คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบ 3 มิติ                      
126

มาตรฐานผลการเรียนรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิง


1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคล ตัวเลข การสื่ อสาร และ
และความรับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ระดับผลการเรียนรู้ รายวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
PDE 3333 คอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบและ
การผลิต
                     
PDE 3334 คอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบและ
งานวิศวกรรม
                     
PDE 3335 วิศวกรรมเครื่ องจักรกลอัตโนมัติช้ นั สู ง                      
PDE 3336 การออกแบบผลิตภัณฑ์และการผลิต
ระบบอัตโนมัติ
                     
PDE 3337 ระบบอัตโนมัติแบบลีน                      
PDE 3338 วิศวกรรมหุ่นยนต์                      

126
PDE 3339 การออกแบบชิ้นส่วนเครื่ องจักรกล
การผลิต
                      
PDE 4340 การจาลองการขึ้นรู ปโลหะด้วยวิธีการ
ทางไฟไนต์เอลิเมนต์
                       
PDE 4341 ปัญญาประดิษฐ์                        
PDE 3342 ไตรบอโลยี                        
PDE 3343 วิศวกรรมการขึ้นรู ปวัสดุ                        
PDE 3344 วิศวกรรมการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ                        
PDE 3345 วิศวกรรมการออกแบบอุปกรณ์นาเจาะ
และจับงาน
                       
PDE 3346 วิศวกรรมการออกแบบแม่พิมพ์พลาสติก                        
PDE 3347 วิศวกรรมการตัดเฉื อนโลหะ                        
127

มาตรฐานผลการเรียนรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิง


1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคล ตัวเลข การสื่ อสาร และ
และความรับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ระดับผลการเรียนรู้ รายวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
PDE 3348 กระบวนการตัดสมัยใหม่                        
PDE 3349 วิศวกรรมการขึ้นรู ปพอลิเมอร์                        
PDE 2350 วิศวกรรมการเชื่อม                        
PDE 2351 โลหะการวิศวกรรม                       
PDE 3352 วิศวกรรมการหล่อโลหะ                       
PDE 4353 การตรวจสอบและประกันคุณภาพ
งานเชื่อม
                       
PDE 4354 การเลือกวัสดุ                        

127
PDE 4355 พฤติกรรมทางกลของวัสดุ                        
PDE 4356 กลศาสตร์ของแข็ง                        
PDE 4357 วิศวกรรมการอบชุบโลหะ                        
PDE 4358 โลหะผสมนอกกลุ่มเหล็ก                        
PDE 4359 วิศวกรรมพอลิเมอร์                        
PDE 4360 การวิเคราะห์ลกั ษณะเฉพาะของวัสดุ                        
128

หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ ในการประเมินผลนักศึกษา


1. กฎระเบียบหรื อหลักเกณฑ์ ในการให้ ระดับคะแนน (เกรด)
การวัด ผลและการส าเร็ จ การศึ ก ษาเป็ นไปตามข้อ บัง คับ มหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคล
รัตนโกสิ นทร์ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ก)

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสั มฤทธิ์ของนักศึกษา
2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ขณะนักศึกษายังไม่สาเร็ จการศึกษา
กาหนดให้ระบบการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ การเรี ยนรู ้ของนักศึกษาเป็ นส่ วนหนึ่ งของระบบ
การประกันคุ ณภาพภายในของมหาวิทยาลัยที่ทาความเข้าใจตรงกันทั้งสถาบันเพื่อนาไปดาเนิ นการจน
บรรลุผลสัมฤทธิ์ ซึ่ งผูป้ ระเมินภายนอกสามารถตรวจสอบได้
การทวนสอบในระดับรายวิชาควรให้นกั ศึกษาประเมินการเรี ยนการสอนในระดับรายวิชา
มีคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบให้เป็ นไปตามแผนการสอน
การทวนสอบในระดับ หลัก สู ต รสามารถท าได้ โ ดยมี ร ะบบประกัน คุ ณ ภาพภายใน
สถาบันการศึกษาดาเนินการทวนสอบมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้และรายงานผล
2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้หลังจากนักศึกษาสาเร็ จการศึกษา
การกาหนดกลวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ ของนักศึกษา ควรเน้นการทาวิจยั
สัมฤทธิ์ ผลของการประกอบอาชี พของบัณฑิต ที่ทาอย่างต่อเนื่ องและนาผลวิจยั ที่ได้ยอ้ นกลับมาปรับปรุ ง
กระบวนการการเรี ยนการสอน และหลักสู ตรแบบครบวงจร รวมทั้งการประเมินคุณภาพของหลักสู ตร
และหน่วยงานโดยองค์กรระดับสากล โดยการวิจยั อาจจะทาดาเนินการดังตัวอย่างต่อไปนี้
1) ภาวะการได้งานทาของบัณฑิต ประเมินจากบัณฑิตแต่ละรุ่ นที่จบการศึกษา ในด้านของ
ระยะเวลาในการหางานทา ความเห็นต่อความรู ้ ความสามารถ ความมัน่ ใจของบัณฑิตในการประกอบการ
งานอาชีพ
2) การตรวจสอบจากผูป้ ระกอบการ โดยการขอเข้าสัมภาษณ์ หรื อ การส่ งแบบสอบถาม
เพื่อประเมินความพึงพอใจในบัณฑิ ตที่จบการศึกษาและเข้าทางานในสถานประกอบการนั้นๆ ในคาบ
ระยะเวลาต่างๆ เช่น ปี ที่ 1 ปี ที่ 5 เป็ นต้น
3) การประเมินตาแหน่ง หรื อความก้าวหน้าในสายงานของบัณฑิต
4) การประเมินจากสถานศึกษาอื่น โดยการส่ งแบบสอบถาม หรื อสอบถามเมื่อมีโอกาสใน
ระดับความพึงพอใจในด้านความรู ้ ความพร้อม และสมบัติดา้ นอื่นๆ ของบัณฑิตจะจบการศึกษาและเข้า
ศึกษาเพื่อปริ ญญาที่สูงขึ้นในสถานศึกษานั้นๆ
129

5) การประเมิ น จากบัณ ฑิ ตที่ ไ ปประกอบอาชี พ ในแง่ ข องความพร้ อ มและความรู ้ จ าก


สาขาวิชาที่เรี ยนรวมทั้งสาขาอื่นๆ ที่กาหนดในหลักสู ตร ที่เกี่ยวเนื่ องกับการประกอบอาชี พของบัณฑิ ต
รวมทั้งเปิ ดโอกาสให้เสนอข้อคิดเห็นในการปรับหลักสู ตรให้ดียงิ่ ขึ้นด้วย
6) ความเห็ นจากผูท้ รงคุ ณวุฒิภายนอก ที่ มาประเมิ นหลัก สู ตร หรื อ เป็ นอาจารย์พิ เ ศษ
ต่อความพร้ อมของนักศึ กษาในการเรี ยน และสมบัติอื่นๆ ที่ เกี่ ยวข้องกับกระบวนการเรี ยนรู ้ และการ
พัฒนาองค์ความรู ้ของนักศึกษา
7) ผลงานของนักศึกษาที่วดั เป็ นรู ปธรรมได้ซ่ ึ ง อาทิ (ก) จานวนโครงงานที่ร่วมมือกับสถาน
ประกอบการ (ข) จานวนสิ ทธิ บตั ร (ค) จานวนรางวัลทางสังคมและวิชาชี พ (ง) จานวนกิจกรรมการกุศล
เพื่อสังคมและประเทศชาติ (จ) จานวนกิจกรรมอาสาสมัครในองค์กรที่ทาประโยชน์ต่อสังคม

3. เกณฑ์ การสาเร็จการศึกษาตามหลักสู ตร
การส าเร็ จการศึ ก ษาตามหลัก สู ตร นัก ศึ ก ษาต้องขึ้ นทะเบี ย นเป็ นนัก ศึ ก ษาของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ ศึกษารายวิชาครบตามที่โครงสร้างหลักสู ตรกาหนด มีจานวนหน่วย
กิตสะสมรวมตลอดหลักสู ตร ไม่ต่ากว่าที่หลักสู ตรกาหนด ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (เกรด) ตลอด
หลักสู ตรไม่ต่ากว่า 2.00 (จากระบบ 4 ระดับคะแนน) และให้เป็ นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ก)
130

หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์

1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่
1) มี ก ารปฐมนิ เทศแนะแนวการเป็ นครู แก่ อาจารย์ใ หม่ ให้มี ค วามรู ้ และเข้า ใจนโยบายของ
มหาวิทยาลัย / คณะตลอดจนในหลักสู ตรที่สอน
2) ส่ งเสริ มอาจารย์ให้มีการเพิ่มพูนความรู ้ สร้างเสริ มประสบการณ์เพื่อส่ งเสริ มการสอนและการ
วิจยั อย่างต่อเนื่องโดยผ่านการทาวิจยั สายตรง การสนับสนุนด้านการศึกษาต่อ ฝึ กอบรม ดูงานทางวิชาการ
และวิชาชีพในองค์กรต่างๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ หรื อการลาเพื่อเพิม่ พูน
ประสบการณ์
3) ให้ขอ้ มูลแก่อาจารย์พิเศษเกี่ยวกับรายละเอียดรายวิชาที่สอนและรายละเอียดหลักสู ตรเพื่อให้
เข้าใจและเตรี ยมการตามวัตถุประสงค์ของหลักสู ตรและรายวิชา

2. การพัฒนาความรู้ และทักษะให้ แก่ คณาจารย์


2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรี ยนการสอน การวัดและการประเมินผล
1) ส่ งเสริ มอาจารย์ให้มีการเพิ่มพูนความรู ้ สร้ างเสริ มประสบการณ์ เพื่อส่ งเสริ มการสอน
และการวิจยั อย่างต่อเนื่ อง โดยการสนับสนุนด้านการศึกษาต่อ ฝึ กอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชี พใน
องค์กรต่างๆ การประชุมทางวิชาการในประเทศหรื อต่างประเทศ หรื อการลาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์
2) การเพิ่มพูนทักษะการจัดการเรี ยนการสอนและการประเมินผลให้ทนั สมัย
2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ
1) มี ส่วนร่ วมในกิ จกรรมบริ การวิชาการแก่ สั งคม ที่ เกี่ ยวข้องกับการพัฒนาความรู ้ และ
คุณธรรม
2) กระตุน้ ให้อาจารย์ทาผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา
3) ส่ ง เสริ ม การท าวิจยั สร้ า งองค์ค วามรู ้ ใ หม่ เพื่ อพัฒนาการเรี ย นการสอน และมี ค วาม
เชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ
131

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสู ตร

1. การกากับมาตรฐาน
มี ก ารบริ ห ารจัด การหลัก สู ต รให้เ ป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลัก สู ต รที่ ป ระกาศใช้ ตลอด
ระยะเวลาที่มีการจัดการเรี ย นการสอนในหลักสู ตร โดยกาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในระดับหลักสู ตร ดังนี้
1.1 ดาเนินการบริ หารจัดการหลักสู ตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
และการผลิ ต (หลักสู ตรใหม่ พ.ศ. 2564) ให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับ
ปริ ญญาตรี พ.ศ. 2558 และตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริ ญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์
พ.ศ. 2553 และมาตรฐานขององค์กรวิชาชีพสภาวิศวกร ตลอดระยะเวลาที่มีการจัดการเรี ยน
การสอนในหลักสู ตร
1.2 ดาเนิ นงานและบริ หารจัดการหลักสู ตรให้มี ความเชื่ อมโยงกับปรั ช ญา ปณิ ธาน พันธกิ จ
เอกลัก ษณ์ และอัตลัก ษณ์ ข องทั้ง มหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรั ตนโกสิ นทร์ คณะ
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี และสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต พร้อมกับให้
สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานของหลักสู ตรที่กาหนดไว้
1.3 ดาเนิ นการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสู ตร ให้เป็ นไปตามวงรอบการศึกษา
แต่ละปี การศึกษา และจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสู ตร
1.4 การบริ ห ารจัด การหลัก สู ต ร เพี่ อ ให้ก ารด าเนิ น การบริ ห ารหลัก สู ต รเป็ นไปด้ว ยความ
เรี ยบร้อยและมีประสิ ทธิ ภาพ ได้มาตรฐานคุณภาพตามที่กาหนดไว้ มหาวิทยาลัยและคณะ
จึงมีการดาเนินการกากับมาตรฐานในการบริ หารหลักสู ตร ดังนี้
1.4.1 มีประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ เรื่ อง แนวปฏิบตั ิการ
เสนอเปิ ดหลักสู ตร และการปรับปรุ งหลักสู ตร
1.4.2 มีประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ เรื่ อง แนวปฏิบตั ิการ
เสนอปิ ดหลักสู ตร หรื อปิ ดโครงการเปิ ดสอนหลักสู ตร
1.4.3 มีประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ เรื่ อง หลักเกณฑ์การ
ก าหนดรหัส รายวิช าในหลัก สู ตรระดับ ประกาศนี ย บัตรและหลักสู ตรระดับ
ปริ ญญาของมหาวิทยาลัย
1.4.4 มี การกาหนดเอกสารการบรรยายลักษณะงานและคุ ณสมบัติเฉพาะตาแหน่ ง
(Job Description & Job Specification) ของคณะกรรมการบริ หารหลัก สู ต ร
มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลรั ต นโกสิ น ทร์ คณะกรรมการบริ หาร
132

หลัก สู ตรระดับ คณะ ประธานหลัก สู ต ร อาจารย์ผูร้ ั บผิดชอบหลัก สู ต รและ


อาจารย์ประจาหลักสู ตร
1.4.5 แต่ ง ตั้ง คณะกรรมการบริ ห ารหลัก สู ต ร มหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคล
รัตนโกสิ นทร์ ทาหน้าที่กลัน่ กรองแผนพัฒนาหลักสู ตรใหม่ จัดระบบและกลไก
การบริ ห ารหลัก สู ต ร แนวทางการบริ ห ารจัด การหลัก สู ต ร ควบคุ ม ก ากับ
ติ ดตามการบริ หารจัดการหลักสู ตรให้เป็ นไปตามเกณฑ์ม าตรฐานที่ ก าหนด
รวมถึงรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสู ตร ประจาปี
การศึกษา ต่อสภาวิชาการและสภามหาวิทยาลัย
1.4.6 แต่งตั้งคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรระดับคณะ ทาหน้าที่วางแผนการบริ หาร
จัดการหลักสู ตร ควบคุ ม กากับ ติดตามการบริ หารจัดการหลักสู ตรให้เป็ นไป
ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด รวมถึงทวนสอบและประเมินผลการจัดการเรี ยน
การสอนแต่ละรายวิชาในหลักสู ตรที่เปิ ดสอนในคณะ
1.4.7 แต่ ง ตั้ง ประธานหลัก สู ตร ท าหน้า ที่ ดาเนิ นการบริ หารจัดการหลัก สู ต ร การ
จัดการเรี ยนการสอน การติดตามประเมินผล การควบคุ มคุ ณภาพ การพัฒนา
หลักสู ตร และจัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสู ตร ประจาปี การศึกษา
1.4.8 อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสู ตร ทาหน้าที่ดาเนินการบริ หารจัดการหลักสู ต ร การ
จัดการเรี ยนการสอน การประเมินผล การควบคุมคุณภาพ การพัฒนาหลักสู ตร
และเสนอผลการจัด การเรี ย นการสอนทุ ก รายวิ ช าที่ เ ปิ ดสอนต่ อ ประธาน
หลักสู ตร
1.4.9 อาจารย์ป ระจ าหลัก สู ต ร อาจารย์ผู ้ส อน อาจารย์พิ เ ศษ รั บ ผิ ด ชอบในการ
ดาเนิ นการจัดการเรี ยนการสอนในแต่ละรายวิชาให้เป็ นไปตามรายละเอียดของ
รายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม และรายงานผลการจัดการ
เรี ยนการสอนแต่ละรายวิชาที่เปิ ดสอนต่อประธานหลักสู ตร

2. บัณฑิต
ผูส้ าเร็ จการศึกษาตามหลักสู ตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการ
ผลิต คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ วิทยาเขตวังไกล
กังวล มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตนักปฏิบตั ิการมืออาชี พที่มีความเป็ นเลิศทางด้านความรู ้ ทักษะ และความ
ชานาญทางด้านวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต โดยบูรณาการวิชาเฉพาะกับหลักวิชาวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี เพื่ อสร้ า งคนสู่ ง าน เชี่ ย วชาญเทคโนโลยี มี คุ ณธรรมนาความรู ้ โดยอยู่ใ นก ากับดู แลของ
คณะกรรมการประจาคณะ/คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรระดับคณะ และผูบ้ ริ หารระดับสาขา ซึ่ งได้
ดาเนินการเพื่อประกันคุณภาพบัณฑิต ดังนี้
133

