การออกแบบและการจัดการระบบการเลี้ยงปลากะพงขาวอย่าง หนาแน่นในน ้าหมุนเวียนที่มีระบบกรองแบบ moving bionet filters (MBF)

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 34

การออกแบบและการจัดการระบบการเลีย้ งปลากะพงขาวอย่ าง

หนาแน่ นในนา้ หมุนเวียนทีม่ ีระบบกรองแบบ moving bionet


filters (MBF)
ยงยุทธ ปรี ดาลัมพะบุตร 1
ประมัยพร ทองคณารักษ์ 1
โสมลดา ประเสริ ฐสม 2

1. สถาบันวิจยั เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าชายฝั่ง จ.สงขลา


2. กลุ่มวิชาการ สานักวิจยั และพัฒนาประมงชายฝั่ง
ทาไมต้ องเลีย้ งปลาในระบบนา้ หมุนเวียน

- คุณภาพน้ าในแหล่งเลี้ยงเสี่ อมโทรม


- ยาฆ่าแมลง
- ออกซิ เจนในน้ าต่า
- การควบคุมโรคทาได้ยาก
การทดลองเลี้ยงปลาระบบน้ าหมุนเวียน ที่ nica

คณิ ตและยงยุทธ(2549) เลี้ยง ปลากะรังดอกแดงที่ความหนาแน่น


34 ตัว/ลบ.ม. ระยะเวลา 153 วัน ได้ผลผลิต 13.11 กก./ลบ.ม.
อรัญญาและคณะ (2551) ได้ทดลองเลี้ยงปลากะรังดอกแดง ที่ความ
หนาแน่น 30,40,50,60 ตัว/ลบ.ม. พบว่าที่ความหนาแน่น 60 ตัว/ลบ.ม. ให้
ผลผลิตที่ 44.8 กก/ลบ.ม.
ยงยุทธและคณะ (2552) ได้ทดลองเลี้ยงปลากะพงขาวในระบบน้ า
หมุนเวียน125 ตัว/ลบ.ม. สามารถผลิตปลากะพงขาว 102 กก/ลบ.ม.
Nitrification and denitrification

+ - +
3 2

g s
Biofilter ที่ดีควรเป็ นอย่างไร

- มีพ้นื ที่ผวิ /ปริ มาตร มาก


- น้ าไหลผ่านได้ดี
- คงรู ป ทนทาน
- ทาความสะอาดง่าย
Ultraviolet Sterilization
Type Name UV Dose
Algae Chlorella Vulgaris 22,000
Target Bacteria
Bacteria
Aeromonas Salmonicida
Pseudomonas Fluorescens (fin rot)
3,620
11,000

Microorganism Bacteria
Fungi
Bacilus Subtilus (spores)
Saprolengnia (Zoo spores)
22,000
39,600
Protozoa Sarcina Lutea 26,400
Protozoa Ceratomyxa Shasta 30,000
Protozoa Trichodina Sp. 35,000
Myxobolus Cerebralis (TAMs, Whirling
Protozoa Disease) 40,000
Ichthyophthirius Tomites (freshwater
Protozoa white spot) 100,000
Amyloodinium Ocellateum (marine
Protozoa velvet) 105,000
Protozoa Trichodina Nigra 159,000
Cryptocaryon Irritans (marine white
Protozoa spot) 280,000
Protozoa Costia Necatrix 318,000
Virus KHV (koi herpes virus) 4,000
Virus ISA (infectious salmon anaemia virus) 7,700
Virus CCV (channel catfish virus) 20,000
IHNV (infectious hematopoietic
Virus necrosis/CHAB) 20,000
Virus OMV (oncorhynchus masou virus) 20,000
IHNV (infectious hematopoietic
Virus necrosis/RTTO) 30,000
Virus VHS (viral haemorrhagic septicaemia) 32,000
Virus CSV (chum salmon virus) 100,000
Virus AHNV (atlantic halibut nodavirus) 105,000
IPNV (infectious pancreatic necrosis
Virus virus) 246,000

http://www.emperoraquatics.com/microorg
anisms_uv-dose.php
วัตถุประสงค์
1. เพื่อออกแบบและสร้างระบบการเลี้ยงปลากะพงขาวอย่างหนาแน่นในน้ าหมุนเวียน
2. ศึกษาประสิ ทธิภาพ และวิธีการจัดการระบบ ฯ
3. ศึกษาต้นทุนในการพัฒนาระบบฯ
วิธีการศึกษา

