บทที่ ๘ การปฐมพยาบาล

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

๙๘

บทที่ ๘
การปฐมพยาบาล และอนามัยสวนบุคคล
(FIRST AID AND PERSONAL HYGINE)

๘ - ๑ กลาวทั่วไป (GENERAL)
ก. การปฐมพยาบาล คือ การดูแล และการรักษาทีท่ หารชวยเหลือผูบาดเจ็บ กอนที่บุรุษพยาบาลจะมาถึง
ข. อนามัยสวนบุคคล คือ ลําดับขั้นที่ทหารปองกันสุขภาพของทหารเอง และเพื่อน ๆ เมื่อทหารรูจัก
รักษา อนามัยสวนตัว และมีความชํานาญในการปฐมพยาบาล จะเปนสวนชวยใหรักษาชีวิตของทหาร และ
เพื่อนสนิทได
ค. โดยการรูวาจะทําอะไร และโดยการไดรับความชวยเหลือเยียวยาอยางทันทวงที ทหารอาจสามารถ
รักษาชีวิตปองกันการพิการอยางถาวร และปองกันการเขารักษาตัวในโรงพยาบาลเปนเวลานาน ๆ ได
ง. ถาทหารไดรับจายชุดปฐมพยาบาลสนามทหารจะตองนําติดตัวไปตลอดเวลา เพื่อใชยามจําเปน ภายใน
กลองจะบรรจุผาพันแผลชนิดซับเลือดได ๒ - ๓ ชิ้น เมื่อทหารชวยปฐมพยาบาลเพือ่ นที่บาดเจ็บใหนําชุดปฐม
พยาบาลของผูบาดเจ็บที่ไดรับจายมาใชกอน เพราะของทหารเองตองเก็บไวใชถาเกิดบาดเจ็บขึ้นภายหลัง
ดูเอกสารเพิ่มเติมใน รส. ๒๑ - ๑๑ (FM 21 - 11)

รูปที่ ๘ - ๑ กลองบรรจุชุดปฐมพยาบาล
๙๙
๘ - ๒ มาตรการชวยชีวิต ( LIFESAVING MEASURES ) เมื่อทหารหรือเพือ่ นเกิดบาดเจ็บตองทําการ
ปฐมพยาบาลทันที ขั้นแรกตองใชมาตรการชวยชีวิต ๔ ขอ คือ
ก. เปดทางเดินลมหายใจ ตรวจดูวามีสิ่งใดคางอยูใ นชองปากใหเอาออก เปาลมเขาทางปากเพื่อชวยการ
หายใจ ปมหัวใจ
ข. หามเลือด
ค. ปองกันอาการชอค
ง. พันผาพันแผลใหเรียบรอย
ก. เปดทางเดินลมหายใจ ตรวจ และชวยการหายใจ และชวยใหหวั ใจเตน
๑) เปดทางเดินลมหายใจ การขาดอากาศออกซิเจนในการหายใจ และหัวใจเตนออน เปนสาเหตุให
ผูปวยถึงแกชวี ติ ไดภายใน ๒ - ๓ นาที ในการชวยผูบาดเจ็บ ขั้นแรกตรวจดูวาเขายังหายใจอยูหรือไม
ถาผูบาดเจ็บไมหายใจ
ก) จับคนไขนอนหงาย และนั่งคุกเขาขาง ๆ ศีรษะ
ข) เปดทางเดินหายใจโดยลวงเอาสิ่งกีดขวางการหายใจออกมาจากชองปาก (ถามี)
ค) สอดมือซายเขาใตลําคอผูบาดเจ็บ มือขวากดที่หนาผากผูบาดเจ็บ ยึดลําคอผูบาดเจ็บโดยการยก
มือซายที่สอดใตลําคอขึ้นมาพรอมกับกดมือขวาที่หนาผาก จะทําใหหนาผูบาดเจ็บหงายขึ้นดานบน จะเปน
การยกโคนลิ้นใหพนจากดานหลังของหลอดลมเปดทางเดินลมหายใจ

รูปที่ ๘ - ๒ เปดทางเดินลมหายใจ
๑๐๐
๒) ตรวจการหายใจ หลังจากเปดทางเดินลมหายใจแลวใหมองดู ฟง และสัมผัส คนหาวาผูบาดเจ็บยัง
หายใจอยูห รือไม โดยใชวิธดี ังนี้
ก) เอียงหูเขาไปติดปากและจมูกผูบาดเจ็บคางไว ๕ วินาที
ข) มองดูหนาอกผูบาดเจ็บ พองขึ้นยุบลงหรือไม
ค) ฟงและสัมผัส ดูการหายใจ