2.1 คุ ณภาพบั ณฑิ ต ตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุ ฒิ ระดั บ อุ ด มศึ ก ษาแห่ งชาติ โดยพิ จารณาจาก
ผลลัพธ์ การเรี ยนรู ้ 5 ด้าน ดังนี้
2.1.1 คุณธรรม จริยธรรม
1) แสดงถึ งความสามารถในการจัดการและแก้ปัญหาทางคุ ณธรรม จริ ยธรรมและทาง
วิชาชี พเฉพาะเชิ งสัมพันธ์ โดยใช้ดุลยพินิจทางค่ านิ ย ม ความรู ้ สึกของผูอ้ ื่ นและประโยชน์ข องสั ง คม
ส่ วนรวม
2) แสดงพฤติกรรมกาทางด้านคุ ณธรรม จริ ยธรรมพื้นฐานและระดับสู งที่เกี่ ยวข้องกับ
วิชาชีพเฉพาะที่เสริ มสร้างการพัฒนาที่ยงั่ ยืน มีความกล้าหาญทางจริ ยธรรม มีจิตสาธารณะมีความเข้าใจ
ตนเอง เข้าใจผูอ้ ื่น และเข้าใจโลก
3) แสดงพฤติ ก รรมตามแบบแผนวิ ช าชี พ เฉพาะอย่ า งสม่ า เสมอและสามารถเป็ น
แบบอย่างที่ดีให้ผอู ้ ื่นได้
2.1.2 ความรู้
1) มีความรอบรู ้ในด้านความรู ้ทวั่ ไป และความเข้าใจอย่างกว้างขวางและลึกซึ้ งในทฤษฎี
หลักการ แนวคิด งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพเฉพาะ อย่างเป็ นระบบและบูรณาการ
2) บูรณาการความรู ้ ที่เกี่ ยวกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ด้านศาสตร์ ทางวิชาชี พในการ
ปฏิบตั ิงาน
3) มี ค วามสามารถในการคิ ดวิ เคราะห์ สั ง เคราะห์ และประเมิ นค่ า องค์ค วามรู ้ และ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
4) มี ความเข้าใจเกี่ ยวกับงานวิจยั และนวัตกรรม ในการปฏิ บตั ิ งานวิชาชี พอย่างลึ กซึ้ ง
ตระหนัก ถึ ง ความส าคัญ ของงานวิ จ ัย และการวิ จ ัย ในการต่ อ ยอดความรู ้ ตลอดจนผลกระทบของ
ความก้าวหน้าต่อทฤษฎีและการปฏิบตั ิที่ได้รับการยอมรับ
2.1.3 ทักษะทางปัญญา
1) มีความสามารถคิดค้นข้อเท็จจริ ง ทาความเข้าใจ และประเมินข้อมูลสารสนเทศและ
แนวคิดจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเพื่อใช้ในการปฏิบตั ิงาน
2) มีความสามารถคิดวิเคราะห์ ตัดสิ นใจโดยใช้ความรู ้ทางภาคทฤษฎีและประสบการณ์
ทางภาคปฏิบตั ิ เพื่อกาหนดประเด็นหรื อปั ญหาที่ซบั ซ้อน
3) มีความสามารถวินิจฉัย คิดแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อน เสนอทางออกและนาไปสู่ การ
แก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถพัฒนางานและพัฒนาองค์ความรู ้ได้ดว้ ยตนเอง
4) มีความเป็ นผูน้ าทางความคิด มีวิสัยทัศน์ เพื่อพัฒนางานอย่างสร้างสรรค์ และพัฒนา
ศาสตร์ ดา้ นวิชาชีพอย่างมีนวัตกรรม
134

2.1.4 ทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ


1) มีความสามารถทางานด้วยตนเอง และเป็ นกลุ่มในสถานการณ์ที่หลากหลายด้วยความ
เอาใจใส่ ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพและมีความสุ ข
2) มีความไวในการรับรู ้ความรู ้สึกของผูอ้ ื่น เข้าใจผูอ้ ื่น มีความคิดเชิ งบวก มีวุฒิภาวะ
ทางอารมณ์และทางสังคม
3) มี ภาวะผูน้ าและผูต้ ามที่ ดี มี ความสัมพันธ์ ที่ดีกบั ผูเ้ รี ยน และมี ความรั บผิดชอบต่ อ
ตนเองและสังคมทั้งในหน้าที่การาน และสถานการณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ
2.1.5 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1) มีความสามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลสารสนเทศ ทั้งที่เป็ นตัวเลขเชิ งสถิติหรื อคณิ ตศาสตร์
ภาษาพูด และภาษาเขียน อันมีผลให้สามารถเข้าใจองค์ความรู ้หรื อประเด็นปั ญหาได้อย่างรวดเร็ ว
2) มี ค วามสามารถในการใช้ดุ ล ยพิ นิ จ ที่ ดี ใ นการศึ ก ษาค้น คว้า ประมวลผล แปล
ความหมายและเลือกใช้ขอ้ มูลสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม สม่าเสมอและต่อเนื่อง
3) มี ค วามสามารถในการสื่ อสารได้อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพทั้ง การพู ด การเขี ย น และ
นาเสนอด้วยรู ปแบบที่เหมาะสม
2.2 บัณฑิตมีงานทาหรื อประกอบอาชีพอิสระ
2.3 มีผลงานการทาโครงงาน หรื อการวิจยั ของนักศึกษา และผูส้ าเร็ จการศึกษา

3. นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษาและการเตรียมความพร้ อมก่อนเข้ าศึกษา
3.1.1 การรั บ นัก ศึ ก ษา ให้ เป็ นไปตามข้อบัง คับ มหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคล
รัต นโกสิ น ทร์ ว่า ด้ว ยการศึก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ก ) หรื อระเบียบการสอบ
คัดเลือกของมหาวิทยาลัย โดยวุฒิที่รับเข้าศึกษาดังนี้
1) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์
และระดับประกาศนี ย บัตรวิชาชี พ (ปวช.) สาขาวิชาช่ างอุ ตสาหกรรม หรื อเทียบเทียบ ที่สาขาวิชาฯ
พิจารณาแล้วว่ามีคุณสมบัติที่เหมาะสม เน้นความสามารถในทักษะพื้นฐานด้านวิศวกรรมอุตสาหการและ
การผลิต โดยใช้วธิ ีการสอบข้อเขียน สอบปฏิบตั ิทกั ษะ และสอบสัมภาษณ์
2) ระดับ ประกาศนี ย บัตรวิช าชี พ ชั้นสู ง (ปวส.) สาขาวิช าช่ า งอุ ตสาหกรรม ช่ า งกล
โรงงาน ช่ า งโลหะ ช่ า งผลิ ตเครื่ องมื อและแม่ พิ ม พ์ ช่ า งออกแบบการผลิ ต ช่ า งท่ อและประสาน ช่ า ง
เครื่ องกล ช่ างเทคนิ คการผลิ ต ช่ างเขี ยนแบบเครื่ องกล หรื อเที ยบเท่า ที่ สาขาวิชาฯ พิจารณาแล้วว่า มี
คุณสมบัติที่เหมาะสม โดยวิธีการเทียบโอนผลการเรี ยน ตามข้อบังคับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
รัตนโกสิ นทร์ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2559 และเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ ยวข้อง คุณสมบัติเน้น
ความสามารถในทักษะการปฏิบตั ิ โดยใช้วธิ ีการสอบข้อเขียน สอบปฏิบตั ิทกั ษะ และสอบสัมภาษณ์
135

3.1.2 การเตรี ยมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา


เป็ นการเตรี ยมนักศึกษาให้มีความพร้ อมทางการเรี ยน เพื่อเพิ่มทักษะในการเรี ยนรู ้ที่จะ
ส่ ง ผลต่ ออัตราการส าเร็ จการศึ ก ษา และความพึ ง พอใจต่ อหลัก สู ตร โดยมี ก ารพัฒนานัก ศึ ก ษาอย่า ง
ต่อเนื่องตลอดระยะ 5 ปี โดยหลักสู ตรได้ดาเนินการดังนี้
1) เตรี ยมความพร้อมให้กบั นักศึกษาก่อนเข้าศึกษา โดยจัดปฐมนิ เทศนักศึกษาใหม่ เพื่อ
แนะนาและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการเรี ยนการสอนในระดับมหาวิทยาลัย
2) ปรั บความรู ้ และทักษะพื้นฐานสาหรั บนักศึ กษาที่ มีพ้ืนฐานต่ ากว่าเกณฑ์ หรื อตาม
ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตร
3.2 การส่ งเสริมและพัฒนานักศึกษา
3.2.1 การให้คาปรึ กษาด้านวิชาการและแนะแนวแก่นกั ศึกษา
มีการให้ความสาคัญกับระบบการให้คาปรึ กษา โดยมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึ กษาให้กบั
นักศึกษาทุกกลุ่ม เพื่อทาหน้าที่ติดตาม ดู แล ตักเตือน ให้คาปรึ กษา และแนะนาแก่นกั ศึกษา และมีการ
กาหนดชัว่ โมงให้คาปรึ กษาเพื่อให้นกั ศึกษาเข้าปรึ กษาได้ นอกจากนี้ มีที่ปรึ กษากิจกรรมเพื่อให้คาปรึ กษา
แนะนาในการจัดทากิจกรรมแก่นกั ศึกษา
3.2.2 การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริ มสร้างทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
โดยจัดกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรและการจัดการเรี ยนการสอน เพื่อส่ งเสริ มและพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้
มีคุณลักษณะด้านการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง พัฒนาทักษะด้านการสื่ อสารภาษาอังกฤษ พัฒนาด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ และการสร้างสรรค์นวัตกรรม
3.2.3 การอุทธรณ์ของนักศึกษา
1) กรณี ที่นกั ศึกษามีความสงสัยเกี่ยวกับผลการประเมินในรายวิชาใดสามารถที่จะยื่นคา
ร้องขอดูกระดาษคาตอบในการสอบ ตลอดจนดูคะแนนและวิธีการประเมินของอาจารย์ในแต่ละรายวิชาได้
2) นักศึกษาสามารถเสนอความคิดเห็นในด้านการสอนของอาจารย์
3) นักศึกษาสามารถอุทธรณ์ในกรณี ที่ไม่ได้รับความยุติธรรม
ทั้งนี้ นักศึกษาสามารถร้องเรี ยนได้ทางเว็ปไซต์ของคณะ หรื อทางตูร้ ับความคิดเห็น

3.3 ผลทีเ่ กิดกับนักศึกษา


3.3.1 การคงอยูข่ องนักศึกษาในหลักสู ตรอยูใ่ นระดับดี
3.3.2 การสาเร็ จการศึกษาเป็ นไปตามแผนระยะเวลาที่หลักสู ตรกาหนด
3.3.3 ความพึงพอใจในการจัดการเรี ยนการสอนรายวิชาในหลักสู ตรอยูใ่ นระดับดี
3.3.4 คุณภาพของนักศึกษา และบัณฑิตที่สาเร็ จการศึกษา โดยภาวการณ์มีงานทาและ
ความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณั ฑิตอยูใ่ นระดับดี
136

4. อาจารย์
อาจารย์เป็ นปั จจัยที่สาคัญในการผลิตบัณฑิต จึงมีความจาเป็ นอย่างยิง่ ในการคัดเลือกอาจารย์ให้
ได้อาจารย์ที่มีคุณภาพเหมาะสม สอดคล้องกับบริ บท ปรัชญา วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยและหลักสู ตร จึง
ต้องมี การวางระบบประกันคุ ณภาพเพื่อให้ไ ด้อาจารย์ที่มีคุณสมบัติท้ งั เชิ งปริ ม าณและเชิ งคุ ณภาพให้
เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2558 และเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยฯ กาหนด
ไว้ ตลอดจนมีการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้สูงยิง่ ขึ้น
4.1 การบริหารอาจารย์
4.1.1 การคัดเลื อกอาจารย์ใหม่ที่เหมาะสม โปร่ งใส หลักสู ตรดาเนิ นการตามระเบียบและ
หลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยฯ โดยมีกลไกการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ที่เป็ นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้า ราชการพลเรื อนในสถาบันอุ ดมศึ ก ษา พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติระเบี ย บข้าราชการพลเรื อ นใน
สถาบันอุดมศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 และเกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2558
4.1.2 อาจารย์ในหลักสู ตรมีคุณสมบัติที่เหมาะสมและเพียงพอ มีความรู ้ ความเชี่ยวชาญทาง
สาขาวิชาและมีความก้าวหน้าในการผลิตผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง
4.1.3 การมีส่วนร่ วมของอาจารย์ในการนารายงานผลการดาเนิ นงานของหลักสู ตร และผล
การประเมินคุณภาพระดับหลักสู ตร มาประชุ มร่ วมกันเพื่อประมวลผลคุณภาพ ทบทวนและวางแผนการ
ปรับปรุ ง พัฒนาหลักสู ตรต่อไป
4.1.4 การแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ เพื่อให้นกั ศึกษาได้รับประสบการณ์ เฉพาะด้านหรื อในกรณี
ขาดแคลนอาจารย์ผสู ้ อน จึงมีนโยบายในการแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ เพื่อดาเนิ นการสอนในบางรายวิชาตาม
ความเหมาะสม โดยสาขาวิชา/คณะเสนอขอแต่ง ตั้ง อาจารย์พิ เศษ ที่ มีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2558 และดาเนินการตามกระบวนการจัดจ้างของมหาวิทยาลัย
4.2 การพัฒนาอาจารย์
4.2.1 การพัฒนาอาจารย์ใ หม่ (ถ้า มี ) ทุ ก คนจะได้รับ การเตรี ย มความพร้ อ มในการเป็ น
อาจารย์ใหม่ท้ งั ในระดับมหาวิทยาลัย และระดับคณะ หรื อสาขาวิชา
4.2.1 การพัฒนาอาจารย์ โดยมีการพัฒนาความรู ้และทักษะด้านการจัดการเรี ยนการสอน
การวัดและการประเมินผล และการพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ

5. หลักสู ตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน


5.1 การบริ หารจัดการหลักสู ตร
5.1.1 การออกแบบหลัก สู ต ร โดยแต่ ง ตั้ง คณะกรรมการพัฒนาหลัก สู ต ร ท าหน้า ที่
วางแผน ออกแบบ ควบคุ ม กากับการจัดทาหลักสู ตร รายวิชาต่าง ๆ ให้มีเนื้ อหาที่ทนั สมัย เป็ นไปตาม
เกณฑ์ม าตรฐานหลัก สู ต รระดับ อุ ด มศึ ก ษา พ.ศ. 2558 ตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิ ร ะดับ อุ ด มศึ ก ษา
แห่ งชาติ พ.ศ. 2552 ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริ ญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 แผนพัฒนา
137

การอุดมศึกษาแห่ งชาติ ระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมแห่ งชาติ


ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2559-2564) มาตรฐานวิชาชี พ สภาวิศวกร ปรัชญาการอุดมศึ กษา ปรัชญามหาวิทยาลัย
และสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ ตลาดแรงงานและผูใ้ ช้บณั ฑิต
5.1.2 ดาเนินการวิพากษ์หลักสู ตรโดยผูท้ รงคุณวุฒิภายนอก องค์กรวิชาชีพ ผูใ้ ช้บณ ั ฑิต
และศิษย์เก่า เพื่อนาเสนอข้อเสนอแนะ มาพิจารณาและทบทวนการปรับปรุ งแก้ไขหลักสู ตรให้มีคุณภาพ
มากยิ่ง ขึ้ น และนาเสนอร่ า งหลัก สู ตรต่ อคณะกรรมการประจาคณะ คณะกรรมการประจาวิท ยาเขต
คณะกรรมการกลั่น กรอง สภาวิช าการ และคณะกรรมการสภามหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคล
รัตนโกสิ นทร์ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและดาเนินการเปิ ดใช้หลักสู ตร
5.1.3 การบริ ห ารหลัก สู ต ร มี อ าจารย์ผู ้รั บ ผิ ด ชอบหลัก สู ต ร เป็ นไปตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิ การเรื่ อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2558 โดยมีคณบดี หัวหน้า
สาขาวิชา ประธานหลักสู ตรเป็ นผูค้ วบคุม กากับดูแล ให้คาแนะนา สนับสนุ นการใช้หลักสู ตร เช่น การ
เตรี ยมความพร้ อมผูส้ อนและบุคลากรที่เกี่ ยวข้องกับการใช้หลักสู ตร การจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอน
การจัดแผนการศึกษา การส่ งเสริ มสภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรี ยนรู ้ การจัดประสบการณ์วิชาชี พ
เพื่อเตรี ยมความพร้อมผูเ้ รี ยน การประเมินผลการเรี ยนการสอน เป็ นต้น พร้อมทั้งการตรวจสอบคุ ณภาพ
การใช้หลักสู ตร เช่ น การประเมิ นคุ ณภาพหลักสู ตร ตามระบบประกันคุ ณภาพการศึ กษาภายในทุ กปี
การศึกษา
5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอนในแต่ ละรายวิชา
5.2.1 การวางระบบผูส้ อน ประธานหลักสู ตรและอาจารย์ผูร้ ั บผิดชอบหลักสู ตรร่ วมกัน
จัดระบบผูส้ อนและวางแผนกาหนดผูส้ อนในรายวิชาที่หลักสู ตรรับผิดชอบ โดยพิจารณาผูส้ อนที่มีทกั ษะ มี
ความรู ้ ความช านาญ มี ความเชี่ ยวชาญในรายวิชานั้น ๆ หากรายวิชาใดต้องการผูม้ ี ประสบการณ์ ตรงใน
วิชาชี พมาร่ วมสอน จะดาเนิ นการเสนอรายชื่ อเป็ นอาจารย์พิ เศษเฉพาะรายวิชา และกาหนดให้อาจารย์
ผูร้ ับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผสู ้ อน จัดทารายละเอียดของรายวิชา ตามแบบ มคอ.3 หรื อรายละเอียดของ
ประสบการณ์ ภาคสนาม ตามแบบ มคอ. 4 ตามแผนการศึ กษา อย่างน้อยก่ อนการเปิ ดสอนในแต่ละภาค
การศึกษา
5.2.2 กระบวนการจัดการเรี ยนการสอนในแต่ละรายวิชา เน้นให้มีกระบวนการจัดการ
เรี ยนการสอนที่หลากหลาย มีกิจกรรมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของผูเ้ รี ยนให้มีความรู ้ความสามารถตาม
ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสู ตร และเป็ นไปตามโครงสร้างที่หลักสู ตรกาหนด ผูเ้ รี ยน
สามารถเรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเองตลอดเวลา และมีทกั ษะตามมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ที่กาหนด
5.3 การประเมินผู้เรียน
5.3.1 มี การกาหนดเกณฑ์ในการประเมิ นผลการเรี ยนอย่างชัดเจน และแจ้งให้ผูเ้ รี ยน
ทราบ
138

5.3.2 มีการประเมิน โดยผูเ้ รี ยนประเมินตนเอง และผูส้ อนประเมินผูเ้ รี ยน จากการสอบ


ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ หรื อกาหนดวิธีการประเมินที่มีความหลากหลายตามสภาพจริ งของการจัดการ
เรี ยนการสอนในแต่ละรายวิชา โดยพิจารณาจากรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) หรื อรายละเอียดของ
ประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) ซึ่ งอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผูส้ อนเป็ นผูป้ ระเมินและ
ติดตามผลการประเมินตามแบบประเมินที่ได้กาหนดไว้
5.3.3 มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ ที่กาหนดใน
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) หรื อรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) อย่างน้อยร้อยละ 25
ของรายวิชาที่เปิ ดสอนในแต่ละปี การศึกษา
5.3.4 ประธานหลัก สู ต รและอาจารย์ผูร้ ั บ ผิด ชอบหลัก สู ต รท าหน้า ที่ ก ากับ ดู แ ลการ
ประเมินผูเ้ รี ยน เพื่อให้การประเมินผลการจัดการเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิ ภาพและเกิ ดประสิ ทธิ ผลมาก
ที่สุด และรายงานผลการดาเนินการของหลักสู ตรต่อหัวหน้าสาขาวิชา และคณบดี
5.4 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
มีการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่หลากหลาย มีการสอนที่เน้นทักษะการปฏิ บตั ิ จัด
กิ จกรรมพัฒนาและเพิ่ ม ศัก ยภาพของผูเ้ รี ยนให้มีค วามรู ้ ค วามสามารถตามปรั ชญา ความส าคัญ และ
วัตถุประสงค์ของหลักสู ตร และเป็ นไปตามโครงสร้างที่หลักสู ตรกาหนด เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้
ด้วยตนเองตลอดเวลา และมีทกั ษะตามมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ที่กาหนด
5.5 การดาเนินงานหลักสู ตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ
มีการประเมินผลการดาเนิ นการของหลักสู ตรทุกปี การศึกษา ตามตัวบ่งชี้การดาเนิ นงาน
ตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุ ฒิระดับ อุ ดมศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ที่ ไ ด้ก าหนดไว้ใ นหมวดที่ 7 ข้อ 7 และผลการ
ดาเนิ นงานอยู่ในระดับดี โดยประธานหลักสู ตรและอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสู ตรเป็ นผูร้ ายงานผลการ
ดาเนินการของหลักสู ตร (มคอ.7) ในแต่ละปี การศึกษา

6. สิ่ งสนับสนุนการเรี ยนรู้


มีระบบการดาเนิ นงานของสาขาวิชา คณะ มหาวิทยาลัย ในการจัดสรรงบประมาณ สิ่ งสนับสุ นน
การเรี ยนรู ้ท้ งั ความพร้อมทางกายภาพและความพร้อมของอุปกรณ์เทคโนโลยีและสิ่ งอานวยความสะดวก
หรื อทรัพยากรที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ของนักศึกษา เช่น ตารา สื่ อการเรี ยนการสอน โสตทัศนูปกรณ์ และวัสดุ
ครุ ภณ
ั ฑ์ เพื่อสนับสนุ นการเรี ยนการสอนในชั้นเรี ยนและสร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรี ยนรู ้
โดยการมีส่วนร่ วมของอาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสู ตรและอาจารย์ประจาหลักสู ตร
6.1 สิ่ งสนับสนุนการเรี ยนรู้ ทรัพยากรการเรียนการสอน
6.1.1 อาคารสถานที่
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ ได้วางแผนการบริ หาร และดาเนินการ
ด้านอาคารสถานที่ เพื่อใช้ในการเรี ยนการสอน โดยจัดตั้งอาคารเรี ยนและปฏิบตั ิการ บริ หารงานโดย
139

สาขาวิช าวิศ วกรรมอุ ตสาหการและการผลิ ต ในสั ง กัดคณะอุ ตสาหกรรมและเทคโนโลยี ตั้ง อยู่ใ น


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล ถนนเพชรเกษม ตาบลหนองแก
อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ รหัสไปรษณี ย ์ 77110
6.1.2 ห้ องเรียน/ห้ องปฏิบัติการ
1) จานวนห้องเรี ยนที่ใช้จดั การเรี ยนการสอนในหลักสู ตร จานวน 14 ห้อง ห้องทฤษฎี
จานวน 3 ห้อง ห้องปฏิบตั ิ จานวน 11 ห้อง
2) ขนาดความจุของห้องเรี ยน จานวน 30-40 ที่นงั่ ต่อหนึ่งห้องเรี ยน
3) วัสดุ ครุ ภณ
ั ฑ์ และอุปกรณ์ ในการจัดการเรี ยนการสอนในห้องเรี ย น พร้ อมแสดง
จานวนต่อหนึ่งห้องเรี ยน มีดงั นี้
3.1) เครื่ องฉายภาพ (Projector) จานวน 1 เครื่ อง ต่อ 1 ห้องเรี ยนทฤษฎี
3.2) จอรับภาพอัตโนมัติ จานวน 1 เครื่ อง ต่อ 1 ห้องเรี ยนทฤษฎี
3.3) กระดานไวท์บอร์ ด จานวน 2 แผ่น ต่อ 1 ห้องเรี ยนทฤษฎี
3.4) โต๊ะ-เก้าอี้ (สาหรับอาจารย์ผสู ้ อน) จานวน 1 ชุด ต่อ 1 ห้องเรี ยนทฤษฎี
3.5) เก้าอี้เลคเชอร์ จานวน 30-40 ตัว ต่อ 1 ห้องเรี ยนทฤษฎี
6.1.3 ห้ องสมุด
1) มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลรั ต นโกสิ น ทร์ จัด ให้ มี ห้ อ งสมุ ด กลางของ
มหาวิทยาลัยที่จงั หวัด นครปฐม โดยใช้ชื่อว่า สานักวิทยบริ การและเทคโนโลยีสารสนเทศ (สวส.) ซึ่ ง
ให้บริ การอยูท่ ี่อาคารวิทยบริ การ เป็ นอาคาร 2 ชั้น เปิ ดให้บริ การ วันจันทร์ -วันศุกร์ เวลา 08.30 – 18.30 น.
วันเสาร์ เวลา 08.30-15.00 น. เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ โดยจัดให้มีหอ้ งประชุม จานวน 4 ห้อง แบ่งเป็ นห้อง
ประชุม 13 ที่นงั่ จานวน 1 ห้อง ห้องประชุม 20-30 ที่นงั่ จานวน 2 ห้อง ห้องสื บค้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์
30 ที่นงั่ จานวน 1 ห้อง และมีขอ้ มูลเพื่อให้นกั ศึกษาสื บค้นข้อมูลด้วยตนเอง
2) ห้องสมุดประจาวิทยาเขตวังไกลกัง วล จัดตั้งอยู่ที่ อาคารเอนกประสงค์ ชั้น 2เปิ ด
ให้บริ การในวันและเวลาราชการตามปกติ และมีฐานข้อมูลที่สามารถให้นกั ศึกษาสื บค้นข้อมูลด้วยตนเอง
6.1.4 ห้ องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
1) ห้องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต จานวน 2 ห้อง
2) ห้องคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ วิทยาเขตวังไกลกังวล จานวน 2 ห้อง
3) ห้องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ จานวน 2 ห้อง
4) ห้องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ จานวน 2 ห้อง
5) ห้องคอมพิวเตอร์ สานักวิทยบริ การและเทคโนโลยีสารสนเทศ จานวน 2 ห้อง
6.1.5 ห้ องการเรี ยนรู้ ด้านภาษาต่ างประเทศ
มี ห้องการเรี ย นรู ้ ด้า นภาษาต่ า งประเทศ อยู่ใ นความดู แลของส านัก วิทยบริ ก ารและ
เทคโนโลยีสารสนเทศ จานวน 1 ห้อง
6.2 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอน
6.2.1 อาจารย์ผสู ้ อนในแต่ละรายวิชาสามารถเสนอชื่ อ สื่ อ หนังสื อ ตารา และวัสดุอุปกรณ์ที่
ใช้ในการเรี ยนการสอน เพื่อเสนอต่อประธานหลักสู ตรและอาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสู ตร
140

6.2.2 ประธานหลัก สู ต รและอาจารย์ผูร้ ั บ ผิด ชอบหลัก สู ต ร มี ห น้า ที่ ก ากับ ดู แ ลการใช้


ทรัพยากรการเรี ยนการสอน วางแผนจัดหา และติดตามการใช้ทรัพยากรการเรี ยนการสอนของหลักสู ตร
โดยการสารวจทรัพยากรการเรี ยนการสอน สิ่ งสนับสนุ นการเรี ยนรู ้ ที่เหมาะสมต่อการจัดการเรี ยนการ
สอน เพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการบริ หารของคณะ
6.2.3 ประธานหลักสู ตรและอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสู ตร เสนอโครงการจัดหาทรัพยากร
การเรี ยนการสอน เพื่อบรรจุในแผนปฏิบตั ิการประจาปี งบประมาณของสาขาวิชา และดาเนิ นการตาม
แผนที่ได้รับอนุมตั ิ
6.3 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร
ประธานหลัก สู ตรและอาจารย์ป ระจาหลัก สู ต ร มี หน้าที่ ประเมิ นความต้อ งการ ความ
เพียงพอและความพึงพอใจของนักศึ กษาและอาจารย์ผูส้ อนต่อสิ่ งสนับสนุ นการเรี ยนรู ้ และนาผลการ
ประเมินมาดาเนินการตามข้อ 6.3
141

7. ตัวบ่ งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators)


ตัวบ่ งชี้ผลการดาเนินงาน ( Key Performance Indicators) ของหลักสู ตร
ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ
ปี การศึกษา
ดัชนีบ่งชี้ผลการดาเนินงาน
2564 2565 2566 2567 2568
1. อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้ อยละ 80 มีส่วนร่ วมในการประชุมเพื่อวางแผน X X X X X
ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร
2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ X X X X X
แห่งชาติ หรื อ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ามี)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตาม X X X X X
แบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิ ดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบ
ทุกรายวิชา
4. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดาเนินการของ X X X X X
ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลัง
สิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิ ดสอนให้ครบทุกรายวิชา
5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลัง X X X X X
สิ้นสุดปี การศึกษา
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ ที่กาหนดใน X X X X X
มคอ.3 และมคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิ ดสอนในแต่ละปี
การศึกษา
7. มีการพัฒนา/ปรับปรุ งการจัดการเรี ยนการสอน กลยุทธ์การสอน หรื อ การ - X X X X
ประเมินผลการเรี ยนรู้ จากผลการประเมินการดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปี ที่
แล้ว
8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิ เทศหรื อคาแนะนาด้านการจัดการเรี ยน X X X X X
การสอน
9. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรื อวิชาชี พ อย่างน้อย ปี ละ X X X X X
หนึ่งครั้ง
10. จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรี ยนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/ X X X X X
หรื อวิชาชีพ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปี สุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสู ตร - - - X X
เฉลี่ยไม่นอ้ ยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
12. ระดับความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณั ฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่นอ้ ยกว่า 3.5 จาก - - - - X
คะแนนเต็ม 5.0
ตัวบ่ งชี้บังคับ (ข้ อที่) 1-5 1-5 1-5 1-5 1-5
รวมตัวชี้วดั 9 10 10 11 12
142

หมวดที่ 8 การประเมิน และปรับปรุงการดาเนินการของหลักสู ตร


1. การประเมินประสิ ทธิผลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธ์ การสอน
1.1.1 การประชุ มร่ วมของอาจารย์ผูส้ อนร่ วมในกรณี ที่สอนในรายวิชาเดี ยวกันเพื่อแลกเปลี่ ยน
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการใช้กลยุทธ์การสอน
1.1.2 อาจารย์ผสู ้ อนรายวิชาจัดทารายงานผลการดาเนินการสอนในแต่ละรายวิชาโดยเปรี ยบเทียบ
กลยุทธ์การสอนที่ได้กาหนดไว้ใน มคอ.3 กับที่ได้ปฏิบตั ิจริ ง
1.1.3 อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบรายวิชาพิจารณาจากผลการประเมินการจัดการเรี ยนการสอน หรื อจาก
การสอบถามจากนักศึกษา ถึงประสิ ทธิผลของการเรี ยนรู ้จากวิธีการที่ใช้
1.1.4 ประเมินจากการเรี ยนรู ้ของนักศึกษา จากพฤติกรรมการแสดงออก การทากิจกรรมและผล
การสอบ
1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ ในการใช้ แผนกลยุทธ์ การสอน
มีระบบการประเมิ นผลการสอนของอาจารย์ผูส้ อนทุกรายวิชา ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน
และการใช้สื่อสอนในทุกรายวิชา โดยนักศึกษาเมื่อสิ้ นภาคเรี ยน

2. การประเมินหลักสู ตรในภาพรวม
2.1 นักศึกษาและบัณฑิต
ประเมิ นหลัก สู ตรในภาพรวม โดยนัก ศึ ก ษาชั้นปี ที่ 4 ในภาคปลายก่ อนส าเร็ จ การศึ ก ษาใน
รู ปแบบสอบ ถาม หรื อรู ปแบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสม
2.2 ผู้ทรงคุณวุฒิและ/หรื อผู้ประเมินภายนอก
คณะกรรมการประจาคณะซึ่ งเป็ นผูท้ รงคุณวุฒิภายนอกประเมินจากการข้อมูลในรายงานผลการ
ดาเนินการหลักสู ตร มคอ.7 ทุกปี การศึกษา
2.3 ผู้ใช้ บัณฑิตและ/หรื อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ยอื่น ๆ
ใช้แบบประเมินความพึงพอใจต่อคุณภาพของบัณฑิต โดยผูใ้ ช้บณั ฑิต และมีการประชุมทบทวน
หลักสู ตรโดยผูท้ รงคุณวุฒิ ผูใ้ ช้งานนักศึกษา บัณฑิตใหม่ นักการศึกษา