1 การออกแบบและสร้างระบบบ่อเลี้ยงปลา
- บ่อเลี้ยงปลาขนาด 35 ลบ.ม. 4 บ่อ
(ขนาด , เส้นผ่าศูนย์กลาง , ลึก , รู ปทรง , วัสดุ , ราคา )
- บ่อตกตะกอน 30 ลบ.ม. 2 บ่อ
(ตกตะกอน , กรอง , กาจัดตะกอน )
การคานวนพื้นที่ผวิ MBF
คานวนหาแอมโมเนียที่
ปลาขับถ่ ายใน1วัน
ผลผลิตปลาทีต่ ้ องการ 20kg/cu.m
ผลผลิตปลาทีต่ ้ องการทั้งระบบ 2800kg
ต้ องการอาหารเม็ด 2% นน.ปลา 56kg
ขับถ่ ายแอมโมเนีย 3% อาหารปลา 1.68kg
การคานวนพื้นที่ผวิ MBF (ต่อ)

อัตราการกาจัดแอมโมเนียของmbf 0.5g/sq.m.d
แอมโมเนียขับออกจากระบบวันละ 1680g/d
ต้ องการพืน้ ทีผ่ วิ mbf 3360sq.m
mbf 1 cu.m มีนา้ หนัก 50 กก หรือ 640sq.m
คิดเป็ น mbf 5.25cu.m
หรือ mbf 262.5kg
บ่อเลี้ยง บ่อเลี้ยง
แผนผัง
ระบบบ่อ

บ่อเลี้ยง บ่อเลี้ยง

บ่อตกตะกอน uv Fix Fix Fix

MBF MBF MBF MBF

บ่อตกตะกอน
การออกแบบบ่ อเลีย้ ง
รางส่งน้ า

รางระบายน้ า

ภาพตัดขวางแสดงระบบน้ าเข้า – ออก บ่อเลี้ยง


การออกแบบบ่ อบาบัด

UV Fix Fix Fix

MBF MBF MBF MBF


การออกแบบอุปกรณ์ กวน
มอเตอร์ ½ hp
M

แท่ งเหล็กจับแกน
ใบพัด 8 นิ้ว
วิธีการศึกษา (ต่อ)

- 2 ระบบบาบัด MBF , FIX


(ขนาด, รู ปทรง, ลึก, ทางเดินน้ า, วัสดุ, พื้นที่ผวิ , ราคา )
- 3 ระบบการฆ่าเชื้อแบคทีเรี ยในน้ า
(ฆ่าเชื้ออะไร , โดส , หลอด UV? , การออกแบบติดตั้ง ,
ความปลอดภัย
วิธีการศึกษา (ต่อ)

-3 ระบบท่อน้ า , รางน้ า , ปั้ มน้ า


( ขนาดท่อน้ า , รางน้ า , ปั้ มน้ า ที่เหมาะสม)
ท่อน้ าใช้ขนาด 3 นิ้ว
รางน้ าใช้ขนาด 50 ซม.
ปั้ มน้ าใช้ 3 นิ้ว 3 แรงม้า 1200 ลิตร/นาที
จานวนรอบการบาบัดที่เหมาะสม 500 %/วัน (อรัญญาและคณะ,2551)
-4 ระบบการให้ฟองอากาศ
ซูเปอร์ ชาร์ท ใช้มอเตอร์ 0.5 แรงม้าทางานสลับกัน 30 นาที
วิธีการศึกษา (ต่อ)
- 5 ระบบการควบคุมออกซิเจนในน้ า
1. วัด Do ด้วยเครื่ อง YSI 57
2. ควบคุมการเพิ่ม DOในบ่อน้ าด้วย PLC
3. ปั้มน้ าขนาด12 ลบ.ม./ชม. ทางานเมื่อ DO < 4
4. เติมก๊าซออกซิเจนบริ สุทธิ์เมื่อ Do < 3

- 6 ระบบกาจัดโปรตีน (protein skimmer)