รูปที่ ๘ - ๓ ตรวจการหายใจ

๓) ชวยการหายใจ (RESTORE BREATHING) ถามีอาการบงบอกวายังมีลมหายใจอยู ใหเริ่มเปาปาก


(MOUTH - TO - MOUTH) ชวยชีวิตทันทีในวิธีการตอไปนี้
ก) สอดมือเขาใตลําคอผูบาดเจ็บ เพื่อระวังไมใหศีรษะเอียงกลับมาตําแหนงเดิม
ข) อีกมือหนึ่งกดที่หนาผาก
ค) บีบจมูกคนไขไว
ง) จับคนไขอาปากกวาง ๆ
จ) สูดลมหายใจเขาเต็มปอด และประกบปากของเราเขาที่ปากผูบาดเจ็บ อยาใหมีชองอากาศลอด
ออกมาได
ฉ) เปาลมเขาในปากผูปวย
ช) นับถึง ๔ - ๕ เร็ว ๆ จนแนใจวาอากาศเขาเต็มปอด
ซ) ถอนปากของเราออก และมองดู ฟง และสัมผัส วามีอากาศออกมาจากปากผูปวย หรือไม
ด) ทําวิธีนี้ซ้ําอีกครั้งทุก ๆ ๕ วินาที จนกวาผูป วยจะหายใจออกมา
๑๐๑

รูปที่ ๘ - ๔ ชวยชีวติ ใหมดวยการเปาปาก

ถารูสึกวามีแรงตานเมื่อเปาลมเขาปากในครั้งแรก รีบจับหนาผูปวยหงายขึ้นและเปาซ้ํา ถาทางเดิน


ลมหายใจยังไมเปด จับผูป วยพลิกตะแคง ใชสันมือกระแทกบริเวณสันไหล เพือ่ ใหวัตถุแปลกปลอมหลุด
ออกมา ถาหนาทองของผูปวยโปงพองออกมา (ลมเขากระเพาะ) คอย ๆ กดลงที่หนาทองดวยมือขางหนึ่ง เพื่อ
ไลลมออกมา ถาวิธีนี้ทําใหผปู วยอาเจียน ใหรีบจับคนปวยนอนตะแคง ลวงปากออกใหหมดและเริ่มเปาปาก
ชวยชีวิตตอไป
๔) ตรวจการหายใจ เมื่อพบคนไขบาดเจ็บหมดสติ ใหตรวจดูวาคนไขยังหายใจอยูหรือไม และหัวใจ
ยังเตนอยูหรือไม โดยใชวิธตี อไปนี้
ก) จับหนาของผูบ าดเจ็บหงายขึ้นใหคางแหงน
ข) ลวงเขาไปในหลอดลมดวยนิ้วมือ
ค) สัมผัส ลูกกระเดือก
ง) เลื่อนนิ้วลงไปจากลูกกระเดือกไปที่ขางลําคอปลายนิ้วจะสัมผัสกับเสนเลือดแดง เพือ่ ดูการเตน
ของชีพจร

รูปที่ ๘ - ๕ ตรวจการหายใจ
๑๐๒
๕) การชวยใหหวั ใจเตน ทหารตองเริ่มนวดหัวใจจากภายนอกโดยเร็ว เพราะสมองอาจถูกทําลาย
โดยถาวรถาขาดเลือดที่นําออกซิเจนไปเลีย้ งสมอง ตัวอยางของระยะเวลาที่ขาดออกซิเจนและสมองถูกทําลาย
ตามรายการขางลางนี้

๐ - ๔ นาที
สมองยังไมมีการถูกทําลาย
๔ - ๖ นาที
สมองอาจถูกทําลาย
๖ - ๑๐ นาที
สมองใกลจะถูกทําลาย
เกิน ๑๐ นาที
สมองเกือบจะถูกทําลายแนนอน

