บทที่ ๖ - ๗ ข่าวกรองการรบและการต่อต้านข่าวกรอง

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 18

๗๔

บทที่ ๖
ขาวกรองการรบและการตอตานขาวกรอง
(COMBAT INTELLIGENCE AND COUNTERINTELLIGENCE)

๖ - ๑ กลาวทั่วไป (GENERAL) การใชเทคนิคในการตรวจการณที่ไดกลาวไวในบทที่ ๔ ทหารตองรวบรวม


(COLLECT และรายงาน REPORT) ขาวสารเกี่ยวกับขาศึก ภูมิประเทศและสภาวะอากาศ ขาวสารเหลานั้น
จะกลายเปนขาวกรองหลังจากไดมีการตีความแลว ผบ.หนวย ของทหารตองการขาวกรองการรบ เพื่อชวย
ในการวางแผนปฏิบัติการ ชีวิตของทหารและการดํารงอยูของเพื่อน ๆ ขึ้นอยูกับการรายงานสิ่งที่ทหารเห็น
ไดยินและไดกลิ่น
ก. ทหารตองกระทําการใด ๆ ไมใหขาศึกไดรับขาวสารเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปฏิบัติการของฝายเรา การ
กระทํานี้เรียกวา “ การตอตานขาวกรอง ” ประกอบดวย
๑) ไมบอกขาวสารใหขาศึกทราบ เกี่ยวกับแผนปฏิบัติความมุงมั่นและพฤติกรรม
๒) การสืบหาความพยายามของขาศึกเพื่อใหไดขา วสาร
๓) การลวงขาศึกถึงแผนและความมุงมั่นตาง ๆ
๖ - ๒ แหลงขาวสาร (SOURCES OF INFORMATION) ผบช.ทราบขาวสารจากหลาย ๆ หนวย แตตัว
ทหารคือแหลงขาวที่ดีที่สุด ทหารสามารถรวบรวมขาวสารไดจากแหลงตอไปนี้
ก. เชลยศึก เปนแหลงขาวดวนใหสงทหารขาศึกทีจ่ ับไดไปให ผบ.หนวย ของทหารโดยเร็วพรอมทั้ง
บอกขาวสารทุกอยางที่ทหารไดรูจากขาศึกให ผบ.หนวยทราบ
ข. เอกสารที่ยึดไดอาจบันทึกขาวสารที่มีคาในปจจุบันหรือในอนาคต เกี่ยวกับการปฏิบัติการของขาศึก
รีบสงเอกสารให ผบ.หนวยเร็วที่สุด
ค. พฤติกรรมของขาศึก เปนสิ่งระบุวาขาศึกกําลังจะไปทําอะไร รายงานทุกสิ่งที่ทหารเห็น การปฏิบัติ
ของขาศึกบางเรื่องที่ทหารคิดวาไมใชเรื่องสําคัญสําหรับตนเอง อาจมีความสําคัญสําหรับ ผบช.ของเราได
ง. บุคคลพลเรือนในทองถิ่น การรบดวยวิธีรุกจะไดขาวสารขาศึก ภูมิประเทศ และสภาวะอากาศใน
พื้นที่ รายงานขาวสารทุกอยางไดรับเพิม่ เติมจากบุคคลพลเรือน เมื่อทหารไมสามารถเชื่อไดวา ฝายไหนที่
ประชาชนพยายามที่จะชวยจึงตองระวัง เมือ่ จะปฏิบัติตามขาวสารที่ไดมาจากขาศึก พยายามยืนยันขาวนั้นโดย
เครื่องมืออื่นๆ บางชนิด
๖ - ๓ อะไรที่ตองรายงาน รายงานขาวสารเกี่ยวกับขาศึกให ผบ.หนวย ทราบโดยเร็ว ถูกตอง และสมบูรณ
ในรายงานนั้นจะตองตอบคําถามตอไปนี้ได ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร จะเปนการดีที่สุดถาเปนการใช
หัวขอแบบการรายงาน (SALUTE) แจงขาวสารเกี่ยวกับ ขนาดพฤติกรรม ที่ตั้ง หนวย เวลา และยุทโธปกรณ
เมื่อทําการรายงานโดยใชการรวมอักษรตัวแรกเพื่อใหจําไดงาย
๗๕
Size = ขนาด
Activity = พฤติกรรม
Location = ที่ตั้ง
Unit/ Uniform = หนวย/ เครื่องแบบ
Time = เวลา
Equipment = ยุทโธปกรณ

รูปที่ ๖ - ๑ แบบการรายงาน

ก. ขนาด รายงานจํานวนของทหารและยานยนตที่เห็น เชน “ ทหารสิบคน ” (ไมใชหนึง่ หมู ปล.) หรือ