3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสู ตร
มี ระบบประกันคุ ณภาพหลัก สู ตรและการจัดการเรี ย นการสอน ตามมาตรฐานคุ ณวุฒิ ร ะดับ
ปริ ญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ โดยการกาหนดตัวบ่งชี้ หลักและเป้ าหมายผลการดาเนิ นงานขั้นต่ า
ทัว่ ไป ตามเกณฑ์ก ารประกันคุ ณภาพการศึ ก ษาภายในสถานศึ กษาระดับ อุ ดมศึ ก ษาตามที่ สานัก งาน
คณะกรรมการการอุ ดมศึ ก ษาก าหนดตามดัช นี บ่ ง ชี้ ผ ลการดาเนิ นงานที่ ระบุ ใ นหมวดที่ 7 ข้อ 7 โดย
143

คณะกรรมการประเมินอย่างน้อย 3 คน ประกอบด้วยผูท้ รงคุ ณวุฒิในสาขาวิชาอย่างน้อย 1 คน ที่ได้รับ


การแต่งตั้งจากมหาวิทยาลัย

4. การทบทวนผลการประเมินวางแผนปรับปรุ ง
4.1 อาจารย์ประจาวิชาทบทวนผลการประเมิ นประสิ ทธิ ผลของการสอนในวิชาที่รับผิดชอบ
หลังจากได้รับการประเมินและเมื่อสิ้ นภาคการศึกษาจัดทารายงานผลการดาเนิ นการรายวิชา (มคอ.3 และ
หรื อ มคอ.5)
เสนอหัวหน้าสาขาวิชาผ่านอาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสู ตร
4.2 อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสู ตรติดตามผลการดาเนิ นการตามตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน จากการ
ประเมินคุณภาพภายในสาขาวิชา
4.3 อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสู ตรสรุ ปผลการดาเนินการหลักสู ตรประจาปี (มคอ.7) เสนอหัวหน้า
สาขาวิชา
4.4 ประชุ ม อาจารย์ป ระจ าหลัก สู ต รเพื่ อพิ จ ารณาทบทวน สรุ ปผลการดาเนิ นหลัก สู ต ร จาก
รายงานผลการดาเนิ นการหลักสู ตร ระดมความคิดเห็น วางแผนปรับปรุ งการดาเนิ นการเพื่อใช้ใ นรอบ
การศึกษาต่อไปโดยจัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสู ตรเสนอคณบดีผา่ นรองคณบดีฝ่ายวิชาการ
และกิจการนักศึกษาเพื่อรายงานคณะกรรมการประจาคณะ
144

เอกสารแนบ

ภาคผนวก ก
1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ ว่าด้วย การศึกษาระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2559
2. ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ เรื่ อง เกณฑ์การวัดและประเมินผลการศึ กษา
ระดับปริ ญญาตรี
3. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ ว่าด้วย หลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรี ยน
ระดับปริ ญญา พ.ศ. 2557
4. ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ เรื่ อง แนวปฏิบตั ิในการเทียบโอนผลการเรี ยน
ระดับปริ ญญา พ.ศ. 2562

ภาคผนวก ข
1. ตารางสรุ ปรายวิชาตามวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
2. ตารางแสดงองค์ความรู ้เฉพาะตามเนื้ อหาสาระสาคัญด้านสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริ ญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 หลักสู ตรวิศวกรรม
ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต (หลักสู ตรใหม่ พ.ศ. 2564)
3. ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสู ตรและอาจารย์ประจาหลักสู ตร
4. รายนามคณะกรรมการจัดทาหลักสู ตร
5. รายนามคณะกรรมการวิพากษ์หลักสู ตร
6. สรุ ปข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากการวิพากษ์ร่างหลักสู ตร
145

ภาคผนวก ก

1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ ว่าด้วย การศึกษาระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2559


146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157

2. ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ เรื่ อง เกณฑ์การวัดและประเมินผลการศึ กษา


ระดับปริ ญญาตรี
158
159
160
161
162

3. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ ว่าด้วย หลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรี ยน


ระดับปริ ญญา พ.ศ. 2557
163
164
165

4. ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ เรื่ อง แนวปฏิบตั ิในการเทียบโอนผลการเรี ยน


ระดับปริ ญญา
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179

ภาคผนวก ข.
1. ตารางสรุ ปรายวิชาตามวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
180

1. ตารางสรุ ปรายวิชาตามวิสัยทัศน์ ของมหาวิทยาลัย


กลุ่มวิชา รหัสและชื่ อวิชา
กลุ่มวิชาบังคับ IPE 1111 กระบวนการผลิต
Manufacturing Processes
IPE 2119 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องกลพื้นฐาน
Basic Mechanical Engineering Laboratory
IPE 1202 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องมือกล
Machine Tools Engineering Laboratory
IPE 3209 เศรษฐศาสตร์วศิ วกรรม
Engineering Economy
IPE 3210 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมอุตสาหการ
Industrial Engineering Laboratory
INE 3214 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการอุตสาหกรรม
Feasibility Study of Industrial Projects
INE 3215 การเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ
Industrial Engineering Pre-Project
INE 4216 โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ
Industrial Engineering Project
PDE 3219 วิศวกรรมระบบควบคุมอัตโนมัติ
Automatic Control System Engineering
PDE 3220 วิศวกรรมย้อนรอย
Reverse Engineering
PDE 3221 การเตรี ยมโครงงานวิศวกรรมการผลิต
Production Engineering Pre-Project
PDE 4222 โครงงานวิศวกรรมการผลิต
Production Engineering Project
กลุ่มวิชาเลือก IPE 4302 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต
Co-operative Education in Industrial and Production
Engineering
IPE 4303 การฝึ กงานทางวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต
Industrial and Production Engineering Practicum
181

กลุ่มวิชา รหัสและชื่ อวิชา


INE 2306 การจัดการการเพิ่มผลผลิต
Productivity Management
INE 3309 การจัดการการผลิตและการดาเนินงาน
Production and Operations Management
INE 4313 การเป็ นผูป้ ระกอบการเพื่อสร้างธุ รกิจใหม่
Entrepreneurship for New Venture Creation
INE 3315 การจาลองสถานการณ์เพื่อการตัดสิ นใจ
Simulation for Decision Making
INE 3320 วิศวกรรมคุณค่า
Value Engineering
INE 4321 ระบบบริ หารคุณภาพ
Quality Management System
INE 4322 การประกันคุณภาพ
Quality Assurance
INE 2324 ระบบการผลิตที่ยงั่ ยืน
Sustainable Manufacturing System
INE 4327 การจัดการพลังงานและสิ่ งแวดล้อมในงานอุตสาหกรรม
Environmental and Energy Management in Industry
INE 4328 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และกฎหมายในงานอุตสาหกรรม
Human Resource Development and Industrial Law
PDE 2329 คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบ 2 มิติ
Computer Aided Design 2D
PDE 2330 วิศวกรรมเครื่ องจักรกลอัตโนมัติเบื้องต้น
Basic Automatic Machine Engineering
PDE 3332 คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบ 3 มิติ
Computer Aided Design 3D
PDE 3333 คอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบและการผลิต
Computer Aided Design and Manufacturing
PDE 3334 คอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบและงานวิศวกรรม
Computer Aided Design and Engineering
182

กลุ่มวิชา รหัสและชื่ อวิชา


PDE 3335 วิศวกรรมเครื่ องจักรกลอัตโนมัติช้ นั สู ง
Advanced Automatic Machine Engineering
PDE 3336 การออกแบบผลิตภัณฑ์และการผลิตอัตโนมัติ
Products and Automated Production Design
PDE 3338 วิศวกรรมหุ่นยนต์
Robotics Engineering
PDE 3343 วิศวกรรมการขึ้นรู ปวัสดุ
Material Forming Engineering
PDE 3344 วิศวกรรมการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
Tool and Die Design Engineering
PDE 3345 วิศวกรรมการออกแบบอุปกรณ์นาเจาะและจับงาน
Jig and Fixture Design Engineering
PDE 3346 วิศวกรรมการออกแบบแม่พิมพ์พลาสติก
Plastic Mold Design Engineering
PDE 3349 กระบวนการขึ้นรู ปพอลิเมอร์
Polymer Processing
PDE 2350 วิศวกรรมการเชื่อม
Welding Engineering
PDE 3352 วิศวกรรมการหล่อโลหะ
Foundry Engineering
PDE 4353 การตรวจสอบและประกันคุณภาพงานเชื่อม
Inspection and Assurance for Welding
PDE 4354 การเลือกวัสดุ
Material Selection
PDE 4355 พฤติกรรมทางกลของวัสดุ
Mechanical Behavior of Materials
PDE 4359 วิศวกรรมพอลิเมอร์
Polymer Engineering
PDE 4360 การวิเคราะห์ลกั ษณะเฉพาะของวัสดุ
Material Characterization
183

กลุ่มวิชา รหัสและชื่ อวิชา


กลุ่มวิชาพื้นฐาน IPE 1109 การฝึ กพื้นฐานทางวิศวกรรม
ทางวิศวกรรม Basic Engineering Training
IPE 1110 การเขียนแบบวิศวกรรม
Engineering Drawing
IPE 1111 กระบวนการผลิต
Manufacturing Processes
IPE 2113 วิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน
Basic Electrical Engineering
IPE 2114 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน
Basic Electrical Engineering Laboratory
IPE 2115 สถิติวศิ วกรรม
Engineering Statistics
IPE 2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming
184

2. ตารางแสดงองค์ความรู ้เฉพาะตามเนื้ อหาสาระสาคัญด้านสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต


ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริ ญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 หลักสู ตรวิศวกรรม
ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต (หลักสู ตรใหม่ พ.ศ. 2564)
185

2. ตารางแสดงองค์ความรู ้เฉพาะตามเนื้ อหาสาระสาคัญด้านสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต


ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริ ญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต (หลักสู ตรใหม่ พ.ศ. 2564)
องค์ ความรู้
เนื้อหาความรู้
1 2 3 4 5 6 7 8
1. กลุ่มความรู้ ด้านวัสดุและกระบวนการผลิต (Material and Manufacturing Process)
IPE 1111 กระบวนการผลิต 3(3-0-6) X X X X X X X
IPE 2112 วัสดุวศิ วกรรม 3(3-0-6) X X X X
IPE 1202 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมเครื่ องมือกล 3(1-6-4) X X X X X X
IPE 3205 ปฏิบตั ิการวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ 2(1-3-3) X X X X
PDE 2217 วิศวกรรมเครื่ องมือ 3(2-3-5) X X X X X X
PDE 2218 วิศวกรรมเครื่ องมือกล 3(3-0-6) X X X X X X
PDE 3333 คอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบ 3(2-3-5) X X X X X
และการผลิต
PDE 3336 การออกแบบผลิตภัณฑ์และการผลิต 3(2-3-5) X X X X X
อัตโนมัติ
PDE 3338 วิศวกรรมหุ่นยนต์ 3(2-3-5) X X X X X
PDE 3339 การออกแบบชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกล 3(2-3-5) X X X X X
การผลิต
PDE 4341 ปัญญาประดิษฐ์ 3(3-0-6) X X X X X X X
PDE 3343 วิศวกรรมการขึ้นรู ปวัสดุ 3(2-3-5) X X X X X X
PDE 3344 วิศวกรรมการออกแบบแม่พิมพ์ 3(2-3-5) X X X X X X
โลหะ
PDE 3346 วิศวกรรมการออกแบบแม่พิมพ์ 3(2-3-5) X X X X X X
พลาสติก
PDE 3348 กระบวนการตัดสมัยใหม่ 3(3-0-6) X X X X X
PDE 3349 กระบวนการขึ้นรู ปพอลิเมอร์ 3(2-3-5) X X X X X X
PDE 4354 การเลือกวัสดุ 3(3-0-6) X X X X
PDE 4360 การวิเคราะห์ลกั ษณะเฉพาะของวัสดุ 3(2-3-5) X X X X
2. กลุ่มความรู้ ด้านระบบงานและความปลอดภัย (Work Systems and Safety)
IPE 2203 การศึกษางานอุตสาหกรรม 3(3-0-6) X X X X X
186

IPE 2204 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6) X X X X X X X X


INE 3213 วิศวกรรมการออกแบบระบบ 3(2-3-5) X X X X X
INE 3310 การยศาสตร์ 3(3-0-6) X X X X
INE 4312 การออกแบบและตรวจวัดระบบงาน 3(3-0-6) X X X X X
INE 2324 ระบบการผลิตที่ยงั่ ยืน 3(3-0-6) X X X
INE 3325 ระบบการจัดการวัสดุสีเขียว 3(3-0-6) X X X
INE 4327 การจัดการพลังงานและสิ่ งแวดล้อม 3(3-0-6) X X X
ในงานอุตสาหกรรม
3. กลุ่มความรู้ ด้านระบบคุณภาพ (Quality Systems)
IPE 3206 การควบคุมคุณภาพ 3(3-0-6) X X X X
INE 3319 การออกแบบการทดลองทาง 3(2-3-5) X X X
วิศวกรรม
INE 3320 วิศวกรรมคุณค่า 3(3-0-6) X X X X
INE 4321 ระบบบริ หารคุณภาพ 3(3-0-6) X X X X
INE 4322 การประกันคุณภาพ 3(3-0-6) X X X
INE 4323 การวางแผนและการวิเคราะห์ 3(3-0-6) X
คุณภาพ
PDE 3337 ระบบอัตโนมัติแบบลีน 3(2-3-5) X
4. กลุ่มความรู้ ด้านเศรฐศาสตร์ และการเงิน (Economic and Finance)
IPE 3209 เศรษฐศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6) X X X X
INE 4317 หลักการหาค่าเหมาะที่สุด 3(3-0-6) X X
5. กลุ่มความรู้ ด้านการจัดการการผลิตและดาเนินงาน (Production and Operation Management)
IPE 3207 การวางแผนและควบคุมการผลิต 3(3-0-6) X X X X
INE 2211 การวิจยั การดาเนินงาน 1 3(3-0-6) X X X
INE 2212 วิศวกรรมการบารุ งรักษา 3(2-3-5) X X X X X X X X
INE 3214 การศึกษาความเป็ นไปได้ของ 3(3-0-6) X X X X
โครงการอุตสาหกรรม
INE 2305 การจัดการโครงการทางวิศวกรรม 3(3-0-6) X X X X
INE 2306 การจัดการการเพิ่มผลผลิต 3(3-0-6) X X X X
INE 3309 การจัดการการผลิตและการ 3(3-0-6) X X X X
ดาเนินงาน
187

INE 3314 วิศวกรรมโลจิสติกส์ 3(3-0-6) X X X X X


INE 3315 การจาลองสถานการณ์เพื่อการ 3(2-3-5) X X X X X
ตัดสิ นใจ
INE 4316 การพยากรณ์ทางอุตสาหกรรม 3(3-0-6) X X X X X
INE 4318 การวิจยั การดาเนินงาน 2 3(3-0-6) X X X
5. กลุ่มความรู้ ด้านการบูรณาการวิธีการทางด้ านวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต (Integration
of Industrial and Production Engineering Technique)
IPE 3208 การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6) X X X X X X X X
INE 4216 โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ 3(1-6-4) X X X X X X X X
PDE 3220 วิศวกรรมย้อนรอย 3(2-3-5) X X X X X X X X
PDE 4222 โครงงานวิศวกรรมการผลิต 3(1-6-4) X X X X X X X X
IPE 4302 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมอุตสา 6(0-40-0) X X X X X X X X
หการและการผลิต
IPE 4303 การฝึ กงานทางวิศวกรรมอุตสาหการ 3(0-40-0) X X X X X X X X
และการผลิต
INE 4313 การเป็ นผูป้ ระกอบการเพื่อสร้าง 3(2-3-5) X X X X X X X X
ธุ รกิจใหม่
188

3. ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ผ้ รู ับผิดชอบหลักสู ตรและอาจารย์ ประจาหลักสู ตร