รูปที่ ๘ - ๖ สมองถูกทําลายเมื่อไมมีออกซิเจน

ก. การนวดหัวใจจากภายนอก จะชวยใหมีการไหลเวียนของโลหิต โดยการกดหัวใจบริเวณ


ระหวางกระดูกหนาอก และกระดูกสันหลัง บังคับใหเลือดวิ่งเขาปอด สมอง และรางกาย
ข. การทําการเปาลมเขาปากชวยชีวิตและนวดหัวใจจากภายนอกพรอม ๆ กัน
๑) คุกเขาลงดานขางผูบาดเจ็บ
๒) เปาลมเต็มปอดผูปวยในเวลา ๔ วินาที (หนาตองแหงนขึ้น และทางเดินลมหายใจเปด) คลํา
ดูตําแหนงของปลายกระดูกหนาอกและวัดขึน้ มา ๒ นิว้ มือ จากปลายกระดูกหนาอก
๓) วางสันมือทับกันบนจุดที่วัดไดสอดนิว้ ประสานกันกดลงที่หนาอก ๑๕ ครั้ง ในอัตรา
ความเร็วเทากับการนับ ๘๐ ตอ ๑ นาที

รูปที่ ๘ - ๗ ตําแหนงของปลายกระดูกหนาอก
๑๐๓

รูปที่ ๘ - ๘ เปาลมเขาปอดและกดหนาอก

๔) เอนตัวไปขางหนา เกร็งขอศอกใหตงึ
๕) วิธีนี้จะกดหนาอกผูปวยยุบลงไป ๑ ๑/๒ นิว้ - ๒ นิ้ว แลวปลอยแรงกดที่หนาอก
๖) หลังจากกดอก ๑๕ ครั้ง ใหเปลี่ยนทามาเปาลมเขาเต็มปอดผูปวยเต็มที่อยางเร็ว ๒ ครั้ง

รูปที่ ๘ - ๙ ทาปฏิบตั ิที่ถูกตอง

๗) ปฏิบัติวธิ ีนี้ดวยอัตราสวน ๑๕ ตอ ๒


ก) จนกระทั่งผูปวยสามารถหายใจไดดวยตัวเอง และชีพจรเริ่มเตน
ข) จนกวาจะมีคนอื่นมาเปลี่ยน
ค) จนกวาคนปวยจะเสียชีวิตลง
ถามีคนชวยวิธีนี้ ๒ คน คนหนึ่งทําการเปาปากชวยชีวิต อีกคนนวดหัวใจในกรณีนวี้ ิธีการจะ
แตกตางกันคน ที่กดหนาอกจะเปลีย่ นการกดจาก ๑๕ ครั้ง เปน ๕ ครั้ง ในความเร็ว ๘๐ ครั้งตอนาที คนที่เปา
ปากชวยชีวิตจะเปาปาก ๒ ครั้ง หลังจากการกดหนาอก ๕ ครั้ง
๑๐๔

รูปที่ ๘ - ๑๐ ใชทหาร ๒ คนชวยกัน

๖) การหามเลือด (STOP THE BLEEDING) ถาผูบาดเจ็บมีเลือดออก และหัวใจยังเตนอยู สิ่งที่


จะตองทําตอไปคือ หามเลือดจากบาดแผลกอนจะหามเลือดทหารตองหาบาดแผลทัง้ หมดใหพบ มองหารอย
กระสุนเขาและรอยทะลุออก เพื่อดูวาไมมีบาดแผลใดที่ตรวจไมพบเพราะโดยปกติรอยกระสุนเขาจะเล็กกวา
รอยกระสุนทะลุออก

รูปที่ ๘ - ๑๑ ตรวจบาดแผลดานหนาและดานหลัง

๗) เมื่อตรวจพบบาดแผลทุกแหงแลวใหหามเลือด ดวยวิธีตอ ไปนี้


ก) ดวยการไมสัมผัส หรือพยายามทําความสะอาดแผล ตัดเสื้อผาบริเวณบาดแผลออก ใหเปดเห็น
บาดแผล อยาแตะบาดแผลหรือนําเศษวัตถุออกจากแผล
ข) ปดบาดแผลดวยผาปดแผลสนาม พยายามอยาใหผาปดแผลหรือบาดแผลมีสิ่งเปนพิษติดอยู
(๑) การปดบาดแผลดวยผาปดแผล
(ก) แกะผาปดแผลออกจากซอง บิดใหกระดาษหอขาดออก
๑๐๕

รูปที่ ๘ - ๑๒ บิดกระดาษหอออก

(ข) หยิบผาปดแผลดวยสองมือ (อยาสัมผัสผาปดแผลดานที่จะปดทับบาดแผล)