“รถถัง ขาศึก ๓ คัน ” (ไมใชรถถังขาศึก ๑ มว.)
ข. พฤติกรรม รายงานวาขาศึกกําลังทําอะไร เชน “ วางทุนระเบิดถนน ”
ค. ที่ตั้ง รายงานสถานที่ที่เห็นขาศึกถามีแผนที่ใหรายงานเปนระบบกริด ๖ ตัว เชน จีแอล ๘๗๔๔๖๑
ถาไมมีแผนทีใ่ หระบุจุดอางบนภูมิประเทศ เชน บนถนนเพชรเกษม ๓๐๐ เมตร จากหนาคายธนะรัชต
ง. หนวย รายงานหนวยของขาศึก ถาไมทราบใหรายงานลักษณะเดน เชน เครื่องหมายบนกันชนของ
รยบ. หรือชนิดของหมวก บางกองทัพใชหมวกและเครือ่ งแบบที่ดูเดนชัดหรือแถบสีบนเครื่องแบบ เพื่อระบุ
ชี้บงประเภทของหนวยประเภทของยุทโธปกรณที่ตรวจการณเห็นอาจเปนแบบพิเศษเฉพาะหนวยใช เชน
“ รถจิ๊ป ติดปนกลบนแทน อาจเปนการชีว้ า นั่นคือ หนวยลาดตระเวน ”
จ. เวลา รายงานเวลาที่เห็นขาศึกกําลังทํางานอยู ไมใชเวลาที่เริ่มรายงานตามเวลาทองถิ่น
ฉ. ยุทโธปกรณ รายงานยุทโธปกรณทุกอยางที่ขาศึกสวมใสหรือใชอยู ถาทหารไมสามารถจํารูปแบบ
ของยุทโธปกรณหรือชนิดของยานยนตได ใหเขียนภาพประกอบและแนบภาพสเก็ตมาพรอมรายงาน
ตอไปนี้เปนตัวอยางของการรายงาน แบบการรายงาน (SALUTE)
จาก มว.๑ รอย.๒
ถึง ฝอ.๒ ร.๒๑
จุดตรวจการณ ไดตรวจเห็นรถถังขาศึกสี่คัน วิ่งลงไปทางใตถนนสายที่สอง ที่พิกัด เอ็นบี (NB)
๖๑๓๓๙๗ เมือ่ ๒๔๑๓๐๐ ธ.ค.๔๐ รถวิ่งดวยความเร็วประมาณ ๕ กม. ตอ ชม. เปดฝาปดปอมปนสามารถ
มองเห็นทหารขาศึกสวมหนากากปองกันไอพิษ
ก. เชลยศึกและเอกสารที่จับได เชลยศึก (Pws) คือแหลงขาวสารที่ดีจะตองควบคุมโดยไมละเมิด
กฎหมายระหวางชาติและโดยไมเสียโอกาสไดรับขาวกรองเพิ่มเติม ปฏิบัติตอเชลยศึกดวยความเมตตา กรุณา
แบบเพื่อนมนุษย ไมทําอันตรายพวกเขา ทั้งทางรางกายและจิตใจ ทหารที่อาวุโสสูงใหทําหนาที่รับผิดชอบ
การดูแล ถาเชลยศึกไมอาจสงกลับมาแนวหลังไดทันเวลา ใหเลี้ยงดู อาหาร น้ํา และการปฐมพยาบาล
อยาใหบหุ รี่ ขนมหวาน หรือสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ แกเชลยศึก
ข. การควบคุมเชลยศึก ใหปฏิบัติดังตอไปนี้ดว ยระบบ S (เอส)
๗๖
๑) คน (SEARCH) ตัวเชลยศึกเร็วที่สุดเมื่อจับได ยึดอาวุธและเอกสารตาง ๆ ยกเวน เอกสารระบุ
ตนเองและหนากากปองกันไอพิษ ออกใบแสดงรายการสิ่งของที่ยึดไวใหพวกเขาระบุรายการทรัพยสินสวนตัว
และเอกสารตาง ๆ ที่ไดยึดไว เพื่อใหรูวาเชลยศึกคนใดมีเอกสาร/ทรัพยสิน อะไรบาง เมื่อทําการตรวจคนเชลย
ศึกใหทหารฝายเราหนึ่งคนระวังปองกัน (ผูตรวจคนตองไมยืนอยูระหวางตัวเชลยศึกกับผูคุมกัน) ใหเชลยศึก
ถางขา ถางแขนเทากําแพง หรือตนไม หรือนอนคว่ําในทาเตรียมยึดพื้น ใหคุกเขาติดพื้น ตรวจคนรางกาย
ยุทโธปกรณ เสื้อผา

รูปที่ ๖ - ๒ การควบคุมเชลยศึก

๒) แยก (SEGREGATE) เชลยศึกออกเปนกลุมเพศและกลุมเล็ก เชน ทหาร พลเรือน และนักการเมือง


วิธีนี้ทาํ ใหเปนการปองกันขาศึกหลบนี้ แยกกลุมไวจนกวาจะสงถึงแนวหลัง
๓) เงียบ (SILENCE) ใหเชลยศึกเงียบหามพูดคุยกับคนอื่น ๆ เพื่อปองกันการวางแผน หลบหนี และ
เปนการรอบคอบตอการระวังปองกันแตละคน รายงานทุกสิ่งที่เชลยศึกพูดหรือทํา
๔) เร็ว (SPEED) สงเชลยศึกไปให ผบช. อยางเร็ว ผบช. จะรวบรวมและสงกลับไปแนวหลังเพื่อให
ฝอ.๒ ซักถาม
๕) พิทกั ษ (SAFEGUARD) เมื่อสงตัวเชลยศึกไปแนวหลัง อยาใหใครขมขูพวกเขา คอยเฝาดูความ
พยายามทีจ่ ะหลบหนี อยาใหเชลยศึกรวมกันเปนกลุม หรือแยกใหออกหางกันมากเกินไป การทําแบบนี้อาจ
เปดโอกาสใหเชลยศึกหลบหนี
ถาเชลยศึกบาดเจ็บ และไมอาจสงกลับตามขั้นตอนไดใหสงตัวใหหนวยเสนารักษเพื่อสงกลับ
สายแพทย
กอนสงกลับเชลยศึก มอบปายใหเขา และทําขึ้นมาใหมอีกอันหนึ่งตามรายละเอียดในแผนปายตาม
รูป แผนปายทีล่ งรายการนี้ ฝอ.๒ ของหนวยจะเปนผูจัดทําไวเพื่อสนับสนุนหนวยกําลังรบ
๗๗

วัน/เวลาของวัน
จับกุม.......................................................................................................
สถานที่ในการ
จับกุม..........................................................................................................
หนวยที่ทําการ
จับกุม........................................................................................................
เหตุการณขณะจับกุม......................(เกิดขึน้
อยางไร).......................................................

รูปที่ ๖ - ๓ ปายเชลยศึก

ชนิดของเอกสาร/สิ่งอุปกรณ
...........................................................................................
วัน/เวลาที่ยึดของได
.......................................................................................................
สถานที่ที่ยึดของได........................(บอก
พิกัด)...............................................................
หนวยที่ทําการยึดของ, เอกสาร
.....................................................................................
เหตุการณขณะยึดของ, เอกสาร..............(เกิดขึน้
อยางไร)....................................................
ไดยึดเอกสารหรือสิ่งของจาก
ใคร.....................................................................................

