ใบความรู้เรื่องโครงสร้างทางสังคม !

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

ใ บ ค ว า ม รู้

เรื่อง โครงสร้างทางสังคม
social structure สังคมศึกษา ม.4

ความหมายของ
โครงสร้างทางสังคม

การจัดระบบของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เชื่อมโยงให้เกิดกลุ่ม
สังคมที่มีรูปแบบต่างกันตามระบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่
จะทำให้สังคมเป็นระเบียบ

เกร็ดความรู้
สิ่ งที่ทำให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์อื่นๆ
1. มนุษย์มีลักษณะทางกายภาพแตกต่างจากสัตว์ชนิ ดอื่น (มีความละเอียดอ่อน และการเคลื่อนไหวร่างกาย)
2. มันสมองที่ใหญ่กว่าสัตว์ชนิ ดอื่น จึงสร้างระบบความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนได้
3. มนุษย์เท่านั้ นที่ สร้าง และ ใช้สัญลักษณ์ ได้
4. มนุษย์เท่านั้ น ที่มีวัฒนธรรม

ความจำเป็นที่มนุษย์ต้องอยู่ร่วมกัน
1. มนุษย์มีสภาพเป็นทารกอยู่นาน 2. มนุษย์มีความต้องการทางด้านร่างกายและจิตใจ
3. ความสามารถของแต่ละบุคคลไม่เท่าเทียมกัน 4. มนุษย์มีมันสมองที่มีคุณภาพ

ลักษณะของโครงสร้างทางสังคม
1. มีการรวมกลุ่มของคนในสังคม ซึ่งแต่ละกลุ่มที่รวมกันต่างมีหน้ าที่ ความรับผิดชอบและ
ประสิทธิภาพในการทำงานตามที่กลุ่มได้กำหนดเป้าหมายไว้
2. มีแนวทางในการปฏิบัติอย่างเหมาะสม หรือ มีกฎเกณฑ์ระเบียบแบบแผนเป็นแนวทางให้
ยึดถือร่วมกัน
3. มีจุดมุ่งหมายในการปฏิบัติกิจกรรม คือ มีจุดมุ่งหมายที่ดี และมีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้
กับสังคมนั้ น
4. มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้ คือ มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง ทั้งในแง่ของการเพิ่มขึ้นหรือลดลงใน
หลายรูปแบบ เช่น จำนวนคนอาจมีการเคลื่อนย้ายหรือภาวะเจริญพันธ์ุของประชากรในสังคม หรือรูปแบบ
ความสัมพันธ์ของบุคคลในสังคม อาจมีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมภายในสังคม
เรื่อง โครงสร้างทางสังคม
สังคมศึกษา ม.4