รูปที่ ๘ - ๑๓ คลี่ผาปดแผลออก

(ค) ปดผาปดแผลลงบนบาดแผลโดยไมใหผาสัมผัสสิ่งใด ๆ

รูปที่ ๘ - ๑๔ ปดผาลงบนบาดแผล
๑๐๖
(ง) พันผาปดแผลรอบ ๆ บาดแผล และผูกปลายใหแนนดวยเงื่อนพิรอด ตรงบริเวณรอยแผล

รูปที่ ๘ - ๑๕ ผูกเงื่อนพิรอด

ค) ถาพันผาปดแผลแลวยังคงมีเลือดออก ใหกดทีผ่ าพันแผล ๕ - ๑๐ นาที

รูปที่ ๘ - ๑๖ กดที่ผาพันแผล

ง) ถาตองการแรงกดมากขึ้น เพื่อใหเลือดหยุดไหล ใหเพิ่มความหนาของผาหรือใสกอนหินทับนอกผา


บริเวณรอยแผลและผูกปลายผาทับบริเวณแผนผาหนาหรือกอนหิน วิธนี ี้เรียกวาเพิ่มแรงกดบาดแผล

รูปที่ ๘ - ๑๗ เพิ่มแรงกดผาปดแผล
๑๐๗
จ) ถามีบาดแผลบริเวณแขนหรือขา และเลือดไมหยุดไหล ใหยกขาใหสูงเหนือระดับหัวใจ วิธีนี้จะชวย
ลดหรือหยุดเลือดไหลได อยายกขาที่มีบาดแผลและกระดูกหัก นอกจากไดเขาเฝอกเรียบรอยแลว

รูปที่ ๘ - ๑๘ ยกขาขึน้ สูงกวาระดับหัวใจ

ฉ) ถามีเลือดพุงออกจากบาดแผลนั้น คือเลือดออกมาจากเสนเลือดแดง การที่จะหามเลือดใหกดบริเวณ


เสนเลือดใหญตามรางกายทีว่ ิ่งสูบาดแผล การกดแบบนี้ทําใหปด หรือชะลอการไหลของเลือดจากหัวใจ
มายังบาดแผล จนสามารถใชผากดทับบาดแผลได ในบางกรณีอาจกดคางไวบนจุดกดแมวาจะพันผาพันแผล
แลว จุดกดหามเลือดที่ดีที่สุดบนรางกาย แสดงใหดูตามรูปที่ ๘ - ๑๙

รูปที่ ๘ - ๑๙ ใชการกดจุดหามเลือด

ช) ถาเลือดยังคงไหลออกจากบาดแผล หลังจากกดตามจุดหามเลือด และพันผาปดแผลแลว ใหใชการ


ขันชะเนาะ วิธีนี้เปนวิธีสุดทาย ขันชะเนาะบริเวณโคนขาหรือแขนเหนือรอยบาดแผล ๒ - ๔ นิ้ว อยาใหเกิน
กวานี้ อยาคลายหรือแกรอยขันชะเนาะเมือ่ ไดขันไปแลว ถาทําไดใหเขียนอักษร ที (T) บนหนาผากของ
ผูบาดเจ็บในขณะที่ทําการขันชะเนาะ แลวรีบนําคนเจ็บสงสถานที่พยาบาลโดยเร็ว
๑๐๘

รูปที่ ๘ - ๒๐ การขันชะเนาะ

๘) ปองกันการซ็อค ถาไมมีการปองกันหรือรักษาอาการช็อค คนเจ็บอาจเสียชีวิตได แมการบาดเจ็บนัน้


ไมถึงขั้นทําใหเสียชีวิต
ก) อาการช็อคอาจเปนผลกระทบจากการบาดเจ็บ แตนาจะเปนผลจากการบาดเจ็บสาหัส อาการเตือน
ของการช็อคคือ กระวนกระวาย กระหายน้ํา ผิวหนังซีด และหัวใจเตนเร็ว ผูปวยเมือ่ มีอาการช็อค
อาจตื่นเตนหรือดูเหน็ดเหนื่อย อาจมีเหงื่อออกในขณะทีผ่ ิวหนังเย็นและชื้น เมื่อสภาวะรางกายของเขาเลวลง
เขาอาจออนเพลีย หายใจเร็วหรือหอบ ตาลอย หรือมีรอยคล้ํา หรือสีคล้ํารอบ ๆ ปาก
ข) หลังจากใชมาตรการชวยชีวิต ๒ ขั้นแรกแลว ตรวจดูอาการช็อค ถาคนไขยังมีอาการช็อคหรือมี
ทาทางจะเริ่มช็อค ใหรักษาพยาบาลผูบาดเจ็บทันที โดยวิธีตอไปนี้
(๑) คลายเสื้อของผูบาดเจ็บ ที่บริเวณ คอ, เอว และบริเวณใด ๆ ที่ขัดขวางการไหลเวียนของโลหิต