รูปที่ ๖ - ๔ ปายเอกสารหรือปายสิง่ อุปกรณ


๗๘
ค. การจัดสงเอกสารและยุทโธปกรณที่จับได เอกสารและยุทโธปกรณของขาศึกเปนแหลงขาวสารที่ดี
เยี่ยม อาจเปนเอกสารทางราชการ (แผนที่ คําสั่ง บันทึก ภาพถาย) หรือเอกสารสวนตัว (จดหมายหรือบันทึก
ประจําวัน)
สงเอกสาร และยุทโธปกรณของขาศึกให ผบ.หนวยโดยเร็วที่สุด เพราะถาชาไปขาวสารตาง ๆ อาจ
สูญหายหรือลาสมัยไปกอนวิเคราะห ทําปายแสดงรายละเอียดบันทึกการจับกุม หลักฐานทุกชิน้ ตามแบบที่
แสดงในรูป ถาหลักฐานชิ้นนั้น ๆ ไดจากเชลยศึกคนใดใหลงชื่อเชลยศึกผูนั้นไวในปายดวย
๖ - ๔ มาตรการตอตานขาวกรอง (COUNTERINTELLIGENCE MEASURES) ทหารทุกคนจะตองปฏิบัติ
ตามมาตรการดังตอไปนี้ เพือ่ ไมใหขาศึกไดรับทราบขาวสารการปฏิบัติการของฝายเรา
ก. ฝกหัดเรื่องการพรางใหแนบเนียน และเรียนรูกลวิธีในการพรางแบบตาง ๆ
ข. ฝกฝนการรักษาวินัยการใชเสียงและแสง
ค. ฝกหัดการรักษาสุขอนามัยในสนามอยางถูกตอง
ง. ปฏิบัติตามระเบียบการใชวิทยุโดยเครงครัด
จ. ใชนามเรียกขานและสัญญาณผานตามที่กําหนด
ฉ. ไมนําจดหมายสวนตัว หรือรูปถายติดตัวไปในพืน้ ที่การรบ
ช. ไมจดบันทึกประจําวันลงในสมุดบันทึก เมื่ออยูใ นพื้นทีก่ ารรบ
ซ. ตองรอบคอบระมัดระวังเมื่อคุย หรือประชุมเกี่ยวกับเรื่องทางทหาร (ขาศึกอาจแอบดักฟงอยู)
ด. ใชรหัส/ประมวลลับ ตามที่ไดรับอนุมัติ
ต. ไมยอมเปดเผยรหัสการปฏิบัติการ (ถาถูกจับ)
ถ. รายงานผูที่มีฝกใฝกบั ขาศึก ไมวาจะเปนทหารหรือพลเรือน ให ผบช.ทราบ
ท. รายงานให ผบช. ทราบถึงผูใดก็ตามที่พยายามสืบถามขาวการปฏิบัติการของฝายเรา
น. ทําลายแผนที่ หรือเอกสารสําคัญเมื่อคาดวาจะถูกจับเปนเชลยแน ๆ
บ. ไมคุยเรื่องการปฏิบัติทางทหารใหทราบ
ป. บอกเรื่องการปฏิบัติการทางทหารใหทราบเฉพาะผูเกี่ยวของเทาที่ตองการใหทราบเทานั้น
ผ. เตือนเพื่อนทหารใหตระหนักถึงความรับผิดชอบตอการตอตานขาวกรองอยูเ สมอ
๗๙
บทที่ ๗
การติดตอสื่อสาร
(COMMUNICATIONS)

๗ - ๑ กลาวทัว่ ไป (GENERAL) การติดตอสื่อสาร คือ การแลกเปลี่ยนขาวสารโดย ๒ ฝาย หรือมากกวา


ขาวสารนั้นตองมีการสงและการรับที่เขาใจความหมาย
ทหารตองรูวาจะติดตอสื่อสารอยางไรถึง ผบ.หนวย และเพื่อนทหารดวยกัน ทหารตองสามารถบอกถึง
สิ่งตอไปนี้
ก. ทานเห็นอะไร
ข. ทานกําลังทําอะไร
ค. ทานไดทําอะไรไปแลว
ง. ทานกําลังจะทําอะไร
จ. ทานตองการอะไร
๗ - ๒ วิธีการติดตอสื่อสาร (MEANS OF COMMUNICATION) วิธีการติดตอสื่อสาร แตละแบบมี
ขีดความสามารถขอไดเปรียบและขอเสียเปรียบในตัวของมันเอง วิธีการตาง ๆ ที่ทหารสามารถนํามาใชไดมี
ดังตอไปนี้
ก. วิทยุสื่อสาร วิทยุเปนเครื่องมือสื่อสารซึ่งติดตอกันดวยคลื่นความถี่ วิทยุมีความเหมาะสม โดยเฉพาะ
เมื่อนํามาใชเพือ่ ดํารงการบังคับบัญชา และควบคุมในขณะหนวยทหารทําการเคลื่อนยายในระดับหมู และ
หมวด นิยมใชวิทยุชนิดมือถือขนาดเล็กหรือชนิดแบกสะพายหลัง ซึ่งมีระยะการติดตอสื่อสารไดไกลขึ้น
และติดตอไดหลายๆ หนวย จึงจําเปนตองเพิ่มขนาด และชนิดของวิทยุที่มีการใชงานยุงยากมากขึน้
๑) การที่จะใชวิทยุใหบังเกิดผลดีทสี่ ุดทหารจะตองพิจารณาถึงปจจัยตาง ๆ ทีจ่ ะมีผลกระทบกระเทือน
ตอการใชเสียงกอน การจะติดตอสื่อสารกับหนวยตาง ๆ วิทยุที่ใชตองตั้งความถี่คลื่นใหตรงกัน ทําการสงและ
รับดวยสัญญาณชนิดเดียวกัน วิทยุของหนวยทหารราบสวนใหญเปนวิทยุแบบสงคลื่นทางระดับ (FM) ซึ่งจะ
ไมสามารถติดตอสื่อสารกับวิทยุแบบสงคลื่นขึ้นไปทางสูงแลวสะทอนชั้นบรรยากาศกลับลงมา (AM) ทหาร
ตองตั้งปุมตัดเสียงคลื่นความถี่บนหนาปดวิทยุใหถกู ตามตําแหนงดวย
๒) ปจจัยซึ่งกระทบกระเทือนตอระยะติดตอของวิทยุ คือ สภาพอากาศ ภูมิประเทศ เสาอากาศ
แหลงจายพลังงาน และที่ตั้งวิทยุ ถาตั้งวิทยุใกลสะพานโครงเหล็กหรืออาคารสูง ๆ จะกระทบกระเทือนตอ
การสงคลื่นวิทยุ ถาตั้งวิทยุใกลสายไฟฟาแรงสูงจะเกิดการรบกวนจากไฟฟาสถิต (STATIC) การรบกวน
คลื่นวิทยุยังมีสาเหตุจากสถานีวิทยุใกล ๆ สภาพอากาศเลว หรือการสงสัญญาณรบกวนจากวิทยุขาศึก
๘๐

รูปที่ ๗ - ๑ วิธีการติดตอสื่อสาร

๓) มีหลาย ๆ สิ่งที่เปนสาเหตุในสภาพการติดตอสื่อสารไมชัดเจน แตทหารสามารถแกไขไดโดยการ