อาจารย์ลาดับที่ 1. ผศ.ดร.นิวฒั น์ มูเก็ม *,**
อาจารย์ลาดับที่ 2. ผศ.ดร.ณัฐศักดิ์ พรพุฒิศิริ
อาจารย์ลาดับที่ 3. ผศ.ดร.คมกริ ช ละวรรณวงษ์
อาจารย์ลาดับที่ 4. ดร.ปริ ญญา กวีกิจบัณฑิต
อาจารย์ลาดับที่ 5. ดร.ภาสุ รีย ์ ล้ าสกุล**
อาจารย์ลาดับที่ 6. อ.จิณกมล ลุยจันทร์**

หมายเหตุ * ประธานหลักสู ตร
** มีประสบการณ์ดา้ นปฏิบตั ิการในสถานประกอบการ
189

อาจารย์ลาดับที่ 1. ผศ. ดร.นิวฒั น์ มูเก็ม


ประวัติการศึกษา
ระดับการศึกษา คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก คณะ สาเร็จการศึกษาจาก ปี พ.ศ. ทีจ่ บ
ปริ ญญาตรี คุณวุฒิ วศ.บ. 2551
สาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการ
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาเร็ จการศึกษาจาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง
ปริ ญญาโท คุณวุฒิ วศ.ม. 2553
สาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการ
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาเร็ จการศึกษาจาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง
ปริ ญญาเอก คุณวุฒิ วศ.ด. 2563
สาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการ
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาเร็ จการศึกษาจาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง
ประวัติการทางาน
ปี พ.ศ. ที่ทางาน ตาแหน่ งงาน หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ สถานทีท่ างาน
2561 - ปัจจุบนั ตาแหน่ งงาน ผู ้ช่ ว ยศาสตราจารย์ส าขาวิ ศ วกรรมอุ ต สาหการ ประจ า
สาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ อาจารย์ผสู ้ อน งานวิจยั งานบริ การวิชาการและงานทานุบารุ ง
ศิลปะและวัฒนธรรม
สถานทีท่ างาน สาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยี
2558 - 2561 ตาแหน่ งงาน รองคณบดีฝ่ายวิจยั และบริ การวิชาการ
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ บริ ห ารจัด การด้า นงานวิจ ัย งานบริ ก ารวิช าการ และงาน
ประกันคุณภาพภายในคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
สถานทีท่ างาน คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรัตนโกสิ นทร์
190

ปี พ.ศ. ที่ทางาน ตาแหน่ งงาน หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ สถานทีท่ างาน


2556 - 2558 ตาแหน่ งงาน หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ บริ หารจัดการหลักสู ตรและสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรม
อุตสาหการ
สถานทีท่ างาน สาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยี
2554 - 2555 ตาแหน่ งงาน หัวหน้างานมาตรฐานหลักสู ตรและตารา คณะอุ ตสาหกรรม
และเทคโนโลยี
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ ควบคุ ม และดู แ ลงานหลั ก สู ตรและต าราภายในคณะ
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
สถานทีท่ างาน คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรัตนโกสิ นทร์
2553 - 2554 ตาแหน่ งงาน อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ อาจารย์ผูส้ อน งานวิจยั งานบริ ก ารวิชาการ และงานทานุ
บารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
สถานทีท่ างาน สาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยี
2552 - 2553 ตาแหน่ งงาน วิศวกรด้านการออกแบบและผลิต
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ ออกแบบ เขียนแบบและดูแลด้านการผลิตชิ้นส่ วน
สถานทีท่ างาน บริ ษทั ดีเซลวิศวกรรม จากัด
ประสบการณ์การสอน
ระยะเวลา วิชาทีส่ อน
พ.ศ. 2553 – ปัจจุบนั - กระบวนการผลิต
- วิศวกรรมการเชื่อม/เทคโนโลยีงานเชื่อมและโลหะแผ่น
- เขียนแบบวิศวกรรม
- การฝึ กพื้นฐานทางวิศวกรรม
- เทคโนโลยีการทดสอบวัสดุ/การปฏิบตั ิการทดสอบวัสดุ
- การปฏิบตั ิการเทคโนโลยีการทดสอบวัสดุ
- ปฏิบตั ิการเขียนแบบวิศวกรรม
- ปฏิบตั ิการวิศวกรรมการเชื่อม
- วัสดุวศิ วกรรม
191

ระยะเวลา วิชาทีส่ อน
- วิศวกรรมเครื่ องมือ
- การเตรี ยมโครงงานทางเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ
- โครงงานทางเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ
- อุณหพลศาสตร์
ผลงานทางวิชาการ
ประเภท
รายละเอียด
ผลงานทางวิชาการ
1. ผลงานวิชาการ 1.1 วารสารวิชาการระดับนานาชาติ
ระดับนานาชาติ Mookam, N. (2019) Optimization of resistance spot brazing process parameters in
AHSS and AISI 304 stainless steel joint using filler metal. Defence
Technology. 15 (3). pp.450-456. )Impact factor: 13/1) (ISI, Scopus)
Jaemsang, O. Kaweegitbundit, P., and Mookam, N. (2018). Optimization of Laser
Cutting Parameters on 700MC Steel using Grey Relational Analysis.
International Journal of Engineering & Technology. 7 (4.42) pp.52-55.
(Impact factor: 13/1) (Scopus)
1.2 วารสารการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
Luijan, J., Klaynil, C., Mookam, N., and Muangnoy, P. ( 2019 ) . Microstructure and
Mechanical Properties of Recycled Al-7%Si-1%Fe Cast Alloy with Part
Addition of Beverage Cans. 10th International Conference on
Mechatronics and Manufacturing. 21-23 January 2 0 1 9 , Thailand.
(Impact factor: 12/0.4)
2. ผลงานวิชาการ 2.1 วารสารวิชาการระดับชาติ
ระดับชาติ นิวฒั น์ มูเก็ม. (2561). การศึกษาอิทธิพลของตัวแปรในการเชื่อมด้วยแรงเสี ยดทานที่มี
ต่อสมบัติทางกลและโครงสร้างจุลภาครอยต่อระหว่างเหล็กกล้าไร้สนิ มเกรด
AISI 304 และเหล็ ก กล้ า ความเร็ วรอบสู ง. วารสารวิ ศ วกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชี ย งใหม่, 25(1), มกราคม-เมษายน 2561, หน้า 234-243 (ค่า
น้ าหนัก: 14/0.8) (TCI กลุ่มที่ 1)
192

อรจิตร แจ่มแสง และนิ วฒั น์ มูเก็ม. (2561). การแก้ปัญหาผลตอบสนองหลาย อย่าง


ของการตัดเลเซอร์ สาหรับเหล็ก SM490 โดยใช้การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
แบบเกรย์. วารสารวิจัย มทร.กรุ งเทพ, 12 (1) มกราคม-มิถุนายน 2561, หน้า
132-143. (ค่าน้ าหนัก: 14/0.8) (TCI กลุ่มที่ 1)
ั น์ มู เ ก็ ม และปิ ยะวรรณ สู น าสวน.( 2560 ) . การต่ อ วัส ดุ ต่ า งชนิ ด ระหว่ า ง
นิ ว ฒ
อลู มิ เนี ย ม 1100.และเหล็ ก เคลื อบสั ง กะสี โ ดยการแล่ นประสานแบบมิ ก
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ , 24 (1). มกราคม-เมษายน
2560, หน้า 110-118. (ค่าน้ าหนัก: 14/0.8) (TCI กลุ่มที่ 1)
ปิ ยะวรรณ สู นาสวน และนิวฒั น์ มูเก็ม. (2559 (การประยุกต์ใช้วสั ดุผงสาหรับการเพิ่ม
ประสิ ทธิ ภาพการตัดเหล็กกล้าเครื่ องมื อ AISI D2 ด้วยวิธี EDM. วิศวสาร
ลาดกระบัง, 33 (4). ธันวาคม 2559, หน้า 16-23. (ค่าน้ าหนัก: 14/0.8) (TCI
กลุ่ม 1)
2.2 วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติ
ทวี หมัดส๊ ะ , ภาสุ รีย ์ ล้ า สกุ ล , ทนงศัก ดิ์ คงสิ นธุ์ , ศุ ภวัฒน์ ชู วารี และนิ วฒั น์ มู เก็ ม
(2563). การหาค่ าที่เหมาะสมของพารามิเตอร์ การกัดเซาะเหล็ก AISI H13
โดยอิ เ ล็ ก โทรดไทเทเนี ย มในกระบวนการ EDM. การประชุ ม วิ ช าการ
ระดับชาติเทคโนโลยีเชิ งสร้างสรรค์ ครั้งที่ 4. 5-7 สิ งหาคม 2563, หน้า 8-15.
โรงแรมแกรนด์แปซิ ฟิก ซอฟเฟอริ น รี สอร์ ทแอนด์สปา จังหวัดเพชรบุรี :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุ งเทพ. (ค่าน้ าหนัก: 11/0.2).
ปิ ยะวรรณ สู นาสวน, นิ วฒั น์ มู เก็ม, ทวี หมัดส๊ ะ , อาพล รุ่ งแสง และทศพล เย็นใส
(2563). การลดปริ มาณผลิต ภัณฑ์ ที่ไ ม่ เป็ นไปตามข้ อ กาหนด กรณี ศึก ษา
โรงงานเคลือบสี อุตสาหกรรม. การประชุมวิชาการระดับชาติเทคโนโลยีเชิ ง
สร้างสรรค์ ครั้งที่ 4. 5-7 สิ งหาคม 2563, หน้า 23-30. โรงแรมแกรนด์แปซิ ฟิก
ซอฟเฟอริ น รี สอร์ทแอนด์สปา จังหวัดเพชรบุรี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลกรุ งเทพ. (ค่าน้ าหนัก: 11/0.2)
ทวี หมัด ส๊ ะ , วิ ชัย พุ่ ม จัน ทร์ , ปิ ยะวรรณ สู น าสวน, และนิ ว ฒ ั น์ มู เ ก็ ม . (2562).
การศึ ก ษาตัวแปรการกลึงผิวเชื่ อมพอกแข็งเหล็กกล้ า JIS SS400 ที่ส่งผล
กระทบต่ อการสึ กหรอของเม็ดมีด. การประชุมวิชาการระดับชาติเทคโนโลยี
เชิ งสร้ า งสรรค์ ครั้ งที่ 3. 19-21 มิ ถุ น ายน 2562, , หน้ า 141-151. โรง
แรมลอฟท์ มาเนี ย บูติค โฮเทล จังหวัดชุ มพร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลกรุ งเทพ. (ค่าน้ าหนัก: 11/0.2)
193

ทวี หมัดส๊ ะ, วิชยั พุ่มจันทร์ , กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ และนิ วฒั น์ มูเก็ม. (2562). อิทธิพล
ตัวแปรการกัดที่มีต่อการสึ กหรอและการเกิดเศษในการกัดสาหรั บผิวเชื่ อม
พอกเหล็กหล่ อเทา. การประชุ มวิชาการระดับชาติ วลัยลักษณ์วิจยั ครั้งที่ 11.
26-28 มี น าคม 2562, หน้า 80-89. มหาวิท ยาลัย วลัย ลัก ษณ์ . (ค่ า น้ า หนัก :
11/0.2)
ปิ ยะวรรณ สู นาสวน, ทวัหมัดส๊ ะ, นิ วฒั น์ มูเก็ม, นฏกร สี นวล, สถาพร สุ พรรณโท
และดารงศัก ดิ์ ฤทธิ มา (2562). การปรั บ ปรุ งค่ า ประสิ ทธิ ผลโดยรวมของ
เครื่ อ งตั ด แก๊ ส และตั ด เลเซอร์ แ บบอัต โนมั ติ ด้ ว ยแผนการบ ารุ ง รั ก ษาเชิ ง
ป้ องกัน กรณีศึกษา บริ ษัทผลิตชิ้ นส่ วนเครื่ องจักรกลทางการเกษตร. การ
ประชุ มวิชาการระดับชาติ วลัยลักษณ์ วิจยั ครั้ งที่ 11. 26-28 มีนาคม 2562,
หน้า 104-112. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. (ค่าน้ าหนัก: 11/0.2)
อรจิ ตร แจ่ ม แสง, จิ รายุ ครื อเครื อ , ภู เมศวร์ แสงระยับ และนิ วฒั น์ มู เก็ ม . (2561).
การศึกษาเงื่อนไขที่เหมาะสมในการตัดทังสเตนคาร์ ไบด์ (WC) ด้ วยวิธีการ
จ่ ายประจุ ไฟฟ้ าผ่ านเส้ นลวด (Wire-EDM). การประชุ มวิชาการราชมงคล
ด้า นเทคโนโลยีก ารผลิ ตและการจัดการ (RMTC 2018). 30-31 พฤษภาคม
2561, หน้า 265-270. กระบี่: โรงแรมดี วาน่ า พลาซ่ า อ่าวนาง: มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลศรี วชิ ยั . (ค่าน้ าหนัก: 11/0.2)
ทิพสุ ดา รักเพ็ชร, วิชุดาพร นามเวช, สุ เมธ ภูมิอภิรดี, ฉวีวรรณ พูนธนานิวฒั น์กุล และ
นิวฒั น์ มูเก็ม. (2560). การบัดกรี โลหะบัดกรี ไร้สารตะกัว่ Sn-0.7Cu และ Sn-
1.0Cu กับแผ่นทองแดงที่มีต่อความสามารถในการบัดกรี โครงสร้างจุลภาค
โลหะพื้ น และการเกิ ด ชั้น สารประกอบเชิ ง โลหะ. งานประชุ ม วิ ช าการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้ งที่ 9 ประจาปี 2560. 7–9 สิ งหาคม
2560, หน้า 121-132. ศู นย์แสดงสิ นค้าและการประชุ ม อิ มแพ็ค เมื องทอง
ธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ . (ค่าน้ าหนัก: 1.1/0.2)
194

อาจารย์ลาดับที่ 2. ผศ.ดร.ณัฐศักดิ์ พรพุฒิศิริ


ประวัติการศึกษา
ระดับการศึกษา คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก คณะ สาเร็จการศึกษาจาก ปี พ.ศ. ทีจ่ บ
ปริ ญญาตรี คุณวุฒิ คอ.บ. 2540
สาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการ-เครื่ องมือกล
คณะ ครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม
สาเร็ จการศึกษาจาก สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคใต้
ปริ ญญาโท คุณวุฒิ วศ.ม. 2545
สาขาวิชา เทคโนโลยีการขึ้นรู ปโลหะ
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาเร็ จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ปริ ญญาเอก คุณวุฒิ วศ.ด. 2563
สาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการ
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาเร็ จการศึกษาจาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง
ประวัติการทางาน
ปี พ.ศ. ที่ทางาน ตาแหน่ งงาน หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ สถานทีท่ างาน
2557- ปัจจุบนั ตาแหน่ งงาน ผูช้ ่ วยศาสตราจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรม
การผลิต
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ ด้านการเรี ยนการสอน งานบริ การวิชาการ งานวิจยั งาน
ทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
สถานทีท่ างาน สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการผลิต คณะอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยี
2549 - 2557 ตาแหน่ งงาน รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจยั
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ บริ หารจั ด การด้ า นงานวิ ช าการและวิ จ ั ย ของคณ ะ
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี งานด้านการเรี ยนการสอน
บริ การวิชาการ วิจยั และทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
สถานทีท่ างาน คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรัตนโกสิ นทร์
195

ปี พ.ศ. ที่ทางาน ตาแหน่ งงาน หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ สถานทีท่ างาน


2540 - 2548 ตาแหน่ งงาน อาจารย์ 1 ระดับ 3 – อาจารย์ 3 ระดับ 8 / หัวหน้าสาขาวิชา
ช่างกลโรงงาน
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ ผูส้ อนและบริ หารจัดการสาขาวิชาช่างกลโรงงาน
สถานทีท่ างาน สาขาช่ างกลโรงงาน สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยา
เขตวังไกลกังวล