รูปที่ ๘ - ๒๑ ปองกันอาการช็อค

(๒) จัดใหคนเจ็บอยูในทาที่สบาย ๆ ตามสภาพในขณะนั้น ถาคนเจ็บยังรูส ึกตัวอยู ใหคนเจ็บนอน


หงาย ยกเทาขึน้ สูง ๑๕ - ๒๐ ซม. ถาคนเจ็บหมดความรูสึก จัดใหคนเจ็บนอนตะแคงหรือนอนคว่าํ ใหใบหนา
เอียงไปดานหนึ่ง ถามีบาดแผลที่ศีรษะ ใหยกศีรษะขึ้นสูงกวาระดับลําตัว ถามีบาดแผลที่ใบหนาหรือลําคอ
ใหคนไขนั่งเอนตัวไปดานหนา ศีรษะต่ําลงหรือในทาสําหรับผูบาดเจ็บที่หมดสติ ถามีบาดแผลที่หนาอกทะลุ
๑๐๙
อากาศเขาไปขางในรางกายได ใหคนเจ็บนอนทับบาดแผล ถามีบาดแผลที่หนาทองใหคนเจ็บนอนหงาย
ศีรษะเอียงไปดานหนึง่
(๓) หมผาใหคนเจ็บ เพื่อใหรางกายไดรับความอบอุน
๙) การตกแตงปดบาดแผล การรักษาบาดแผล และทําใหคนไขฟนตัวดีขึ้น ยอมขึ้นอยูก บั การปองกันใน
ขั้นตน ทําไดดมี ากเพียงใดไมใหแผลเปรอะเปอนสิ่งเปนพิษและการติดเชื้อโรค
ก) บาดแผลจะตองไดรับการตกแตงและปดดวยผาปดแผล เพื่อปองกันการสัมผัสสิ่งมีพิษ เชนเดียวกับ
การหามเลือดใชชุดปฐมพยาบาลสนามและผาพันแผล ปดและพันแผล ผาปดแผลคือ แผนผาใด ๆ ที่ไดมีการ
ฆาเชื้อโรคแลวนํามาปดแผล ผาพันแผล คือ วัสดุที่ใชพันทับผาปดแผลใหแนนกระชับกับบาดแผล ในชุด
ปฐมพยาบาลสนามจะมีทั้ง ๒ สิ่งบรรจุอยูแ ลว ใหนํามาใชปดและพันบาดแผลใหมิดชิด
ข) การศึกษาเรื่องการจะแตงและปดพันบาดแผลอยางไร คนหาไดในบทที่ ๖ ของ รส. ๒๑ - ๑๑
(FM 21 - 11)

รูปที่ ๘ - ๒๒ การตกแตงปดบาดแผล

๘ - ๓ สิ่งที่ควรและไมควรทําในการปฐมพยาบาล เมื่อทําการปฐมพยาบาลผูบาดเจ็บ จงจําขั้นการปฏิบัติ