โครงสร้างทางสังคม

กลุ่มสังคม สถาบัน การจัดระเบียบ


ทางสังคม ทางสังคม

สถาบัน
กลุ่มปฐมภูมิ สถานภาพ
ครอบครัว

สถาบัน
กลุ่มทุติยภูมิ การศึกษา บทบาท

สถาบัน
เศรษฐกิจ ค่านิยม

สถาบัน
บรรทัดฐาน
การเมืองการปกครอง

สถาบัน
การควบคุมทางสังคม
ศาสนา

สถาบัน
นันทนาการ การขัดเกลาทางสังคม

สถาบัน
สื่อสารมวลชน
เรื่อง โครงสร้างทางสังคม
สังคมศึกษา ม.4

มารู้จักความหมาย

กลุ่มสังคม สถาบัน การจัดระเบียบ


ทางสังคม ทางสังคม

หมายถึง รูปแบบ หมายถึง การทำให้


หมายถึง กลุ่มบุคคลที่อยู่ร่วมกัน
เป็นสมาชิก อย่างมีระบบระเบียบ พฤติกรรมของสมาชิกใน สังคมเกิดความมี
มีกฎข้อตกลงร่วมกันของกลุ่ม มี สังคม เพื่อสนองความ ระเบียบเรียบร้อย มี
เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ร่วม ต้องการที่จำเป็นร่วมกัน ความมั่นคง และสมาชิก
กัน เพื่อตอบสนองความต้องการ ในด้านต่างๆ และเพ่ื่อ ในสังคมสามารถใชัชีวิต
ของสมาชิกใน กลุ่มสังคมนั้ น ๆ ความคงอยู่ของสังคมโดย ของตนเอยู่ในสังคมได้
โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ร่วมรวม ประกอบไปด้วย อย่างสงบสุข
ได้แก่ กลุ่มปฐมภูมิ กลุ่มทุติยภูมิ 7 สถาบันทางสังคม

กลุ่มปฐมภูมิ

Primary Group
เป็นกลุ่มที่มีขนาดเล็ก สมาชิก
ของกลุ่มมีความสัมพันธ์กัน
อย่างสนิทสนมและมีลักษณะ กลุ่มทุติยภูมิ
ที่ไม่เป็นทางการ รวมทั้งมีการ
ร่วมมือและช่วยเหลือกันเป็น Secondary Group
อย่างดี เช่น ครอบครัว เป็นกลุ่มที่มีขนาดใหญ่ สมาชิก
กลุ่มเพื่อนเล่น กลุ่มเพื่อนบ้าน มีการติดต่อสัมพันธ์กันตาม
บทบาทหน้าที่การงาน ไม่รู้จัก
มักคุ้นกันเป็นการส่วนตัว การ
กลุ่มสังคม

ร่วมมือหรือช่วยเหลือระหว่าง
กันจะเป็นไปตามสถานภาพและ
Social Group บทบาทที่กำหนดไว้อย่างเป็น
ทางการ เช่น ลูกจ้างนายจ้าง
บริษัท กลุ่มชาติพันธ์ุ
เรื่อง โครงสร้างทางสังคม
สังคมศึกษา ม.4

สถาบัน
ครอบครัว
สถาบัน
การศึกษา
เป็นสถาบันพื้นฐานของสังคมไทย ซึ่งเกิด
จากความสัมพันธ์กันทางการสมรส ทาง เป็นสถาบันที่จำเป็นสำหรับการพัฒนา
สายโลหิต หรือการรับเป็นบุตรบุญธรรม มนุษย์ต่อจากสถาบันครอบครัว โดยให้การ
ร่วมทั้งการรับบุคคลอื่น เช่น ญาติมาอาศัย ศึกษาอบรมแก่สมาชิก ในสังคม มีจุดมุ่งหมาย
อยู่ร่วมกัน เป็นสถาบันที่ใกล้ชิดและมี เพื่อให้สมาชิกในสังคมเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ
อิทธิพลโดยตรงในการอบรมขัดเกลาให้
มีความรู้ความสามารถ มีคุณธรรมและจริยธรรม
สมาชิกมีบุคลิกภาพดี และมีการปรับตัว
สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองและ
ที่เหมาะสมเพื่อเป็นสมาชิกที่ดีในสังคมนั้ น
ครอบครัว และทำประโยชน์ ให้กับสังคม
ตลอดจนสามารถดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่น
ได้อย่างมีความสุข

สถาบัน สถาบัน
เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง

เป็นสถาบันที่ตอบสนองความต้องการของ เป็นสถาบันที่กำหนดบทบาทในการจัดการ
สมาชิกในด้านปัจจัย 4 และการบริการใน ทางสังคม ประกอบด้วยกลุ่มคนหรือองค์กร
ทางสังคมที่มีหน้ าที่รักษาความสงบสุขและ
ด้านสิ่ งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในการ
ความมั่นคงของชาติ เพื่อช่วยแก้ปัญหาต่างๆ
ดำเนิ นชีวิต สถาบันทางเศรษฐกิจจึงเป็น
ป้องกัน ปราบปราม แบบวางแผนกำหนด
แบบแผนพฤติกรรมทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับ
นโยบายของส่วนรวม ให้หลักประกัน
การผลิต การจำหน่ ายจ่ายแจก การแลก คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคล และ
เปลี่ยน และการบริโภคสินค้าและบริการ สร้างความมั่นคงให้กับชีวิต