ใชสามัญสํานึกของตนเอง เชน ไมพยายามสงวิทยุเมือ่ ยืนอยูใ ตสะพานโครงเหล็ก หรือใกลกบั เครื่องกําเนิด
ไฟฟา และสายไฟแรงสูง และการใชเสาอากาศที่เหมาะสมกับยานความถี่มากที่สุดพรอมทั้งเลือกจุดที่ตั้งวิทยุ
หรือสถานีสื่อสารที่ไมมีสิ่งบังทิศทางการสง - รับคลื่นวิทยุ และใชวธิ ีตอตานการสงสัญญาณวิทยุรบกวนจาก
ขาศึกที่ถูกตอง
๔) วิทยุเปนเครื่องมือติดตอสื่อสารที่ปลอดภัยนอยที่สุด ทุกครั้งที่ทหารพูดผานระบบวิทยุ
สัญญาณเสียงจะถูกสงออกไปรอบทิศทาง ซึ่งขาศึกที่มีวิทยุชนิดคลื่นความถี่เหมือนกันสามารถรับสัญญาณ
ของเราได ทหารจึงตองตระหนักไววาขาศึกกําลังดักฟงขาวสารของฝายเรา หรือกําลังกําหนดหาจุดที่ตั้ง
ของเรา เพื่อยิงทําลายดวย ป. ดังนั้นทหารทุกคนที่ใชวิทยุทําการติดตอสื่อสารจะตองรูเทคนิคการปองกันไมให
ขาศึกดักฟงได
ข. การติดตอสื่อสารทางทัศนสัญญาณ (VISUAL COMMUNICATIONS) เมื่อขาศึกมี
ขีดความสามารถในการสงสัญญาณวิทยุรบกวนคลื่นวิทยุของฝายเรา ฝายเราจะตองเนนการใชทัศนสัญญาณ
ในการบังคับบัญชา และการควบคุมหนวยทัศนสัญญาณประกอบดวยสัญญาณมือและแขน พลุสองแสง ควัน
ไฟฉาย แผนผาสัญญาณและทัศนสัญญาณจากการบินของเครื่องบิน
๑) การใชทัศนสัญญาณใหบังเกิดผลนั้น ขึน้ อยูกับความหมายของชุดทัศนสัญญาณที่ไดเตรียมการ
ไวกอน ผบ.หนวย ตองเตรียมสอนทาสัญญาณตอทหารทุกคนใหรูและเขาใจตรงกัน รวมทั้งกําหนด
ความหมายของการยิงพลุสองแสง ควันและแสงไฟฉาย โดยทั่วไปการใชทัศนสัญญาณตาง ๆ จะระบุไวใน
ระเบียบปฏิบัตปิ ระจําของหนวย หรือใน นปส. หรือคําแนะนําปฏิบัติการสื่อสาร - อิเล็กทรอนิกส (นปอ.)
(COMMUNICATION - ELECTRONIC OPERATION INSTRUCTION)
๒) แผนผาสัญญาณ (PANEL MARKER) เปนชุดของแผนผาสีซึ่งใชปูบนพื้นดินเปนสัญญาณ
ติดตอสื่อสารกับอากาศยาน มีประโยชนเมื่อทหารไมอาจติดตอทางวิทยุกับเครื่องบินได หรือเมื่อมีการสั่ง
ระงับการใชวทิ ยุทั้งหนวยทหารภาคพื้นดินและเครื่องบินเมื่อวิทยุของฝายเราชํารุดหรือถูกทําลาย หรือเมื่อถูก
ขาศึกสงสัญญาณวิทยุรบกวนจนไมสามารถติดตอกันทางวิทยุได ถาไมมีแผนผาสัญญาณ ตองมีการเตรียมการ
ใหเปนมาตรฐาน เชนเดียวกับสัญญาณแขนและมือ แผนผาสัญญาณมีขอจํากัดในการใชคือ สามารถทําให
เขาใจผิดไดงาย บางชนิดยังจํากัดตอการใชในสภาพทัศนวิสัยเลว เชน ในเวลากลางคืน หรือภูมิประเทศ
รกทึบ และในบางโอกาสขาศึกอาจตรวจจับรหัสการวางแผนผาสัญญาณได และนํามาใชซอนกลฝายเราให
๘๑
เกิดการสับสน
ค. การติดตอสื่อสารดวยเสียงสัญญาณ การติดตอสื่อสารดวยเสียงสัญญาณ ตองมีการเตรียมการในเรื่อง
สื่อความหมายตาง ๆ ใหเปนที่เขาใจตรงกัน เสียงสัญญาณที่ใชติดตอประกอบดวย เสียงพูด เสียงนกหวีด
เสียงแตร เสียงของอาวุธ และเครื่องกําเนิดเสียงอื่น ๆ ใชสงขาวแบบงาย ๆ ในระยะทางสั้น ไมไกลกันนัก
แตเสียงสัญญาณก็เปนสิ่งที่เสี่ยงตอการตรวจจับของขาศึก และยังอาจถูกกลบดวยเสียงอาวุธตาง ๆ ในสนาม
รบ การใชเสียงสัญญาณสวนใหญใชกับสัญญาณเตือนของที่บังคับการ โดยปกติ ผบ.หนวย ทหารในพื้นที่เปน
ผูกําหนดความหายของเสียงสัญญาณ และบันทึกไวใน รปจ.ของหนวย และใน นปส. เสียงสัญญาณตาง ๆ
ที่นํามาใชกย็ ังมีโอกาสทําใหเขาใจความหมายผิดไดงาย
ง. การติดตอสื่อสารทางสาย (WIRE COMMUNICATIONS) ถึงแมวาการติดตอขายการติดตอสื่อสาร
ทางสายจะใชเวลามากกวาการติดตั้งวิทยุ แตทางสายใหความปลอดภัยในการติดตอไดดีกวาวิทยุ เพราะเมื่อ
ทหารใชการติดตอสื่อสารทางสาย เสียงของทหารจะถูกแปลงเปนสัญญาณไฟฟาสงไปตามสายโทรศัพท ซึ่ง
จะถูกรบกวนจากสภาพอากาศไดยากมาก รวมทั้งสภาพภูมิประเทศ และสายยังปองกันการรบกวนสัญญาณ
จากการปฏิบัตทิ างสงครามอิเล็กทรอนิกสของขาศึก เชนการสงคลื่นรบกวนได
๑) สายอาจถูกทําลายจากการยิง ป.ของขาศึก และการบินโจมตี และโดยการถูกเหยียบขาดโดยบังเอิญ
จากรถสายพานและยานยนตลอ ดังนั้นจึงจําเปนตองเดินสายโทรศัพทอยางเหมาะสม เพื่อลดความเสียหาย
โดยพิจารณาจากสถานการณทางยุทธวิธีกอนนั้น คือ การติดตอสื่อสารทางสายขณะเคลื่อนที่ไปโดยเร็วอาจไม
ไดผลและในสถานการณทหี่ นวยตั้งอยูประจําที่ตองใชเวลามากในการเดินสายโทรศัพท
๒) เมื่อขาศึกมีขีดความสามารถในการสงสัญญาณวิทยุรบกวนฝายเรา และคนหาที่ตั้งฝายเราไดใน
ขณะที่เราสงสัญญาณวิทยุ ฝายเราควรตองพิจารณาใชการติดตอสื่อสารทางสายแทนวิทยุ การเดิน
สายโทรศัพทในปาที่รกหนาทึบ ในพืน้ ที่มนี ้ําขัง หรือในเขตภูเขาสูงจะเกิดความยุงยากมาก พายุฝน หิมะ และ
อุณหภูมิสูง ยอมมีผลกระทบตอการเดินสายโทรศัพทเมื่อจะเดินสายโทรศัพทตองมีเจาหนาที่และอุปกรณ
พรอมจึงจะไมยุงยาก
จ. การติดตอสื่อสารทางพลนําสาร (MESSENGER COMMUNICATIONS) พลนําสารเปนวิธีการ
สื่อสารที่ตางไปจากแบบตาง ๆ ของการติดตอสื่อสารของทหารราบเปนวิธีทางการสงตอแผนที,่ เอกสาร และ
วัตถุใหญๆ เชนเดียวกับการสงขาวดวยคําพูดหรือขอความ ศูนยขาวเปนศูนยกลางของการรับขาวสงขาวชนิด
ตาง ๆ ตั้งอยูที่ บก.พัน. หรือ บก.อื่น ๆ ที่สูงกวา การสงขาวดวยพลนําสาร อาจถูกจํากัดเพราะการปฏิบัติของ
ขาศึก ทั้งยังตองใชเวลามากกวาวิทยุหรือทางสาย และยังไมมีเวลาแลกเปลี่ยนขาวสารจากผูเขียนขาวและ
ผูรับขาว
๗ - ๓ ระเบียบการวิทยุโทรศัพท (RADIOTELEPHONE PROCEDURE) ระเบียบการวิทยุโทรศัพท เปน
ระเบียบปฏิบัตปิ ระจําในการใชวิทยุโทรศัพท เปนระเบียบที่ทําใหการแลกเปลี่ยนขาวสารไดเร็วขึน้ และชวย
ใหเกิดความผิดพลาดนอย กฎตอไปนี้จะชวยใหทหารใชเวลาในการสงขาวอยางมีประสิทธิภาพ และ
หลีกเลี่ยงการละเมิดการ รปภ. ทางการติดตอสื่อสาร
ก. สงขาวใหสั้น สมบูรณ และชัดเจน โดยการเขียนขอความขาวเตรียมไวกอน
๘๒
ข. สงขาวชา ชัดเจน และใชคําพูดธรรมชาติออกเสียงชัดเจนทุกคํา ใหเวลาสถานีรับขาวเขียนขาวไดทนั
ค. ฟงกอนสงขาว เพือ่ หลีกเลี่ยงการกระจายคลื่นรบกวนการสงขาวของสถานีอื่น ๆ
ง. จงตระหนักอยูเสมอวา ขาศึกกําลังดักฟงขาวของทานอยู
ก. การออกเสียงตัวอักษร (PHONETIC ALPHABET) อักษรตอไปนี้ไดคดั เลือกไวเปนแบบของการ
ออกเสียงเพื่อชวยระบุชี้บงการออกเสียงอักษรตาง ๆ เพือ่ ไมใหเกิดความสับสน เชน อักษร B ออกเสียงวา
“ บราโว ” และอักษร D ออกเสียงวา “ เดลตา ” การออกเสียงวา “ บราโว ” และ “ เดลตา ” จะไมทําให
ฟงสับสน เมื่อสงขาวทางวิทยุ วา บี ดี ซึ่งฟงดูใกลเคียงกันมาก
๑) เราใชการออกเสียงตัวอักษรเพื่อ
ก. สง ตัวอักษรตาง ๆ เสียงตาง ๆ
ข. สง คํายอของแตละตัวอักษร
ค. ออกเสียงดัง ๆ คําที่ผิดปกติหรือคํายาก