ดังตอไปนี้
ก. ควรทํา - อยางทันทีแตสุขุมใจเย็น
ข. ควรทํา - ใหความเชื่อมัน่ แกผูบาดเจ็บ และคอย ๆ ตรวจรางกายผูบาดเจ็บ เพื่อ
ตกลงใจกําหนดขั้นการปฐมพยาบาล
ค. ควรทํา - ใชมาตรการชวยชีวิตตามตองการ
ง. ไมควร - จับคนเจ็บนอนหงาย ถาเขาหมดสติหรือมีบาดแผลที่ใบหนาและลําคอ
จ. ไมควร - ดึงหรือฉีกเสื้อผาออกจากรางคนเจ็บอยางรุนแรง
ฉ. ไมควร - สัมผัสหรือพยายามจะทําความสะอาดบาดแผลที่สกปรกหรือแผลไฟไหม
ช. ไมควร - แกะผาปดและผาพันแผลที่ไดปดบาดแผลไวแลว
ซ. ไมควร - คลายชะเนาะที่ไดขันไวดแี ลว
ด. ไมควร - เคลื่อนยายผูบาดเจ็บกระดูกหัก จนกวาจะไดเขาเฝอกเฉพาะสวนหัก
เรียบรอยแลว นอกจากจําเปนจริง ๆ
ต. ไมควร - ใหน้ําทางปากแกผูบาดเจ็บทีห่ มดสติ, คลื่นไส หรืออาเจียน หรือมี
๑๑๐
บาดแผลที่หนาทองหรือลําคอ
ถ. ไมควร - ใหผูบาดเจ็บมีแผลที่ศีรษะ นอนศีรษะหอยลงต่ํากวารางกาย
ท. ไมควร - พยายามทีจ่ ะยัดลําไสที่ทะลักโผลออกมาจากบาดแผล หรือเนื้อสมองกลับ
เขาไปในบาดแผล
น. ไมควร - ใสยาใด ๆ บนแผลไฟไหม
บ. ไมควร - จัดการมาตรการปฐมพยาบาลที่ไมจําเปนหรือเกินขีดความสามารถของทาน
ป. ไมควร - นําวัตถุอื่นมาเปลี่ยนทดแทนวัตถุปฐมพยาบาลที่จัดไวในกลองเดิม
๘ - ๔ อนามัยสวนบุคคล (PERSONAL HYGIENE) อนามัยสวนบุคคล คือการฝกการปองกันรักษา
สุขภาพของทหารและเพื่อน ๆ มีหลาย ๆ คนคิดวาเปนเรื่องเดียวกับการรักษาความสะอาดเปนเพียงสวนหนึ่ง
ของการดํารงรักษาสุขภาพอนามัยสวนบุคคลสําคัญตอตัวทหารเพราะเหตุวา
ก. ชวยปองกันตอเชื้อโรคที่ทําใหเจ็บปวย ซึ่งมีอยูทวั่ ไปในสภาวะแวดลอม
ข. หยุดการแพรขยายของเชื้อโรคตาง ๆ
ค. เสริมสรางสุขภาพในหมูทหาร
ง. พัฒนาขวัญทหารใหดีขึ้น
๘ - ๕ การรักษาความสะอาดสวนบุคคล
ก. ผิวหนัง ชําระลางรางกายบอย ๆ ตัง้ แตศีรษะจรดปลายเทาดวยสบูและน้ําสะอาด ถาไมมีนา้ํ มากนักใช
ผาชุบน้ําสบูเช็ดบริเวณรักแร ขาหนีบ หู ใบหนา มือและเทา
ข. เสนผม สระผมใหสะอาดอยางนอยสัปดาหละครั้ง หวีใหเรียบและตัดสั้น กําจัดรังแคดวยสบู และน้ํา
สะอาด โกนหนวดบอย ๆ ถามีน้ํา และสถานการณทางยุทธวิธีอํานวยให อยาใชหวีและใบมีดโกนรวมกับผูอื่น
ค. มือทั้งสองขาง ลางดวยน้ําสะอาดฟอกสบูหลังทํางาน จับตองสิ่งสกปรก หลังออกจากสวม และกอน
รับประทานอาหาร ตัดเล็บใหสั้นและสะอาดอยูเสมอ อยากัดแทะเล็บ แคะจมูก หรือเกาตามรางกาย
ง. เสื้อผาและเครื่องนอน ซักและเปลี่ยนเสื้อผาเมื่อสกปรก (เมื่อสถานการณอํานวย) ซักและเปลี่ยน
เครื่องปูนอนเมื่อสกปรก ถาซักเครื่องนอนไมไดใหนําผึ่งแดด เพื่อลดปริมาณเชื้อโรคที่เกาะอยูในเครื่องนอน
๘ - ๖ การดูแลรักษาปากและฟน การทําความสะอาดปากและฟนเปนประจําจะชวยปองกันฟนผุ และโรค
เหงือกอักเสบ การรักษาสุขภาพชองปากและฟนทุกครั้งหลังรับประทานอาหารดวยแปรงสีฟนและยาสีฟน
ถาไมมีแปรงสีฟนใหตัดกิ่งไมเล็ก ๆ และขบใหแตกปลายใชแทนแปรงสีฟน ถามีน้ํายาบวนปากใชบวนเพื่อฆา
เชื้อโรคในชองปาก ใชเสนใยพลาสติกหรือดายเย็บผา ดึงเศษอาหารจากซอกฟนหรือใชไมเล็ก ๆ แคะออก