ประสบการณ์การสอน
ระยะเวลา วิชาทีส่ อน
พ.ศ. 2555 - 2563 - วิศวกรรมเครื่ องมือ
- วิศวกรรมบารุ งรักษา
- เทคโนโลยีพลาสติก
- การออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
- การออกแบบแม่พิมพ์พลาสติก
- การเตรี ยมโครงงานทางเทคโนโลยีวศิ วกรรมการผลิต
- โครงงานทางเทคโนโลยีวศิ วกรรมการผลิต
- วิศวกรรมความปลอดภัย
- คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบ
- วัสดุวศิ วกรรม
- การออกแบบชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกล
ผลงานทางวิชาการ
ประเภท
รายละเอียด
ผลงานทางวิชาการ
1. ผลงานวิชาการ 1.1 วารสารวิชาการระดับชาติ
ระดับชาติ ณัฐศักดิ์ พรพุฒิศิริ. (2560) ผลกระทบของตัวแปรในกระบวนการดัดขึ้นรู ปแบบ
อิสระที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดีดตัวกลับของโลหะแผ่นอลูมิเนียมผสม
AA6016. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร, 11 (2). กรกฎาคม –
ธันวาคม 2560, หน้า 155-166. (ค่าน้ าหนัก: 14/0.8) (TCI กลุ่มที่ 1)
196

ณัฐศักดิ์ พรพุฒิศิริ. (2560) ปั จจัยที่เหมาะสมในการดึงลวดเหล็กกล้าไร้สนิ มที่มีผล


ต่ อ คุ ณ ภาพชิ้ น งานส าเร็ จ . วารสาร มทร.อี ส าน ฉบั บ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยี. 10(3). หน้า 13-31. กันยายน-ธันวาคม 2560. (ค่าน้ าหนัก: 14/0.8)
(TCI กลุ่มที่ 1)
1.2 วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติ
ณัฐศัก ดิ์ พรพุ ฒิศิ ริ. (2559). การวิเคราะห์ เทคนิ ค การเพิ่ม คุ ณภาพชิ้ นงานด้ ว ยวิธี
ประยุกต์ ใช้ แหวนจิกในงานแม่ พิมพ์ ตัดโดยวิธีไฟไนต์ เอลิเมนต์ . การประชุม
วิชาการราชมงคลด้านเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการ (RMTC2016). 28-
29 กรกฎาคม 2559, หน้า 55-62. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.สุ วรรณภู มิ
จังหวัดพระนครศรี อยุธยา. (ค่าน้ าหนัก: 11/0.2)
ณัฐศักดิ์ พรพุฒิศิริ. (2559). การประยุกต์ วิธีไฟไนต์ เอลิเมนต์ เพื่อวิเคราะห์ หาระยะ
ช่ องว่ างคมตัดที่เหมาะสมในการตัดชิ้ นงานที่มีค่าความหนาแตกต่ า งกัน .
การประชุ ม วิ ช าการราชมงคลด้า นเทคโนโลยีก ารผลิ ต และการจัด การ
(RMTC2016). 28-29 กรกฎาคม 2559, หน้า 63-70. คณะวิศวกรรมศาสตร์
มทร.สุ วรรณภูมิ. จังหวัดพระนครศรี อยุธยา. (ค่าน้ าหนัก: 11/0.2)
ณัฐศักดิ์ พรพุฒิศิริ. (2563). ความสามารถในการดัดขึน้ รู ปและพัฒนาการความ
เสี ยหายในระหว่ าง กระบวนการดัดขึน้ รู ปแบบอิสระ. การประชุมวิชาการ
ราชมงคลด้านเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการ (RMTC2020). 3-4
กันยายน 2563, หน้า 383-389. โรงแรมเคพีแกรนด์ อาเภอเมือง จังหวัด
จันทบุรี. (ค่าน้ าหนัก: 11/0.2)
197

อาจารย์ลาดับที่ 3. ผศ.ดร.คมกริ ช ละวรรณวงษ์


ประวัติการศึกษา
ระดับการศึกษา คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก คณะ สาเร็จการศึกษาจาก ปี พ.ศ. ทีจ่ บ
ปริ ญญาตรี คุณวุฒิ อส.บ. 2542
สาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการ
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาเร็ จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
ปริ ญญาโท คุณวุฒิ วศ.ม. 2546
สาขาวิชา เทคโนโลยีการขึ้นรู ปโลหะ
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาเร็ จการศึกษาจาก มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้า
ธนบุรี
ปริ ญญาเอก คุณวุฒิ D.Eng 2558
สาขาวิชา Mechanical Engineering
คณะ Engineering
สาเร็ จการศึกษาจาก Hiroshima University, Japan
ประวัติการทางาน
ปี พ.ศ. ที่ทางาน ตาแหน่ งงาน หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ สถานทีท่ างาน
2551 – ปัจจุบนั ตาแหน่ งงาน ผูช้ ่ วยศาสตราจารย์ ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรม
การผลิต
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ ด้านการเรี ยนการสอน งานบริ การวิชาการ งานวิจยั งานทานุ
บารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
สถานทีท่ างาน สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการผลิต คณะอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยี มทร. รัตนโกสิ นทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล
2547-2551 ตาแหน่ งงาน นักวิจยั
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ ส ร้ า ง ง า น วิ จั ย ส อ น นั ก ศึ ก ษ า เ ชื่ อ ม โ ย ง ร ะ ห ว่ า ง
ภาคอุตสาหกรรมและภาคการศึกษา
สถานทีท่ างาน ภาควิชาวิศวกรรมเครื่ องมือและวัสดุ ม.พระจอมเกล้าธนบุรี
198

ประสบการณ์การสอน
ระยะเวลา วิชาทีส่ อน
2555 – ปัจจุบนั - การออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
- การออกแบบแม่พิมพ์โลหะ 1
- เขียนแบบวิศวกรรม
- คอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบและวิเคราะห์แบบแม่พิมพ์
- การขึ้นรู ปโลหะ
- การวางแผนและควบคุมการผลิต
ผลงานทางวิชาการ (5 ปี ย้อนหลัง)
ประเภท รายละเอียด
ผลงานทางวิชาการ
1. ผลงานวิชาการ 1.1 วารสารวิชาการระดับนานาชาติ
ระดับนานาชาติ L. Komgrit, H. Hamasaki, R. Hino and F. Yoshida. (2020) Double-Action Bending for
Eliminating Springback in Hat-Shaped Bending of Advanced High-Strength
Steel Sheet. The International Journal of Advnced Manufacturing
Technology. 106. pp.1855-1867. (Impact factor: 13/1) (ISI, Scopus)
L. Komgrit and L. Pongsakorn. (2019). FE simulations and experimental analysis of
the blade angle effect on sheared surface in the trimming process of high
strength steel sheet, Arabian Journal for Science and Engineering. 44.
pp.7909-7918. (Impact factor: 13/1) (ISI, Scopus)
T. Katahira and L. Komgrit. (2019). Springback Suppression of AZ31 Magnesium
Alloy Sheet in Draw Bending at Elevated Temperature. Key Engineering
Materials. 794. pp.127-132. (Impact factor: 13/1) (Scopus)
L.Pongsakorn and L. Komgrit. (2019). Increasing the Dimensional Accuracy of U-
Bend Product of High Strength Steel Sheets by Pressure Pad. Materials
Science Forum. (962). pp.159-166. (Impact factor: 13/1) (Scopus)
L. Komgrit. (2019). Increasing the Hole Expansion Ability of High Strength Steel
Sheet by Improving the Pre-Hole Shearing Process. Materials Science
Forum. (962). pp.167-174. (Impact factor: 13/1) (Scopus)
199

K. Lawanwong and W. Pumchan. (2017). Wear Mechanism and Ability for Recovery
of Tool Steel on Blanking Die Process. Key Engineering Materials. 725.
pp.572-577, 2017. (Impact factor: 13/1) (Scopus)
Lawanwong, K., Hamasaki, H., Hino, R., & Yoshida, F. (2016). Elimination of
Springback of High Strength Steel Sheet by Using Additional Bending with
Counter Punch. Journal of Materials Processing Technology. 229. pp.199-
206. (Impact factor: 13/1) (ISI, Scopus)
Lawanwong, K., Hamasaki, H., Hino, R., & Yoshida, F. (2014). A novel technology
to eliminate U-bending springback of high strength steel sheet by using
additional bending with counter punch. Procedia Engineering. 81. pp.957 –
962. (Impact factor: 13/1) (Scopus)
Lawanwong, K., Hamasaki, H., Hino, R., & Yoshida, F. (2013). A New Technology
to Kill Springback by using Combined Counter Pressure and Corner
Bottoming of High Strength Steel Sheet. International journal Advanced
Materials Research. 939. pp.305-312. (Impact factor: 13/1) (Scopus)
2.1 วารสารการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
Phaoniam, Rittichai, Kaewwichit, Jesada, Komgrit Lawanwong. (2018). Comparative
study of dissimilar tailor-welded blanks between DP590 and DP980 dual
phase steels. MATEC Web of Conferences. 4-7 July 2018, pp.1-4 (Impact
factor: 12/0.4) (Scopus)
2. ผลงานวิชาการ Komgrit lawanwong. (2018) Increasing the dimensional accuracy of U-bend product
ระดับชาติ of high strength steel sheets by controlling the pressure pad, UTK Research
Journal. (12). pp.55-70. (Impact factor: 14/0.8) (TCI 1)
Pakorn Chumrum, Varunee Premanond and Komgrit Lawanwong. (2016) Application
of surface modification for Extension tool life in blanking process, The
Journal of Industrial Technology. (12). pp.13-27. (Impact factor: 14/0.8).
(TCI 1)
200

3. ตารา หนังสื อ คมกริช ละวรรณวงษ์ . (2561). “ออกแบบแม่พิมพ์โลหะ” พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพฯ:


เอกสารประกอบ สานักพิมพ์ ส.ส.ท. ในเครื อสมาคมส่ งเสริ มเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). 232
การสอน หน้า. (ค่าน้ าหนัก: 8 : 1).
คมกริช ละวรรณวงษ์ (2562) เอกสารคาสอนวิชาการขึ้นรู ปโลหะ รหัสวิชา PET 3206
จานวน 1 เล่ม 250 หน้า คณะอุ ต สาหกรรมและเทคโนโลยี , มหาวิท ยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์
201

อาจารย์ลาดับที่ 4. ดร.ปริ ญญา กวีกิจบัณฑิต


ประวัติการศึกษา
ระดับการศึกษา คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก คณะ สาเร็จการศึกษาจาก ปี พ.ศ. ทีจ่ บ
ปริ ญญาตรี คุณวุฒิ วศ.บ. 2549
สาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการ
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาเร็ จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปริ ญญาโท คุณวุฒิ วศ.ม. 2552
สาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการ
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาเร็ จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปริ ญญาเอก คุณวุฒิ D.Eng 2562
สาขาวิชา Mechanical Systems Engineering
คณะ Engineering
สาเร็ จการศึกษาจาก Hiroshima University
ประวัติการทางาน
ปี พ.ศ. ที่ทางาน ตาแหน่ งงาน หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ สถานทีท่ างาน
2562-ปัจจุบนั ตาแหน่ งงาน อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ อาจารย์ผูส้ อน งานวิจยั งานบริ ก ารวิชาการและงานท านุ
สถานทีท่ างาน บารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรัตนโกสิ นทร์
2560 - 2562 ตาแหน่ งงาน หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ บริ หารจัดการสาขาวิชาฯ อาจารย์ผสู ้ อน งานวิจยั งานบริ การ
สถานทีท่ างาน วิชาการและงานทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรัตนโกสิ นทร์
2552 - 2563 ตาแหน่ งงาน อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ อาจารย์ผูส้ อน งานวิจยั งานบริ ก ารวิชาการและงานท านุ
สถานทีท่ างาน บารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
202

ปี พ.ศ. ที่ทางาน ตาแหน่ งงาน หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ สถานทีท่ างาน


คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรัตนโกสิ นทร์

ประสบการณ์การสอน
ระยะเวลา วิชาทีส่ อน
พ.ศ. 2552 - 2563 - การวางแผนและควบคุมการผลิต
- การวิจยั การดาเนินงาน
- การควบคุมคุณภาพ
- การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม
- โครงงานทางเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ
- การฝึ กพื้นฐานทางวิศวกรรม
ผลงานทางวิชาการ
ประเภท
รายละเอียด
ผลงานทางวิชาการ
1. ผลงานวิชาการ 1.1 วารสารวิชาการระดับนานาชาติ
ระดับนานาชาติ Parinya Kaweegitbundit and Orajit Jaemsang. (2018). An Application of Cellular
Manufacturing System for A Refrigerator Door Gaskets Processing
Improvement: A Case Study. International Journal of Engineering &
Technology. 7(4.42). pp.31-34. (Impact factor: 13/1) (Scopus)
Orajit Jaemsang, Parinya Kaweegitbundit and Niwat Mookam. (2018). Optimization
of Laser Cutting Parameters on 700 MC Steel using Grey Relational
Analysis. International Journal of Engineering & Technology. 7(4.42).
pp.52-55. (Impact factor: 13 : 1) (Scopus)
Parinya Kaweegitbundit and Toru Eguchi. (2016), Flexible job shop scheduling using
genetic algorithm and heuristic rules. Journal of Advanced Mechanical
Design, Systems, and Manufacturing. 10 (1). pp.1-28. (Impact factor: 13/1)
(Scopus)
203

2. ผลงานวิชาการ 2.1 วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติ


ระดับชาติ อรจิตร แจ่มแสง, ปริ ญญา กวีกิจบัณฑิต และ ทวี หมัดส๊ ะ (2560), การลดปริ มาณของ
เสี ยในกระบวนการผลิ ตการเป่ าขึ้ นรู ปขวดพลาสติ ก. งานประชุ มวิชาการ
มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ครั้ งที่ 9 ประจาปี 2560, 7 – 9 สิ งหาคม
2560. หน้า 544-553. ศูนย์แสดงสิ นค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ . (ค่าน้ าหนัก: 1.1/0.2)
204

อาจารย์ลาดับที่ 5. ดร. ภาสุ รีย ์ ล้ าสกุล


ประวัติการศึกษา
ระดับการศึกษา คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก คณะ สาเร็จการศึกษาจาก ปี พ.ศ. ทีจ่ บ
ปริ ญญาตรี คุณวุฒิ วศ.บ. 2552
สาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการ
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาเร็ จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปริ ญญาโท คุณวุฒิ M.Eng 2555
สาขาวิชา Industrial and Manufacturing Engineering
School of Engineering and Technology
คณะ Asian Institute of Technology
สาเร็ จการศึกษาจาก
ปริ ญญาเอก คุณวุฒิ Ph.D 2561
สาขาวิชา Mechanical and Manufacturing
Engineering
คณะ Wolfson school of mechanical electrical
and manufacturing engineering
Loughborough University
สาเร็ จการศึกษาจาก
ประวัติการทางาน
ปี พ.ศ. ที่ทางาน ตาแหน่ งงาน หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ สถานที่ทางาน
พ.ศ. 2561 -ปัจจุบนั ตาแหน่ งงาน อาจารย์ประจาสาขาเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ ด้านการเรี ยนการสอน งานบริ การวิชาการ งานวิจยั งานทานุ
บารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
สถานทีท่ างาน ส าขาวิ ช าเทคโน โล ยี วิ ศ วก ร รม อุ ตส า หกา ร คณะ
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลรัตนโกสิ นทร์
205

ปี พ.ศ. ที่ทางาน ตาแหน่ งงาน หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ สถานที่ทางาน


พ.ศ. 2555 – 2556 ตาแหน่ งงาน วิศวกรออกแบบ (Design Engineer)
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ พัฒนาและออกแบบภายในของรถยนต์รุ่นใหม่ (เน้นเบาะ
รถยนต์) ส าหรั บ ตลาดภายในประเทศและภู มิ ภ าคเอเชี ย
แปซิ ฟิ ก โดยท างานร่ วมกับกลุ่ มผูอ้ อกแบบและซัพพลาย
เออร์จากประเทศไทย ญี่ปุ่น จีน และสหรัฐอเมริ กา
หน้าที่หลัก คือ การพัฒนา ทดสอบและปรับปรุ งรถยนต์
ต้นแบบ การพัฒนาและแก้ไขปั ญหาที่เกี่ยวข้องกับการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์ การถ่ายโอนข้อมูลทางวิศวกรรม การ
ลดค่าใช้จ่ายทางวิศวกรรม
สถานทีท่ างาน บริ ษทั นิสสัน มอเตอร์ เอเชีย แปซิ ฟิค จากัด (Nissan Motor
Asia Pacific Co Ltd)