ตัวอักษร คํา ออกเสียง ตัวอักษร คํา ออกเสียง


A (เอ) อัลฟา อัล - ฟา N (เอ็น) โนเว็มเบอร โน-เว็ม-เบอร
B (บี) บราโว บรา - โว O (โอ) ออสการ ออส - การ
C (ซี) ชาลี ชา - ลี P (พี) ปาปา ปา - ปา
Q (คิว) คิวเบค คิว - เบค
D (ดี) เดลตา เดล - ตา R (อาร) โรมิโอ โร - มิ - โอ
E (อี) เอคโค เอค - โค S (เอส) เซียรา เซีย - รา
F (เอฟ) พอกซทรอท พอกซทรอท T (ที) แทงโก แทง - โก
G (จี) กอลฟ กอลฟ U (ยู) ยูนิ ฟอรม ยู - นิ - ฟอรม
H (เฮช) โฮเทล โฮ - เทล V (วี) วิคเตอร วิค - เตอร
I (โอ) อินเดีย อิน - เดีย W (ดับเบิ้ลยู) วิสกี้ วิส - กี้
J (เจ) จูเลียส จู – เลียส X (เอ็ก) เอกซ - เรย เอกซ - เรย
K (เค) กิโล กิ - โล Y (วาย) แยงกี้ แยง - กี้
L (แอล) ลิมา ลิ - มา Z (แซด) ซูลู ซูลู
M (เอ็ม) ไมค ไมค
หมายเหตุ ออกเสียงหนักที่ตวั พิมพหนา
เมื่อตองการสะกดคํายากในขอความขาว ใหเกริ่นนําวา “ ขาพเจาจะสะกดคําให ” แลวสะกดที
ละตัวอักษรแลวอานคําเต็มอีกครั้ง

รูปที่ ๗ - ๒ การออกเสียงคําตาง ๆ
๘๓
ตัวอยาง คําวา แมนูเวอร (MANEUVER) ตองสงออกไปและสามารถออกเสียงไดวา “ MANEUVER ”
(แมนูเวอร) ขาพเจาสะกดคําให MIKE - ALPHA - NOVEMBER - ECHO - UNIFORM - VICTOR - ECHO -
ROMEO - MANEUVER ”
ถาทหารไมสามารถอานคํานี้ออก หรือออกเสียงไมถูก อยาพยายามออกเสียงไปให เกริน่ นํา ดวยคําวา
EVACUATE จะตองสงคํานี้แตไมสามารถออกเสียงไดถูก ใหออกเสียงดังนี้ “ ขาพเจาสะกดให ” ECHO -
VICTOR - ALPHA - CHARLIE - UNIFORM - ALPHA - TANGO - ECHO

ตัวเลข การอานออกเสียง
๐ ศูนย (ZE -RO)
๑ หนึ่ง (WUN)
๒ สอง (TOO)
๓ สา – อาม (TREE)
๔ สี่ (FOW - ER)
๕ หา (FIFE)
๖ หก (SIX)
๗ เจ็ด (SEV - EN)
๘ แปด (AIT)
๙ เกา (NIN - ER)

รูปที่ ๗ - ๓ การออกเสียงตัวเลข

การสงตัวเลขหลายหลักใหสงตอกันไปครั้งละ ๑ ตัวเลข แตมีขอยกเวน ๒ ขอ ที่ตองสงตัวเลขเปน