สถาบัน
สถาบัน
ศาสนา
ทางสังคม
สถาบัน
Social Institutions เป็นส่วนหนึ่ งของวัฒนธรรม ก่อให้
นันทนาการ เกิดแบบแผนหรือแนวทางในการ
ปฏิบัติตนของสมาชิก ซึ่งประกอบไป
การทำให้คนในสังคมผ่อนคลาย
ด้วย ความเชื่อ ความศรัทธา
ความตึงเครียดเพิ่มพูนอนามัยที่ดี กิจกรรมที่แสดงออกอย่างถูกต้อง
ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ในทาง งดงามและเหมาะสม
สร้างสรรค์ต่างๆ รวมทั้งสนองความ
ต้องการทางสังคม ในรูปแบบความ
สถาบัน
บันเทิงต่างๆ เช่น ศิลปะ การละเล่น
สื่อสารมวลชน
การกีฬา เป็นต้น
สื่อสารมวลชนมีบทบาทสำคัญต่อสังคมใน
ปัจจุบันอย่างมาก ที่เทคโนโลยีสารสนเทศและ
สื่อสารมีความเจริญก้าวหน้ าอย่างไม่หยุดยั้ง ทำให้
บทบาทของสื่อสารมวลชนแพร่กระจายออกไปใน
วงกว้างและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น และได้เป็นส่วน
หนึ่ งในการดำเนิ นชีวิตของประชาชน จึงกลาย
เป็นสถาบันที่มีบทบาทสำคัญยิ่งในแง่ของการให้
ข้อมูลข่าวสารและการโน้ มนำสังคมในด้านต่าง ๆ
เรื่อง โครงสร้างทางสังคม
สังคมศึกษา ม.4

การจัดระเบียบ
สถานภาพ
ทางสังคม Status
Social หมายถึง ตำแหน่งของบุคคลซึ่งได้มาจากการเป็ น
Organization สมาชิกของกลุ่มสังคม ซึ่งเป็ นองค์ประกอบที่สำคัญใน
การจัดระเบียบสังคม เนื่ องจากการกระทำระหว่าง
สมาชิกในสังคมย่อมเป็ นไปตามสถานภาพที่ตนดำรงอยู่
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท

1. สถานภาพทางสังคมที่ได้มาโดยกำเนิด
บทบาท (Ascribed Status)
Role
2. สถานภาพทางสังคมที่ได้มาโดย
ความสามารถของบุคคล (Achieved Status)
หมายถึง การปฏิบัติหน้าที่และสิทธิ
ของตนตามสถานภาพของตนในสังคม
บรรทัดฐาน
Norm

วิถีประชา หรือ วิถีชาวบ้าน (Folkways)


บรรทัดฐานทางสังคม หรือ ปทัสทาน หมายถึง
ระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือแบบแผนของพฤติกรรมที่
สังคมยอมรับเป็ นแนวทางให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติ
จารีต หรือ กฎศีลธรรม (Mores)
ในแต่ละสถานการณ์

กฎหมาย (Laws)
ค่านิยม
Social Value
การควบคุมทางสังคม
ความคิดหรือสิ่งที่สังคมส่วนใหญ่ยอมรับและเห็นว่ามี Social Control
คุณค่าควรแก่การปฏิบัติ หรืออาจจะเรียกว่า
“กระแสทางสังคม” ก็ได้ ค่านิยมมี 2 ประเภท
คือ 1) ค่านิยมของบุคคล 2) ค่านิยมของสังคม

การควบคุมทางสังคมโดยการจูงใจ (เชิงบวก) หรือเรียกว่า "สิทธิธานุมัติทางสังคม" คือ กระบวนการที่ใช้


ควบคุมให้คนในสังคมปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม
เช่น การให้รางวัล การชมเชย

สังคมที่มีระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือแบบแผนของพฤติกรรมที่สังคม