ประสบการณ์การสอน
ระยะเวลา วิชาทีส่ อน
พ.ศ. 2561 – ปัจจุบนั - การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม
- การออกแบบผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
- การวิจยั การดาเนินงาน
- การบริ หารงานอุตสาหกรรม
- ความปลอดภัยในงานวิศวกรรม
- ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในทางวิศวกรรม
- การเป็ นผูป้ ระกอบการเพื่อสร้างธุ รกิจใหม่
- การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม
ผลงานทางวิชาการ
ประเภท รายละเอียด
ผลงานทางวิชาการ
1. ผลงานวิชาการ 1.1. วารสารการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ระดับนานาชาติ Rahimifard, S., Stone, J., Lumsakul, P. and Trollman, H. (2018) . Net Positive
Manufacturing: A Restoring, Self-healing and Regenerative Approach to
Future Industrial Development. The 15th Global Conference on
Sustainable Manufacturing. 25th - 27th September, 2017, pp.2-9. Haifa,
206

Israel: Technische Universität Berlin & Technion. (Impact factor: 12/0.4)


(Scopus)
2. ผลงานวิชาการ 2.1 วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติ
ระดับชาติ ธิ ตินนั ท์ รวมทรัพย์, โรจนัสถ์ รัตนวัน, รัฐพงศ์ มีสิทธิ์ และภาสุ รีย ์ ล้ าสกุล. (2563).
การประเมินความเสี่ ยงการชารุ ดของประแจรางรถไฟ. การประชุมวิชาการ
วิศวกรรมโยธาแห่ งชาติ ครั้ งที่ 25. 15-17 กรกฎาคม 2563, หน้า 810-817.
การประชุมวิชาการรู ปแบบออนไลน์ : มหาวิทยาลัยบูรพา. (ค่าน้ าหนัก: 11/
0.2)

ทวี หมัดส๊ ะ , ภาสุ รีย ์ ล้ า สกุ ล , ทนงศัก ดิ์ คงสิ นธุ์ , ศุ ภวัฒน์ ชู วารี และนิ วฒั น์ มู เก็ม
(2563). การหาค่ าที่เหมาะสมของพารามิเตอร์ การกัดเซาะเหล็ก AISI H13
โดยอิ เ ล็ ก โทรดไทเทเนี ย มในกระบวนการ EDM. การประชุ ม วิ ช าการ
ระดับชาติเทคโนโลยีเชิงสร้างสรรค์ ครั้งที่ 4. 5-7 สิ งหาคม 2563. หน้า 8-15.
โรงแรมแกรนด์แปซิ ฟิก ซอฟเฟอริ น รี สอร์ ทแอนด์ สปา จังหวัดเพชรบุ รี :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุ งเทพ. (ค่าน้ าหนัก: 11/0.2).
207

อาจารย์ลาดับที่ 6. นางสาวจิณกมล ลุยจันทร์


ประวัติการศึกษา
ระดับการศึกษา คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก คณะ สาเร็จการศึกษาจาก ปี พ.ศ. ทีจ่ บ
ปริ ญญาตรี คุณวุฒิ วศ.บ. 2547
สาขาวิชา วิศวกรรมวัสดุ
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาเร็ จการศึกษาจาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร
เหนือ
ปริ ญญาโท คุณวุฒิ วศ.ม. 2554
สาขาวิชา วิศวกรรมการผลิต
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาเร็ จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ
นครเหนือ
ประวัติการทางาน
ปี พ.ศ. ที่ทางาน ตาแหน่ งงาน หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ สถานทีท่ างาน
2563-ปัจจุบนั ตาแหน่ งงาน อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมการผลิต
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ การสอน การวิจยั การบริ ก ารวิชาการ และการท านุ บารุ ง
ศิลปวัฒนธรรม
สถานทีท่ างาน สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการผลิต คณะอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล
รัตนโกสิ นทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล
2560 – 2563 ลาศึกษาต่ อ
2557 – 2560 ตาแหน่ งงาน หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมการผลิต
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ ดูแลและจัดการเรี ยนการสอนในระดับปริ ญญาตรี
สถานทีท่ างาน สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการผลิต คณะอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล
รัตนโกสิ นทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล
2556-2556 ตาแหน่ งงาน อาจารย์ และหัวหน้าฝ่ ายวิจยั และบริ การทางวิชาการ คณะ
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ การสอน การวิจยั การบริ ก ารวิชาการ และการท านุ บารุ ง
ศิลปวัฒนธรรม / งานประกันคุณภาพการศึกษา
208

สถานทีท่ างาน คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี


ราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล
2555-2555 ตาแหน่ งงาน อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมการผลิต
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ การสอน การวิจยั การบริ ก ารวิชาการ และการท านุ บารุ ง
ศิลปวัฒนธรรม
สถานทีท่ างาน สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการผลิต คณะอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล
รัตนโกสิ นทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล
2554-2555 ตาแหน่ งงาน หัวหน้าแผนกควบคุมคุณภาพ
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ ควบคุมคุณภาพ
สถานทีท่ างาน บริ ษทั สยามสตีลอินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน)
2550-2552 ตาแหน่ งงาน เจ้าหน้าที่จดั ซื้ อ
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ คัดเลือกวัสดุ อุปกรณ์และออกใบสั่งซื้ อ สาหรับงานเหมืองแร่
แผนกจัดซื้ อ บริ ษทั แม็คคอนเนล ดูเวล คอนสตรัคเตอร์
สถานทีท่ างาน ไทย จากัด
2547-2550 ตาแหน่ งงาน วิศวกรวัสดุ
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ วางแผน ควบคุม คัดเลือก ตรวจสอบ และเตรี ยมความพร้อม
วัสดุวศิ วกรรมสาหรับงานสร้างถังแรงดันสู ง
สถานทีท่ างาน แผนกวิศวกรรม และแผนกจัดหา บริ ษทั เอ็มอีเอส มิตรโพร
เจคท์ เซอร์ วสิ เซส จากัด
ประสบการณ์การสอน
ระยะเวลา วิชาทีส่ อน
พ.ศ. 2555 – ปัจจุบนั - วัสดุวศิ วกรรม
- ความปลอดภัยในงานวิศวกรรม
- กลศาสตร์ของแข็ง
- การบริ หารการผลิตและการดาเนินงาน
- วิศวกรรมบารุ งรักษา
- การทดสอบวัสดุในงานวิศวกรรม
- การวางแผนและควบคุมการผลิต
- การเตรี ยมโครงงานทางเทคโนโลยีวศิ วกรรมการผลิต
- อุณหพลศาสตร์
209

ผลงานทางวิชาการ
ประเภท
รายละเอียด
ผลงานทางวิชาการ
1. ผลงานวิชาการ 1.1 วารสารการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ระดับนานาชาติ Luijan, J., Klaynil, C., Mookam, N., and Muangnoy, P. ( 2019 ) . Microstructure and
Mechanical Properties of Recycled Al-7%Si-1%Fe Cast Alloy with Part
Addition of Beverage Cans. 10th International Conference on
Mechatronics and Manufacturing. 21-23 January 2019, Thailand. (Impact
factor: 12/0.4)
2. ผลงานวิชาการ 2.1 วารสารวิชาการระดับชาติ
ระดับชาติ พิสิทธิ์ เมืองน้อย และ จิณกมล ลุยจันทร์ . (2559). ผลกระทบของธาตุโบรอนและลาดับ
ขั้นต่อประสิ ทธิ ภาพการปรับสภาพเกรนละเอียดและเฟสยูเทคติกซิ ลิคอนใน
โลหะผสมหล่ออะลู มิเนี ยม-ซิ ลิคอน-แมกนี เซี ยม. วารสารวิชาการพระจอม
เกล้ า พระนครเหนื อ . 26(3). กัน ยายน-ธัน วาคม 2559, หน้า 415-425. (ค่ า
น้ าหนัก: 14/0.8) (TCI กลุ่มที่ 1)
เฉลิ ม พล คล้า ยนิ ล , จิ ณกมล ลุ ย จันทร์ และ พงศกร หลี ตระกู ล . (2560). การศึ ก ษา
อิทธิ พลของระยะช่องว่างคมตัดที่มีผลต่อพฤติกรรมการสึ กหรอของแม่พิมพ์
ส าหรั บ การตัด เหล็ ก กล้า ความแข็ ง แรงสู ง . วารสารวิ ศ วกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . 24(3). กันยายน-ธันวาคม 2560, หน้า1-12. (ค่าน้ าหนัก:
14/0.8) (TCI กลุ่มที่ 1)
พิสิทธิ์ เมืองน้อย และ จิณกมล ลุ ยจันทร์ . (2560). อิทธิ พลของธาตุไทเทเนี ยมและต
รอนเที ยมต่อประสิ ทธิ ภาพการปรั บสภาพเกรนละเอี ยดและการปรั บสภาพ
เฟสยูเทคติกซิ ลิคอน ในโลหะผสมหล่อ Al-Si-Mg. วารสารวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ . 24(3). กัน ยายน-ธัน วาคม 2560, หน้า 31-40. (ค่ า
น้ าหนัก: 14/0.8) (TCI กลุ่มที่ 1)
จิณกมล ลุยจันทร์ . (2561). ประสิ ทธิ ภาพการปรับสภาพเกรนละเอียดและปรับสภาพ
เฟสยู เทคติกซิ ลิคอนในโลหะผสมหล่ ออลู มิเนี ยม-ซิ ลิคอน-แมกนี เซี ยม.
วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร: วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี . 26(1). มกราคม-
มีนาคม 2561, หน้า 78-87. (ค่าน้ าหนัก: 14/0.8) (TCI กลุ่มที่ 1)
210

2.2 วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติ
จิณกมล ลุยจันทร์ . (2561). ผลกระทบของการให้ความร้อนหลังการเชื่อมโดยกรรมวิธี
การเชื่ อมเสี ยดทานแบบกวนต่อคุ ณสมบัติทางกลของอลู มิเนี ยมเกรด A356
กั บ AA6061. การประชุ มวิ ช าการและน าเสนอผลงานทางวิ ศ วกรรม
นวัต กรรมและการจั ด การอุ ต สาหกรรมอย่ า งยั่ งยื น ครั้ งที่ 7. 28 กันยายน
2561, หน้ า 83-88. ศู น ย์ นิ ทรรศการและการประชุ ม ไบเทค บางนา :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ค่าน้ าหนัก: 11/0.2).
211

4. รายนามคณะกรรมการจัดทาหลักสู ตร
212

รายนามคณะกรรมการจัดทาหลักสู ตรวิศวกรรมศาสตร์
สาขาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์

1. ทีป่ รึกษาหลักสู ตร
1. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ศิวะ วสุ นทราภิวฒั ก์ อธิการบดี
2. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤชกนก สุ ทศั น์ ณ อยุธยา รองอธิการบดี
3. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รุ จีพชั ร์ พาสุ กรี รองอธิการบดี
4. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์นภาพร นาคทิม รองอธิ การบดี วิทยาเขตวังไกลกังวล
5. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สัมพันธุ์ จันทร์ ดี ผูอ้ านวยการสานักส่ งเสริ มวิชาการและงานทะเบียน
2. คณะกรรมการอานวยการ
1. ดร.รักชนกชริ นร์ พูลสุ วรรณนธี ประธานกรรมการ
2. ดร.นพศักดิ์ ตันติสัตยานนท์ กรรมการ
3. นายวรุ ตม์ บุญเลี่ยม กรรมการ
4. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ สมพล บุญญสุ วรรณโณ กรรมการ
5. นายเอกริ นทร์ วิจิตต์พนั ธ์ กรรมการและเลขานุการ
3. คณะกรรมการดาเนินงาน
1. นายเอกริ นทร์ วิจิตต์พนั ธ์ ประธานกรรมการ
2. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐศักดิ์ พรพุฒิศิริ รองประธานกรรมการ
3. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกริ ช ละวรรณวงษ์ กรรมการ
4. อาจารย์ ดร.ปริ ญญา กวีกิจบัณฑิต กรรมการ
5. อาจารย์ ดร.ภาสุ รีย ์ ล้ าสกุล กรรมการ
6. อาจารย์วชิ ยั พุม่ จันทร์ กรรมการ
7. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เฉลิมพล คล้ายนิล กรรมการ
8. อาจารย์ปิยะวรรณ สู นาสวน กรรมการ
9. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อุไรวรรณ พงสา กรรมการ
10. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์อรจิตร แจ่มแสง กรรมการ
11. อาจารย์จิณกมล ลุยจันทร์ กรรมการ
12. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ประสาน แสงเขียว กรรมการ
13. อาจารย์พงศกร หลีตระกูล กรรมการ
14. อาจารย์ภูเมศวร์ แสงระยับ กรรมการ
213

15. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิวฒั น์ มูเก็ม กรรมการและเลขานุการ


16. อาจารย์ทวี หมัดส๊ะ กรรมการผูช้ ่วยเลขานุการ
17. อาจารย์พิสิทธิ์ เมืองน้อย กรรมการผูช้ ่วยเลขานุการ
18. นายเอกชัย หลายชั้น กรรมการผูช้ ่วยเลขานุการ
214

5. รายนามคณะกรรมการวิพากษ์ หลักสู ตร
215

คณะกรรมการวิพากษ์ หลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี


หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
...............................................................

1. คณะกรรมการอานวยการ
1. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤชกนก สุ ทศั น์ ณ อยุธยา ประธานกรรมการ
2. ดร.รักชนกชริ นร์ พูลสุ วรรณนธี รองประธานกรรมการ
3. ดร.นพศักดิ์ ตันติสัตยานนท์ กรรมการ
4. นายวรุ ตม์ บุญเลี่ยม กรรมการ
5. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ สมพล บุญญสุ วรรณโณ กรรมการ
6. นายเอกริ นทร์ วิจิตต์พนั ธ์ กรรมการและเลขานุการ
2. คณะกรรมการดาเนินงาน
1. รองศาสตราจารย์ ดร.กรรณชัย กัลยาศิริ ประธานกรรมการ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.)
2. รองศาสตราจารย์ ดร.วารุ ณี เปรมานนท์ กรรมการ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.)
3. รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริชยั ต่อสกุล กรรมการ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี)
4. ผูช้ ่วยศวสตราจารย์ ดร.พิชยั จันทร์มณี กรรมการ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.กรุ งเทพ)
5. ผูช้ ่วยศวสตราจารย์ ดร.ภาสพิรุฬห์ วัชรศรี สาเริ ง กรรมการ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร. สุ วรรณภูมิ)
6. รองศาสตราจารย์ ศันสนีย ์ สุ ภาภา กรรมการ (สภาวิศวกร)
7. นายวิโรจน์ ศิริธนศาสตร์ กรรมการ (สมาคมแม่พิมพ์ไทย)
8. นายดาเนิน รัฐกาย กรรมการ (บมจ.เหล็กแผ่นรี ดเย็นไทย)
9. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐศักดิ์ พรพุฒิศิริ กรรมการและเลขานุการ
10. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกริ ช ละวรรณวงษ์ กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ
11. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิวฒั น์ มูเก็ม กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ
216

6. สรุ ปข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะจากการวิพากษ์ ร่างหลักสู ตร


217

สรุปข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะจากการวิพากษ์ ร่างหลักสู ตร