รูปที่ ๘ - ๒๓ การทําแปรงสีฟนดวยกิง่ ไมเล็ก ๆ


๑๑๑
๘ - ๗ การดูแลรักษาสุขภาพของเทา ลางเทาและเช็ดใหแหงเปนประจํา ใชผงโรยเทาเพื่อฆาเชื้อโรค ลดความ
ฝดจากการเสียดสีของนิ้วเทา และชวยซับเหงื่อ เปลี่ยนถุงเทาทุกวัน หลังจากทหารเดินขามพื้นที่เปยกและให
เช็ดเทาใหแหง โรยดวยผงโรยเทา และเปลี่ยนถุงเทาเร็วที่สุดเทาที่สถานการณอํานวยให

รูปที่ ๘ - ๒๔ เปลี่ยนถุงเทาและโรยดวยผงยาโรยเทา

๘ - ๘ อาหารและน้ําดื่ม เพือ่ การพัฒนาสภาพรางกาย พลังกาย และการดํารงอยู รางกายของทหารตองการ


ก. โปรตีน
ข. ไขมัน และคารโบไฮเดรท
ค. แรธาตุ
ง. ไวตามิน
ฉ. น้ํา

ก. เสบียงอาหารแหงทีท่ หารไดรับจาย มีสารอาหารที่จําเปนในปริมาณที่สมดุล จงกินอาหารเหลานั้น