หลักรอยและหลักพัน คือ
๑. เมือ่ สงจํานวนเต็มของหลักพัน และเมื่อระบุกลุมเลขรหัสที่เปนจํานวนเต็มของหลักพันในขาว
รหัสตัวเลข (ปกติกลุมละ ๔ ตัวเลข)
๒. เมื่อรองขอปรับการยิง ป. หรือ ค.
๘๔
จํานวน การอานออกเสียง
๔๔ สีสี่ (FOR - ER FOR - ER)
๙๐ เกา ศูนย (NIN - ER ZE - RO)
๑๓๖ หนึ่ง สา - อาม - หก (WUN TREE SIX)
๕๐๐ หา - ศูนย - ศูนย (FIFE ZE - RO ZE - RO)
๑,๒๐๐ หนึ่ง สองรอย (WUN TOO ZE - RO ZE - RO)
๑,๔๗๘ หนึ่ง สี่ เจ็ด แปด (WUN FOR - ER SEV - EN AIT)
๗,๐๐๐ เจ็ดพัน (SEV - EN TOU - SAND)
๑๖,๐๐๐ หนึ่งหกพัน (WUN SIX TOU - SNAD)
๘๑๒,๖๘๑ แปด หนึ่ง สอง หก แปด หนึ่ง (AIT WUN TOO SIX AIT WUN)

รูปที่ ๗ - ๔ การอานตัวเลขหลายหลัก
คําพูดตามระเบียบการ (PROWORDS) คําพูดตามระเบียบการ ซึ่งมีความหมายเฉพาะจะตอง
นํามาใชเพื่อใหการสงขาวมีความสั้นกะทัดรัดชัดเจน ไมสับสน
๘๕
คําพูดตามระเบียบการ คําอธิบาย
ALL BEFORE...................ทั้งหมดกอนคําวา............ อางถึงสวนของขอความในขาว กอนคําวา
ALL AFTER.....................ทั้งหมดหลังคําวา............ อางถึงสวนของขอความในขาว หลังคําวา
AUTHENTICATE..............สงระบบรับรองฝาย......... สถานีที่เรียกเขามา ตองตอบรหัสที่ถามตอไปนี้
AUTHENTICATION IS......ระบบรับรองฝายคือ การสงรหัสรับรองฝายของขาวฉบับนี้คือ ............
BREAK.............................หยุด ขาพเจารับคําสั่งหยุด เพื่อเวนวรรค หรือแยกบางขอ
ความออกจาก ขาวทั้งหมด (เชนขึ้นบรรทัดใหม)
GORRECT......................ถูกตอง ขาวถูกตอง หรือสิ่งที่ทานสงออกอากาศไปถูกตอง
CORRECTION................ผิดหยุด ขาวที่สงไปผิดพลาด ขอความที่ถูกตอง คือ ตนฉบับ
FROM..............................จาก ของขาวสงมาจาก .......(สงหนวยตนขาว) ลําดับการ
FLASH..............................ดวนที่สุด สงขาวดวนทีส่ ุด จัดใหขาวการเตือนระวังภัย หรือ
เหตุฉุกเฉินทีต่ อ งปฏิบัติโดยทันที เกีย่ วกับเรื่องของ
ชาติ การบังคับบัญชา หรือการ รปภ. ในพื้นที่ เชน
การประกาศเตรียมพรอม การประกาศทําสงคราม
ความหายนะทางบก ทางน้ํา ทางอากาศ การรายงาน
ขาวกรองในเรื่องการปะทะกับขาศึก อุบัติเหตุ หรือ
อุบัติภัยจากอาวุธนิวเคลียร
GROUPS..............................หมูคํา, กลุมคํา ขาวนี้ประกอบดวย จํานวนของหมูคํา ซึ่งกําหนดดวย
ตัวเลข
I AUTHENTICATE..............ตอบระบบรับรองฝาย หมูคําตอไปนี้เปนการตอบระบบรับรองฝาย
IMMEDIAT..........................ดวนมาก ลําดับการสงขาวดวนมากใชกับการติดตอสื่อสารที่
สําคัญ เชน
๑. การปฏิบัติการดวนที่มผี ลตอการยุทธ
๒. เกี่ยวของโดยตรงกับการรักษาความปลอดภัย
หรือปฏิบัติการชวยชีวิต
๓. มีผลเสียตอแผนการปฏิบัติดานขาวในชุมชน
I READ BACK.........................ขาพเจาทวนขาว ตอไปนี้ขาพเจาอานทวนขาวทั้งฉบับตามคําแนะนํา
ของทาน

รูปที่ ๗ - ๕(๑) คําพูดตามระเบียบการสื่อสาร


๘๖
คําพูดตามระเบียบการ ความหมาย

I SAY AGAIN.....................ขาพเจาสงซ้ํา ขาพเจาสงซ้ํา ในสวนที่ระบุ....................


I SPELL.................................ขาพเจาสะกดคํา ขาพเจาจะสะกดคําตอไปนี้
MESSAGE............................ขอความขาว ขาวตอไปนี้เปนขาวที่ตองบันทึก สงขาวทันทีหลัง
การเรียกขาน
MORE TO FOLLOW........มีขอความอีก สถานีสงขาวมีการสงขอความเพิ่มใหสถานีรับ
OUT.....................................เลิกติดตอ จบการสงขาวถึงทาน ไมตองตอบขาว
OVER..................................เปลี่ยน จบการสงขาวถึงทาน ตอบกลับดวย เริ่มได
PRIORITY..........................ความเรงดวน “ ดวน ” ลําดับการสงขาว ซึ่งสํารองไวเพื่อการเรียกขานที่
ตองการความสําเร็จโดยฉับพลัน ในการปองกันชาติ
และการรักษาความปลอดภัย ความสําเร็จในการทํา
สงคราม หรือการปองกันรักษาชีวิต หรือทรัพยสิน
ซึ่งไมตองการลําดับความเรงดวน ที่สูงกวา (เชน
การรายงานความเรงดวนของการเคลื่อนยาย ทางพื้น
ดิน พื้นน้ํา หรือทางอากาศ งานทางธุรการ การขาว
การยุทธ หรือการสงกําลัง ซึ่งตองปฏิบัติโดยเรงดวน
การเรียกขานซึ่งถาใชการเรียกขานตามปกติ จะมีผล
กระทบอยางรายแรงตองานธุรการ การขาว การยุทธ
และการสงกําลัง) ตามปกติความเรงดวน “ ดวน ”
จะเปนลําดับสูงสุด ซึ่งอาจมอบใหกับงานทางธุรการ
ซึ่งตองการความเรงดวนอยางยิ่ง
RADIO CHECK.........................ทดสอบวิทยุ ความแรงสัญญาณวิทยุขาพเจาสามารถอานไดเทาไร
HOW DO YOU HEAR ME? หรืออาจใชวา “ รับสัญญาณขาพเจาเปนอยางไร ”
READ BACK............................จงทวนขาวกลับมา ทวนขาวทั้งฉบับใหขาพเจาตามที่ไดรับจริง
RELAY (TO)..............................สงขาวผาน (ไปยัง) ขาวนี้ใหสงผานไปยังสถานีตาง ๆ ในทันที
ROGER.....................................รับขาวไดสมบูรณ ขาพเจารับขาวที่ทานสงใหไดอยางถูกตองชัดเจน