1. รศ.ดร.กรรณชั ย กัลยาศิริ ประธานคณะกรรมการวิพากษ์หลักสู ตร จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
1.1 ควรปรั บ ชื่ อ สาขาวิช าให้ก ระชับ และใกล้เ คี ย งกับ หลัก สู ต รอื่ น ๆ โดยเสนอให้ ป รั บ จาก
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิตอัตโนมัติ เป็ น “สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต”
ปรับชื่อวิชาเอกจาก วิศวกรรมอุตสาหการและระบบ เป็ น “วิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ” และ ปรับชื่ อ
วิชาเอกจาก วิศวกรรมการผลิตอัตโนมัติ เป็ น “วิชาเอกวิศวกรรมการผลิต”
1.2 ควรปรับลดจานวนหน่วยกิตตลอดหลักสู ตร (150 หน่วยกิต) ซึ่ งมากเกินไป ไม่ควรมากกว่า
148 หน่วยกิต
1.3 ควรจัด รายวิ ช าในหลัก สู ต ร ให้ มี ร ายวิ ช าภาษาอัง กฤษ เพื่ อ เพิ่ ม ทัก ษะทางภาษาให้ ก ับ
นักศึกษาเพิ่มมากขึ้น
1.4 ควรปรับชัว่ โมงการเรี ยนวิชาที่เป็ นทฤษฎีลว้ น ให้มีชวั่ โมงปฏิบตั ิเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มทักษะการ
ปฏิบตั ิให้กบั นักศึกษา เช่น เพิ่มชัว่ โมงการฝึ กใช้ซอร์ พแวร์ ทางด้านสถิติ เป็ นต้น
1.5 วิชาThermodynamics ควรเปลี่ยนเป็ น Thermodynamics of material ซึ่ งมีประโยชน์มากกว่า
เนื่องจากหลักสู ตรมีแขนงวิชาวิศวกรรมวัสดุ
1.6 ควรให้วิชา Industrial work study เป็ นวิชาหลักฯ และย้ายวิชา Welding engineering ไปเป็ น
วิชาเลือกในแขนงวิชาวิศวกรรมวัสดุ
1.7 ในวิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ ควรกาหนดให้วิชา Industrial project feasibility study เป็ น
วิชาบังคับ
1.8 ในวิช าเอกวิ ศ วกรรมการผลิ ต ควรเพิ่ ม วิ ช า Rapid prototyping 3(2-3-5) เป็ นวิช าบัง คับฯ
เนื่องจาก 3D Printing technology กาลังมีบทบาทมากขึ้นเรื่ อยๆ ในภาคอุตสาหกรรม
1.9 ในกลุ่มวิชาเลือกของวิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ
- ควรเพิ่มแขนงวิชาวิศวกรรมคุ ณภาพ (Quality engineering) เนื่ องจากเป็ นแขนงสาคัญของ
วิศวกรรมอุตสาหการ
- ในแขนง Operation research ควรเพิ่ ม เติ ม รายวิ ช าให้ ม ากกว่ า นี้ เช่ น Optimization,
Stochastic modeling
- ในรายวิชา Industrial forecasting ควรมีชวั่ โมงปฏิบตั ิเกี่ยวกับการใช้ Software ทางสถิติ
1.10 ในกลุ่มวิชาเลือกของวิชาเอกวิศวกรรมการผลิต
- ควรย้า ยวิช า Foundry engineering และวิชา Inspection and assurance for welding ไปเป็ นวิชา
เลือกในแขนงวิชาวิศวกรรมวัสดุ
- ควรเพิ่มวิชา Artificial Intelligence 3(2-3-5) เป็ นวิชาเลือกในวิชาเอกวิศวกรรมการผลิต
218

- ควรเพิ่มวิชา Non-traditional machining 3(2-3-5) เป็ นวิชาเลือกในแขนงวิชาวิศวกรรมเครื่ องมือ


- ควรเพิ่มวิชา Material selection เป็ นวิชาเลือกในแขนงวิชาวิศวกรรมวัสดุ
- ควรเปลี่ ย นวิ ช า Polymer characterization เป็ น Material characterization 3(2-3-5) เพื่ อ ให้
ครอบคลุมวัสดุในกลุ่มอื่น โดยเฉพาะกลุ่มโลหะเนื่องจากมีหลายรายวิชาในหลักสู ตรที่เกี่ยวข้องกับโลหะ

2. รศ.ดร.วารุ ณี เปรมานนท์ กรรมการวิพากษ์หลักสู ตร จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี


พระจอมเกล้าธนบุรี
2.1 การจัดหลักสู ตรให้เป็ นสหกิ จศึ กษา ช่ วยให้นักศึ กษาได้เรี ยนรู ้ และปรั บตัวในสภาวะการ
ทางานได้ดี
2.2 จานวนหน่วยกิตที่ยงั ดูค่อนข้างมาก ถ้าสามารถลดจานวนรายวิชาหรื อหน่วยกิตลงได้บา้ ง ให้
นักศึกษาได้มีเวลาในการศึกษาด้วยตัวเองเพิ่มเติม เช่นในวิชา วิศวกรรมการเชื่ อม อาจลดเหลือ 2 หน่วยกิต
เพราะน่าจะมีเนื้อหาพื้นฐานบางส่ วนอยูใ่ นรายวิชากระบวนการผลิต
2.3 อาจมีวิชาเลื อกเพิ่มเติมในกลุ่มเทคโนโลยีใหม่ที่เป็ น Trend ของอุตสาหกรรมในขณะนี้ เช่ น
วิชา Additive technology หรื อ Rapid prototyping และ Smart manufacturing technology

3. รศ.ดร.ศิริชัย ต่ อสกุล กรรมการวิพากษ์หลักสู ตร จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช


มงคลธัญบุรี
3.1 ควรปรับลดจานวนหน่วยกิตตลอดหลักสู ตร (150 หน่วยกิต) ซึ่ งมากเกินไป ไม่ควรมากกว่า
148 หน่วยกิต
3.2 จานวนหน่วยกิตในกลุ่มวิชาหลักทางวิศวกรรมมากเกินไป ควรลดเหลือ 48-49 หน่วยกิต
3.3 ทั้ง 2 วิช าเอกยัง ไม่ มี วิช าที่ สื่ อถึ ง สาขาได้ชัดเจน สุ ดท้า ยต้องกลับ ไปเลื อกเสรี ม าเพิ่ ม ให้
เชี่ ยวชาญตามชื่ อสาขาวิชา โดยการเลือกมักจะถูกจัดโดยภาควิชาหรื อผูส้ อนทาให้ นศ. ไม่สามารถเลือก
ในสิ่ งที่อยากเรี ยนได้ จึงควรปรับรายวิชาให้สอดคล้องกับชื่อวิชาเอก
5.5 วิชาการฝึ กพื้นฐานทางวิศวกรรมควรจัดให้เรี ยนในภาคฤดูร้อนของปี การศึกษาที่ 1

4. ผศ.ดร.พิชัย จันทร์ มณี กรรมการวิพากษ์หลักสู ตร จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี


ราชมงคลกรุ งเทพ
4.1 จานวนหน่ วยกิ ตตลอดหลักสู ตร (150 หน่ วยกิ ต) ซึ่ งมากเกิ นไป ไม่ควรมากกว่า 145-148
หน่วยกิต
4.2 มีความซ้ าซ้อนของรายวิชา ระหว่างวิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการ และ วิศวกรรมการผลิ ต
ควรกาหนดให้มีความเด่นชัดและแตกต่างที่ชดั เจน รวมทั้งให้มีความทันสมัยของรายวิชา ตามศตวรรษที่
21
219

4.3 รายวิชาที่เปิ ดสอน ควรมีหอ้ งปฏิบตั ิการรองรับ เพื่อสร้างเสริ มการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน
4.4 การจัดรายวิชาควรคานึ งถึงข้อกาหนดของสภาวิศวกร ในการรับรองหลักสู ตร เพื่อประโยชน์
ในการสอบใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (กว.) ของหลักสู ตรวิศวกรรมอุตสาหการและ
วิศวกรรมการผลิต
4.5 ควรมี วิช าสมัย ใหม่ ใ ห้ตอบโจทย์ยุค สมัย เช่ น วิช าวิศ วกรรมย้อนรอย, 3D Printing, Laser
Engineering และ Automation เป็ นต้น
4.6 ชื่ อรายวิชา ไม่ควรเอาชื่ อ “เทคโนโลยี” มาใช้มากเกินไป ควรใช้คาว่า “วิศวกรรม” เนื่องจาก
เป็ นหลักสู ตร วิศวกรรมศาสตร์
4.7 ให้ระมัดระวังการกาหนดรายวิชาที่มีวิชาบังคับก่อน เพราะจะทาให้หลักสู ตรมีความยืดหยุน่
น้อย

5. ผศ.ดร.ภาสพิรุฬห์ วัชรศรี สาเริ ง กรรมการวิพากษ์หลักสู ตร จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย


เทคโนโลยีราชมงคลสุ วรรณภูมิ
5.1 ควรให้ มี ร ายวิ ช าเลื อ กทางวิ ศ วกรรมของวิ ช าเอกที่ ท ัน สมัย สอดคล้อ งกับ บริ บ ทของ
สถานการณ์ปัจจุบนั
5.2 เนื่องจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลเน้นผลิตบัณฑิตนักปฏิบตั ิ ที่เน้น “สมรรถนะ” จึง
ควรเน้นเรื่ อง Soft skill นอกเหนือจากวิชาการเฉพาะ Hard skill ด้วย
5.3 ควรออกแบบให้หลักสู ตร มีรายวิชาเรี ยนที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับ สถาบันคุณวุฒิวชิ าชีพ
(องค์กรมหาชน) [สคช] เพื่อให้นกั ศึกษาที่จบ ได้รับการสอบเพื่อรับรองคุณวุฒิทางวิชาชีพ

6. รศ.ศันสนีย์ สุ ภาภา กรรมการวิพากษ์หลักสู ตร จากสภาวิศวกร


6.1 จานวนหน่ วยกิ ตตลอดหลักสู ตร (150 หน่ วยกิ ต) ซึ่ งมากเกิ นไป ควรกาหนดให้มี ห น่ วย
กิตรวมที่ 145 หน่วยกิตโดยประมาณ
6.2 วิช าปฏิ บ ตั ิ ก ารวิศ วกรรมเครื่ องกลพื้ นฐาน มี เนื้ อหาด้า นปฏิ บ ตั ิ ก ารอุ ณหพลศาสตร์ แ ละ
กลศาสตร์ของไหล ควรมีการเรี ยนภายหลังหรื อพร้อมกับวิชาเทอร์ โมไดนามิกส์ของวัสดุ
6.3 จานวนหน่วยกิตในกลุ่มวิชาหลักทางวิศวกรรมมากเกินไป ควรลดเหลือ 45 หน่วยกิต
6.4 อาจารย์ประจาหลักสู ตร มีคุณวุฒิหลากหลายสาขาวิชาจานวน 18 ท่าน ควรมีการกระจายภาระ
งานสอนที่มีจานวนชัว่ โมงต่อสัปดาห์ของแต่ละท่านอย่างเหมาะสม
6.5 หลักสู ตรมีวิชาเอกถึง 2 สาขาวิชา โดยสาขาวิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการมีเนื้ อหารายวิชาที่
ครบถ้วน ตามองค์ความรู ้เฉพาะทางวิศวกรรมอุตสาหการที่สภาวิศวกรกาหนด
6.6 หลักสู ตรมีปฏิบตั ิการพื้นฐานทางวิศวกรรมและเฉพาะสาขาอย่างครบถ้วนและเป็ นหลักสู ตรที่
มุ่งเน้นการผลิตวิศวกรนักปฏิบตั ิ
220

6.7 เนื่ องจากตามแผนรับนักศึกษา จะมีนกั ศึกษาที่มีความหลากหลาย คือตาม 2.2.1 และ 2.2.2


และมี ส าขาวิชาเอกที่ แตกต่ า งกัน ถึ ง 2 วิช าเอก จึ ง จะต้องมี ก ารบริ หารจัดการ การเรี ย นการสอนอย่าง
เหมาะสม เพื่อให้การเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญและสอดคร้องตามคุณภาพการศึกษา ที่สถาบัน
กาหนดอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
6.8 พิจารณาตามเกณฑ์การรั บรองปริ ญญาตามระเบี ยบว่าด้วยองค์ความรู ้ ที่แต่ละสาขากาหนด
พบว่าสาขาวิชาเอกวิศวกรรมการผลิ ต ยังขาดองค์ความรู ้ ดา้ นเศรฐศาสตร์ และการเงิ น ทาให้การรั บ รอง
ปริ ญญาตามเกณฑ์ใหม่ของสภาวิศวกร รับรองได้เพียงสาขาวิชาเอกวิศวกรรมอุตสาหการเท่านั้น
6.9 ควรเสริ มทักษะด้านความรู ้ในการสื่ อสารทางวิชาชีพสมัยใหม่ เช่น ด้านคอมพิวเตอร์ AI, IOT,
Big data เป็ นต้น
6.10 ควรเสริ มทักษะความรู ้ดา้ นภาษาอังกฤษในวิชาชีพวิศวกรรม เพื่อให้นกั ศึกษามีความสามารถ
ในการอ่านคู่มือทางวิศวกรรม การเขียนรายงาน การวิเคราะห์ขอ้ มูล และการสื่ อสารในงานวิศวกรรม
6.11 ควรเพิ่มเติมวิชา Seminar 1 หน่วยกิต เพื่อเชิ ญวิศวกรที่ประสบความสาเร็ จ ซึ่ งอาจเป็ นศิษย์
เก่าของ มทร.วิทยาเขตฯ อื่นๆ มาบรรยายให้ความรู ้กบั นักศึกษาในเรื่ องต่างๆ เช่น บทบาทของวิศวกรใน
อุ ต สาหกรรมนั้ นๆ มนุ ษ ยสั ม พัน ธ์ ใ นงานวิ ศ วกรรม จรรยาบรรณวิ ศ วกร ความต้ อ งการของ
ภาคอุตสาหกรรมที่มีต่อวิศวกรรมอุตสาหการในอนาคต แนวโน้มความก้าวหน้าและแนวทางการพัฒนา
อุตสาหกรรม เป็ นต้น เพื่อเป็ นการเปิ ดโลกทัศน์ให้นกั ศึกษา

7. นายวิโรจน์ ศิริธนศาสตร์ กรรมการวิพากษ์หลักสู ตร จากสมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย


7.1 พยายามเน้นให้นกั ศึกษาเข้าร่ วมสหกิจศึกษา เพื่อนักศึกษาจะได้ปรับตัวเมื่อต้องออกไปทางาน
ในสภาพจริ ง ถ้าเป็ นไปได้อาจจะเริ่ มตั้งแต่ภาคฤดูร้อนของปี การศึกษา ในชั้นปี ที่ 3 จนถึงภาคเรี ยนที่ 1 ของ
ชั้นปี ที่ 4
7.2 ควรพยายามเป็ นวิช าทางวิศ วกรรมพื้ นฐานให้ม าก เพื่ อให้นัก ศึ ก ษามี พ้ื นฐานความรู ้ ท าง
วิศวกรรม จะได้สามารถนาความรู ้ ไปใช้ในทางปฏิ บตั ิงานจริ ง และสามารถดัดแปลงเพิ่มเติมจากความรู ้
เหล่านั้น
7.3 ควรจะเพิ่มเติมการใช้ 3D Printer ทั้ง 2 วิชาเอก เช่น การพิมพ์จากชิ้นงาน Plastic การพิมพ์จาก
ชิ้นงาน Metal เพราะในการทางานจริ ง ลูกค้าส่ วนใหญ่อาจจะอยากเห็นตัวอย่างชิ้นงานก่อน ซึ่ งถ้าสามารถ
ทาตัวอย่างใด้ ลูกค้าจะตัดสิ นใจได้ง่ายขึ้น
7.4 ควรมีอาจารย์แนะแนวที่ตอ้ งติดตามทิศทางของอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมทางการแพทย์
ซึ่งมีบทบาทสาคัญในสภาวะปัจจุบนั รวมถึงอุตสาหกรรมทางราง
221

8. นายดาเนิน รัฐกาย กรรมการวิพากษ์หลักสู ตร จาก บจม. เหล็กแผ่นรี ดเย็นไทย


8.1 ควรมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนให้รองรับการเจริ ญเติบโตของเศรฐกิจ ของประเทศ เป็ นหลักสู ตรที่ประยุกต์
ให้ทนั สมัยมากขึ้น ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในภาวะปั จจุบนั
8.2 บางกลุ่มวิชาอาจต้องปรับปรุ งแก้ไข เช่น กฎหมายในชีวติ ประจาวัน กลุ่มวิชาสังคมศึกษา อาจ
เปลี่ ย นเป็ นกฏหมายแรงงาน (Industrial Labor Law) เพื่ อ ให้ นศ. มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจ ก่ อ นเข้ า สู่
ตลาดแรงงาน
8.3 ด้านการปรับตัวต่อตลาดแรงงาน ซึ่ งจะแตกต่างกันกับสถานศึกษาอย่างสิ้ นเชิ ง การประยุกต์
วิชาการที่ศึกษามาเข้ากับงานที่ตอ้ งรับผิดชอบ การตรงต่อเวลาในการทางาน และการส่ งมอบงานที่ทา นศ.
อาจได้รับประสบการณ์ตรงจากการฝึ กงาน
8.4 ควรนาหลักสู ตรของประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาเปรี ยบเทียบด้วย เนื่องจากปั จจุบนั มีการโยกย้าย
แรงงานไปในประเทศที่ให้ผลตอบแทนและสวัสดิการที่สูงกว่าและมีใบประกอบวิชาชี พวิศวกรรมรองรับ
(Asian Engineer)

You might also like