ถาทําไดใหอุนใหรอนเพื่อทําใหรสดีขึ้นและชวยการยอย อยาหลงระเริงติดใจในขนมหวาน เครื่องดื่ม สุรา
เบียร และสิ่งอืน่ ๆ ที่ไมไดจายให สิ่งเหลานั้นมีคุณคาทางอาหารนอยและอาจมีอันตรายแกสุขภาพ
ข. ดื่มน้ําจากแหลงที่บําบัดเชื้อโรคแลว หรือหลังจากใสยาเม็ดทําน้ําใหบริสุทธิ์ มีดังนี้
๑) เติมน้ําลงในกระติกที่สะอาด
๒) เติมยาเม็ดทําน้ําใหบริสุทธิ์ จํานวน ๑ เม็ดตอน้ําใส ๑ กระติกหรือเติมยา ๒ เม็ดตอน้าํ ขุน ๑ กระติก
หรือน้ําที่เย็นจัด (ถาไมมียาใชการตมใหเดือดประมาณ ๕ นาที)
๓) ปดฝากระติกน้ําพอหลวม ๆ
๔) คอย ๕ นาที
๕) เขยากระติกใหยาละลายดีและปลอยใหน้ําบางสวนทะลักออกมา
๖) ปดเกลียวฝาปดใหแนน
๗) คอยอีก ๒๐ นาที จึงนํามาดื่มได
๘ - ๙ การออกกําลังกาย การออกกําลังกายกลามเนือ้ และขอตอชวยดํารงความแข็งแรงของรางกายและ
สุขภาพดี ถาไมออกกําลังกายทหารจะขาดความอดทนของสภาพรางกาย และขีดความสามารถในการตอสู
๑๑๒
กายภาพที่พรั่งพรอมอยูในรางกายที่สุขภาพสมบูรณ สมรรถภาพที่เพิ่มพูนทักษะ และการปฏิบัติที่ยืนยง ขีด
ความสามารถที่ฟนตัวไดเร็วจากการใชพลังอยางรวดเร็ว ปณิธานที่จะบรรลุภารกิจที่กําหนดใหและความ
มั่นใจที่จะเผชิญกับทุกกรณี ความปลอดภัยในตัวทหารเอง สุขภาพรางกายและชีวิตอาจขึ้นอยูกบั กายภาพที่
พรอมสมบูรณ
ในระหวางการรบยอมมีความสงบเปนครั้งคราว ในระหวางชวงนั้นควรออกกําลังกาย ซึ่งชวยรักษา
สภาพกลามเนือ้ และการทํางานของรางกายใหพรอมทําการรบในชวงตอไป และยังชวยใหเวลานั้นผานไป
อยางมีประโยชน
๘ - ๑๐ การพักผอน รางกายของทหารตองการพักผอน เพื่อเสริมสรางความกระปรีก้ ระเปราของรางกายและ
จิตใจ เมื่อทหารเหนื่อยออน การทํางานของรางกายจะเฉื่อยชา และความสามารถในการตอบโตชากวาปกติ
ทําใหงายตอการเจ็บปวย การนอนหลับโดยไมถูกรบกวน ๖ - ๘ ชม. ตอวัน จะทําใหสุขภาพทีด่ แี ตมันทําได
ยากในการรบ หาเวลาพักหรืองีบหลับในชองวางเวนจากเวรยามอยาอายที่จะบอกวาทานเหนื่อยและงวง
อยาหลับในขณะปฏิบัติหนาที่
๘ - ๑๑ จิตอนามัย ความคิดมีผลตอการกระทํา ถาทหารรูจักหนาที่ ทหารอาจทํางานไดเร็ว และมี
ประสิทธิภาพ ถาทหารมีความเคลือบแคลง สงสัยตอขีดความสามารถในการทํางานทหารอาจลังเลใจ และ
ตัดสินใจผิดพลาด การคิดในแงดีเปนสิ่งจําเปน ทานตองเขาทําการรบดวยความมัน่ ใจอยางเปยมลนในขีด
ความสามารถในการรบของทาน
ก. ความกลัว เปนพืน้ ฐานของอารมณมนุษย มันแสดงออกทัง้ ทางรางกาย และจิตใจ ความกลัวเปนสิ่ง
ที่ไมนาอายถาเราควบคุมมันได มันยิ่งชวยทหารใหมกี ารเตรียมพรอม และมีความสามารถมากขึ้นที่จะทํางาน
ความกลัวทําใหมานตาของทหารขยาย เปนการเพิ่มทัศนวิสัยการรับรู ทําใหทหารจับความเคลื่อนไหวไดงาย
กวา ความกลัวยังชวยเพิ่มอัตราเตนของหัวใจ และการหายใจนั่นคือการเพิ่มพลัง ดังนั้นจงควบคุมความกลัว
และใชความกลัวเปนขอไดเปรียบในการทํางาน
ข. อยาปลอยใหมโนภาพ และความกลัวทําใหทหารฟุงซาน (RUN WILD) จงจําไววาทหารไมไดอยู
โดดเดีย่ ว ทหารเปนสวนหนึ่งของชุดปฏิบัติการ ยังมีเพื่อน ๆ อยูใกล ๆ แมวาจะมองไมเห็น ทุกคนตอง
ชวยเหลือซึ่งกันและกัน ฝากความหวังไวซึ่งกันและกัน
ค. ความวิตกกังวลบอนทําลายสภาพรางกาย จิตใจหมนหมองและชะลอความคิดและการรับรู ผนวก
ดวยความสับสน อุปสรรคที่แผขยาย และเปนสาเหตุใหทหารสรางแนวความคิดที่ไมยืนยาว ถาทหารมีความ
วิตกในเรื่องบางอยาง ปรึกษากับ ผบ.หนวย เกี่ยวกับเรื่องนั้นเขาอาจชวยแกปญหาใหทหารได
ง. ทหารอาจตองทําการรบในสวนตาง ๆ ของโลก และในทุกสภาพภูมิประเทศ ดังนัน้ จงปรับสภาพ
จิตใจใหยอมรับสภาพที่ควรจะเปนไป ถาสภาพจิตมีการเตรียมพรอมสําหรับมัน ทหารจะสามารถทําการตอสู
ไดทุกสภาวะ
๘ - ๑๒ กฎในการหลีกเลี่ยงการปวยเจ็บในสนาม
ก) อยากินอาหาร และดื่มเครื่องดื่มที่มาจากแหลงอันไมเหมาะสม
ข) อยาถายไมเปนที่ในพื้นที่การรบ (ใชสวมหรือหลุมกลบใหมดิ ชิด)
๑๑๓
ค) อยาอมนิ้วหรือวัตถุที่ปนเปอนสารพิษ
ง) ลางมือทุกครั้ง หลังแตะตองสารพิษกอนกินอาหารหรือปรุงอาหาร และกอนใชมือแปรงฟน ลางปาก
บวนปาก
จ) ลางภาชนะบรรจุอาหารทุกมื้อหลังรับประทาน
ฉ) แปรงฟนลางปากอยางนอยวันละครั้ง
ช) ปองกันแมลงกัดตอยโดยใชยาทากันแมลงและยุง
ซ) หลีกเลี่ยงการเปยกชื้นและความหนาวเย็นโดยไมจําเปน
ด) อยาใชสิ่งของสวนตัวรวมกับผูอื่น เชน กระติกน้ํา กลองยาสูบ แปรงสีฟน ผาเช็ดหนา เช็ดตัว
เครื่องโกนหนวด
ต) อยาทิ้งเศษอาหารเกลื่อนกลาด
ถ) นอนหลับเมื่อทําได
ท) ออกกําลังกายเปนประจํา

You might also like