รูปที่ ๗ - ๕ (๒) คําพูดตามระเบียบการสื่อสาร


๘๗

คําพูดตามระเบียบ คําอธิบาย

ROUTINE........................................ขาวปกติ ลําดับการสงขาว “ ปกติ ” ใชสําหรับการ


ติดตอสื่อสาร
ทุกขาวทางราชการ ซึ่งไมตองการความดวนที่สุด
ดวนมาก, ดวน
SAY AGAIN...................................อานขอความอีก จงสงซ้ําขอความสุดทาย หรือสวนที่ระบุ
SILENCE.........................................ระงับวิทยุ หยุดการสงขาวในขายนี้โดยทันที
(พูดซ้ํากันหลาย ๆ ครั้ง)
SILENCE LIFTED......................ยกเลิกการระงับ การระงับวิทยุถูกยกเลิก (ถามีการใชระบบรับรอง
วิทยุ ฝายตองสงการรับรองฝายดวย)
SPEAK SLOWER........................สงใหชาลง ทานสงขาวเร็วเกินไป ชาลงหนอย
THIS IS.........................................จาก (นี้คือ) สถานีสงเปนผูกลาวตามดวยนามเรียกขานของตน
TIME..............................................หมู วัน เวลา สงหมู วัน เวลา ของขาวฉบับนี้
TO..................................................ถึง ผูมีชื่อตามหัวขอขาวนี้เปนผูป ฏิบัติ
UNKNOWN STATION................สถานีไมรูจัก เอกลักษณ (นามสถานี) ซึ่งขาพเจาพยายามติดตอ
ดวยยังไมทราบชื่อ
WAIT............................................คอย ขาพเจาตองหยุดสง ๒ วินาที
WAIT OUT ................................คอยนาน ขาพเจาตองหยุดสงเกิน ๒ วินาที
WILCO.........................................ทราบ ขาพเจารับสัญญาณทานไดแลวเขาใจ และจะปฏิบัติ
ใชเฉพาะสถานีที่ทราบชื่อ เพราะเหตุวา ความหมาย
ของ ROGER คลายกับ WILCO ทั้ง ๒ คํานี้จึงไม
ใชรวมกัน

รูปที่ ๗ - ๕ (๓) คําพูดตามระเบียบการสื่อสาร

ข. การ รปภ. ทางการติดตอสื่อสาร การ รปภ. ทางการติดตอสื่อสาร เพื่อปองกันผูไมมีหนาที่รับทราบ


ขาวสารจากวิทยุ และโทรศัพท มีการ รปภ. ดังตอไปนี้
๑) ใชระบบรับรองฝาย เพื่อใหแนใจไดวาสถานีที่กาํ ลังติดตออยูเปนฝายเดียวกัน
๒) ใชเฉพาะรหัสที่ไดรับอนุมัติแลวเทานัน้
๓) กําหนดหวงเวลาปดการติดตอทุกสถานี
๘๘
๔) จํากัดการสงขาวและรับขาว เทาที่จําเปน
๕) สงขาวทางวิทยุดว ยกําลังสงต่ํา
๖) กวดขันวินยั ในขายวิทยุและโทรศัพท ตามระเบียบการ (ทุกสถานีตองใชคําพูด) และนามเรียกขาน
ตามที่ไดรับอนุมัติ และสงขาวเฉพาะทางราชการเทานั้น)
๗) ที่ตั้งสถานีวิทยุ ควรอยูในพืน้ ที่ทมี่ ีเนินเขาหรือสิ่งกําบังอื่น ๆ ในทิศทางที่ขาศึกตั้งอยู
๘) ใชสายอากาศแบบแนวตั้งถาทําได
ค. อุปกรณวิทยุ ทหารควรจะทําความคุนเคยตอการใชชุดวิทยุ เอเอ็น/พีอารซี - ๗๗ (AN/PRC - 77)
และวิทยุในระดับหมู เชน วิทยุ เอเอ็น/พีอารซี - ๖๘ (AN/PRC - 68) วิทยุรับ - สงของหนวยขนาดเล็ก
(SMALL UNIT TRANCEIVER) (SUT)
ง. การใชงานชุดวิทยุ เอเอ็น/พีอารซี - ๗๗ (AN/PRC - 77)
๑) บรรจุแบตเตอรี่
๒) เปลี่ยนกลองบรรจุแบตเตอรี่และปดล็อค กานล็อคฝากลอง ๒ ขางพรอม ๆ กัน
๓) เลือกสายอากาศและโคนเสาหมุนตอเขา
๔) ตอปากพูด - หูฟง เขาที่ชอง AUDIO
๕) เลือกแถบความถี่ยานสูง - ต่ํา (BAND)
๖) ตั้งความถี่โดยใชปุมปรับความถี่
๗) เปดสวิทชการทํางานไปที่โอเค (OK)
๘) หมุนปุมควบคุมเสียงไปครึ่งรอบ
๙) กดปุมสงสัญญาณที่ปากพูด เพือ่ พูดออกอากาศและปลอยปุม เพื่อรับฟงทีห่ ูฟง
๑๐) ปรับปุมควบคุมความดังตามระดับที่ตองการ

รูปที่ ๗ - ๖ ชุดวิทยุ เอเอ็น/พีอารซี - ๗๗ (AN/PRC - 77)


๘๙

รูปที่ ๗ - ๗ ชุดวิทยุ เอเอ็น/พีอารซี - ๖๘ (AN/PRC - 68)

จ. การใชวิทยุ เอเอ็น/พีอารซี - ๖๘ (AN/PRC - 68)