- ถังขนาด 1000 ลิตร
- ปั้มน้ า 30 ลบ.ม./ชม.
7 การทดสอบประสิ ทธิภาพและการจัดการระบบ
- นา MBF300 กก. หรื อ 6 ลบ.ม. ลงในบ่อบาบัด 1 – 4
- นา FIX (อวนเก่า) 8 ลบ.ม. ลงในบ่อบาบัด 5 – 6 – 7
- เดินระบบ เติมเชื้อแบคทีเรี ยจากระบบเก่าเติมแอมโมเนียมคลอไรค์1 ppm 4 สัปดาห์
- ทดลองหาระยะเวลากวนที่เหมาะสมสาหรับMBF
- ปล่อยปลากะพงขาว 5 นิ้ว บ่อละ 750 บ่อละ 4 บ่อ ให้อาหารปลาสด พออิ่มทุกวัน
- ตรวจสอบ pH Alkalinity สัปดาห์ละครั้ง และปรับค่าpHได้7-8 Alkalinityมากกว่า100
- ตรวจสอบ แอมโมเนีย ก่อนเข้าสู่ ระบบบาบัด และออกจากระบบบาบัด
- ตรวจสอบการ TN , TP , TSS ของน้ าที่ได้จากโปรตีนสกิมเมอร์
ผลการศึกษา
1. การออกแบบบ่อเลี้ยงปลา 4 บ่อ
บ่อเลี้ยงปลาขนาดเส้นศูกน์กลาง 5 เมตร สูง 2 เมตร
กรอบลึก 1 ม. ปริ มาตรที่เส้น 45.84 ลบ.ม.
เมื่อใส่ น้ าลึก 1.5 เมตร ที่ขอบบ่อ มีปริ มาตร 36.01 ลบ.ม.
2. การออกแบบบ่อตกตะกอน 2 บ่อ
บ่อตกตะกอนขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 เมตร ลึก 1 เมตร
กรวยลึก 1.5 ม. ปริ มาตรบ่อน้ า 29.46 ลบ.ม.
3. การออกแบบระบบบาบัด MBF , FIX
ระบบบาบัดมีท้ งั หมด 8 บ่อขนาด 1 เมตร สู ง 4 เมตร
ปริ มาตรบ่อละ 3.14 ลบ.ม. รวม 25.14 ลบ.ม.
บ่อที่ 1 - 4 ใช้ MBF มีอุปกรณ์ในการกวน
บ่อที่ 5 – 7 ใช้ FIX
บ่อที่ 8 ติดตั้ง UV 10 หลอด
การออกแบบระบบฆ่ าเชื้อโรคด้ วยแสง UV

- ต้องการฆ่าเชี้อแบคทีเรี ย ที่โดส 50,000 micro w.s/sq cm.

โดส = ความเข็มแสง UV X เวลาที่น้ าไหลผ่านแสง


พื้นที่ผวิ
ใช้หลอด UV (narwar) 36 w. เส้นรอบวง 7.7 cm ยาว 120 cm
ให้แสง UVC 113 micro w.s/cm.sq
ความเข้มแสงที่ตอ้ งการ = โดส * พื้นที่ผวิ
เวลา
= 50,000*7.7*120 micro w.
39.3
= 1,175,572.2 micro w
หลอด UV 1 หลอดมีความเข้มแสง UVC = 113*7.7*120 micro w
ต้องการใช้หลอด UV 11.2 หลอด

แบคทีเรี ย ก่อนUV 5.6*104 cfu


แบคทีเรี ยหลังUV 3.1*102 cfu
การออกแบบท่ อนา้ รางนา้ ปั้มนา้

- ประหยัดพลังงาน
- ใช้วสั ดุที่หาง่าย ราคาถูก
- บารุ งรักษาง่าย
- ทางานได้หลากหลาย
การออกแบบระบบการให้ ฟองอากาศ

- มีความมัน่ คงไว้ใจได้ ไม่เสี ยง่าย


- สลับกันทางานได้ตามเวลาที่กาหนด
- ประหยัดพลังงาน
การออกแบบระบบการกาจัดโปรตีน
- ลดภาระกับไบโอฟิ ลเตอร์
- ฟองมีขนาดเล็ก
- ความสูงอย่างน้อย 4 – 5 ฟุต
- RT อย่างน้อย 2 นาที
-กาจัดสารประกอบอินทรี ย ์ กรัม/วัน