การมอบโล่เกียรติคุณ ยอมรับเป็นแนวทางให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติในแต่ละ
สถานการณ์นั้น โดยทั่วไปมักจะมีผู้ละเมิดฝ่าฝืน ส่งผลให้สังคม
ขาดระเบียบจะมีผลเสียต่อการดำรงชีวิตร่วมกันของสมาชิกใน
การควบคุมทางสังคมโดยการลงโทษ (เชิงลบ)
สังคม ดังนั้นสังคมจึงจำเป็นต้องกำหนดกลไกในการควบคุม
เช่น การตำหนิติเตียน สมาชิกให้ปฏิบัติตามบรรทัดฐานทางสังคม
ซึ่งเรียกกลไกนี้ว่า การควบคุมทางสังคม
การจำคุก การปรับเงิน
เรื่อง โครงสร้างทางสังคม
สังคมศึกษา ม.4

การขัดเกลาทางสังคมทางตรง
บอกกล่าวสั่งสอนด้วยคำพูด ว่าสิ่งใดดี
สิ่งใดไม่ดี เช่น แม่สอนลูกเรื่องการไหว้ญาติ
คือ กระบวนการที่คนเรียนรู้และซึมซับบรรทัดฐานและค่า
นิยมของสังคมจาการสั่งสอนหรือการบอกกันโดยตรงและ
จากการสังเกตของตนเอง มีความสำคัญเนื่องจากจะเป็นสิ่ง การขัดเกลาทางสังคมทางอ้อม
ที่ช่วยให้คนสามารถปรับตัวและปฏิบัติตามบรรทัดฐานที่ การตกตะกอนความคิดให้เกิดการเรียนรู้ด้วย
สังคมกำหนด เช่น ให้ปฏิบัติตามสถานภาพ บทบาท และ ตนเอง เช่น การดูสื่อโทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต
หน้าที่ของตนได้อย่างสมบูรณ์ ทำให้ดำรงชีวิตร่วมกันตาย การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
อย่างมีความสุข

แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
ด้านสังคม

1.มีความเป็นปัจเจกบุคคลมากขึ้น
เน้นส่วนบุคคลมากกว่าส่วนรวม
2.เสมอภาคหญิงเลี้ยงตัวเองได้ คือ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสังคม ความสัมพันธ์ รูปแบบการ
3.ครอบครัวแตกแยกมากขึ้น ดำเนินชีวิต ความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีเป็นตัวการหลัก
4.วัยรุ่นมีพฤติกรรมต่างไปจากเดิม ที่ทำให้ความสัมพันธ์ของคนในสังคมเปลี่ยนแปลงไป
รวมทั้งเป็นการเปลี่ยนแปลงด้านทัศนคติต่อกันในสังคม
เช่น เรื่องการยอมรับเพศทางเลือกมากขึ้น สาเหตุที่ทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงได้แก่ ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางประชากร
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางการเมือง และความเจริญก้าวหน้า
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
ด้านการเมือง

1.มีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น
ทุกรูปแบบโดยผ่านการเลือกตั้ง แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การแสดงออกในสื่อออนไลน์ ด้านเศรษฐกิจ

2.ขาดแรงกระตุ้นให้สร้างผู้นำ
1.เศรษฐกิจชนบทและเมืองจะต่าง
อย่างแท้จริงประชากรไม่ค่อยสนใจ
กันมากขึ้นในด้านรายได้
การเมือง
2.ใช้เครื่องจักรกลมากขึ้น แรงงาน
ลดความสำคัญลง
3.สังคมเกษตรจะเปลี่ยนไปเป็น
สังคมอุตสาหกรรม เพิ่มมากขึ้น

ที่มา หนั งสือกองบรรณาธิการอินโฟเพรส


หนั งสือติวเตอร์แจ็ค (ดิศธร ศรีบุญ)
ตำราเนื้ อหาครอบจักรวาล
WBL by KunkruPeem (Web - Based Instruction)

You might also like