๑) บรรจุแบตเตอรี่
๒) ตั้งชอง (๐ - ๙) ผบ.หมู จะเปนผูบอกวาจะใชชองใด
๓) ตอปากพูดหูฟง
๔) ตอเสาอากาศ
๕) หมุนปุมปด/เปด/ตัดเสียงคลื่นไปที่ OK (PWR OFF/ON/SQUELCH)
๖) หมุนปุม (PWR OFF/ON/SQUELCH) ไปที่ SQUELCH ปุมนี้จะดีดกลับเมื่อเลิกใชงาน
๗) หมุนปุมปรับความดัง เพื่อปรับความดังของเสียงขณะรับสัญญาณ
๘) กดปุม PUSH - TO - TALK ที่ปากพูด หูฟง หรือปุมยางดานหลังของตัววิทยุ เพื่อสงสัญญาณ
และปลอยเพื่อรับสัญญาณ
ฉ. อุปกรณสายและโทรศัพท เมื่อทําการตั้งรับ หนวยจะใชการติดตอสื่อสารทางสายและพลนําสารแทน
การใชวิทยุ
ช. การเดินสายโทรศัพท
๑) สายวางบนพื้นดิน ตองวางสายไปตามพืน้ ดินไมใหตึงใหมีชวงสายหยอนไวมากๆ เพือ่ ใหการดูแล
และซอมสายทําไดงาย การเดินสายบนพื้นดินใชเวลานอย และใชพลเดินสายเพียง ๒ - ๓ คน ควรขุดรองตื้น ๆ
ฝงกลบสายโทรศัพทเพื่อปองกันสายขาดจากการตกระเบิดของกระสุน ป. ค. ในพืน้ ที่โลงควรซอนสายไมให
ขาศึกตรวจพบ ผูกปายสายทีต่ ูสลับสาย และตามเสนทาง ถนนและทางตัดขามทางรถไฟ เพื่อกําหนดวาเปน
สายของหนวยใดและใหซอมไดงายเมื่อสายขาด
๒) สายวางเหนือแนวศีรษะ ใชสายสนามวางเหนือพืน้ ดินสูงเหนือศีรษะบริเวณที่บังคับการ ในที่
รวมพล และตามแนวถนนทีม่ ียานพาหนะวิ่ง เพื่อใหพน การเกีย่ วชนโดยเฉพาะบริเวณขามถนนทีไ่ มมีทอลอด
ใตถนนหรือสะพาน สายทีว่ างเหนือศีรษะลดความเสียหายที่อาจเกิดขึน้ จากยานพาหนะหรือสภาวะอากาศ
๙๐

รูปที่ ๗ - ๘ ลอสาย ดีอาร - ๘ (DR - 8)

๓) ชุดโทรศัพท ทีเอ - ๑/พีที (TA – 1/PT) เปนโทรศัพทกําลังงานเสียง ซึ่งแสดงสัญญาณการเรียกเขา


มาไดทั้งระบบทัศนสัญญาณและเสียงสัญญาณมีระยะติดตอ ๖.๔ กม. เมื่อตอดวยสายดับเบิ้ลยูดี – ๑/ทีที
(WD – 1/TT)

รูปที่ ๗ - ๙ โทรศัพท ทีเอ - ๑ (TA - 1)

ซ. การติดตั้งโทรศัพท ทีเอ - ๑/พีที (TA – 1/PT)


๑) ปอกปลายสาย WD - ๑/TT ทั้ง ๒ เสนยาว ๑/๒ นิ้ว
๒) กดปุมสปริงที่หลักตอสาย และตอสายที่ปอกปลายเขาในชองแลวปลอย
๓) ปรับกานเพิ่มความดังสัญญาณไปที่ LOUD
๔) กดคันกานตัวกําเนิดกระแสไฟหลาย ๆ ครั้งเพื่อสงสัญญาณเรียกโทรศัพทเครื่องอื่น และคอยฟง
เสียงสัญญาณเรียก (BUZZER)
๕) คอยมองดูชองแสดงทัศนสัญญาณ ที่ตัวเครือ่ งเมื่อปรากฏเปนสีขาวเรืองแสง
๖) กดสวิตชพูด (PUSH - TO -TALK) เพื่อใหชองทัศนสัญญาณหมุนกลับเขาตําแหนงปดมองไมเห็น
ชุดโทรศัพท TA - ๓๑๒/PT เปนโทรศัพทชนิดทํางานดวยกําลังไฟจากแบตเตอรี่แหง มีระยะการ
ติดตอไดไกล ๓๘ กม. เพื่อตอพวงดวยสาย WD - ๑/TT
ด. การติดตั้งโทรศัพท ทีเอ - ๓๑๒/พีที (TA – 312/PT)
๑) ปอกปลายสาย WD - ๑/TT ออกขางละ ๑/๒ นิ้ว
๒)กดปุมสปริงที่หมุดตอสาย และสอดปลายสายที่ปอกฉนวนออกเขาไปหนีบไวที่ขั้วตอสายโทรศัพท
๙๑
๓) ปรับปุมสัญญาณเรียกเขาไปที่ LOUD (เสียงดัง)
๔) หมุนสวิทช INT - EXT ไปที่ INT (ใชกําลังงานจากภายในเครื่อง)
๕) หมุนสวิทชเลือกวงจรไปที่ แอลบี (LB) (ใชแบตเตอรี่บรรจุในตัวเครื่อง)
๖) บรรจุแบตเตอรี่แหง บีเอ - ๓๐ (BA - 30) จํานวน ๒ กอนลงในชองบรรจุ (กลับขั้วกันขึ้นลง)
๗) วางปากพูดหูฟงลงในแทนรับหูฟง
๘) หมุนคันบังคับแกนตัวกําเนิดไฟฟาเร็ว ๆ ๒ - ๓ รอบ แลวยกหูฟงขึน้ คอยฟงสัญญาณตอบจาก
พนักงานสลับสาย
๙) กดสวิทช PUSH - TO - TALK เพื่อพูดและปลอยเมื่อตองการฟง

รูปที่ ๗ - ๑๐ โทรศัพท ทีเอ ๓๑๒/พีที (TA – 312/PT)

ต. ชุดอุปกรณตรวจซอม ซีอี - ๑๑ (CE - 11) ชุดอุปกรณตรวจซอม สาย CE - ๑๑ เปนเครื่องมือที่มี


น้ําหนักเบา สามารถยกไปมาไดใชสําหรับวางสายและตรวจซอมการลัดวงจรของสายมีสวนประกอบดังตอ
ไปนี้
๑) โครงลอมวนสายดวยมือ อารแอล - ๓๙ (RL - 39) พรอมดวยแกนเหลีย่ ม และมือหมุน กานหิว้
และสายรัดคลองรอบคอ เอสที - ๓๔ (ST - 34) และ เอสที - 35 (ST - 35)
๒) ชุดโทรศัพท ทีเอ - ๑/พีที (TA - 1/PT)
๓) โครงลอ อารแอล - ๓๙ (RL - ๓๙) ใชสําหรับประกอบกับลอสาย ดีอาร - ๘ (DR -๘) ซึ่งบรรจุ
สายสนาม WD - ๑/TT ไดยาว ๔๐๐ เมตร ลอสาย DR - ๘ และสาย WD - ๑/TT เปนชิ้นสวนแยก ไมจัด
รวมอยูในชุด CE - ๑๑ หรือ RL - ๓๙

รูปที่ ๗ - ๑๑ ชุดอุปกรณตรวจซอมสาย ซีอี - ๑๑ (CE - 11)

You might also like