ตะกอน ฟอสฟอรัส ไนโตรเจน


70.85 1.76 5.70
ทดลองเลีย้ งปลากะพงขาว บ่ อละ 750 ตัว

ระยะเวลา 129 วัน


เริ่ มต้น ( 4 นิ้ว ) 25 กรัม
สิ้ นสุ ดเฉลี่ย 510 กรัม
อัตราการรอด เฉลี่ย 90.3 %
อาหารปลาสดเฉลี่ย 1135 กก./บ่อ
ผลผลิตเฉลี่ย 342 กก./บ่อ
อัตราการแลกเนื้อเฉลี่ย 3.3:1
0.45
0.4
0.35
0.3
0.25
0.2
0.15
0.1
0.05
0
C2 M9 M10 M1 M2 M3 M4 M6 C1
การจัดการควบคุมคุณภาพนา้
- ตะกอน ใช้ วิธีตกตะกอน กรองด้วยใยแก้ว ปลากินตะกอน
- แอมโมเนีย ใช้ MBF และ FIX
- ออกซิเจนในน้ า ใช้ระบบควบคุมออกซิเจนในน้ า
- โปรตีน ใช้โปรตีนสกิมเมอร์
- แพลงตอนพิชและแบคทีเรี ย ใช้แสงยูวีฆ่าเชื้อ

การจัดการด้านโรค โดยการนาปลาไปตรวจโรคทุกอาทิตย์
เมื่อพบว่ามีปรสิ ตใช้สารคอปเปอร์ซลั เฟต 2กรัม/น้ า1ลบม
ต้ นทุนการสร้ างระบบการเลีย้ งปลา
1. ค่าขุดดิน 140 ลบ.ม. * 135 บาท 18,900 บาท
2. ค่าบ่อผ้าใบ 100 บาท * 4 ใบ 40,000 บาท
3. ปั้มน้ า 3 นิ้ว 10,000 บาท
4. ปั้มน้ า 2 นิ้ว 5,000 บาท
5. ท่อน้ า วาวล์ , ข้อต่อ 19,200 บาท
6. ปล้องบ่อ 64 ลูก * 240 บาท 15,360 บาท
7. แป๊ ปเหล็ก 1/2” 12 เส้น 540 บาท
8. ถังน้ า 200 ลิตร 530 * 10 ลูก 5,300 บาท
9. อุปกรณ์ควบคุมทางไฟฟ้ า 9,854 บาท
10. ซูเปอร์ชาร์ทพร้อมมอเตอร์ ½ แรงม้า 14,000 บาท
11. อุปกรณ์กวน MBF ชุดละ 6000 * 2 ชุด 12,000 บาท
12. สกิมเมอร์ 7,000 บาท
13. หัวทราย , ท่อลม 3,000 บาท
14. MBF 300 กก. * 20 บาท 6,000 บาท
รวม 166,154 บาท
ต้นทุน กาไร และขาดทุน
รายการ จานวนเงิน
(บาท)
พันธุ์ปลา 750*4*6 18000
อาหารปลา 1135*12*4 54480
ไฟฟ้ า 16125
ค่ าจ้ างแรงงานเดือนละ7000*4 28000
รวมรายจ่ าย 116605
จาหน่ ายปลาได้ กกละ120 164160
กาไร 47555
สรุ ป
1. การออกแบบระบบการเลี้ยงปลากะพงขาวประกอบด้วย
1.1. บ่อเลี้ยงปลาขนาด 35 ลบ.ม. 4 บ่อ
1.2. บ่อตกตะกอนขนาด 30 ลบ.ม. 2 บ่อ
1.3 บ่อบาบัดขนาด 3.1 ลบ.ม. 8 บ่อ
1.4 ระบบท่อน้ า รางน้ า ปั้มน้ า สาหรับส่ งน้ า 1200 ลิตร/นาที
1.5 ระบบไฟฟ้ าควบคุมปั๊มน้ า , โปรตีนสกินเมอร์ , อุปกรณ์กวน
MBF , UV
• 2 ระบบนี้สามารถเลี้ยงปลากะพงขาวได้ 2800 กก/รุ่ น และมีแนวโน้ม
ว่าสามารถขยายผลผลิตได้อีก แต่ตอ้ งคานวนหาMBF อีกครั้งหนึ่ง
ควรจัดการเรื่ องอ็อกซิเจนให้เพียงพอ และเพิ่มประสิ ทธิภาพในการ
กาจัดตะกอน
ข้อเสนอแนะ
1. สามารถลดค่าใช้จ่ายโดยการลดความหนาผ้าใบของบ่อเลี้ยง
2. ลดการพังทลายของดินผนังบ่อเมื่อลดน้ าจับปลา โดยการสร้างบ่อให้มี
ความชัน
3. การจัดการเรื่ องน้ า อาหาร และการควบคุมโรคเป็ นเรื่ องสาคัญที่พลาดไม่ได้
4. ระบบที่ถึงแม้นจะออกแบบมาดีเพียงใดก็สามารถล้มเหลวได้
ดังนั้นจึงไม่ควรใว้ใจระบบมากนัก

You might also like